Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รัชกาลที่ 9

รัชกาลที่ 9

Published by pawukk.49, 2020-06-21 05:20:02

Description: รัชกาลที่ 9

Search

Read the Text Version

พระราชประวัติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ทรงพระนามเดิมว่า “ พระวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าภูมิ พลอดุลยเดช” ทรงเป็นพระราชโอรสในสมเด็จเจ้าฟ้า มหิดลอดุลยเดช กรมหลวงสงขลานครินทร์ (ต่อมา ได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธยเป็น สมเด็จพระมหิต ลาธเิ บศรอดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก) และหม่อม สังวาล (ต่อมาได้รับการเฉลิมพระนามาภิไธย เป็น สมเด็จพระศรนี ครินทรา บรมราชชนนี) พระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั ภมู ิพลอดุลยเดช ทรงเสด็จพระราชสมภพ เมื่อวันท่ี 5 ธันวาคม พ.ศ. 2470 ณ โรงพยาบาล เมานท์ออเบอร์น ( MOUNT AUBURN) รัฐเมสสาชูเขตต์ ( MASSACHUSETTS) ประเทศสหรฐั อเมริกา

พระราชประวตั ิ เมื่อพระชนมายุได้ 5 พรรษา ทรงเข้ารับ การศึกษาท่ีโรงเรียนมาแตร์เดอ กรุงเทพมหานคร ต่ อ จ า ก น้ั น ท ร ง เ ส ด็ จ ไ ป ศึ ก ษ า ต่ อ ณ ป ร ะ เ ท ศ สวิตเซอร์แลนด์ ในช้ันประถมศึกษา ท่ีโรงเรียนเมียร์ มองต์ (MERRIMENT) เมืองโลซานน์ (LASAGNA) ในปี พ.ศ. 2478 ได้ทรงเข้าศึกษาต่อท่ี CEDE NOUBELLE DE LA SUES ROMANCE CHILLY ซึ่งเป็นโรงเรียน เอกชนท่ีรับนักเรียนนานาชาติ ในระดับอุดมศึกษาทรง เข้าศึกษาในแผนกวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเมืองโล ชานน์ ต่อมาในปี พ.ศ. 2481 ได้เสด็จนิวัตกลับ ประเทศไทยพร้อมด้วยพระบรมเชษฐาธิราช พระบรม ราชชนนี และสมเดจ็ พระนางเจ้าพี่นางเธอ

พระราชประวตั ิ ครองราชย์ ขณะท่ีพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าภูมิพลอดุลย เดช พระชนมพรรษา 18 พรรษา รฐั บาลได้กราบบังคม ทูลอัญเชญิ ขึ้นครองราชย์เป็นพระมหากษัตริย์ รัชกาลท่ี 9 แห่งพระบรมราชจักรีวงศ์ เมื่อวันท่ี 9 มิถุนายนนั้น ทรงเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดช และรัฐบาลได้แต่งตั้งผู้สาเร็จราชการ บริหารราชการแผ่นดินแทนพระองค์ เนื่องจากยังทรง พระเยาว์ และตอ้ งทรงศกึ ษาต่อ ณ ต่างประเทศ เมื่อวันท่ี 19 สิงหาคม 2489 ได้เสด็จพระราชดาเนิน กลับไปทรงศึกษาต่อ ณ กรุงโลซานน์ แม้พระองค์จะ ทรงโปรดวิชาวิศวกรรมศาสตร์ แต่เพื่อประโยชน์ในการ ปกครองประเทศได้ทรงเปลี่ยนมาศึกษาวิชาการ ปกครองแทน เช่น วิชากฎหมาย อักษรศาสตร์ รัฐศาสตร์

พระราชประวัติ รัฐประศาสนศาสตร์ ภูมิศาสตร์ นอกจากนี้ ทรงศึกษา และฝึกฝนการดนตรีด้วยพระองค์เองด้วย ใน พ.ศ. 2 4 9 1 ร ะ ห ว่ า ง ท ร ง ศึ ก ษ า อ ยู่ ณ ป ร ะ เ ท ศ สวิตเซอร์แลนด์นั้น สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลย เด ช ไ ด้ ทรง ขั บรถ ย น ต์ไ ปทรง ร่ว มง า น ท่ีส ถ า น เอกอัครราชทูตไทย ณ กรุงปารีส ได้ทรงพบและมีพระ ราชหฤทัยสนิทเสน่หาในหม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ธิ ด า ข อ ง ห ม่ อ ม เ จ้ า นั ก ขั ต ร ม ง ค ล กิ ติ ย า ก ร เอกอัครราชทูตไทยประจากรงุ ปารสี ใ น ปี เ ดี ย ว กั น นี้ ส ม เ ด็ จ พ ร ะ เ จ้ า อ ยู่ หั ว ท ร ง ประสบอุบัติเหตุทางรถยนต์อย่างรุนแรง ทรงบาดเจ็บท่ี พระพักตร์ พระเนตรขวา และพระเศียร ทรงเข้ารับการ รักษาท่ีโรงพยาบาลมอร์เซส์ โปรดฯ ให้หม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์มาเฝ้าฯ ถวายการดูแลอย่างใกล้ชิดพระ สมั พนั ธภาพ

พระราชประวัติ จึงแน่นแฟ้นขึ้น และต่อมาได้ทรงหม้ันหม่อมราชวงศ์ สิริกิติ์ เมื่อวันท่ี 12 สิงหาคม 2492 โดยได้ พระราชทานพระธามรงค์วงท่ีสมเด็จพระบรมราชชนก หมั้นสมเดจ็ พระราชชนนี สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชทรงได้รับการ อภิบาลอย่างดียิ่งจากสมเด็จพระราชชนนี จึงมีพระ ปรีชาสามารถปราดเปรื่องและมีพระจริยวัตรเปี่ยมด้วย คุณธรรมทุกประการ ซึ่งน้อมนาให้พระองค์เป็น พระมหากษัตริย์ผู้ทรงดารงสิริราชสมบัติเพียบพร้อม ด้วยทศพิธราชธรรม จักรวรรดิวัตรธรรม และราช สังคหวัตถุ ทรงเจริญด้วยพระเกียรติคุณบุญญาธิการ เจิดจารัส ทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจทั้งปวงเพื่อ ประโยชน์สุขของปวงชน เป็นท่ีแซ่ซ้องสรรเสริญทุก ทศิ านุทิศในเวลาต่อมาตราบจนปจั จบุ นั

พระราชประวัติ พระราชพิธีราชาภิเษกสมรส เมื่อวันท่ี 27 กุมภาพันธ์ 2493 สมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชเสด็จพระราชดาเนินกลับ ประเทศไทย โปรดเกล้าฯให้ตั้งการพระราชพิธีถวาย พระเพลิง พระบรมศพพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว อานนั ทมหิดล ระหว่างวันท่ี 28-30 มีนาคม 2493 และเมื่อวันท่ี 28 เมษายน 2493 ทรงประกอบพิธี ราชาภิเษกสมรส กับ หม่อมราชวงศ์สิริกิติ์ กิติยากร ท่ีวังสระปทุม โดยสมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราช เทวี พระพันวสาอัยยิกาเจ้า พระราชทานหล่ังน้าพระ มหาสังข์ ทรงจดทะเบียนสมรสตามกฎหมาย เช่นเดียวกับประชาชน และได้ทรงสถาปนาหม่อม ราชวงศส์ ิริกิต์ิ ขึ้นเปน็ สมเดจ็ พระราชนิ ีสริ กิ ติ ิ์

พระราชประวตั ิ

พระราชประวัติ หลังจากนั้น ได้เสด็จไปประทับพักผ่อน ณ พระราชวัง ไกลกังวล หัวหิน และท่ีนี่เป็นแหล่งเกิดโครงการอัน เนื่องมาจากพระราชดาริโครงการแรกคือ พระราชทาน “ถนนสายห้วยมงคล” ให้แก่ “ลุงรวย” และชาวบ้าน ท่ีมาช่วยกันเข็นรถพระท่ีน่ังขึ้นจากหล่มดิน ท้ังนี้เพราะ แม้ “ห้วยมงคล” จะอยู่ห่างอาเภอหัวหิน เพียง 20 กิโลเมตร แต่ไม่มีถนนหนทาง ชาวบ้านได้รับความ เดือดร้อนในการดารงชีวิตมาก ถนนสายห้วยมงคลนี้จึง เป็นถนนสายสาคัญท่ีนาไปสู่โครงการในพระราชดาริ เพื่อบาบัดทุกข์ บารุงสุขแก่พสกนิกรอีกจานวนมากกว่า 2,000 โครงการในปจั จบุ นั

พระราชประวตั ิ พระบรมราชาภิเษก วันท่ี 5 พฤษภาคม 2493 สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิ พลอดุลยเดชได้ทรงประกอบพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ตามโบราณขัตติยราชประเพณี ณ พระท่ีน่ังไพศาล ทักษิณ ในพระมหาราชวัง เฉลิมพระปรมาภิไธยตาม จารึกในพระสุพรรณบัฏว่า “พระบาทสมเด็จพระ ปรมินทร มหาภูมิพลอดุลยเดช มหิตลาธิเบ ศร รามาธิบดี จักรีนฤบดินทร สยามินทราธิราช บรมนาถ บพิตร” และได้พระราชทานพระปฐมบรมราชโองการ เป็นสัจวาจาว่า “เราจะครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อ ประโยชน์สุขของมหาชนชาวสยาม” ในการนี้ได้ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาเฉลิมพระเกียรติยศ สมเด็จ พระราชินีสิริกิติ์ พระอัครมเหสีเป็น สมเด็จพระนางเจ้า สิรกิ ติ ิ์ พระบรมราชนิ ี วนั ที่ 5 มิถุนายน 2493

พระราชประวัติ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้เสด็จพร้อมด้วย สมเด็จ พระนางเจ้าพระบรมราชินี ไปยังสวิตเซอร์แลนด์อีกครั้งเพื่อ ทรงรักษาพระสุขภาพ และเสด็จพระราชดาเนินนิวัติพระ นคร เมื่อ 2 ธันวาคม 2494 ประทับ ณ พระตาหนัก จิตรลดารโหฐาน และพระที่น่ังอัมพรสถาน ทั้งสอง พระองค์มพี ระราชธดิ า และพระราชโอรส 4 พระองค์ดังนี้ 1. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าอุบลรัตนราชกัญญา สิริ วัฒนาพรรณวดี ประสูติเมื่อ 5 เมษายน 2494 ณ โรงพยาบาลมองซัวนี่ โลซาน 2. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าวชิราลงกรณ์ฯ ประสูติ เมือ่ 28 กรกฎาคม 2495 ณ พระที่น่ังอมั พรสถาน ต่อมา ทรงได้รับสถาปนาเป็น สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช เจ้าฟ้า มหาวชริ าลงกรณ สยามมกฎุ ราชกมุ าร เมื่อ 28 กรกฎาคม 2515

พระราชประวตั ิ 3. สมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ เจ้าฟ้าสิรินธรเทพรตั นสุดา กิติวัฒนาดุลนโสภาคย์ ประสูติเมื่อ 2 เมษายน 2498 ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน ภายหลังทรงได้รับสถาปนา เป็น สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิริน ธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เมื่อ วนั ท่ี 5 ธันวาคม 2520 4. สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี ประสูติเมื่อ 4 กรกฎาคม 2500 ณ พระทีน่ ง่ั อมั พรสถาน

พระราชประวัติ ทรงพระผนวช เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม 2499 พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวได้ทรงพระผนวช ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงจาพรรษา ณ พระตาหนักป้ันหย่า วัดบวรนิเวศวิหาร ปฏิบัติพระศาสนกิจ เป็นเวลา 15 วัน ระหว่างนี้ สมเด็จ พระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินี ทรงปฏิบัติพระราช กรณียกิจแทนพระองค์ ต่อมาจึงทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ สถาปนาเป็น สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ในรัชกาลนี้ได้ทรงพระกรุณาสถาปนา พระอิสริยยศสมเด็จพระบรมชนกนาถขึ้นเป็น สมเด็จพระ มหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก ทรง สถาปนา สมเด็จพระราชชนนี เป็น สมเด็จพระศรีนคริน ทราบรมราชชนนี ทรงสถาปนาสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา เป็น สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากลั ยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครนิ ทร์

พระราชประวตั ิ และทรงประกอบพระราชพิธีเฉลิมพระปรมาภิไธย สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราช พระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวอานันทมหิดลใหม่ เมื่อวันท่ี 8 มิถุนายน 2539 เพื่อให้สมพระเกียรติตามโบราณขัตติยราช ประเพณี ทั้งนี้ด้วยพระจริยวัตรอันเปี่ยมด้วยพระ กตัญญูกตเวทิตาธรรมอันเป็นท่ีแซ่ซ้องสรรเสริญพระ ปรมาภิไธยใหม่ทท่ี รงสถาปนาคือ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรมหาอานันทมหิดล อดุลย เดชวิมลรามาธิบดี จุฬาลงกรณราชปรียวรนัดดา มหิต ลานเรศวรางกูร ไอศูรยสันตติวงศวิสุทธ์ วรุตมขัตติย ศักตอรรคอุดม จักรีบรมราชวงศนิวิฐ ทศพิธราชธรรม อุกฤษฎนิบุณ อดุลยกฤษฎาภินิหารรังสฤษฏ์ สุสาธิต บูรพาธิการ ไพศาลเกียรติคุณอดุลพิเศษ สรรพเทเวศ รานุรักษ์ ธัญอรรคลักษณวิจิตร โสภาคย์สรรพางค์ มหาชโนตมงคประณตบาทบงกชยุคล

พระราชประวตั ิ อเนกนิกรชนสโมสรสมมต ประสิทธิวรยศมโหดมบรม ราชสมบัติ นพปฏลเศวตฉัตราดิฉัตร สรรพรัฐทศทิศ วิชิตไชย สกลมไหศวริยมหาสวามินทร มเหศวรมหินท รมหารามาธิราชวโรดม บรมนาถชาติอาชาวไศรย พทุ ธาทไิ ตรรัตนสรณารักษ์ วิศิษฏศักตอัครนเรศราธิบดี เมตตากรุณา สีตลหฤทัย อโนปมัยบญุ การ สกลไพศาล มหารัษฎาธิบดี พระอัฐมรามาธิบดินทรสยามินทราธิ ราช บรมนาถบพิตร”

พระราชประวัติ พระอจั ฉริยภาพ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทาน ความรักอันยิ่งใหญ่แก่อาณาประชาราษฎร์ พระราช ภ า ร กิ จ อั น ห นั ก เ พื่ อ ป ร ะ โ ย ช น์ สุ ข ข อ ง อ า ณ า ประชาราษฎร์ ปรากฏเป็นท่ีประจักษ์เทิดทูนพระเกียรติ คณุ ท้ังในหมู่ชาวไทยและชาวโลก จึงทรงได้รับการสดุดี และการทูลเกล้าฯ ถวายปริญญากิตติมศักดิ์เป็นจานวน มากทุกสาขาวิชาการ ทั้งยังมีพระอัจฉริยภาพด้าน ดนตรีอย่างสูงส่ง ทรงพระราชนิพนธ์เพลงอันไพเราะนับ แต่พระเยาว์จนถึงปัจจุบันรวม 47 เพลง ซึ่งนักดนตรี ทั้งไทย และต่างประเทศนาไปบรรเลงอย่างแพร่หลาย เป็นท่ีประจักษ์ในพระอัจฉริยภาพจนสถาบันดนตรีใน ออสเตรเลียได้ทูลเกล้าฯ ถวายสมาชิกภาพกิตติมศักดิ์ แด่พระองค์ นอกจากน้ันยงั ทรงเป็นนกั กฬี าชนะเลิศ

พระราชประวตั ิ รางวัลเหรียญทองในการแข่งขันกีฬาซีเกมส์ทรงได้รับ ยกย่องเป็น “อัครศิลปิน” ของชาตินอกจากทรงพระ ปรีชาสามารถด้านดนตรีแล้วยังทรงสร้างสรรค์งาน จิ ต ร ก ร ร ม แ ล ะ ว ร ร ณ ก ร ร ม อั น ท ร ง คุ ณ ค่ า ไ ว้ เ ป็ น ทรัพย์สินทางปัญญาของชาติ เช่น ทรงพระราชนิพนธ์ แปลเรื่อง ติโตนายอินทร์ผู้ปิดทองหลังพระและพระราช นิพนธ์เรื่องชาดกพระมหาชนก พระราชทานคติธรรมใน การดารงชีวิตด้วยความวิริยะอุตสาหะอดทนจนพบ ความสาเร็จแก่พสกนิกรทั้งปวง

พระราชประวตั ิ ปวงชนชาวไทยต่างมีความจงรกั ภักดีเป็นท่ียิง่ ดังปรากฏ ว่าในวาระสาคัญ เช่น ศุภวาระเถลิงถวัลยราชครบ 25 ปี พระราชพิธีรัชดาภิเษก 9 มิถุนายน 2514 พระราช พิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 5 รอบ 5 ธนั วาคม 2530 พระราชพิธีรัชมังคลาภิเษกทรงดารงสิริราช สมบัติยาวนานกว่าพระมหากษัตริย์ทุกพระองค์ 2 กรกฎาคม 2531 มหามงคลสมัยฉลองสิริราชสมบัติ ครบ 50 ปี 9 มิถุนายน 2539 และในโอกาสพระราช พิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธันวาคม 2542 รัฐบาลและประชาชนชาวไทยได้พร้อมใจกันจัด งานเฉลิมพระเกียรติและถวายพระพรชัยมงคลด้วย ความกตัญญูกตเวที สานึกในพระมหากรุณาธิคุณล้น เกล้าล้นกระหม่อมอย่างสมพระเกยี รตทิ กุ วาระ

พระราชกรณียกิจ ตั้งแต่พทุ ธศักราช 2502 เปน็ ต้นมา พระบาทสมเด็จพระ เ จ้า อ ยู่ หั ว พ ร้ อ มด้ว ย สมเ ด็จ พ ร ะ น า ง เ จ้า สิริ กิติ์ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จพระราชดาเนินไปทรงกระชับ สัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ ทั้งในยุโรป อเมริกา ออสเตรเลีย และ เอเชีย และได้เสด็จพระราชดาเนินไป ทรงเยี่ยมราษฎรในภูมิภาคต่างๆ ทุกภาคทรงประจักษ์ใน ปัญหาของราษฎรในชนบทที่ดารงชีวิตด้วยความยากจน ลาเค็ญและด้อยโอกาส ได้ทรงพระวิริยะอุตสาหะหาทาง แก้ปัญหาตลอดมาตราบจนปัจจุบัน อาจกล่าวได้ว่า ทุก หนทุกแห่งบนผืนแผ่นดินไทยที่รอยพระบาทได้ประทับลง ไดท้ รงขจดั ทกุ ข์ยากนาความผาสุกและทรงยกฐานะความ เป็นอยู่ของราษฎร ให้ดีขึ้นด้วยพระบุญญาธิการและพระ ปรีชาสามารถปราดเปรื่องพร้อมด้วยสายพระเนตรอัน ยาวไกล ทรงอุทิศพระองค์เพือ่ ประโยชน์สขุ ของราษฎร

พระราชกรณียกิจ และเพื่อความเจริญพัฒนาของประเทศชาติตลอด ระยะเวลาโดยมิได้ทรงคานึงประโยชน์สุขส่วนพระองค์ เลย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทาน โครงการนานัปการมากกว่า 2,000 โครงการ ทั้ง การแพทย์สาธารณสุข การเกษตร การชลประทาน การพัฒนาท่ีดิน การศึกษา การพระศาสนา การสังคม วัฒนธรรม การคมนาคม ตลอดจนการเศรษฐกิจเพื่อ ประโยชน์สุขของพสกนิกรในชนบท ท้ังยังทรงขจัด ปัญหาทุกข์ยากของประชาชนในชุมชนเมือง เช่น ทรง แก้ปัญหาการจราจรอุทกภัยและปัญหาน้าเน่าเสียใน ปัจจุบัน ได้ทรงริเร่ิมโครงการการช่วยสงเคราะห์ และ อนรุ ักษช์ า้ งของไทยอีกด้วย

พระราชกรณียกิจ



พระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัว ทรงตรากตราพระวรกาย ทรงงานอย่างมิทรงเหน็ดเหนื่อย แม้ในยามทรงพระ ประชวร ก็มิได้ทรงหยุดยั้งพระราชดาริเพื่อขจัดความ ทุกข์ผดุงสุขแก่พสกนิกร กลางแดดแผดกล้าพระเสโท หลั่งชุ่มพระพักตร์ และพระวรกายหยาดตกต้องผืนปฐพี ประดุจน้าทิพย์มนต์ชโลมแผ่นดินแล้งร้าง ให้กลับคืน ความอุดมสมบูรณ์นับแต่เสด็จเถลิงถวัลยราชตราบจน ปัจจุบันแม้ในยามประเทศประสบภาวะเศรษฐกิจ ต้ังแต่ ปี พ.ศ. 2539 เป็นต้นมา ก็ได้พระราชทานแนวทาง ดารงชีพแบบ “เศรษฐกิจพอเพียง” และ “ทฤษฎีใหม่” ให้ราษฎรได้พึ่งตนเอง ใช้ผืนแผ่นดินให้เกิดประโยชน์ สูงสุดประกอบอาชีพอยู่กินตามอัตภาพซึ่งราษฎรได้ ยึดถือปฏิบตั ิเปน็ ผลดีอยใู่ นปัจจุบนั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook