Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รัชกาลที่ 6

รัชกาลที่ 6

Published by pawukk.49, 2020-06-21 05:15:59

Description: รัชกาลที่ 6

Search

Read the Text Version

พระราชประวตั ิ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรง พระราชสมภพเมื่อ วันเสาร์ท่ี 1 มกราคม พ.ศ. 2421 พระองค์ทรงเป็นพระราชโอรสของพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าเสาวภา ผ่องศรี ( สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชเทวี ) เมื่อยัง ทรงพระเยาว์ทรงพระนามว่า \"สมเด็จเจ้าฟูามหา วชิราวุธ\" ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จเจ้าฟูากรมขุนเทพ ทวาราวดี ในปี พ.ศ. 2431 และต่อมาในปี พ.ศ. 2437 สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชเจ้าฟูาชายมหา วชิราวุธ ได้รับสถาปนาเป็นสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช สยามมงกุฎราชกุมาร ดํารงตําแหน่ง รัชทายาท พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าฯ จึงได้รับสถาปนาเป็น สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราชสยามมงกุฎราชกุมาร ดํารง ตาํ แหน่งรัชทายาทแทน

พระราชกรณียกิจ ดา้ นการศึกษา ในด้านการศึกษา ทรงรเิ ริ่มสร้างโรงเรยี นขึน้ แทน วัดประจารัชกาล ไดแ้ ก่ โรงเรยี นมหาดเลก็ หลวง ซึ่งใน ปัจจบุ ันคือโรงเรียนวชริ าวธุ วิทยาลยั ทง้ั ยงั ทรงสนบั สนนุ กจิ การของโรงเรียนราชวทิ ยาลยั ซึ่งพระบาทสมเด็จพระ จุลจอมเกลา้ เจ้าอยหู่ ัวโปรดเกล้าฯ ใหส้ ถาปนาขน้ึ ในปี พ.ศ. 2440 (ปจั จุบนั คอื โรงเรียน ภ.ป.ร. ราชวทิ ยาลัย ในพระ บรมราชปู ถัมภ์) - จดั การศึกษาระดับอุดมศกึ ษา โดยทรงพระกรุณาโปรด เกล้าฯ ยกฐานะ โรงเรียนข้าราชการพลเรือนฯ ข้ึนเปน็ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั ในปี พ.ศ. ๒๔๕๙ นบั เป็น มหาวิทยาลัยแห่งแรกของไทย - ทรงตราพระราชบญั ญตั ิประถมศึกษา ปพี .ศ. ๒๔๖๔ ให้ บดิ ามารดาส่งบตุ รเขา้ โรงเรยี นโดยไมเ่ สียค่าเล่าเรียน

พระราชกรณียกิจ - โปรดเกล้าให้จัดต้ังสถาบนั การศึกษาหนงึ่ และพระราชทานนาม ว่า โรงเรียนเพาะช่าง ในวันที่ ๗ มกราคม ๒๔๕๖ พระองค์เสด็จพระราชดําเนินทรง เปิดโรงเรียนเพาะช่างด้วยพระองค์เองด้วยจุดเริ่มต้นนี้ทําให้ ประเทศไทยยังมีช่างฝีมือทางศิลปกรรมไทยไว้สืบทอดและ สร้างสรรค์สิง่ ดีงามจนถึงปจั จบุ ัน การเปิดโรงเรียนในเมืองเหนือ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อคร้ังยังทรงดํารง พระอิสริยยศสยามมกุฎราชกุมารได้เสด็จพระราชทานนาม โรงเรียนปรินส์รอยแยลส์วิทยาลัย เมื่อวันที่ 2 มกราคม พ.ศ. 2449 ซึ่งไมเ่ ปน็ เพียงแต่การนาํ รูปแบบการศึกษาตะวันตกมายัง หัวเมืองเหนือเท่านั้น แต่ยังแฝงนัยการเมืองระหว่างประเทศ เอาไว้ด้วย เห็นได้จากการเสด็จประพาสมณฑลพายพั ทั้งสองคร้ัง

พระราชกรณียกิจ ระหว่าง พ.ศ. 2448-2450 พระองค์ได้ทรงสนพระทัยใน กิจการโรงเรียนที่จัดตั้งขึ้นมาใหม่ท้ังสิ้น โดยพระองค์ทรงบันทึก ไว้ในพระราชนิพนธ์ \"เที่ยวเมืองพระร่วง\" และ \"ลิลิตพายัพ\" ท้ังนี้ เปูาหมายของการจัดการศึกษายังแฝงประโยชน์ทางการเมืองที่ จะให้ชาวท้องถน่ิ กลมเกลียวกบั ไทยอกี ด้วย

พระราชกรณียกิจ ด้านการเศรษฐกิจ - จดั ตง้ั ธนาคารออมสนิ ขน้ึ เพือ่ ใหป้ ระชาชนรู้จักออม ทรพั ย์ และเชอ่ื มนั่ ในสถาบันการเงิน เนอื่ งจากมธี นาคารพาณิชย์ เอกชนท่ฉี อ้ โกง และตอ้ งล้มละลายปิดกจิ การ ทาให้ผฝู้ ากเงินได้รบั ความเสยี หายอยเู่ สมอ - ใช้พระราชทรัพยส์ ว่ นพระองคซ์ ้ือห้นุ ของ ธนาคาร สยามกัมมาจล ทุนจากัด(ปัจจบุ นั คือ ธนาคารไทยพาณิชย์) ซงึ่ มี ปญั หาการเงิน ทาใหธ้ นาคารของคนไทยแห่งนดี้ ารงอยมู่ าได้ - ทรงริเร่มิ ต้งั บรษิ ทั ปนู ซเี มนต์ไทย จากัดซง่ึ ไดเ้ ปน็ กจิ การอุตสาหกรรมสาคัญของไทยต่อเน่อื งมาจนปจั จุบัน - ทรงจดั ต้ังสภาเผยแผ่พาณชิ ย์ ซ่ึงเปน็ หน่วยงานคล้าย กับสภาพฒั นาการเศรษฐกิจในปจั จบุ ัน - โปรดเกลา้ ฯ ให้จดั เตรยี มแสดงสนิ คา้ ไทย คอื งาน สยามรัฐพิพิธภัณฑ์ ทสี่ วนลุมพนิ ี แตง่ านตอ้ งเลกิ ลม้ ไปเพราะสวรรคต เสียกอ่ น

พระราชกรณียกิจ

พระราชกรณียกิจ ด้านการคมนาคม - ทรงปรับปรุงและขยายงานกิจการรถไฟ ให้ รวมกรมรถไฟซึ่งเคยแยกเป็น ๒ กรมเข้าเป็นกรม เดียวกัน เรียกว่า กรมรถไฟหลวง เร่ิมเปิดกิจการเดิน รถไฟสายกรุงเทพฯ ถึงเชียงใหม่ ทรงเปิดเดินรถด่วน ระหว่างประเทศ สายใต้ติดต่อกับรถไฟมลายู (มาเลเซีย) - ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้สร้างสะพาน พระราม ๖ ข้ามแม่น้ําเจ้าพระยาเชื่อมทางรถไฟทั้งปวง ในพระราชอาณาจักรโดยโยงเข้ามาสู่ศูนย์กลางท่ีสถานี หวั ลําโพง - ทรงจัดตั้งกรมอากาศยาน ได้เร่ิมการขนส่ง ไปรษณียภัณฑ์ทางอากาศระหว่างกรุงเทพฯ ไปยัง นครราชสีมาเปน็ คร้ังแรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๖๓

พระราชกรณียกิจ

พระราชกรณียกิจ ด้านจติ รกรรม ทรงส่งเสริมการวาดภาพฝาผนัง เช่น ทรงให้ ทดลองเขียนภาพเทพชุ-มนุมในห้องพระเจ้า ณ พระท่ี นั่งพิมานในพระราชวังสนามจนั ทน์ กอ่ นท่ีจะนําไปวาดท่ี ฝาผนังพระวิหารทิศ วัดพระปฐมเจดีย์ ทั้งยังทรงพระ กรุณาให้หาผู้เช่ียวชาญต่างประเทศด้านจิตรกรรมและ ประติมากรรม คือ PROF.C.FEROCI หรือท่าน ศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรีเข้าเฝูา เพื่อส่งเสริมให้ ศิลปินไทยได้เรียนรู้ศิลปะสากลขึ้น อันส่งผลต่อการ พัฒนาแนวคิดสร้างสรรค์ทางด้านศิลปะไทยส่วน พระองค์สนพระทัยในการวาดภาพล้อ ทรงวาดภาพล้อ ไว้หลายชุด แล้วส่งไปพิมพ์ในหนังสือดุสิตสมิต ภาพล้อ เหล่านี้ถ้าเป็นภาพล้อผู้ใด ผู้น้ันก็จะซื้อในราคาสูง เงิน คา่ ภาพลอ้ จะพระราชานไปใชใ้ นกิจการกศุ ลทง้ั สิ้น

พระราชกรณียกิจ ด้านศลิ ปวัฒนธรรมไทย - ทรงต้ังกรมมหรสพขึ้น เพือ่ ฟื้นฟูศิลปวัฒนธรรมไทย - ทรงตั้งโรงละครหลวงขึ้นเพื่อส่งเสริมการแสดงละคร ในหมู่ข้าราชบรพิ าร - ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ออกแบบอาคาร สมัยใหม่เป็นแบบทรงไทย เชน่ ตึกอกั ษรศาสตร์ ซึง่ เ ป็ น อ า ค า ร เ รี ย น ห ลั ง แ ร ก ข อ ง จุ ฬ า ล ง ก ร ณ์ มหาวิทยาลยั และอาคารโรงเรียนวชริ าวธุ วิทยาลัย

พระราชกรณียกิจ ด้านการต่างประเทศ พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงมีพระ บรมราชโองการประกาศสงครามกับประเทศฝุายเยอรมัน ใน สงครามโลกคร้ังที่ 1 เมื่อวันที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2460 โดย ประเทศไทยได้เข้าร่วมกับประเทศฝุายสัมพันธมิตร ซึ่ง ประกอบด้วยประเทศองั กฤษ ฝรง่ั เศส และรัสเซียเป็นผู้นาํ พร้อม ท้ังได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ส่งทหารไทยอาสาสมัครไป ร่วมรบในสมรภูมิยุโรปด้วย ผลของสงครามประเทศฝุาย สัมพันธมิตรได้ชัยชนะ ทําให้ประเทศไทยมีโอกาสเจรจากับ ประเทศมหาอํานาจหลายประเทศ ในการแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่ เป็นธ รรม เช่น สนธิสัญญาสิทธิสภาพนอกอาณาเขต สนธิสัญญาจํากัดอํานาจการเก็บภาษีของพระบาทสมเด็จพระ มงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว และ สนธิสัญญาจํากัดอํานาจกลาง ประเทศไทย

พระราชกรณียกิจ ด้านการแพทย์และการสาธารณสุข - ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ต้ังโรงพยาบาล จุฬาลงกรณ์ และวชิรพยาบาล เพื่อรักษาพยาบาลประชาชนที่ เจบ็ ไข้ได้ปุวย - ทรงเปิดสถานเสาวภา เมื่อวันที่ ๗ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๖๕ เพื่อผลิตวัคซีนและเซรุ่ม เป็นประโยชน์ท้ังแก่ประชาชน ชาวไทยและประเทศใกล้เคียงอีกด้วย - ทรงเปิดการประปากรุงเทพฯ เมื่อวันที่ ๑๔ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๔๕๗

พระราชกรณียกิจ ด้านกิจการเสือปุาและลกู เสือ ทรงจัดตั้งกองเสือปุาเมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2454 และทรงจัดตั้งกองลูกเสือกองแรกขึ้นที่โรงเรียน มหาดเล็กหลวง (วชิราวุธวิทยาลัย ในปัจจุบัน) ด้านการฝึกสอน ระบอบประชาธิปไตย ทรงทดลองต้ัง \"เมืองมัง\" หลังพระตําหนัก จิตรลดาเดิม ทรงจดั ให้เมืองมัง มรี ะบอบการปกครองของตนเอง ตามวิถีทางประชาธิปไตย รวมถึงเมืองจําลอง \"ดุสิตธานี\" ใน พระราชวงั ดสุ ิต (ต่อมาทรงย้ายไปทีพ่ ระราชวังพญาไท)

พระราชกรณียกิจ ด้านวรรณกรรมและหนงั สือพิมพ์ ทรงส่งเสริมให้มีการแต่งหนังสือ โดยทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติวรรณคดีสโมสร สําหรับใน ด้านงานหนังสือพิมพ์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตรา พระราชบญั ญัติสมุด เอกสาร พ.ศ. 2465 ขนึ้

พระราชกรณียกิจ ด้านส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย - ทรงส่งเสริมสิทธิเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น และวิพากษ์วิจารณ์ผ่านสื่อมวลชนที่สําคัญ ในยุคน้ันคือ หนังสือพิมพ์ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่ามีเสรีภาพสูงยิ่งกว่าสมัยหลัง พ.ศ. ๒๔๗๕ - ทรงทดลองและฝึกให้ข้าราชบริพารรู้จักการ ปกครองระบอบประชาธิปไตยโดยทรงสร้างเมืองจําลอง \"ดุสิต ธานี\" ขึ้น เป็นเมืองที่มีพรรคการเมือง,การเลือกตั้ง, และการ บริหารตามระบอบประชาธิปไตย

พระราชกรณียกิจ กบฎ ร.ศ. 130 ในปี พ.ศ. 2454 เกิดเหตุการณ์กบฏ ชื่อว่า กบฎ ร.ศ. 130 ในขณะน้ันพระบาทสมเด็จพระมงกูฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงซ้อมรบ กับกองทหารเสือปุาที่ จ.นครปฐม กบฏคณะนี้เป็นนายทหารช้ันผู้น้อย ประมาณ 100 คน โดยมีจุดประสงค์ที่จะเปล่ียนแปลงการปกครอง แต่ความลับรั่วไหลถึงสมเด็จพระเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟูากรมหลวง พิษณุโลกประชานารถ จงึ ไดด้ ําเนินการจบั กมุ ไว้ได้ และได้ต้ังศาลพิเศษ พิจารณาคดีนี้ ผลของการตัดสินคดี คือ สั่งลงโทษประหารชีวิต นายทหารที่เป็นหัวหน้าก่อการกบฎ 3 นาย จําคุกตลอดชีวิต 20 นาย จําคกุ 20 ปี 32 นาย สว่ นทีเ่ หลือใหจ้ ําคุก 15 ปี และ 12 ปี ลดหลั่น กันไป เมื่อตัดสินพิจารณาคดีเสร็จส้ินลง จึงได้นําความตัดสิน ขึ้น กราบบังคมทูลขอพระราชทานความเห็นชอบตามที่เสนอทูลเกล้าฯ ถวายไปในตอนแรก เมื่อพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรง ได้รับทราบ จงึ มพี ระราชปรารภ ความว่า “เราไม่ได้มีจิตพยาบาทคาดร้ายแก่พวกนี้ เห็นควรลดหย่อนผ่อนโทษ โดยฐานกรุณา ซึง่ เป็นอาํ นาจของพระเจา้ แผ่นดินที่จะยกใหไ้ ด้”

พระราชกรณียกิจ ด้วยพระราชดํารัสดังนี้ ผู้ก่อการกบฎจึงได้รับการผ่อนโทษ ทําให้ไม่มี ผู้ใดต้องโทษประหารชีวิตและในที่สุดทุกคนก็พ้นโทษจําคุกออกมา ใน การที่ผู้ก่อการกบฏได้รับพระราชทานลดโทษน้ัน ได้มีผู้ก่อการกบฎ ท่านหนึ่งไดเ้ ขียนไว้วา่ “พระมหากรุณาธิคุณที่มีต่อพวกเรา ซึ่งนับว่าเปูนคร้ังที่สําคัญอย่างยิ่ง ล้นก็คือ ได้พระราชทานชีวิตพวกเราไว้จากคําพิพากษาของกรรมการ ศาลทหาร โดยเรามิแน่ใจนักว่า หากมิใช่พระราชาพระองค์นี้ทรงเป็น ประมุขแล้ว พวกเราจะไดพ้ ้นจากการประหารชีวติ หรือไม่” ด้วยเหตุการณ์ดังที่กล่าวมาน้ัน เป็นส่ิงที่ยืนยันได้อย่างแน่ชัดที่สุดว่า พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีน้ําพระทัยที่ผู้เป็นใหญ่ ควรจะมี คือ ทศพิธราชธรรม .


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook