โรงเรียนทหารม้า วิชา ผู้นาหนว่ ย รหสั วชิ า ๐๑๐๒๐๕๐๔๐๒ หลักสตู รนายสบิ อาวโุ ส แผนกวชิ าทวั่ ไป กศ.รร.ม.ศม. ปรัชญา รร.ม.ศม. “ฝกึ อบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทันสมัย ธารงไวซ้ ่ึงคุณธรรม”
ปรชั ญา วสิ ัยทศั น์ พันธกิจ วตั ถปุ ระสงค์การดาเนนิ งานของสถานศึกษา เอกลักษณ์ อตั ลักษณ์ ๑. ปรัชญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ท่ีใช้ม้าหรือส่ิงกาเนิดความเร็วอ่ืน ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าท่ีมี ความสาคญั และจาเป็นเหลา่ หนงึ่ สาหรบั กองทหารขนาดใหญ่ เชน่ เดยี วกับเหล่าทหารอืน่ ๆ โดยมีคุณลักษณะ ที่มีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคล่ือนที่ อานาจการยิงรุนแรง และอานาจในการทาลายและข่มขวัญ อันเป็นคณุ ลักษณะทีส่ าคญั และจาเป็นของเหลา่ โรงเรยี นทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารม้า มปี รัชญาดงั นี้ “ฝกึ อบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทนั สมยั ธารงไว้ซ่งึ คณุ ธรรม” ๒. วิสัยทัศน์ “โรงเรียนทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารม้า เปน็ ศนู ยก์ ลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าท่ีทันสมัย ผลติ กาลังพลของเหลา่ ทหารม้า ให้มีลกั ษณะทางทหารท่ีดี มีคุณธรรม เพ่ือเป็นกาลงั หลักของกองทพั บก” ๓. พันธกิจ ๓.๑ วิจัยและพัฒนาระบบการศกึ ษา ๓.๒ พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศกึ ษา ๓.๓ จดั การฝกึ อบรมทางวชิ าการเหลา่ ทหารม้า และเหล่าอืน่ ๆ ตามนโยบายของกองทพั บก ๓.๔ ผลติ กาลงั พลของเหลา่ ทหารม้า ใหเ้ ปน็ ไปตามวัตถุประสงคข์ องหลักสตู ร ๓.๕ พฒั นาสอื่ การเรยี นการสอน เอกสาร ตาราของโรงเรียนทหารม้า ๓.๖ ปกครองบงั คบั บญั ชากาลงั พลของหนว่ ย และผูเ้ ข้ารับการศึกษาหลักสตู รต่างๆ ให้อยู่บนพ้ืนฐาน คณุ ธรรม จริยธรรม ๔. วตั ถปุ ระสงคข์ องสถานศกึ ษา ๔.๑ เพ่ือพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ใหก้ บั ผเู้ ข้ารบั การศึกษาได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ๔.๒ เพ่ือพัฒนาระบบการศึกษา และจัดการเรียนการสอนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ให้มีคุณภาพอย่าง ต่อเน่ือง ๔.๓ เพ่ือดาเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารช้ันประทวน ท่ีโรงเรียนทหารม้าผลิต และกาลังพลที่เข้า รับการศึกษา ใหม้ คี วามร้คู วามสามารถตามท่ีหนว่ ย และกองทพั บกต้องการ ๔.๔ เพอื่ พฒั นาระบบการบริหาร และการจดั การทรัพยากรสนบั สนุนการเรียนรู้ ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ๔.๕ เพื่อพัฒนาปรับปรุงส่ือการเรียนการสอน เอกสาร ตารา ให้มีความทันสมัยในการฝึกศึกษาอย่าง ต่อเนอื่ ง ๔.๖ เพื่อพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการ กบั สถาบันการศกึ ษา หนว่ ยงานอน่ื ๆ รวมทงั้ การทานุบารงุ ศลิ ปวัฒธรรม ๕. เอกลกั ษณ์ “เปน็ ศนู ย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกาลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพิ่มอานาจกาลังรบของกองทพั บก” ๖. อตั ลกั ษณ์ “เดน่ สง่าบนหลงั มา้ เก่งกลา้ บนยานรบ” 1
คานา การศกึ ษาวิชาผู้นาหน่วย มีความมุ่งหมายทจ่ี ะให้ ผเู้ ขา้ รับการศึกษา รจู้ กั คุณคา่ และความ เข้าใจอนั ดี ในเร่อื งเกย่ี วกบั ศลิ ปะของการเป็นผู้นา หลกั การและเทคนิคของลกั ษณะผ้นู า เพ่ือนาไปใช้ กับหนว่ ยทหารจริง ๆ ซึ่งจะช่วยใหแ้ ตล่ ะคน มีมาตรฐานของลกั ษณะผู้นาหน่วยทีส่ งู ขึ้น อนั เปน็ สงิ่ พงึ ประสงคข์ องหน่วยทหารท่ัวไป และในสงครามสมัยใหม่ แผนกวิชาทัว่ ไป กศ.รร.ม.ศม. 2
สารบัญ บทท่ี หน้า 1 4-6 2 7-11 3 12-16 4 17-26 5 27-34 6 35-39 7 40-47 8 48-53 9 54-64 10 65-72 11 .............................................. 3
บทท่ี 1 กล่าวนา ตอนท่ี 1 กลา่ วทัว่ ไป 1. ความมุ่งหมายและขอบเขต ก. ค่มู ือราชการสนามเลม่ นี้ จดั ทาข้ึนเพ่ือความมงุ่ หมายทีจ่ ะใหผ้ ู้ท่จี ะเป็นผ้นู าหน่วยในอนาคต โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ หนว่ ยระดับตา่ กว่ากองพล ได้มี.- 1) คณุ คา่ และความเข้าใจอนั ดีในเร่ืองที่เก่ยี วกบั ศลิ ปะ ของการเป็นผนู้ าดีขึ้น 2) แนวทางปฏบิ ตั ิทีเ่ กยี่ วกับหลักการและเทคนิคของลกั ษณะผู้นา เพื่อจะไดน้ าไปใช้ให้บงั เกิดผล ข. สาระสาคัญที่ปรากฏในคู่มือเล่มน้ี มีมูลฐานมาจากการวิเคราะห์ลักษณะผู้นาท่ีดีเด่น ท่ีเคย แสดงให้ปรากฏมาแล้ว ทั้งผู้นาทางทหาร และพลเรือน บรรดาผู้นาเหล่านี้ มักจะมีแนวทางปฏิบัติที่ไม่ เหมือนกนั หรือไมก่ น็ าวธิ ีการตา่ ง ๆ มาใชใ้ หเ้ กิดผลสาเร็จคนละแบบ อย่างไรก็ตาม ผู้นาทุกคน จะต้องนา หลักการ วิธกี าร และเทคนิคตา่ ง ๆ ซงึ่ จะกล่าวต่อไปในคู่มือเล่มน้ีมาผสมผสานกัน แล้วนาไปใช้ให้เกิด ประโยชน์บา้ งไมม่ ากกน็ ้อย การศกึ ษาหลกั การ และเทคนคิ ตา่ ง ๆ ใหถ้ อ่ งแท้ แลว้ นาหลกั เหล่าน้ีไปใช้กับ หน่วยทหารจริง ๆ จะช่วยให้แต่ละคนมีลักษณะผู้นาหน่วยในมาตรฐานท่ีสูงข้ึน อันเป็นสิ่งพึงประสงค์ของ หนว่ ยทหารทวั่ ไป และในสงครามสมัยใหม่ ค. การทาความเข้าใจกับหน่วยทหาร เป็นการกระทาขั้นต้นท่ีจะนาลักษณะผู้นาไปใช้ได้อย่าง ถูกต้อง หน่วยทหาร คือ กลุ่มของคนหรือหน่วยต่าง ๆ ที่เข้ามาอยู่ร่วมกัน เพ่ือปฏิบัติหน้าที่ทางทหารที่มี ความรับผิดชอบโดยแน่นอน และมอบหมายหน้าที่ให้แต่ละคนทา แต่ละหน่วยจะมีผู้นาและคนจานวน หน่งึ ประกอบกนั ขน้ึ เปน็ กลมุ่ กอ้ น ยงิ่ กว่านั้น จะต้องกาหนดเป้าหมายท่ีมีเหตุผล และวัตถุประสงค์ของ การมหี นว่ ยน้นั ผู้นาทางทหารจะต้องมีความเข้าใจเสียตั้งแต่แรกเร่ิมเกี่ยวกับวัตถุประสงค์ทีจัดให้มีหน่วย ตา่ ง ๆขนึ้ มา จะต้องมเี ป้าหมายทีม่ เี หตุผลในการจดั ตัง้ หนว่ ย รู้จกั ภารกิจ และความรับผิดชอบของตน และ สมาชิกภายในหน่วยเปน็ อย่างดดี ว้ ย ง. หลักการตา่ ง ๆ ท่ีมอี ยู่ในคู่มือเล่มนี้ สามารถนาไปใช้ได้ทุกสภาวการณ์โดยไม่ต้องแก้ไขดัดแปลง ไมว่ ่าจะเป็นสงครามในแบบหรอื นอกแบบ ไมว่ ่าผู้นานั้นจะเป็นหญิงหรือชาย ตลอดจนความสัมพันธ์ระหว่าง ชายกับหญิงท่ีอยรู่ ว่ มกันทัง้ ทางทหารและพลเรือน 2. แนวความคิดเก่ยี วกบั ลกั ษณะผู้นาทางทหาร ลักษณะผู้นาทางทหาร เป็นศิลปะเช่นเดียวกับศิลปะของวิชาแขนงอ่ืนๆ ซึ่งสามารถเรียนรู้ได้ ตาม ความสานึกในบั้นปลายนั้น ลักษณะผู้นามิใช่ส่ิงที่เกิดข้ึนโดยธรรมชาติ แต่จะต้องมีการพัฒนา บคุ ลกิ ลกั ษณะของบุคคล ทาความเข้าใจแลว้ นาหลกั การและเทคนคิ ตา่ ง ๆ ของลักษณะผนู้ าไปใชใ้ หถ้ กู ต้อง ศลิ ปะของการเป็นผนู้ าทางทหารนั้น สามารถเรียนรู้ได้ พฒั นาใหเ้ จริญกา้ วหน้าได้ และสามารถนาไปใช้ตาม ความเหมาะสมของแต่ละคน จะบงั เกดิ ผลมากนอ้ ยแล้วแต่ความสามารถและสตปิ ัญญาของแต่ละคน 3. เปา้ หมายของลักษณะผ้นู าทางทหาร จุดหมายปลายทางของลักษณะผู้นาทางทหาร คือ การปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จผลตามความมุ่ง หมาย ผ้ทู มี่ ลี กั ษณะผนู้ าที่แท้จรงิ จะตอ้ งปฏบิ ัติภารกิจให้สาเร็จโดยใช้วิธีการ และเวลาน้อยท่ีสุด โดย ก่อให้เกิดการประสานการปฏิบัติภายในกลุ่มได้อย่างกลมกลืนที่สุด และถูกต้องตามเป้าหมายท่ีทุกคนพึง ประสงค์ ดงั นน้ั การพัฒนาและรักษาไว้ในเร่ืองประสิทธิภาพ ความมีวินัยของหน่วย การมีขวัญ และมี ความรักหม่รู ักคณะ เปน็ หลกั การเบ้ืองต้นทจี่ ะนาไปสเู่ ปา้ หมายท่ตี อ้ งการ 4
ตอนที่ 2 คาจากดั ความ 4. ลกั ษณะผูน้ าทางทหาร คือ ศิลปะในการจูงใจคนและนาคนอื่นได้ เพื่อให้คนเหล่าน้ันมีความเชื่อถืออย่างจริงใจ มีความ เชือ่ ม่ัน มคี วามเคารพยาเกรง และให้ความร่วมมือดว้ ยความภักดี เพื่อปฏบิ ัติภารกจิ ให้บรรลผุ ลสาเร็จ 5. คณุ ลักษณะของผนู้ า คอื บคุ ลกิ ส่วนตวั ท่ีช่วยในการปฏบิ ตั ิหนา้ ทผี่ ู้นาทางทหาร 6. หลักของการเป็นผ้นู า คอื แนวทางพ้ืนฐานทีผ่ ู้นาคนใดคนหน่ึงใชส้ าหรบั เลือกวิธีปฏิบัติ และมีวิธีออกคาส่ังที่เหมาะสม กับสภาวการณ์น้นั ๆ 7. สงิ่ ช้สี อบการเป็นผู้นา ประกอบดว้ ย ก. ขวัญ คือ สภาวะทางจิตของแต่ละคนท่ีมีอยู่ ซ่ึงส่ิงเหล่าน้ีข้ึนอยู่กับท่าทีของผู้นั้น ที่มี ปฏิกริ ิยาต่อทุกสง่ิ ท่กี ระทบกระเทือนต่อคน ข. วินัย คือ ท่าทีของบุคคลหรือหมู่คณะ ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงการเชื่อฟังคาสั่งโดยไม่ลังเล หรือมี ความคิดที่จะกระทาการใด ๆ ท่เี หน็ ว่าเหมาะสม โดยไม่ต้องรอคาส่ัง ค. ความรักหมู่รักคณะ คือ การท่ีสมาชิกในหน่วยน้ันพากันแสดงออกซึ่งความจงรักภักดี ความ ภาคภมู ิใจ และ ความกระตือรอื รน้ ตอ่ หน่วยของตน ง. ความร้คู วามชานาญ คอื ความสามารถในทางเทคนิค ทางยุทธวิธี และทางกายภาพ ทั้งของบุคคล และของหนว่ ยเปน็ สว่ นรวม 8. หน่วยท่ปี ระสบผลสาเรจ็ คือ หนว่ ยที่ใช้วธิ ีการและเวลาน้อยที่สดุ เพื่อปฏิบัติภารกิจท่ีได้รบั มอบหมายใหเ้ กิดผลสาเร็จ อันเนอ่ื งมาจากมกี ารจดั และการฝึกเป็นอยา่ งดี 9. การปฏบิ ตั แิ ละการออกคาสัง่ ในลกั ษณะผู้นา คอื สิ่งใดก็ตามทผี่ นู้ าพดู และลงมอื ทา แล้วสามารถจูงใจให้ผอู้ น่ื ทาในสง่ิ ท่ตี นต้องการ 10. การกากับดแู ลด้วยตนเอง คือ ศิลปะประจาตัวของผู้นาแต่ละคนท่ีจะทาให้มีผู้ประพฤติปฏิบัติตามการกระทา และคาสั่งของ ตนโดยไม่ทาให้รบกวนผู้ใตบ้ ังคับบญั ชาจนเกินไป อนั เปน็ เหตใุ ห้ความริเริม่ ต่าง ๆ ลดน้อยลง 11. ผนู้ า ก. ตามความหมายทางทหาร ผูน้ าคือ บุคคลซึง่ มีหน้าท่ีรับผิดชอบหน่วยในระดับทเ่ี ล็กกว่าส่วนแยก (กองรอ้ ย ) ลงไป ข. ตามความหมายท่ัว ๆ ไป ผูน้ าคือ บคุ คลใดกต็ ามท่ีมีตาแหน่งหน้าทท่ี ่ตี ้องรับผิดชอบงาน ซ่ึงต้อง มอี ิทธิพลตอ่ ผู้อ่ืน และสามารถควบคมุ ผอู้ ่นื ใหป้ ฏบิ ตั ติ ามความต้องการของตนได้ 12. ผ้บู ังคบั บัญชา คือ บุคคลผู้ซึง่ ตามตาแหน่งหนา้ ที่ ได้มีการกาหนดหรือระบุไว้ตามกฎหมาย หรือระเบียบปฏิบัติว่า ให้มคี วามรับผดิ ชอบ ควบคมุ การปฏิบตั ขิ องหน่วย ตั้งแตร่ ะดับกองรอ้ ยหรือสงู กว่าขึ้นไป ** หมายเหตุ ตามความรสู้ กึ ในทางเทคนิค ความแตกตา่ งระหว่างผู้นา กับผู้บังคับบัญชา ยังคงมีอยู่ส่วน ความรู้สกึ ทว่ั ๆ ไปนน้ั ไมม่ อี ะไรแตกต่างกันเลย เพราะไม่ว่าผู้นาหรือผู้บังคับบัญชา ถ้าจะปฏิบัติหน้าท่ีของ ตนให้เกิดผลสาเร็จแล้ว ก็ต้องนาคุณลักษณะของการเป็นผู้นามาใช้ และนาหลักของการเป็นผู้นาไป ประยุกต์ใหเ้ ข้ากบั เหตกุ ารณ์ ซ่งึ จะไดก้ ล่าวโดยละเอยี ดตอ่ ไปในคู่มอื เลม่ นี้ 5
13. การบงั คับบัญชา คอื อานาจหน้าทต่ี ามกฎหมายทมี่ อบให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งที่เป็นทหาร ปฏิบัติต่อผู้ใต้บังคับบัญชา ได้ตามชั้นยศและตาแหน่งท่ีมีอยู่ การปฏิบัตินี้ประกอบด้วยความรับผิดชอบในการวางแผน การจัด การฝึก การแนะแนวทาง การประสานงาน การควบคุม และการนาหน่วยทหารให้ปฏิบัติภารกิจทั้ง โดยตรง และโดยปรยิ าย ใหเ้ กดิ ผลสาเร็จรวมทงั้ ต้องรับผิดชอบในการปกครอง การส่งกาลัง สุขภาพ ขวัญ วนิ ัย การบรรจุ และการเลอ่ื นยศ ปลดยา้ ยกาลงั พลด้วย 14. การจัดการ ก. กรรมวิธีเกี่ยวกับการใช้คน เงิน วัตถุ เวลา และสิ่งอานวยความสะดวกท้ังปวง เพ่ือปฏิบัติ ภารกจิ หรอื งานของหนว่ ยใหส้ าเรจ็ ลงด้วยดี ข. พนั ธกจิ ของการจัดการไดแ้ ก่ การวางแผน การจดั การแนะแนวทาง การประสานงาน และการ ควบคุม ค. พันธกจิ ของผู้จดั การไดแ้ ก่ การต้ังเป้าหมาย การเรง้ เรา้ การติดตอ่ การเปลย่ี นแปลง การดารงไว้ซึง่ ความร่วมมอื รว่ มใจ พัฒนาผู้ใตบ้ งั คับบัญชา และเปน็ ผใู้ ห้การตกลงใจ ง. ถงึ แม้จะไดแ้ สดงให้เหน็ ถึงความแตกต่างระหว่าง \" การจัดการท่ีดี \" และ \" การเป็นผู้นาท่ีดี \" ว่ามอี ยา่ งไรบ้าง แตท่ ้งั สองอย่างกม็ จี ุดมงุ่ หมายที่เหมือนกัน ส่วนใหญ่แล้วบทบาทของ \" ผู้จัดการ \" และ \" ผู้นา \" ไมส่ ามารถแยกใหเ้ ห็นได้อยา่ งเดน่ ชัด ...................................................... บทที่ 2 ลกั ษณะทั่วไปของการเปน็ ผู้นา ตอนท่ี 1 กล่าวทัว่ ไป 15. ธรรมชาตทิ ว่ั ไปของลกั ษณะผู้นา อาชพี ทหาร มิใชอ่ าชพี ทีผ่ ูกขาดในเรื่องลักษณะผู้นา เราสามารถจะพบผู้นาไดท้ ุกแห่งที่มนุษย์มีความ อุตสาหะ ไม่เพียงแต่ในหน่วยงานอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานของรัฐบาลเท่าน้ัน ความก้าวหน้าหรือการ ประสบผลสาเร็จ ข้นึ อยกู่ บั คณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพของลักษณะผนู้ า 16. ธาตุแท้ของลกั ษณะผูน้ า ลกั ษณะผู้นาประกอบไปด้วยส่วนสาคญั พืน้ ฐาน 3 ประการ คือ ผนู้ า, หน่วยหรอื กลมุ่ ชนทจ่ี ะนา และ สถานการณ์ซ่ึงผู้นาและหน่วยจะต้องเผชิญ ไม่มีตาหรับวิเศษใดๆ ที่จะทาให้คนเป็นผู้นาข้ึนมาได้ และไม่มี ผนู้ าคนใดทป่ี ระสบผลสาเรจ็ ในวธิ ีทีเ่ หมอื นกนั โดยตลอด จากการวิเคราะห์ปัญหาที่เกิดข้ึนเก่ียวกับการเป็น ผนู้ าในลกั ษณะต่างๆ กนั พบวา่ ผู้นาแต่ละคนจะแสดงออกในวธิ กี ารต่างๆ กัน อันเก่ียวกับบุคลิกลักษณะของ ตน บุคลิกลักษณะของบุคคลภายในหน่วย และส่วนประกอบของสถานการณ์ท่ีกาลังเผชิญหน้ากับตน ข้อ แตกต่างเหล่านี้จะถือเป็นวิธีการแก้ไขที่เป็นมาตรฐานไม่ได้ บุคคลท่ีมีไหวพริบดี ถึงแม้จะไม่มีประสบการณ์ สามารถจะเรียนรู้, ฝึกหดั , เพาะนสิ ยั และนาเทคนิคของการเปน็ ผนู้ าไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชน์ได้ ผู้นาแต่ละคน จะต้องรวบรวมวธิ แี ก้ปญั หาเฉพาะเรอื่ งของตนเอาไว้ แล้วนามาวเิ คราะห์ กบั สว่ นสาคัญพน้ื ฐาน 3 ประการ ของลกั ษณะผู้นาดงั นี้.- ก. ผู้นา การศึกษาเร่ิมแรกเกี่ยวกับลักษณะผู้นา มักจะเพ่งเล็งมาท่ีตัวบุคคลผู้ที่จะมาเป็นผู้นา หลายช่ัวศตวรรษมาแล้ว คนท่ีจะมาเป็นผู้นาหรือมีชัยชนะ จะต้องเป็นผู้ที่มีกาลังร่างกายแข็งแรง หรือใช้วิธี บังคับ ประกอบกับมีบุคลิกลักษณะเด่นเหนือบุคคลอื่น ต่อมาจึงเร่ิมมีความเชื่อถือเพ่ิมขึ้นทีละน้อย ว่า ลกั ษณะผนู้ าสามารถทาให้เกดิ หรอื มีข้นึ ได้ และคณุ ลักษณะท่ีจะให้มีขึ้นน้ัน มีการเก่ียวโยงมาถึงลักษณะผู้นา ด้วย ได้มีการศึกษากันมากเพ่ือเผยให้เห็นว่า คุณลักษณะพิเศษอย่างใดอย่างหน่ึงเพียงอย่างเดียวจะเป็น 6
คุณลกั ษณะของผู้นาทงั้ หลาย หรอื วา่ จะต้องใช้คุณลกั ษณะหลายๆ อย่างประกอบกนั จงึ จะเป็นเครื่องบ่งบอก ถึงความสามารถในการเปน็ ผนู้ าทด่ี ี ข้อเสนอตา่ งๆ ของทางราชการยงิ่ มมี ากยิ่งแสดงให้เห็นว่ามีความคิดเห็น ทแี่ ตกตา่ งกันมากเกีย่ วกบั คณุ สมบตั ิประจาตวั บคุ คลดว้ ยความสามารถในการนาหนว่ ยที่ไดพ้ ิสจู นแ์ ล้ว ผู้นาท่ีดีท้ังหลายมักจะมีคุณสมบัติเหล่านี้เป็นบางอย่าง แต่ไม่มีใครท่ีมีหมดทุกอย่าง และมีไม่ก่ีคนท่ีจะมี คุณสมบัติเหมอื นๆ กันถา้ พิจารณาในแง่พฤตกิ รรมหลายๆ อย่างของมนุษย์ กรรมพันธ์ุ ก็เป็นสว่ นหน่งึ ท่ีมบี ทบาทท่ีเกย่ี วข้องกบั ลักษณะผู้นา แต่กไ็ มใ่ ช่องคป์ ระกอบท่สี าคัญนัก ความรคู้ วามชานาญ การเรยี นรู้ และองคป์ ระกอบแวดล้อมต่างๆ มีความสาคัญต่อการพัฒนาลักษณะผู้นา ใหเ้ กิดข้ึนมากกวา่ กรรมพนั ธุ์ ข. กลุ่มชน กลมุ่ ชนมีการแสดงออกในการตกลงใจ เพ่อื ใช้ลักษณะผู้นาอยู่ 2 ทางคือ โดยการ แสดงออกมาทั้งกลุ่มและโดยการรวมกันทีละคน องค์ประกอบท่ีควรจะนามาพิจารณา ประกอบด้วย โครงสรา้ งของหน่วย และผู้นาระดับรองลงไปท่ีเขม้ แขง็ พอทจ่ี ะหาได้ คุณลักษณะทางใจของกลุ่มชนตลอดจน พนื้ ฐานทางการศกึ ษา บคุ ลกิ ลักษณะของแตล่ ะคนท่ีเป็นสมาชิกในกลมุ่ ระดบั การฝึกทางทหารสภาพของวินัย ความรกั หมรู่ ักคณะ และขวัญ เคยมกี ารศึกษาเก่ยี วกับธรรมชาติท่ัวไปในลักษณะต่าง ๆ หลายคร้ังพอสรุปได้ว่า ผู้นาที่ดีน้ันให้การตัดสินใจ ไปในทางท่ีคล้อยตาม ตามความต้องการและความปรารถนาของกลุ่ม หลักการนี้ต้องนาไปใช้ด้วยความ ระมดั ระวังในเร่อื งที่เกย่ี วกับการทหารในเร่อื งการปฏบิ ตั ใิ หส้ าเร็จตามภารกิจ หรอื การพิจารณาในชั้นเหนือไม่ อาจเป็นผลดี แต่ผู้นาท่ีดีตอ้ งพยายามทุกวิถที างท่ีจะทาความเข้าใจในความต้องการ และความปรารถนา แล้ว หาหนทางปฏบิ ัติใหไ้ ด้ ค. สถานการณ์ ประกอบด้วย ภารกิจที่ได้รับมอบ, สภาวะแวดลอ้ ม และ องคป์ ระกอบอื่น ๆ นอกเหนือจากที่ได้กล่าวไว้แล้วในข้อ ก. และ ข. สถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนมักไม่ซ้ากัน สภาวะ แวดลอ้ มและภารกิจ เรม่ิ ตั้งแตค่ วามสบั สนดั่งเดิม, ความเรง่ ร้อน การปฏิบัติอย่างรวดเร็วในการรบมาจนถึง การปฏบิ ตั ิประจาวันท่เี กดิ ขนึ้ อยเู่ สมอ และสถานการณท์ ีไ่ ม่เก่ียวกับการรบท่ีประสบอยู่ทุกวันสถานการณ์แต่ ละอย่างท่ีพบเห็น มักจะแปลกและใหม่อยู่เรื่อยๆ มีปัญหาท่ีเกิดขึ้นแตกต่างกัน แต่ละปัญหามีคาตอบ โดยเฉพาะอยู่ในตวั ของมนั เอง จึงจาเปน็ ต้องมกี ารประเมินสถานการณท์ เ่ี ปล่ียนไปอย่างต่อเน่ือง ผู้นาท่ีเผชิญ กบั ปญั หาต่าง ๆ จะตอ้ งมีการดัดแปลงลกั ษณะผนู้ า เพอ่ื นาไปใช้แตล่ ะสถานการณใ์ ห้ไดผ้ ล 17. อานาจหนา้ ท่ีและลกั ษณะผนู้ าท่ีน่าเช่อื ถอื แม้ว่าเราจะอย่ใู นประเทศประชาธิปไตย และนับถือการปฏบิ ตั ติ ามระบอบประชาธิปไตยทีต่ อ้ งใช้การ ตัดสินใจ และลักษณะผู้นาอย่างสูงส่ง ผู้นาทางทหารต้องตระหนักดีว่า กาลังทางทหารจะต้องมีไว้เพื่อ ปกป้องประเทศชาติ สภาพของภารกิจและการจัดหน่วยมีไว้เพื่อปฏิบัติหน้าที่ตามปกติ ไม่มีโอกาสใช้ กระบวนการทางประชาธปิ ไตย กองทัพประกอบขน้ึ จากพ้นื ฐานซ่ึงไมใ่ ชป่ ระชาธิปไตย มีผู้นาตามลาดับชั้นแต่ ละคนรับผิดชอบในขอบเขตของตน ท้ังการตกลงใจและการใช้คนให้ปฏิบัติงาน ฉะนั้นวิธีการเร่ิมต้นของ ผู้นาทางทหารก็คือ มีอานาจหน้าที่ท่ีจาเป็นเพ่ือให้ได้มาซ่ึงความเช่ือถือตามต้องการ แต่ไม่ได้ หมายความว่าเป็นอานาจท่ีใหก้ ระทาตามอาเภอใจ หรือแบบดันทุรัง เพราะว่าเป็นผู้ต้องรับผิดชอบมาก การ ตัดสินใจเป็นเรื่องเฉพาะตัว ไม่อาจวางใจในการถกแถลงแบบประชาธิปไตย, การโต้วาที และพัฒนา ความเห็นท่ีสอดคล้องกันเกี่ยวกับประชาธิปไตยได้ จะต้องพัฒนาวินัยของตนเองให้อยู่ในระดับสูง หลีกเลยี่ งการตดั สนิ ใจอยา่ งเรง่ รบี โดยขาดการพิจารณา มีใจจดจ่ออยู่กับสวัสดิการของทหารในบังคับบัญชา ใหข้ อ้ ตกลงใจที่มีเหตุผลพจิ ารณาอย่างรอบครอบถงึ ปัจจยั ต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้อง 7
ผนู้ าทางทหารทด่ี ี จะต้องปลูกฝังให้รูจ้ กั รกั ษาเกียรติไว้เหนือส่ิงอ่ืนใด ประกอบกับมีความเด็ดขาดปราศจาก ความเย่อหยิ่ง จะต้องรับรู้ถึงความสามารถพิเศษต่าง ๆ ท่ีผู้ใต้บังคับบัญชาของตนมีอยู่ ใช้ความสามารถ เหลา่ น้ีให้เกดิ ประโยชน์เม่ือมีโอกาส ดว้ ยการปรึกษาหารือกับบุคคลเหล่าน้นั และรับฟัง ข้อคิดเหน็ ของเขาไว้ประกอบการพิจารณาตกลงใจ ถ้าสงั เกตหลกั การต่าง ๆ เหล่านี้ให้ดีจะเห็นว่า ข้อตกลง ที่กระทาไปนั้น ทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้รับรู้ว่า เป็นการกระทาที่ฉลาด และยุติธรรม เขาเหล่านั้นก็จะ ปฏิบัตติ ามคาสัง่ ดว้ ยความยินดีและเต็มใจ 18. ความสมั พันธร์ ะหว่าง ลักษณะผู้นา การบงั คับบญั ชา และการจัดการ สาระสาคัญของลักษณะผู้นาที่ได้ผล มักจะแสดงออกในรูปการบังคับบัญชา ( ตามอานาจท่ีมีอยู่ ) และการจดั การ ( ซ่ึงมีการวางแผนการ, แนวทางและการประสานงาน ) เพ่ือให้ได้ขีดความสามารถสูงสุด การนาหลักของการเป็นผู้นา และเทคนิคของการเป็นผู้นาไปใช้อย่างถูกต้องในการบังคับบัญชา และการ จดั การ จะทาให้ได้รับพลังและอิทธพิ ลทตี่ ้องการ อันเปน็ เหตุให้กลุม่ ชนใช้ความพยายามอย่างที่สุด ที่จะให้ ไดม้ าซึ่งผลประโยชน์ร่วมกัน ตอนท่ี 2 แนวความคิดของลกั ษณะผู้นาทางทหาร 19. กล่าวท่ัวไป แนวความคิดของลักษณะผู้นาทางทหาร เป็นการวาดภาพให้เห็นผู้นาคนใดคนหนึ่ง ซ่ึงห่วงใยใน ความรับผิดชอบของตน ใช้คุณลักษณะที่ตนมีอยู่อย่างแข็งขัน แก้ไขจุดอ่อนที่ตนมีอยู่ โดยใช้หลักของการ เป็นผู้นาเป็นแนวทางปฏบิ ัติ ในขณะท่ีปฏิบัติหน้าที่บังคับบัญชาเขาอยู่ จะเลือกเทคนิคของการเป็นผู้นา อย่างหน่ึงอย่างใดขึ้นมาใช้โดยเฉพาะ โดยเลือกเอาการปฏิบัติ และคาสั่งที่จะมีผลจูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชา ปฏิบัติตามไม่เป็นการรบกวนผู้ใต้บังคับบัญชา กากับดูแลหน่วยโดยการตรวจตราความก้าวหน้าของ ผลสาเร็จในการปฏบิ ตั ติ ามคาสั่ง ประเมินค่าของหน่วยเพ่อื เป็นสิ่งช้ีสอบในการเป็นผนู้ า เพ่ือสร้างบุคคล ในหน่วยใหเ้ ป็นหนว่ ยท่ีมปี ระสทิ ธิภาพในการรบ ( ดรู ปู ที่ 1 ) คณุ ลักษณะ การปฏบิ ตั ิ การ การบงั คับ และ กากบั บญั ชา ประสทิ ธภิ าพ คาส่ัง ผบู้ ังคบั บัญชา ดแู ล ในการรบ หลักการ ของหน่วย รูปท่ี 1 แนวความคิดของลกั ษณะผู้นาทางทหาร 20. สภาพแวดลอ้ มลกั ษณะผู้นา ผบู้ ังคับบญั ชาจะตอ้ งใชอ้ ทิ ธิพลท่ีมอี ยเู่ ปน็ อยา่ งมาก เพ่ือต่อสู้กับสภาวะแวดลอ้ มของลักษณะผู้นา แตจ่ ะไม่สร้างสภาวะดงั กล่าวน้ีให้เกดิ ขึน้ กบั ตวั เอง อทิ ธิพลน้ีแสดงออกโดยลกั ษณะท่าทาง และระดับของ ลกั ษณะผ้นู าที่จะนามาใช้ สภาวะแวดล้อมของลักษณะผู้นาคือ ผลรวมของอิทธิพลและการใช้ลักษณะผู้นา ทุกคนท่อี ยใู่ นการบังคับบัญชาเดยี วกนั เป็นผลรวมของลกั ษณะผนู้ าทกุ อยา่ งท่ีมอี ยใู่ นสายการบังคับบญั ชานั้น 21. ลกั ษณะผนู้ าคอื ศิลปะอย่างหน่ึง คาว่าศิลปะ อาจให้คาจากัดความได้ว่า เป็นความชานาญในการปฏิบัติ ซ่ึงได้มาโดย ประสบการณ์การศึกษา หรือการสังเกต ลักษณะผู้นาก็อาจจะได้มาหรือพัฒนาข้ึนได้ในระดับแตกต่างกัน 8
โดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง ซ่ึงได้รับการเร่งเร้าอย่างถูกต้อง และขีดความสามารถทั้งทางร่างกายและจิตใจ เท่าท่ีจาเป็นในตนเอง ความสามารถในลักษณะผู้นาของคนใดคนหน่ึง เกิดจากความเต็มใจที่จะศึกษา ฝึกหัด และนาเอาเทคนิคของการเป็นผู้นาที่ดีมาใช้ให้เกิดประโยชน์แก่ตน 22. ความรบั ผดิ ชอบเบ้ืองตน้ ของผู้นาหรือผบู้ ังคับบญั ชา ผู้บังคับบัญชาทางทหาร จะต้องรับผิดชอบการปฏิบัติทุกชนิดในหน่วยของตนจนเสร็จเรียบร้อย โดยจะต้องเปน็ ผ้รู ับผดิ ชอบแต่เพยี งผูเ้ ดยี วในงานตา่ ง ๆ ทห่ี นว่ ยได้ทาลงไปหรือไม่ได้ทา ความรับผิดชอบ อันกว้างขวางนี้ อาจทาให้แบ่งเบาลงได้โดยยึดถือหลักความรับผิดชอบเบ้ืองต้น 2 ประการ ของ ผูบ้ งั คบั บัญชาคอื การปฏิบัติภารกจิ ให้บรรลผุ ลสาเร็จ และ ดูแลทุกข์สุขและสวัสดิภาพของผู้ใต้บังคับบัญชา การท่จี ะ ปฏบิ ัตสิ ง่ิ เหล่าน้ใี ห้เกิดผลสาเรจ็ จะตอ้ งใชศ้ ิลปะของลักษณะผู้นา ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่ง เนน้ หนักให้ผู้นาตอ้ งเกย่ี วขอ้ งกบั ผ้บู ังคบั บญั ชาให้มาก ความรับผิดชอบท้ัง 2 ประการ มีความเท่าเทียมกัน เม่อื เกดิ เหตุการณไ์ มส่ งบข้นึ การปฏิบตั ิภารกิจให้สาเรจ็ ตอ้ งเปน็ เร่ืองท่กี ระทากอ่ น รวมทง้ั การดูแลสวัสดิภาพ อยา่ งไรกต็ าม ผนู้ าต้องพจิ ารณาวา่ การแสดงออกในการปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จผล จะต้องทาไปพร้อม ๆกัน กบั ใหเ้ กิดผลในดา้ นการบารุงสวสั ดภิ าพของผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชาควบค่กู นั ไปด้วย 23. ผูน้ าต้องใช้คณุ ลักษณะทเี่ ขม้ แขง็ ของตน ผู้นาต้องมีความเข้าใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชาที่ปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ตามลาพัง หรือในกลุ่มเล็ก ๆ ท้ังยัง ต้องเข้าใจตนเองอีกด้วย เพราะผลของการเป็นผู้นา ข้ึนอยู่กับบุคลิกลักษณะของผู้ปฏิบัติงานด้วยกัน ต้ังแต่ 2 คนขึ้นไป ผู้นาจาเปน็ ต้องประเมนิ ค่าตนเองเพื่อพิจารณาคุณลักษณะประจาตัวที่ตนมีอยู่ว่า จะช่วยให้ ตนได้รับการเชือ่ ฟงั ความเชือ่ มนั่ ความเคารพยาเกรง และความร่วมมอื อย่างจงรักภักดี และอย่างจริงใจจาก ผใู้ ต้บังคับบญั ชาของตนหรือไม่ การประเมินค่าตนเองด้วยความสุจริตใจ เป็นส่ิงสาคัญที่ต้องกระทาเพ่ือ พิจารณาหาระดับทีน่ ่าพอใจของคุณลักษณะผนู้ าทีต่ นมีอยู่ เมื่อพิจารณาแล้ว จะต้องใช้คุณลักษณะท่ีมี อยดู่ ว้ ยความเข้มแข็ง และขณะเดียวกนั ก็หาทางปรบั ปรงุ คณุ ลกั ษณะทย่ี ังเปน็ จดุ ออ่ นใหด้ ีขึ้นเป็นข้ัน ๆ ไป 24. ผนู้ าควรยึดหลกั ของการเป็นผู้นา เปน็ แนวทางปฏบิ ัติ การบังคบั บัญชาทถี่ กู ต้อง ควรใช้หลักของการเป็นผู้นาเป็นแนวทางปฏิบัติ หลักท่ีว่าน้ีเป็นความ คิดเหน็ ทว่ั ๆ ไปทด่ี ที ส่ี ุดเก่ยี วกบั ลักษณะผู้นา ซง่ึ ผู้นาทม่ี ีชื่อเสียงในอดีตเคยใชไ้ ด้ผลมาแล้ว จากการศึกษา แนวความคดิ ของสงครามทง้ั ในปัจจบุ ันและอนาคต ชใ้ี ห้เห็นว่าหลักการต่าง ๆ เหล่าน้ี ยังคงใช้ได้อยู่เป็น อยา่ งดีในอนาคต 25. การใช้ลักษณะผนู้ าในการปฏิบตั ิและสัง่ การ ก. การใชล้ กั ษณะผ้นู าในการปฏบิ ตั ิและสั่งการ เป็นเทคนคิ ซ่ึงผนู้ าใชเ้ ปน็ เคร่ืองมือในการหาหนทาง ปฏิบัติ โดยพิจารณาเทคนิคที่เห็นว่าเหมาะสมสองสามอย่าง มาใช้ปฏิบัติให้เกิดผลสาเร็จตามหน้าที่ที่ ตนรบั ผิดชอบ เนื่องจากมีปัจจัยเก่ียวข้องหลายอย่างท่ีผู้นาไม่อาจจะแน่ใจได้ว่า การปฏิบัติ และการ ส่ังการท่กี าหนดไว้ จะสัมฤทธ์ิผลสมบูรณ์หรือไม่ ความเชื่อมั่นในผลการปฏิบัติหรือคาส่ังที่คาดไว้ อาจได้ จากการพิจารณาอย่างถ่ีถ้วนถึงข่าวสารต่าง ๆ ท่ีได้รับ รวมทั้งความรู้เก่ียวกับบุคลิกลักษณะของตนเอง ของผู้บังคับบัญชา และของผู้ใต้บังคับบัญชา และการประเมินค่าอย่างถูกต้องเก่ียวกับสถานการณ์และ สภาพแวดล้อมซ่ึงหน่วยกาลังปฏิบัติอยู่ หลักจากท่ีได้ปฏิบัติหรือออกคาสั่งไปแล้ว ผู้นาต้องตื่นตัวอยู่ ตลอดเวลา และคอยปรบั ตวั ให้เขา้ กบั เวลาเม่อื สถานการณ์เปลี่ยนแปลงไป ข. ผู้นาจะต้องดาเนินการติดต่อส่ือสารอย่างได้ผล ไม่เพียงแต่จะเป็นข่าวท่ีเช่ือถือได้เท่าน้ัน จะต้องแนใ่ จวา่ ข่าวสารนน้ั สามารถทาความเขา้ ใจได้โดยตลอด คาสัง่ ท่อี อกไปอย่างดีเลิศ อาจเป็นคาส่ังท่ีหา คา่ มไิ ด้ ถ้าหากการติดตอ่ สอื่ สารไม่ไดผ้ ล 9
ค. อีกประการหนึ่ง ผู้นาอาจพิจารณาล่วงหน้าถึงความถูกต้องของการปฏิบัติ และการออกคาสั่ง โดยตรวจสอบกับเทคนิคทน่ี ามาใชว้ า่ .- ( 1 ) สามารถช่วยให้การปฏิบัตไิ ดร้ ับผลสาเร็จ ตามความรบั ผดิ ชอบเบ้อื งตน้ ของ ผบู้ งั คับบัญชาประการใดประการหน่ึงหรือไม่ ( 2 ) ใชห้ ลกั ของการเป็นผู้นา เปน็ แนวทางปฏบิ ตั ิหรอื ไม่ ( 3 ) ไดป้ ระโยชนจ์ ากการใชค้ ุณลกั ษณะอนั เข้มแข็งหรือไม่ 26. การกากบั ดแู ล ไม่ต้องสงสัยเลยว่า ทาไมผู้นาท่ีดีจึงใช้เวลาส่วนมากของตนไปในการกากับดูแลการปฏิบัติของ หนว่ ยมากกว่าใชเ้ วลาในการรวบรวม และออกคาสั่งให้ปฏิบัติ การกากับดูแลที่ถูก ต้องมีความรู้ความ ชานาญในพน้ื ฐานทซ่ี ่งึ สามารถตรวจได้ว่า การปฏิบัติงานในพื้นท่ีน้ันได้ก้าวหน้าไปอย่างน่าพอใจแค่ไหนและ จะตอ้ งกากับดแู ลในลักษณะท่ีไมเ่ ปน็ การรบกวนการปฏบิ ัตขิ องผูใ้ ตบ้ ังคับบัญชาด้วย 27. ผู้นาจะต้องประเมนิ ค่าหน่วยของตนอยา่ งตอ่ เนื่อง โดยอาศยั ส่งิ ชส้ี อบลกั ษณะผนู้ า 4 ประการ คอื - ขวัญ - ความรกั หมรู่ ักคณะ - วนิ ัย - ความร้คู วามชานาญ การประเมินค่านี้ จะทาให้เขา้ ใกล้ตอ่ การพิจารณาปัญหาเก่ียวกับผู้นาท่ีเกิดข้ึนในหน่วย, ผลสาเร็จของผู้นา และประสิทธภิ าพจากการรบของหน่วยท่ีนา่ เปน็ ไปได้ บทที่ 3 พฤตกิ รรมของมนุษย์ 28. กล่าวทัว่ ไป ก. ความสามารถในการทจ่ี ะจงู ใจและนาผอู้ นื่ เป็นศิลปะอย่างหนึ่งของลกั ษณะผู้นา ซึ่งจะก่อให้เกิด ความเข้าใจ การทานาย และการควบคุมพฤติกรรมของบคุ คลเหล่าน้นั ผู้บังคับบัญชาอาจทางานของตนได้ อย่างถูกต้อง ถ้าได้พยายามอยู่เสมอที่จะทาความเข้าใจในตนเอง และผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างถ่ีถ้วน ผู้บังคับบัญชาไม่จาเป็นต้องเป็นนักจิตวิทยา แต่ต้องมีความเข้าใจในพฤติกรรมข้ันมูลฐานของมนุษย์ไว้บ้าง เพอ่ื ให้ไดร้ ับผลสาเรจ็ อยา่ งดีเย่ียมจากการปฏบิ ัตขิ องผ้ใู ต้บังคบั บญั ชา ข. ผู้นาจะตอ้ งระลึกไว้ว่า การปฏิบัติและคาส่ังต่าง ๆ จะได้รับผลแตกต่างกันจากผู้ใต้บังคับบัญชา แตล่ ะคน และจะได้รบั การตอบสนองจากแต่ละคนในลักษณะต่าง ๆ กัน ผลจากการปฏิบัติของแต่ละบุคคล จะแสดงออกมาเป็นท่าทีของกลมุ่ ท่ีมีต่อผ้นู า และภารกิจท่ีตนมอบให้ ดังนั้น ผู้นาท่ีได้รับการตอบสนองด้วย ความยินดีจากผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นรายบุคคล ควรได้รับการตอบสนองด้วยดีจากทั้งกลุ่มด้วย อันเป็นการ ช่วยใหเ้ ขารวมกลุ่มคนได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ค. ผูน้ าจะดารงการติดต่อเป็นส่วนตัวอย่างใกล้ชิดได้ก็เฉพาะแต่กลุ่มเล็ก ๆ เท่านั้น โดยไม่คานึงว่า จานวนคนท่ตี นจะควบคุมไดน้ ้นั มีมากน้อยแค่ไหน ผู้นาต้องให้ความเชื่อถือแก่กลุ่มเล็ก ๆ เพ่ือสร้างศรัทธา ใหเ้ กดิ ขึน้ และปฏิบตั ติ ามท่ตี นประสงค์ ความสาเร็จของกลุ่มข้ึนอยู่กับขีดความสามารถของผู้นา ท่ีจะ ส่งเสริมสัมพันธ์ภาพ ระหว่างตนเองกับกลุ่ม และสมาชิกแต่ละคนในกลุ่ม สถานการณ์เช่นน้ันจะเสริมสร้าง บรรยากาศ ซ่ึงจะชว่ ยเรง่ เร้าให้กลุ่มและบุคคล ทางานร่วมกนั เป็นชุดด้วยความเชื่อมั่น และความเคารพนับ ถอื ดังนน้ั ผ้นู าควรจะมีความเข้าใจถึงความสาคัญของความร่วมมือระหว่างกันว่า มีอิทธิพลต่อกันและ กันอย่างไร อันเป็นหนทางนาไปส่คู วามสาเรจ็ ของภารกิจ 29. ความแตกตา่ งของแต่ละคน 10
ก. คนเราทกุ คนย่อมมคี วามแตกต่างในระดับต่าง ๆ กนั บคุ ลิกของแต่ละคนนั้นเป็นผลติ ผลของการ เปล่ียนแปลงเก่ยี วกับกรรมพันธ์ุ, ส่ิงแวดลอ้ ม และประสบการณ์ สงิ่ เหล่าน้ีแตล่ ะคนยอ่ มมอี ย่แู ตกตา่ งกนั ( 1 ) คณุ ลักษณะทางรา่ งกายและจติ ใจ เปน็ เคร่อื งช่วยให้นามาพิจารณาชนดิ ของ งานให้เหมาะสมกับแต่ละคนได้ เช่น มีความเข้มแข็งพอท่ีจะทางานชนิดนั้น ๆ ได้หรือไม่ บางคนอาจจะ เหมาะกับงานที่เกี่ยวกับเคร่ืองยนต์ บางคนอาจเหมาะกับงานประเภทที่ต้องใช้สมองขบคิด ซึ่งต้องใช้ เหตผุ ลตัดทอนและประยุกต์ ถา้ เอาคนท่มี ีสมองเฉียบแหลมไปทางานประเภทท่ีไม่มีชีวิตชีวา จะทาให้ เขาเกิดความเบื่อหน่ายและขุ่นเคืองใจ แต่ถ้าผู้ใดได้รับมอบงานท่ีเกินขีดความสามารถของตน อาจทาให้ เกิดความรู้สึกท้อแท้ใจ ผิดหวัง และไม่สบอารมณ์ได้ ส่วนผู้ท่ีไม่ได้รับการมอบหมายให้ทาอะไรเลย จะเปน็ บุคคลที่ ไม่มีโอกาสได้แสดงคุณค่าของตนใหก้ ับหน่วยเลย ( 2 ) คุณลกั ษณะทางอารมณ์ เป็นสว่ นสาคญั ของบุคลิกภาพของทหารโดยเฉพาะ วิธีทท่ี หารแสดงออกตอ่ ปัญหาที่ยุ่งยาก อันตรายและงานหนักต่าง ๆ ผู้บงั คับบัญชาจะต้องเข้าใจได้ดี ภายใต้ ความกดดนั อยา่ งเดียวกนั ทหารบางนายอาจแสดงความไม่พอใจ บางคนอาจจะละเลยหลบเลี่ยง แต่บาง คนอาจปฏิบตั ิอยา่ งสงบเงยี บกไ็ ด้ ข. บุคลกิ ของแต่ละคนยอ่ มมีอยู่เฉพาะตวั และเปลี่ยนแปลงอยเู่ สมอ คนเราเมื่อเจริญเติบโตข้ึน จะ มีการ เปลีย่ นแปลงทางร่างกาย จิตใจ และอารมณ์ และได้รับประสบการณ์เพิ่มมากข้ึนเร่ือย ๆ ปัจจัย ซ่ึงทาใหบ้ ุคลิกลักษณะเปลีย่ นแปลงไป ได้แก่ ( 1 ) กรรมพันธุ์ บคุ คลแต่ละคนมกั จะไดร้ ับคุณลักษณะหลายอย่างจากบดิ า มารดา มา แต่กาเนดิ เช่น บางคนอาจได้รับความเฉลียวฉลาดจนกลายเป็นนักวิทยาศาสตร์ช้ันเยี่ยมยอด บางคนอาจได้ คณุ ลักษณะในด้านความสูง จะอย่างไรก็ตาม ขอบเขตสูงสุดท่ีเขาจะได้รับสืบเนื่องต่อมา ข้ึนอยู่กับสภาวะ แวดลอ้ ม และประสบการณข์ องชีวิต ( 2 ) สง่ิ แวดล้อม ไดแ้ ก่ สิ่งทั้งหลายท้งั ปวงท่ีทหารทราบดีอยู่แล้ว เช่น ครอบครัวท่ีตนต้องพัวพัน อย่ดู ้วย โบสถห์ รอื โรงเรยี นท่เี คยเรียน วัฒนธรรมในกลุ่มชน สิ่งเหล่านี้คือสิ่งท่ีอยู่แวดล้อมตัวทหาร อันมี ผลกระทบกระเทอื นตอ่ บคุ ลิกลกั ษณะของทหาร ตัวอยา่ งเชน่ เด็กคนหนึ่งสืบสายเลือดจากพ่อแม่มีความ สูงถึง 6 ฟุต อาจมีส่ิงแวดล้อมต่าง ๆ เป็นเครื่องช่วย เช่น อาหารการกิน สุขภาพ และการออกกาลังกาย จึงทาใหม้ คี วามสงู ขนาดนี้ สิ่งแวดล้อมของแต่ละคนอาจมสี ่วนช่วยทง้ั เร่งและลดการเจรญิ ในดา้ นจิตใจ ซ่ึง เปน็ มาแตก่ าเนดิ ได้ ( 3 ) ความรู้ความชานาญ ฝาแฝดคู่หนง่ึ อาจไดร้ ับการเล้ียงดมู าในสภาวะแวดลอ้ ม อย่างเดียวกัน แต่มีความเจริญทางบุคลิกลักษณะแตกต่างกัน คนหน่ึงอาจได้รับประสบการณ์ดีกว่า ประสบการณท์ ไี่ มเ่ หมอื นกนั น้ีจะสง่ ผลไปถึงร่างกายและจิตใจของแต่ละคน ย่ิงไปกว่านั้น ประสบการณ์ที่ แตกต่างกันเหล่านี้จะมีบทบาทในการช่วยปรุงแต่งอารมณ์ของคนด้วย เน่ืองจากความแตกต่างกันเกี่ยวกับ รูปพรรณ สิง่ แวดล้อมและประสบการณ์ การประเมนิ คา่ ในแต่ละคน จะต้องกระทาโดยแยกกัน 30. รากฐานของพฤติกรรม ก. ความต้องการขั้นมูลฐานของมนุษย์ สภาวะอันหนึ่งที่เราจะต้องพบ เมื่อพฤติกรรมของ มนุษย์แต่ละคน ต้องการให้สังคมยอมอรับและมีความพึงใจในตน สภาวะเช่น นี้หรือรากฐานของ พฤตกิ รรมอยา่ งน้เี รยี กได้วา่ เปน็ การต้องการข้ันมลู ฐานของมนุษย์ บางเรอื่ งก็แสดงออกทางกายภาพ บาง เรอ่ื งได้มาจากการศกึ ษาเล่าเรียน บางเรอ่ื งมาจากชีวติ จรงิ ( 1 ) ความต้องการทางกายภาพ ความพงึ พอใจในความต้องการทางกายภาพ 11
อาจเปน็ เป้าหมายทชี่ ่วยเรง่ เรา้ ให้บคุ คลแสดงออกในรูปลกั ษณะเฉพาะอย่าง เช่น ต้องการอาหาร เคร่ืองด่ืม เครอ่ื งนุ่งห่ม ที่อย่อู าศัย และเรอื่ งทเี่ กีย่ วกบั หน้าท่ขี องตนทตี่ ้องกระทา ( 2 ) ความต้องการเรียนรู้ เป็นความตอ้ งการท่ีตอ้ งเกย่ี วพนั กบั บคุ คลอนื่ ความ ต้องการอันนี้จะเกิดขึ้นแก่บุคคลตลอดชีวิต เป็นความอยากรู้ว่า อะไรคือค่านิยมของผู้อื่นหรือสังคม เก่ียวกบั วฒั นธรรมและความเปน็ อยู่ของบุคคลเหล่านัน้ ความต้องการเหลา่ น้จี ะมีความรนุ แรงเพ่มิ ข้ึนเม่ือมี ความต้องการทางกายภาพเพ่ิมมากขึ้น และมนุษย์จะเกิดปฏิกิริยาเพ่ือให้บรรลุความพึงพอใจของตน ความตอ้ งการในการเรยี นรู้แบ่งออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ 3 ประเภทคือ ความม่ันคงปลอดภัย, การยอมรับ ของสงั คมและการรบั รู้ 1) ความม่ันคงปลอดภยั เหตกุ ารณบ์ างอยา่ งที่เกดิ ข้ึน เราอาจทานายไดล้ ว่ งหน้าว่า จะมผี ลเกิดข้นึ อยา่ งไร จนมผี ลกระทบที่เป็นอันตรายต่ออารมณ์ วตั ถุ และรา่ งกายอยา่ งไร เราอาจหาทาง ปรับพฤตกิ รรมของเราใหเ้ ข้ากบั สง่ิ เหลา่ น้ไี ด้ บางคนอาจจะยอมเสี่ยงเพ่ือให้เกิดความปลอดภัยในอนาคต ไมม่ ใี ครต้องการให้ตนเองได้รับบาดเจ็บ ความปลอดภัยทางร่างกายเป็นส่ิงหนึ่งท่ีช่วยกระตุ้นให้บุคคลปฏิบัติ อยา่ งใดอยา่ งหนึ่งอย่างที่พดู กนั วา่ \" จะฆา่ เขา หรือ จะใหเ้ ขาฆา่ เรา \" และคาพดู ทีว่ า่ \" ไมเ่ ขาก็เรา \" เป็นตน้ 2) การยอมรบั ของสังคม มนุษย์เรามคี วามปรารถนาอย่างยิ่งท่ีอยากจะให้กล่มุ ชน ยอมรับตนเข้าสังคมด้วย โดยใช้ความพยายามอย่างเต็มที่ ที่จะเอาชนะในเร่ืองนี้ให้ได้ มีบางคนท่ีเลือก หนทางปฏิบตั ิท่สี รา้ งความไมพ่ อใจให้เกดิ ขนึ้ ในหมู่คน พอเริม่ ต้นชีวิตเราก็จะเริม่ เรยี นรู้เลยทีเดียวว่า เราจะ ก้าวไปข้างหน้าได้เร็วกว่าปกติ เราจะต้องร่วมมือร่วมใจกับบุคคลอ่ืน ๆ ในสังคมมนุษย์ ถ้าเราเป็นผู้ทาการ ขัดขวางอย่างรุนแรงตอ่ อุดมการณ์และความมงุ่ หวังของกลมุ่ ชน กจ็ ะเป็นการเส่ยี งตอ่ อันตรายท่ีจะเกิดขึ้นแก่ ร่างกายและทรัพยส์ นิ ของเราได้ 3) การรับรู้ มนุษยเ์ รามีความรสู้ ึกอยเู่ สมอว่า งานทตี่ นทาลงไปจะต้องมคี วามก้าวหนา้ การทต่ี อ้ งทางานหนักกเ็ พ่ือต้องการใหเ้ กิดผลสาเรจ็ เม่อื ทาขนึ้ มาแล้วไม่มีคนรับรู้ก็จะทาให้ล้มเลิกการกระทา หรือพยายามหาวิธีอื่นมาทา การรับรู้ด้วยการตบหลังเบา ๆ เพียงครั้งเดียวของผู้บังคับบัญชา จะทาให้ ผใู้ ต้บงั คบั บัญชาร้สู กึ ยินดีท่ีผลงานของตนได้รบั ความช่ืนชม ข. ความเหมือนกันของมนุษย์ มนุษย์ทุกรูปทุกนามมีความต้องการทางกายภาพเหมือน ๆ กัน ส่วนความตอ้ งการเรยี นรนู้ นั้ จะมีส่วนคล้ายกันได้ก็ในหมู่คนที่มีวัฒนธรรมอย่างเดียวกัน ยกตัวอย่าง เชน่ ชาวอเมริกันซงึ่ อยู่ในท่ตี า่ ง ๆ มีความต้องการเกีย่ วกับความมั่นคงปลอดภัย การยอมรับของสังคม และ การรบั รขู้ องผอู้ ่ืนในลกั ษณะที่ตา่ งกนั แตเ่ กอื บทกุ คนมีความต้องการเชน่ ว่านี้อยชู่ ัว่ ระยะหน่ึงเท่าน้นั ความเหมือนกันท้ังหลายเหล่านี้ เป็นส่ิงท่ีผู้นาควรจะรับรู้และนาไปใช้ เพ่ือให้การปฏิบัติงานเกิดผลดีย่ิง กวา่ เดมิ ทั้งยงั ทาให้ผ้ใู ต้บงั คบั บญั ชาปฏิบัติอย่างมีระเบียบแบบแผนมากย่ิงขึ้น อย่างไรก็ดี ผู้นาต้องจาไว้ วา่ ความต้องการเรยี นรู้จะแตกต่างกันในระหวา่ งผู้มีวฒั นธรรมไม่เหมือนกนั และเมื่อตอ้ งการทางานเกยี่ วข้อง กนั ทหารต่างชาตจิ ะต้องพยายามเสาะหาความต้องการเรียนรู้ที่เห็นถึงความสาคัญของวัฒนธรรมนั้นๆ แล้ว นามาใช้ให้ถกู ต้องกับกาลเทศะ 31. คา่ นยิ มทางจิตใจ และศีลธรรม บุคคลที่เป็นใหญ่ในสังคม โดยปกติมักจะมีค่านิยมทางจิตใจและจริยธรรมสูง ค่านิยมเหล่าน้ีไม่ เพียงแต่จะชว่ ยเสรมิ สรา้ งคุณลักษณะของผู้นน้ั ให้เขม้ แขง็ เพียงอยา่ งเดียว แต่ยังช่วยให้จิตใจมีความกล้าแข็ง เม่อื ต้องเผชญิ กบั วกิ ฤตการณ์ มนุษย์เราต้องการให้สังคมมีส่วนช่วยเหลือเมื่อตนเองต้องการเอาชนะความ กลัว ชว่ ยเสริมสรา้ งความกล้าหาญเมอ่ื ต้องเผชญิ กับความลาบากท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน หรือ เพื่อต่อสู้ 12
ให้ได้ชยั ชนะในสนามรบ ส่ิงอื่น ๆ ที่ชว่ ยให้เกิดเสถียรภาพเหลา่ นั้น ได้แก่ วินัย, แรงจูงใจ, ขวัญ และความ รกั หมู่รกั คณะ ผนู้ าทดี่ ีจะต้องรับรพู้ ลงั ซงึ่ เกิดจากจิตใจ และรคู้ วามสาคัญของส่งิ ทแ่ี ต่ละคนต้องการ ต้องให้ โอกาสเขาแสดงการคารวะบชู าเท่าที่โอกาสจะอานวย ที่สาคัญคือ ผู้นาต้องตระหนักดีว่า คุณลักษณะท่ีตนมี อยูต่ อ้ งมีอิทธิพลเหนือจิตใจของผู้ใต้บังคับบัญชา ถ้าผู้นาแสดงออกซึ่งจริยธรรมสูง และ ด้วยความ ซอ่ื สัตย์สจุ ริต คุณสมบัติอันน้จี ะมีอิทธพิ ลตอ่ ผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชา ในการทีจ่ ะเผชญิ ต่ออปุ สรรคนานาประการได้ 32. เปา้ หมายและความไม่สมหวงั ก. การที่คนเราต้องด้ินรนต่อสู้เพ่ือให้ได้มาซ่ึงความต้องการ ท้ังทางกายภาพ และการเรียนรู้ ก็ เพื่อให้บรรลุถึงสิ่งมีค่าอันหน่ึงซ่ึงเรียกว่า \" เป้าหมาย \" เม่ือเกิดความหิวเน้ือสักช้ินหนึ่ง ก็อาจจะเป็น เป้าหมายท่ีตอ้ งการ หรือการเล่อื นตาแหน่งฐานะ ก็เป็นเปา้ หมายอันหน่ึงเม่ือตอ้ งการเกยี รติยศ ข. คนเราเมื่อถูกขัดขวางมิให้ความพยายามบรรลุถึงเป้าหมาย ก็จะเกิดความรู้สึกไม่สมหวังขึ้นมา ทันที เมื่อพลังของเขาถูกสกดั กน้ั กจ็ ะมีสภาพเช่นเดียวกับน้าที่ถูกขวางก้ันไว้ด้วยเข่ือน จากประสบการณ์ที่ ผา่ นมาเราจะพบวา่ ความรสู้ กึ ไม่สมหวงั มกั จะมีในระดับต่าง ๆ กัน เร่ิมจากความขุ่นเคืองเพียงเล็กน้อย ไปจนถึงความยุ่งยากขนานใหญ่ ระดับความไม่สมหวังจะมีมากน้อยเพียงไรข้ึนอยู่กับเป้าหมายท่ีต้ังไว้แต่ เร่ิมแรก ค. รูปการท่บี ่งบอกถงึ อาการไม่สมหวัง มักแสดงออกในลักษณะต่าง ๆ กัน เช่น โกรธ, ดุด่า ร้องไห้, หงุดหงิด เปน็ ต้น ความไม่สมหวังทีเ่ กิดขึ้นอยา่ งรุนแรงเปน็ ระยะเวลานาน ๆ ตอ่ ความไม่พอใจ ในความต้องการอยา่ งหน่งึ อยา่ งใด สามารถเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรมของคนเราได้ ตวั อย่างเช่น การขาดหนี ราชการของทหาร จะเกิดขึ้นเมือ่ ทหารมคี วามรสู้ กึ ว่า ไมไ่ ดร้ บั การเหลยี วแลจากหน่วยของตนในด้านต่าง ๆ หรือทหารที่ทางานหนักแต่ไม่ได้รับการพิจารณาความดีความชอบ หรือแม้คาชมจากปากของ ผบู้ ังคับบัญชา ทาให้เขาขมข่ืนใจ ซ่ึงไม่เพียงแต่ตนเองเท่านั้น อาจจะกระเทือนถึงทหารคนอ่ืน ๆ ใน หน่วยเดยี วกันดว้ ย ง. ไม่มีใครสามารถหลีกเลี่ยงความไม่สมหวังเหล่าน้ีได้ จะทาได้ก็แต่เพียงวางแผนล่วงหน้า เพื่อ หลีกเล่ียงมิให้มีการขัดขืนมากขึ้น และขณะเดียวกันก็ปฏิบัติไปตามข้ันตอน เพื่อปรับตนให้เข้าสู่ สภาพแวดลอ้ ม หรือไมก่ เ็ ปลยี่ นวธิ ีการเปน็ อย่างอน่ื เพือ่ ใหบ้ รรลถุ งึ เปา้ หมายเม่ือถูกขัดขวาง หรืออาจเปล่ียน เปา้ หมายเป็นอยา่ งอน่ื เมอ่ื เห็นว่ามีความเหมาะสมกว่า 33. การปรับปรุงตนเอง ก. เมื่อเขา้ มารับราชการในกองทพั ทหารจะต้องละท้ิงสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ที่ตนเคยได้กระทา มากอ่ น เพอื่ ปรบั ตนเองให้เขา้ กับคนอ่นื ได้ ซง่ึ บางคนอาจจะพบกับสภาพท่ีกระอักกระอ่วนใจเมื่อต้องจาก บา้ นเกิดมาสู่ชวี ติ ในกรมกองทหาร บางคนอาจจะรู้สึกว่า ระเบียบข้อบังคับของสังคม และครอบครัวของ ตนเองที่เคยอยมู่ า เป็นเรื่องเล็กน้อยไม่มีความหมาย เพราะตนจะต้องเริ่มปรับปรุงร่างกาย จิตใจ และ อารมณ์ และเลือกทางเดินของชวี ิตใหม่ ซ่งึ ถา้ ผู้ใดทาได้สาเรจ็ ก็เรียกได้ว่าผู้น้ันปรับปรุงตนเองได้ แต่ถ้าย่ิง เปน็ การทาให้บุคคลผ้นู ้นั เกิดอาการขดั ขืนเพิม่ มากขน้ึ กแ็ สดงวา่ ผนู้ ้นั ปรบั ปรุงตนเองในทางทผ่ี ิด ข. ปัญหาในเรอ่ื งการปรบั ตัวเข้ากบั สงิ่ แวดลอ้ ม เปน็ ปญั หาของกองทัพบกโดยตรง พอๆ กับปัญหา ของแต่ละคน ในระหว่างสงครามโลกครั้งท่ี 2 ทหารเป็นจานวนมากต้องถูกส่งกลับ เพราะไม่ สามารถปฏิบตั ิการรบได้ เนื่องจากสภาพของจติ ประสาทไมป่ กติ และบางคนต้องได้รับการศึกษาเป็นอย่างดี ก่อนจะส่งมาประจาหน้าที่ตามเดิม ประมาณ 50 % ของโรคจิตประสาทไม่ปกติทุกชนิด จะปรากฏชัดกับ 13
ทหารที่เข้าประจาการยังไมถ่ งึ 30 วัน ต่ากว่า 15 % เกดิ ขึน้ ในเขตยุทธภูมิ และส่วนใหญ่ก็สามารถกลับไป ทาการรบไดอ้ กี หลงั จากผ่านการรักษาแล้ว ค. จากการวเิ คราะห์หาสาเหตขุ องการสูญเสียกาลังพล และยงั ผลในการปฏิบัติของหน่วย แสดงให้ เห็นวา่ ผู้นาเปน็ จานวนมากขาดความเอาใจใส่เก่ียวกับความต้องการของผู้ใต้บังคับบัญชา และไม่สามารถ ให้ความช่วยเหลือผบู้ ังคบั บญั ชาในส่ิงท่เี ขาต้องการได้ บางกรณี ผู้นากลับเป็นฝ่ายเพ่ิมปัญหาเหล่าน้ีให้กับ ทหารเสยี เอง 34. การชว่ ยเหลือทหารใหส้ ามารถปรับตวั เข้ากบั ชีวิตทหาร ถ้าทหารมีความสานึก หรือมีจิตใต้สานึกในการท่ีจะทาตนเองบรรลุถึงความต้องการทางกายภาพ และการเรียนรู้ การปรับตนเองให้เข้ากับกองทพั จะทาได้เรว็ ข้นึ ผู้นาที่ดีมกั จะนาเทคนคิ หลายๆ อย่างมาช่วย ในการปรบั ปรงุ ตนเอง เทคนิคบางอย่างอาจช่วยใหท้ หารมองเห็นแนวทางใหม่ ๆ ที่จะนาไปสู่เป้าหมายท่ี ตอ้ งการได้ เมอื่ ทหารสามารถปรบั ตนเองได้ ก็เสมอื นหน่งึ ท่เี ขาสามารถปรับตวั เขา้ กับกองทัพไดด้ ้วย 35. แรงสนบั สนนุ และแรงกดดนั ก. พลังบางอย่างที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของมนุษย์ แรงกดดันทั้งภายนอกและภายในมักจะเป็น เหตุให้คนเราปฏิบัติงานไม่บังเกิดผล ในขณะเดียวกันก็มีแรงสนับสนุนที่ช่วยให้ปฏิบัติงานได้ผลอยู่ด้วย ใน สถานการณ์ทแ่ี ตกตา่ งกัน ถ้ามแี รงกดดันและแรงสนบั สนุนมากน้อยไม่เท่ากัน จะทาให้องค์ประกอบต่าง ๆ เปล่ียนแปลง แรงกดดันและแรงสนับสนุนอ่ืน ๆ ต้องมีความเก่ียวพันธ์ซึ่งกันและกัน และมีอิสระต่อกัน ตัวอย่างเช่นความสาเร็จจะนามาซึ่งความรักหมู่รักคณะ และความรักหมู่รักคณะก็คือ หลักประกันของ ความสาเรจ็ แรงสนบั สนุนอาจกลายเป็นแรงกดดนั ไปไดถ้ ้าหากมีไม่เพยี งพอ ข. เป็นหน้าที่ของผู้นาท่ีต้องใส่ใจในสภาวการณ์ต่าง ๆ เพ่ือใช้ความพยายามในการเสริมสร้าง สนับสนนุ ใหเ้ ขม้ แขง็ และขจดั ปดั เป่าแรงกดดันใหน้ ้อยลง เพ่อื ช่วยให้การปฏิบตั ิของตน บรรลผุ ลมากย่ิงขน้ึ 36. บทบาทของผู้นา ผนู้ านน้ั จะต้องรูจ้ กั ตนเองเปน็ ประการแรก การที่จะทาเช่นน้ันได้ จะต้องมีจิตใจเข้มแข็งพอท่ีจะ ประเมินค่าในเรื่องความเข้มแข็ง และความอ่อนแอของตนเก่ียวกับคุณลักษณะทางกาย ทางใจ และทาง ศลี ธรรม สิง่ เหลา่ น้ีผู้นาทราบได้จากทศั นะของผ้ใู ต้บังคับบัญชาทีม่ ตี ่อตน ขั้นตอ่ ไป ผนู้ าจะตอ้ งทาความเข้าใจและสามารถหยั่งรู้ถึงความแตกต่างของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคนเพราะ แตล่ ะคนมบี คุ ลกิ ลักษณะโดยเฉพาะของตนเอง และมผี ลมาจากส่งิ แวดล้อมทแ่ี ตกต่างกนั ดว้ ย ผู้นาจะต้องมี ความเขา้ ใจในการแยกประเภทและวิเคราะห์บุคคลเพื่อให้เข้าถึงปัญหาที่ผู้ใต้บังคับบัญชาเดือดร้อน และทา ใหผ้ ้ใู ต้บังคบั บญั ชาตอบสนองการปฏิบตั ิด้วยความเตม็ ใจตามทต่ี นต้องการ ความเข้าใจของผู้นาเกย่ี วกับพฤติกรรมของมนุษย์ ความแตกต่างระหว่างบุคคล และการกระทาให้เกิดความ พอใจในความตอ้ งการขัน้ มูลฐานของมนษุ ย์ จะก่อให้เกิดความสมั พันธใ์ นการปฏิบัติงานที่ดี มีพ้ืนฐานมั่นคง และการพัฒนาปฏกิ ริ ยิ าท่ีมตี อ่ กนั ในกลุ่ม ใหอ้ ยใู่ นขั้นเป็นทน่ี า่ พอใจ ผู้นาทอี่ ยูใ่ นฐานะทจี่ ะตอ้ งจัดหาวิธกี ารชว่ ยเหลือผู้ใต้บังคับบญั ชาแตล่ ะคน ให้ได้รบั ความต้องการในพื้นฐานที่ เขาต้องการด้วยความพอใจ ในการที่จะทาเช่นน้ัน ผู้นาจะต้องสร้างทัศนะคติเก่ียวกับความเช่ือมั่น ความ เคารพนับถือในลักษณะผู้นาให้เกิดข้ึนแก่ตนเสียก่อน เพ่ือให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความรู้สึกว่าผู้นาผู้น้ีเป็นผู้ที่ เชื่อถือได้ เป็นผู้ใส่ใจในความเป็นอยู่ของผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างแท้จริง ทาให้เขาสามารถปรับตัวเข้ากับ สภาวะแวดล้อมทางทหารไดอ้ ยา่ งพรอ้ มเพยี ง อนั เปน็ ผลดแี กห่ น่วยต่อไปในทีส่ ดุ ........................................................... 14
บทที่ 4 คุณลกั ษณะของการเป็นผู้นา 37. กล่าวท่ัวไป คุณลกั ษณะของการเป็นผู้นาคือ คุณลักษณะเกี่ยวกับบุคลิกลักษณะซึ่งมีลักษณะพิเศษเฉพาะตัว ซึ่งถ้านามาใช้ในชีวิตประจาวัน จะช่วยให้ผู้ท่ีเป็นผู้บังคับบัญชา ได้รับความนับถือ มีความมั่นใจ ได้รบั การเชอื่ ฟังอย่างเต็มอกเต็มใจและได้รบั ความรว่ มมืออยา่ งจงรักภกั ดีจากผ้ใู ตบ้ ังคบั บญั ชา ผู้นาแต่ละ คนจะมคี ุณลกั ษณะซ่ึงประกอบเป็นบคุ ลิกลักษณะประจาตวั และแสดงออกในระดับต่างๆ กัน ปฏิกิริยาท่ีเรา แสดงตอ่ ผอู้ น่ื ส่วนมากสืบเนอื่ งมาจากบุคลิกลักษณะของคนเหล่าน้ันด้วยเป็นสาคัญ ซ่ึงเกิดจากผลรวมของ คณุ ลักษณะ หรือบุคลิกลักษณะของคนเหล่าน้ัน ทหารจะแสดงปฏิกิริยาต่อผู้บังคับบัญชา ตามแบบที่ ผู้บังคับบัญชาแสดงต่อเขาในแต่ละคร้ัง ท่าทีของทหารที่มีต่อผู้บังคับบัญชา อาจมีอิทธิพลเป็นอย่างมาก ถ้าเขาใช้คุณลักษณะที่มีอยู่รวมกันตั้งแต่ 2 คนข้ึนไป คุณลักษณะท่ีผู้บังคับบัญชาแสดงออก จะมีผลต่อ พฤตกิ รรมของผู้ใต้บังคับบัญชาโดยตรงและความเต็มใจท่ีจะปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จ ฉะนั้นจึงมีความจาเป็น อย่างย่งิ ท่ีผ้บู งั คบั บัญชาจะต้องทาความเข้าใจอยา่ งถูกต้องในการเสริมสร้างคุณลักษณะของการเป็นผู้นาให้มี ขนึ้ กบั บคุ ลิกของคนในระดับต่าง ๆ เพอ่ื ให้สามารถทานายผลอันเกิดจากบุคลิกของตนท่ีแสดงต่อคนอ่ืนได้ ผู้นาบางคนอาจอจะหาวิธีประเมินค่าบุคลิกลักษณะของตนเองจากการสอบถามบุคคลอ่ืนโดยตรง บางคน อาจจะได้จากการวจิ ารณข์ องคนอื่น บางคนกไ็ มอ่ าจทาเชน่ นัน้ ได้ ผูน้ าท่ีดีมีความจาเป็นต้องรู้จักตนเองเป็น อย่างดี มีความซ่ือตรงประเมินค่าตนเองอย่างเที่ยงธรรมให้ตรงเป้าหมาย ซึ่งจะช่วยให้เขามีคุณลักษณะที่ เข้มแข็ง ท้ังยังช่วยเสริมสร้างจดุ อ่อนท่ีมอี ยูใ่ ห้กล้าแข็งขน้ึ อกี ดว้ ย 38. คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค์ ก. จากการสารวจชีวิตความเป็นอยู่ และอาชีพของผู้นาท่ีเคยประสบผลสาเร็จมาแล้ว เม่ือ ปลายสงครามโลกคร้ังท่ี 2 โดยการซักถามทหารช้ันยศต่าง ๆ เพ่ือเสาะหาคุณลักษณะต่าง ๆ ซึ่งแต่ละ คนเห็นวา่ เป็นคุณลักษณะทน่ี าไปสคู่ วามสาเรจ็ ได้ข้อยตุ วิ า่ ไม่มคี ณุ ลกั ษณะในกลมุ่ หน่ึงใดท่ีจะนามาพิจารณา ว่า ทาไมผู้นาคนนั้น พบความสาเร็จอย่างถูกต้อง ถึงแม้ว่าจะมีหลายคนที่มีคุณลักษณะ และคุณสมบัติท่ี คล้ายคลึงกัน จากผลการสารวจพบว่า มีการแบ่งแยกคุณลักษณะต่าง ๆ ไว้ 14 ประการ ซ่ึงผู้นา เหล่านั้นมักจะใช้ยึดถือเหมือน ๆ กัน ในระดับที่แตกต่างกัน มีผู้ตั้งข้อสงสัยเอาไว้มากกว่าการมีแต่เพียง คุณลักษณะดงั กล่าวนีจ้ ะเปน็ การเพียงพอท่ีจะทาให้ผู้นาพบความสาเร็จได้หรือไม่ ขณะเดียวกันเคยปรากฏ มาแล้วว่า ถ้าขาดคณุ ลักษณะดังกล่าว จะทาให้เป็นผู้นาที่ดีไม่ได้โดยไม่ต้องสงสัย คุณลักษณะต่าง ๆ เหล่า นีเ้ ป็นสิ่งท่พี งึ ประสงค์ของทหารท่ีดีทุกคน โดยไม่คานึงถึงชั้นยศ ท้ังยังเป็นส่วนประกอบท่ีจาเป็นท่ีทหาร จะขาดเสยี มิได้ คุณลักษณะที่แสดงไวใ้ นแผนภมู ิหมายเลข 1 เปน็ แนวทางในการเสริมสรา้ งบุคลิกใหแ้ ก่บุคคลท่ีจะเปน็ ผู้นา ทางทหาร อย่างไรก็ดีพงึ ระลึกไวว้ า่ เปา้ หมายของผ้นู า บุคลิกลักษณะของผูท้ ่ีเขาจะรว่ มงานด้วยและ สภาวะแวดล้อมของสถานการณเ์ ฉพาะ ซึ่งจะเป็นผลกระทบกระเทอื นอยา่ งมากต่อคณุ ลักษณะอย่างหนึ่ง อย่างใด หรอื หลายอย่าง ซงึ่ มคี วามจาเป็นตอ้ งเน้นหนักใหม้ ากทส่ี ดุ ข. ขอ้ ความท่ปี รากฏในแผนภมู ิหมายเลข 1 มิใช่เป็นคณุ ลกั ษณะทั้งส้นิ ของการเป็นผู้นา หากแตเ่ ป็น คุณลกั ษณะทจ่ี าเปน็ ที่ผ้นู าทางทหารคนใดคนหนึง่ ควรจะมี ซึง่ จะได้กล่าวรายละเอียดตอ่ ไปต้ังแต่ ข้อ 39 ถึงขอ้ 52 พร้อมทง้ั คาแนะนาบางประการท่จี ะชว่ ยพฒั นาคุณลกั ษณะแต่ละอย่างให้ดีข้นึ 15
แผนภมู หิ มายเลข 1 คณุ ลกั ษณะของการเป็นผ้นู า - ลักษณะทา่ ทาง ( การวางตัว ) - ความซื่อสัตยส์ ุจริต ทางกายภาพ - ความพนิ ิจพเิ คราะห์ - ความกล้าหาญ - ความยุติธรรม ทางศีลธรรม - ความรอบรู้ - ความเด็ดขาด - ความจงรักภกั ดี - ความรจู้ กั กาลเทศะ - ความไวเ้ นื้อเชอื่ ใจ - ความไมเ่ ห็นแกต่ ัว - ความอดทน - ความกระตือรอื ร้น - ความริเรม่ิ 39. ลักษณะทา่ ทางหรอื การวางตัว ก. ลักษณะท่าทางคือ การก่อให้เกิดความฝังใจท่ีนิยมในการวางตัว อากัปกิริยา และการ ปฏิบัติตลอดเวลา เป็นคุณสมบัติประจาตัวท่ีผู้นาจะต้องมี ลักษณะท่าทางของผู้นาไม่ว่าจะดีหรือเลว มักจะสร้างแบบอย่างให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตาม การวางตัวของผู้นาควรจะมีลักษณะเที่ยงตรง อากัปกิริยาทั่ว ๆ ไปตลอดจนเคร่ืองแต่งกายและเคร่ืองประกอบต่างๆ ควรจะเป็นแบบอย่างท่ีดีแก่บุคคล ภายในหนา่ ย ผนู้ าควรแสดงความตนื่ ตัว ตลอดจนการปฏิบตั ิและความเคล่ือนไหวต่างๆ ดว้ ยความเข้มแข็ง ให้ปรากฏแก่ผู้อื่น ข. อากัปกริ ิยาและลักษณะท่าทางของผ้นู า จะตอ้ งแสดงออกให้เห็นถึงความมีประสิทธิภาพ และ ความเชอ่ื มั่น ซง่ึ บางครัง้ อาจจะเกนิ เลยจากความรู้สึกท่ีเป็นจริง การควบคุมเสียงพูดและการแสดงท่าทาง ตา่ ง ๆ ประกอบ ควรกระทาอยา่ งมน่ั คง และให้มอี ทิ ธิพลเหนือบคุ คลทีอ่ ยูร่ อบข้าง อยา่ งเสมอต้นเสมอปลาย โดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ เม่ืออย่ใู นสนามรบ ผนู้ าท่ดี ีทุกคนจะต้องทราบว่า ความเชื่อมั่นในตนเองในหน่วยทหาร ต่อยุทโธปกรณ์ และในสถานการณ์ท่เี กิดข้นึ สงั เกตได้จากผ้บู ังคบั บญั ชาของตน ส่ิงที่จะทาให้ขวัญของทหาร ภายในหนว่ ยมีอยคู่ งที่คอื การทีผ่ ้บู ังคับบญั ชาใช้ความรู้ของตนในการแกไ้ ขสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ียากลาบาก อย่างเต็มที่ แทนที่จะมองดูหรือกระทาอย่างหวาดวิตกเพราะหน้าที่บังคับ การใช้กิริยาที่ขึงขัง รุนแรง และเข้มงวดเกินไป อาจจะทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีความเห็นอกเห็นใจน้อยลง อาการหงุดหงิดบ่อย ๆ หรือ อารมณ์เสียบ่อย ๆ ทาให้ตนเองขาดวินัย ผู้ที่ไม่สามารถควบคุมตนเองได้ ก็จะควบ คุมผู้อ่ืนไม่ได้ เชน่ เดียวกัน ค. ภาษา เปน็ อกี สง่ิ หนึง่ ท่จี ะต้องพจิ ารณานามาใชก้ บั ผู้ใตบ้ งั คับบญั ชาอยา่ งถูกต้อง ควรใช้ภาษา พื้น ๆ ชดั เจน ใช้ประโยคสั้น ๆ ง่าย ตรงไปตรงมา ถ้ามีความจาเป็นต้องใช้ข้อความท่ีไม่อาจเข้าใจได้ โดยแจม่ แจ้ง จะตอ้ งอธบิ ายความหมายด้วย กับหลกี เลีย่ งการใช้ภาษาตา่ ๆ กับผูใ้ ตบ้ ังคบั บัญชาใหม้ ากท่ีสุด 16
ง. ผบู้ งั คับบญั ชาตอ้ งมคี วามรับผดิ ชอบในการแก้ไขคาพูดทีพ่ ดู ผิดไปแลว้ ให้ถูกตอ้ ง เมื่อจาเป็นต้อง ทาคือ ใชค้ าพดู ทตี่ รงไปตรงมา ยกย่องตามฐานันดรศักด์ิ และใช้ภาษากลาง ๆ ถ้านาภาษาท่ีไม่สุภาพมาใช้ จะทาให้เส่ือมความนิยมทั้งในตัวทหารเองและหน่วยอันเป็นส่วนรวม การใช้คาพูดทานองเหยียดหยามหรือ หยาบคาย หรือยอมใหผ้ ู้นาชัน้ รองลงไปใช้คาพูดกับทหาร โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ ในการออกคาส่ังด้วยแล้ว เป็น การเสีย่ งตอ่ การทาให้เกดิ ความขัดแยง้ ความโกรธเคอื ง การทะเลาะวิวาทจนกระท่ังถึงขั้นขัดคาสั่ง ทหารท่ี ถกู ผู้บงั คับบญั ชาดดุ า่ อยา่ งหยาบคาย จะมีความรู้สึกว่า ผู้บังคับบัญชากาลังฉวยโอกาสใช้อานาจหน้าที่อย่าง ไม่เป็นธรรม ฉะนัน้ จึงควรหลีกเล่ยี งการใชภ้ าษาทไ่ี ม่สุภาพหรือภาษาใด ๆ กต็ ามท่เี ป็นการตาหนิโดยไม่เลือก หนา้ จ. ควรหลกี เลย่ี งการวิพากษว์ ิจารณ์ หรอื การประณามท้ังหม่คู ณะ ท่านคงไม่ค่อยได้พบหน่วยทหาร ใดใดหน่วยทหารหนึ่ง ถูกตาหนิติเตียนทั้งหน่วย การที่ทหารคนหนึ่งไม่ได้ทาความผิดแต่ต้องถูกลงทัณฑ์ อยา่ งไม่ยตุ ิธรรมรวมไปกับคนอื่นทกี่ ระทาความผิด จะเป็นการสร้างความไม่พอใจให้กับผู้น้ันได้อย่างรวดเร็ว มากความจริงอันนี้ไม่เพียงแต่จะใช้กับคาพูดดุด่าเท่านั้น ยังหมายถึงการลงทัณฑ์ประเภทอื่น ๆ ด้วย คาพดู ที่รนุ แรงตา่ ง ๆ ถา้ ไมจ่ าเปน็ จริง ๆ ไม่ควรนามาใช้ ควรเก็บเอาไว้ใช้ในกรณีฉุกเฉิน เช่น ใน สนามรบจะเหมาะกว่า คาพูดที่แข็งกร้าวดุดัน ถ้าใช้ให้เหมาะกับเวลาและโอกาส อาจก่อให้เกิดผลดี ในทางเรง่ เร้าให้งานสาเรจ็ ผล แตถ่ ้าใชจ้ นตดิ เปน็ นิสยั ก็จะเกิดผลเสยี ได้มากเหมือนกัน ฉ. ถ้อยคาเย้ยหยัน แดกดัน หรือถากถางต่าง ๆ มักไม่ค่อยก่อให้เกิดผลดี ผู้ใต้บังคับบัญชาส่วนมาก จะไม่ค่อยเข้าใจข้อความประชดประชันเหล่าน้ี ท้ังไม่ทราบว่าผู้นาของตนจะ ตีความหมายของคาเหล่านี้อย่างไร แม้สาเนียงเย้าแหย่เชิงหยอกล้อก็ไม่ควรใช้บ่อยนัก แต่ก็ไม่ได้ หมายความว่าจะใชค้ าพูดตดิ ตลกไมไ่ ด้เสยี เลย การใช้คาพูดเล่นล้ินมากเกินไป ก็จะทาให้ทหารในหน่วยพูด เล่นไปด้วย ขณะที่ทหารกาลังเหน็ดเหน่ือยจากการฝึก การใช้อารมณ์ขันหรือคาพูดติดตลก จะช่วยผ่อน คลายความเหนด็ เหนอ่ื ย และความตรึงเครยี ดตา่ ง ๆ ลงได้ ช. ผู้นาควรจะวางตวั อยู่ในลักษณะสงา่ ภูมฐิ าน คาว่าภูมิฐานในท่ีน้ีหมายถึง สภาวะท่ีมีคุณค่า และมีเกียรติ ซึ่งตอ้ งอาศัยการควบคุมการแสดงออก และควบคุมอารมณ์ของตนเอง ผู้นาท่ีชอบสร้างความ อับอายใหก้ ับตนเองด้วยการพูดเสียงดงั เป็นนักดม่ื ตวั ฉกาจและขาดการควบคมุ อารมณ์ของตนเอง ก็จะทาให้ ผ้ใู ต้บังคบั บญั ชาเสื่อมความเคารพยาเกรงอยา่ งรวดเร็ว ซ. การเสริมสร้างลักษณะท่าทางใหเ้ กดิ ข้นึ ในตัวผ้นู า ต้องปฏิบัตดิ งั นี้.- 1) ฝึกตนเองให้มอี ากัปกิรยิ า และทา่ ทางที่มมี าตรฐานสงู 2) หลกี เลีย่ งจากความประพฤตหิ ยาบคาย และการใช้วาจากักขฬะ 3) ถ้าชอบดืม่ ของมนึ เมา ก็จงดืม่ แต่พอประมาณ 4) ใช้หลกั เดินสายกลาง ( มชั ฌมิ าปฏปิ ทา ) ในการปฏบิ ัติตนทุกอยา่ ง 5) รักษาทา่ ทางให้มคี วามสง่าผา่ เผย และภมู ฐิ านจนเป็นนสิ ัย 40. ความกล้าหาญ ( ทง้ั ทางกายภาพ และทางศลี ธรรม ) ก. ความกล้าหาญ คือ สภาวะทางใจอย่างหน่ึงซ่ึงรู้จักกลัวอันตราย หรือรับรู้คาวิจารณ์ต่าง ๆ แตท่ าใหบ้ ุคคลผู้น้นั ยงั คงเผชญิ หน้ากบั ส่งิ เหลา่ น้นั อย่างไม่สะทกสะท้าน หรืออ่อนไหว พูดง่าย ๆ ความกล้า หาญก็คือ การควบคุมตนเองไม่ให้เกิดความกลัว เป็นคุณสมบัติของจิตใจ ซ่ึงทาให้บุคคลสามารถควบคุม ตนเองได้ทาให้เกิดความรู้สึกรับผิดชอบ และสามารถปฏิบัติตนต่อสถานการณ์ท่ีมาคุกคามได้อย่างถูกต้อง ความกลา้ จงึ เปน็ ส่ิงจาเปน็ ยิง่ สาหรับการเปน็ ผู้นา ข. ผูน้ า ตอ้ งมีความกลา้ หาญทง้ั ทางกายภาพและทางศีลธรรม ความกล้าหาญทางศลี ธรรมหมายถึง การรับรู้และยืนหยัดในส่ิงที่เห็นว่าถูกต้อง เม่ือต้องเผชิญกับส่ิงท่ีคนทั่วไปไม่ชอบ ผู้นาที่มีความกล้าหาญ 17
ทางศลี ธรรม จะยอมรบั อยา่ งหน้าชื่นในส่ิงที่ตนกระทาผิดพลาด แต่จะสู้อยา่ งหัวชนฝาเมื่อเห็นว่าตนเป็นฝ่าย ถูก ค. เพ่ือช่วยให้ตนเองเกิดความกล้าหาญ จะตอ้ งปฏิบตั ิดังน้ี.- 1) ศกึ ษาและทาความเข้าใจกบั ปฏกิ ิริยาของทา่ น ทม่ี ตี อ่ ความรู้สึกในทางหวาดกลวั 2) ควบคุมความกลวั ด้วยการทาจติ ใจใหส้ งบ 3) จดั ลาดับความนึกคิดของทา่ นให้มรี ะเบียบแบบแผน อย่าทาใจใหต้ ่นื กลวั อนั ตราย จนเกนิ ไป 4) ถ้าท่านเกดิ ความประหม่าท่ีจะทาอย่างใดอย่างหนึ่งท่ีทา่ นต้องการในชีวติ ประจาวัน กจ็ งบงั คบั ตนเองใหก้ ระทาในสงิ่ เหล่าน้ันให้ได้ จนกว่าจะเห็นวา่ ท่านสามารถควบคุมปฏิกริ ยิ าน้ไี ด้ 5) จงยืนหยดั ในสิ่งท่ีเห็นว่าถูกต้อง แมใ้ นทศั นะของคนทั่วไปจะเห็นวา่ ใช้ไม่ได้ 6) ยอมรบั คาตาหนิ เมอ่ื ทา่ นเป็นฝา่ ยผิด 41. ความเด็ดขาด ก. ความเด็ดขาด คือ ความสามารถในการตกลงใจโดยฉับพลัน และประกาศข้อตกลงใจด้วย ทา่ ทางเอาจรงิ และชัดเจน ข. สถานการณต์ ่าง ๆ มักมวี ิธแี กไ้ ขมากกว่า 1 วิธี ผูน้ าที่ฉลาดต้องรวบรวมมูลความจริงท้ังหลาย ไว้ให้หมด แลว้ นามาเปรียบเทียบดูว่า ความจริงข้อไหนจะมีน้าหนักมากกว่ากัน เพื่อให้ได้ข้อตกลงใจที่ ถูกตอ้ งและรวดเรว็ ความเดด็ ขาดส่วนใหญเ่ ป็นเร่ืองของการปฏิบตั ิ และประสบการณ์ ค. เพอื่ เสริมสรา้ งให้เกิดความเด็ดขาด จะต้องปฏิบตั ดิ ังน้ี.- 1) ฝึกตนเองให้เกิดความแน่ใจในการปฏบิ ัติ อยา่ หน่วยเหน่ียวหรือพูดอ้อมค้อม 2) เสาะหาความจรงิ ตงั้ อกตง้ั ใจใหด้ แี ลว้ จึงคอ่ ยออกคาสัง่ ด้วยความมัน่ ใจ 3) ตรวจสอบดกู ารตกลงใจทท่ี าไปแลว้ ซา้ อีกครง้ั หนงึ่ วา่ ถูกตอ้ ง และทนั เวลาหรอื ไม่ 4) วเิ คราะหก์ ารตกลงใจของผูอ้ ่ืน ถ้าตนเองไมเ่ ห็นดว้ ยให้พจิ ารณาต่อไปวา่ เหตุผลที่ ตนไม่เหน็ ดว้ ยนน้ั ใช้ไดห้ รือไม่ เพราะอะไร 5) ขยายทัศนะของตนเองให้กวา้ งขวาง ดว้ ยการศึกษาวิธปี ฏิบัติของผู้อื่น แล้วนาเอา ผลสาเรจ็ หรือข้อผิดพลาดเหล่านน้ั มาใช้ให้เกิดประโยชน์กบั ตนเอง 42. ความไวเ้ นอ้ื เชอื่ ใจ ก. ความไวเ้ น้ือเชอ่ื ใจ คอื การปฏิบัติหนา้ ท่ีบางอย่างได้โดยถูกต้องไม่ผิดพลาด เป็นคุณสมบัติ อันหนึ่งซ่ึงผนู้ าควรจะเสริมสร้างใหม้ ีขึ้นในตัวเอง ข. ผู้นาท่ีไว้วางใจได้ คือ ผู้ที่ทางานได้ว่องไว มีปฏิภาณดี มีความตั้งใจจริงที่จะทางานเพื่อ ผบู้ งั คบั บญั ชาของตน มคี วามจริงใจและมคี วามสมัครใจทจี่ ะปฏบิ ตั ิตามแผนและความตั้งใจของผู้บังคับบัญชา มไิ ด้หมายความว่าเชอื่ อยา่ งงมงาย ผู้บังคับบัญชาส่วนมากจะรับฟังความคิดเห็นของผู้ใต้บังคับบัญชา แต่ เมอื่ ใดท่ผี ูบ้ งั คบั บญั ชาให้ขอ้ ตกลงใจข้ันสดุ ทา้ ยแล้ว ผู้ใต้บงั คบั บญั ชาตอ้ งให้การสนับสนนุ อย่างแขง็ ขัน ค. ผู้นาที่มีความสานึกในหน้าท่ีอย่างสูง จะใช้ความพยายามอย่างดีที่สุด เพ่ือปฏิบัติงานโดย ตอ่ เน่อื งให้เกดิ ผลสาเร็จได้มาตรฐานสงู ทีส่ ดุ และถอื วา่ ผลประโยชนส์ ว่ นตัวเป็นเรอื่ งรองจากงานในหน้าท่ี ง. เพือ่ เสริมสรา้ งใหต้ นเองเกดิ ความไวเ้ น้อื เชื่อใจ ต้องปฏิบัตดิ ังนี้.- 1) อยา่ หาข้อแก้ตัว หรือคาขอโทษ 2) ทางานทุกชนิดท่ีไดร้ ับมอบหมายจนสุดความสามารถ โดยไมค่ านงึ ถงึ ความ เชอ่ื ถอื ส่วนตวั 3) มคี วามแน่วแน่ในรายละเอียดตา่ ง ๆ 18
4) ฝึกนิสัยใหเ้ ป็นคนตรงตอ่ เวลา 5) ปฏิบัตกิ ารณ์ใหเ้ ป็นไปตามคาส่ังทุกกระเบยี ดน้ิว เม่ือเหน็ ว่าจะเกิดการขัดแยง้ เกิดข้ึนระหว่างบุคคล 2 ฝา่ ย ให้เรียกเจ้าหนา้ ท่ที เ่ี กีย่ วข้องมาทาความเข้าใจกนั ทนั ที 43. ความอดทน ก. ความอดทน คือ พลงั ทางร่างกายและจิตใจ ซ่ึงวัดได้จากความสามารถท่ีจะยืนหยัดต่อความ เจ็บปวด ความเม่ือยล้า ความเคร่งเครียด และความยากลาบากต่าง ๆ มีลักษณะคล้ายคลึงกับความ กล้าหาญ ความอดทนเป็นคุณสมบัติอันสาคัญอันหน่ึงซึ่งผู้นาทุกคนจะต้องมี ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความเลื่อมใส ศรทั ธาจากผูใ้ ต้บงั คบั บัญชา การขาดความอดทนอาจเก่ยี วพันไปถึงการทาให้ขาดความกล้าหาญไปด้วยทา ให้ผู้นากลายเป็นคนขี้ขลาด เพราะสภาวะทางกายภาพไม่เข้มแข็ง ความอดทนหมายความรวมถึง ความสามารถ เมอื่ รบั งานมาทาแล้ว สามารถดาเนนิ ไปไดโ้ ดยตลอด ข. เพือ่ เสริมสร้างใหเ้ กิดความอดทน จะต้องปฏิบัตดิ ังน้ี 1) หลกี เลยี่ งการปฏบิ ัตทิ ไี่ มจ่ าเปน็ อันเป็นเครอ่ื งบ่นั ทอนพลังกายและจติ ใจ 2) ปลูกฝงั นิสยั ใหช้ อบออกกาลงั กาย เพอ่ื ช่วยให้ร่างกายมีความแขง็ แกร่งข้นึ เพ่มิ ความอดทน ให้แก่รา่ งกายดว้ ยการทางานที่ยากลาบาก 3) ทดสอบความอดทนของตัวเองบ่อย ๆ ด้วยการบังคบั ตนเองใหอ้ อกกาลังให้หนัก และฝึกจิตใจให้กล้าแขง็ 4) บงั คบั ตนเองใหฝ้ กึ ฝนทางานต่อไปเมอ่ื รู้สกึ เหน็ดเหนื่อย หรอื ฝืนใจทาเมือ่ จิตใจ เรม่ิ ยอ่ ท้อ 5) ทางานทุกชนิดใหเ้ สรจ็ เรียบรอ้ ยและดีท่สี ุดเท่าทต่ี นมีความสามารถจะทาได้ 44. ความกระตือรือร้น ก. ความกระตือรอื รน้ คอื การแสดงออกซึ่งความสนใจอย่างจริงใจ และมจี ติ ใจจดจ่ออยู่กับการ ปฏบิ ตั หิ นา้ ทห่ี มายความรวมถึงการทางานดว้ ยความรา่ เริงเบิกบาน มคี วามหวังดี พิจารณาใหเ้ กิดผลดีต่องาน ท่าทีการปฏบิ ตั ขิ องท่านจะเป็นการสร้างตวั อย่างให้ผใู้ ตบ้ งั คบั บญั ชาปฏิบตั ิตาม ข. ความกระตอื รอื ร้น มคี วามสาคัญโดยตรงต่อการฝึกสอนในการแสดงตัวอย่างประกอบการสอน การปฏิบัติของท่านจะได้รับความสนใจ หรือเกิดความกระตือรือร้นหรือไม่ ดูได้จากการแสดงออกของ ผูใ้ ต้บงั คับบญั ชาของทา่ น ค. เพ่อื เสริมสรา้ งให้เกดิ ความกระตอื รอื รน้ จะต้องปฏิบัตดิ ังน้ี 1) ทาความเข้าใจและเช่อื มนั่ ในภารกิจของทา่ นทตี่ ้องปฏิบตั ิ 2) จงเป็นคนร่าเรงิ และเล็งผลเลิศ 3) อธิบายใหผ้ ู้ใต้บังคับบญั ชาทราบวา่ \"ทาไม\" งานบางอย่างจึงไมน่ ่าสนใจ และไม่ น่าทา แตก่ ต็ อ้ งทา 4) ประกาศยกย่องชมเชย เมื่อทางานได้สาเร็จ ความกระตือรอื รน้ ย่อมแพรถ่ งึ กันได้ อย่างรวดเร็วไม่มีอะไรจะเสริมสร้างความกระตือรือร้นได้รวดเร็วย่ิงกว่าความสาเร็จของหน่วย หรือบุคคล ภายในหนว่ ย 5) อยา่ ทาตนใหเ้ กดิ ความเบ่ือหน่ายต่องาน จัดให้มีเวลาวา่ งไว้ชว่ งหน่ึงทุกวัน เพอื่ ให้จติ ใจคลายกงั วลต่องานในหน้าที่ และมเี วลาพักผอ่ น 19
45. ความรเิ ร่มิ ก. ความรเิ ร่ิม คือ การเสาะแสวงหางานมาทาและเริ่มหาหนทางปฏิบัติ ถึงแม้จะไม่มีคาสั่งให้ ปฏบิ ัตเิ หล่านเี้ ป็นสิง่ จาเปน็ ทท่ี หารทุกชั้นยศจะตอ้ งมี เมื่อผู้บังคับบัญชาต้องเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ ๆ หรือที่ไม่คาดคิดมาก่อน ทหารจะรวมพลังกัน อย่างรวดเร็ว และปฏิบัติต่อสถานการณ์น้ัน ๆ อย่างฉับพลันทันที ก็ถือเป็นความริเร่ิมอย่างหนึ่ง ควรหาทางกระตุ้นให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความริเร่ิม ด้วยการมอบหมายงานให้ทาโดยเลือกให้เหมาะกับ ตาแหน่งและช้นั ยศของแต่ละคน ปล่อยให้เขาหารายละเอยี ดและหนทางปฏิบตั เิ อาเอง จนกระทั่งทางาน สาเร็จ แต่ไม่ได้หมายความว่าผู้บังคับบัญชาได้แต่มอบงานให้ โดยตนเองทาอะไรไม่ เป็นเลย ผบู้ ังคบั บัญชาจะต้องรู้จกั งานนน้ั ๆ เปน็ อย่างดี เพ่ือจะได้กากับดแู ลอยา่ งถกู ตอ้ ง ข. ส่ิงท่ีจะต้องมีควบคู่กันไปกับความริเร่ิม คือ คุณสมบัติในการคิดหาหนทางปฏิบัติ อันเป็น ความสามารถที่เก่ียวเนื่องกับสถานการณ์ โดยไม่ต้องใช้วิธีการปฏิบัติอย่างสามัญยุทโธปกรณ์ทางทหาร การจดั หนว่ ย และการฝึกตา่ ง ๆ ไดจ้ ดั ใหม้ ีขนึ้ เพอ่ื เตรียมไว้เผชญิ กบั สถานการณ์อย่างปกติ แต่บางคร้ังก็ เกิดความล้มเหลวไมเ่ ป็นไปตามที่หวังไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวะสงคราม ซึ่งจะเห็นได้ว่าส่ิงที่ไม่คาด ฝันมักจะเกิดขึ้นอยู่เสมอจนกลายเป็นเร่ืองธรรมดา การเมินเฉยโดยไม่คิดทาอะไรต่อสถานการณ์ที่ไม่น่า ไวว้ างใจโดยอ้างวา่ หาวิธีปฏบิ ตั ไิ ม่ได้นั้น ไม่ควรกระทาอยา่ งยง่ิ ค. เพ่อื เป็นการเสรมิ สร้างให้เกดิ ความรเิ ริ่ม จะตอ้ งปฏบิ ตั ดิ ังน้ี 1) ต้องมคี วามตื่นตัวตลอดเวลาท้งั กายและใจ 2) ฝึกตนเองใหเ้ กดิ ความสานกึ ในงานท่จี ะต้องทา และทาโดยไม่ต้องใหส้ ั่ง โดย ปราศจากความลงั เลใจ 3) ฝกึ ใหเ้ กิดความหวงั โดยการคดิ วางแผนไว้ลว่ งหนา้ 4) แสวงหาความรบั ผดิ ชอบ และยอมรับความผดิ หรอื ชอบ โดยทันที 5) ใชห้ นทางปฏิบตั ิท่ีมีอยูใ่ นทางที่เกิดผลดที ีส่ ดุ และมีประสิทธภิ าพมากทีส่ ุด 46. ความซอ่ื สัตยส์ ุจรติ ก. ความซอ่ื สัตย์สุจรติ คอื ความเท่ยี งตรงแห่งอปุ นิสยั และความยึดม่ันอยู่ในหลักแห่งศีลธรรม อันดีงาม เป็นคุณสมบัตขิ องการรักความจริงและความซ่ือสัตย์อย่างแท้จริง เป็นคุณลักษณะซึ่งผู้นาแต่ ละคนจะขาดเสยี มิได้ ข. ในการปฏบิ ตั ิการเปน็ แบบชุดทหาร เป็นการเสี่ยงอย่างย่ิงท่ีจะฝากชีวิตทหารเป็นจานวนมากไว้ ในบังคับบัญชาของบุคคลต่าง ๆ ซึ่งยังไม่แน่ใจว่าเขาจะมีความซื่อสัตย์สุจริตหรือไม่ ยกตัวอย่างเช่น ขา่ วสารเกย่ี วกับการรบ มคี วามสาคญั ย่งิ ต่อผมู้ ีหนา้ ทร่ี ับผิดชอบในการตัดสินใจแก้ปัญหาการรบ รายงานต่าง ๆ ทีส่ ง่ จากหน่วยรองข้ึนมายงั หน่วยเหนอื หากมีผทู้ ่ไี มม่ ีความซอ่ื สัตย์ ดว้ ยการละเมิดต่อมาตรการในการ รกั ษาความลับเพยี งคนเดียว อาจทาใหผ้ ลการปฏิบตั ิของส่วนรวมต้องพังพนิ าศโดยสิ้นเชิง ถึงแม้บุคคลใดจะมี ความซือ่ สตั ย์เพียงอย่างเดยี ว หากไมม่ คี วามสจุ รติ แลว้ กไ็ มอ่ าจใหค้ วามเชือ่ ถอื ได้เลย อาชีพทหาร จะไม่ ยอมให้บุคคลซง่ึ บกพร่องในเร่ืองความซ่ือสตั ยส์ จุ ริตแมแ้ ต่นอ้ ย ใหค้ วามรว่ มมอื อย่ใู นวงการดว้ ยเลย ค. เพือ่ เสริมสรา้ งให้เกดิ ความซือ่ สัตย์สุจริต จะต้องปฏิบตั ดิ งั น้ี 1) ฝึกให้เป็นผ้มู ีความซ่อื สตั ย์ และรกั ษาวาจาสตั ยต์ ลอดเวลา 2) คาพดู ทกุ คาจะต้องถูกตอ้ งแน่นอนและเปน็ ความจริง ทง้ั ในเร่อื งราชการและเร่ืองส่วนตวั 3) จงยืนหยดั ในเร่อื งทีท่ า่ นเชอื่ ว่าถกู ต้อง 4) จงยึดถือเอาความซื่อสัตย์ ความสานึกในหน้าที่การงานและหลักของศีลธรรมอันดีงาม ให้อยู่ เหนือส่งิ อนื่ ใดทั้งหมด 20
47. ความพินิจพิเคราะห์ ก. ความพินจิ พเิ คราะห์ คอื คุณสมบัติในการใครค่ รวญโดยใชเ้ หตผุ ลตามหลักตรรกวิทยา เพ่ือให้ ไดม้ ลู ความจรงิ และหนทางแกไ้ ขทน่ี า่ เปน็ ไปได้ เพอื่ นามาใช้ในการตกลงใจไดถ้ ูกต้อง เพื่อเพิ่มพูนความพินิจ พเิ คราะห์ของตนเองให้สูงขึ้น จะตอ้ งเป็นผู้เพียบพรอ้ มดว้ ยหลักวิชาทางเทคนิคใหม้ ากทสี่ ุดเทา่ ท่ีจะทาได้ ข. เพือ่ เสรมิ สรา้ งใหเ้ กดิ ความพนิ ิจพเิ คราะห์ จะตอ้ งปฏบิ ตั ิดังน้ี 1) ฝึกการประมาณสถานการณอ์ ยู่เสมอ 2) คาดหมายเหตุการณ์ต่าง ๆ ไว้ล่วงหน้าว่า จะต้องตกลงใจเม่ือใด เมื่อถึงเวลาจะต้องใช้จะได้ เตรยี มการได้อย่างถกู ต้อง 3) หลีกเล่ยี งอยา่ ให้มกี ารตกลงใจอยา่ งหนุ หนั พลนั แล่น 4) ตีปัญหาใหแ้ ตกโดยใช้สามัญสานกึ 48. ความยุตธิ รรม ก. ความยุติธรรม คือ คุณสมบัติของการเป็นผู้ไม่ลาเอียงเข้าข้างใคร และมีความเสมอต้นเสมอ ปลายในการใช้อานาจบงั คบั บญั ชา ความยตุ ธิ รรมหมายความรวมถงึ การให้รางวัล ตลอดจนการลงโทษแก่ผู้ท่ี กระทาความผิดในลกั ษณะตา่ ง ๆ ตามควรแกก่ รณี ความโกรธและอารมณ์อ่ืน ๆ ต้องไม่เข้ามาพัวพันกับเหตุการณ์ในขณะน้ันต้องหลีกเลี่ยงอย่าให้มีอคติใด ๆ ต่อเช้ือชาติศาสนา สิ่งท่ีจะทาลายขวัญของทหารภายในหน่วยนั้นๆ ก็คือ ความไม่ยุติธรรมของ ผบู้ งั คบั บญั ชา และการเลอื กทีร่ ักมักท่ชี ังของผู้นาทม่ี ตี อ่ บุคคลบางคนหรอื บางพวก ข. ในฐานะท่ีท่านเป็นผู้นา ท่านจะเป็นบุคคลท่ีทหารต้องการพบ เพื่อให้ความยุติธรรมในเร่ือง เก่ียวกับการเล่ือนยศ เลื่อนตาแหน่ง และลงทัณฑ์ การตัดสินใจของท่านเป็นการพิสูจน์ความยุติธรรมในตัว ท่าน กว่าจะได้ชอ่ื วา่ เปน็ ผู้มีความยุติธรรมตอ้ งใชเ้ วลานานมาก ความผิดพลาดเลก็ ๆ นอ้ ย ๆ ท่ีคิดไม่ถึง หรือ ความลาเอียงเพยี งนดิ เดียว อาจทาลายศรัทธาท่ีมีต่อชื่อเสียงอันดีงามของท่านซ่ึงใช้เวลาสร้างสมมานานนับ เดือนนับปี ค. ในการใหค้ วามยุติธรรม ทา่ นจะตอ้ งมคี วามเขา้ ใจในพฤติกรรมของมนษุ ย์ จะต้องศกึ ษาเรียนรู้ บุคคลต่าง ๆ วา่ ทาไมบคุ คลจาพวกหน่งึ จึงต้องประพฤติปฏิบัติอย่างน้ี ในสภาวการณ์อย่างนี้ ในขณะที่ บุคคลอกี จาพวกหนึ่ง ต้องประพฤติปฏิบัติในทางที่แตกต่างกันออกไปในสภาวการณ์อย่างเดียวกัน ต้องทา การวิเคราะห์กรณีท่ีเคยตกลงใจไปแล้วและพิจารณาว่าจะต้องทาอะไรต่อไป ท่านจะต้องเป็นผู้ตัดสินใจ หรอื ไม่นค่ี ือกรรมวธิ ีทางใจสว่ นบุคคล ซง่ึ ไมค่ วรนาไปใช้ในการวจิ ารณ์การตกลงใจของผนู้ าคนอื่น ง. เพ่อื เสริมสร้างใหเ้ กดิ ความยุติธรรม จะตอ้ งปฏบิ ตั ิดงั น้ี.- 1) เมื่อใช้อานาจลงทัณฑ์ต้องมีความยุติธรรม คงเส้นคงวา ปฏิบัติโดยทันที และไม่เห็นแก่หน้า บุคคลใด 2) พิจารณาโทษตามโทษานโุ ทษของแตล่ ะคน 3) ลงทัณฑ์เป็นรายบุคคล ใหส้ มเกยี รติ และดว้ ยความเขา้ ใจอันดี 4) สารวจท่าทีทางใจของทา่ นเองเพอื่ ดวู ่า จะยังมีอคตใิ ด ๆ แอบแฝงอยู่หรือไม่ ถ้ามี จงใชค้ วาม อุตสาหะขจดั อคติใหห้ มดไป 5) วิเคราะหร์ ายที่ตดั สินไปแล้ว โดยอาศยั ผู้นาที่มชี ือ่ เสยี งเปน็ ผตู้ ดั สิน 6) อยา่ ลงโทษบุคคลทัง้ คณะ เพราะความผดิ ของบคุ คลคนเดียว 7) ต้องซือ่ ตรงต่อตนเอง 8) ต้องรู้จักคุณค่าของผู้น้อยด้วยการชมเชยหรือให้รางวัล อย่ารู้แต่เพียงว่าเพื่อจะลงทัณฑ์อย่าง เดียว 21
9) พยายามให้แตล่ ะคนเกดิ ความรูส้ ึกว่า การลงทัณฑ์เป็นเพียงโทษชวั่ คราวเท่าน้นั แต่การปรับปรุง ตัวใหด้ ขี ้นึ เปน็ สงิ่ พงึ ประสงคอ์ ันยาวนาน 10) ไมเ่ ลอื กท่รี กั มักทช่ี ัง 49. ความรอบรู้ ก. ความรอบรู้ คือ ข่าวสารที่บุคคลหามาได้ รวมท้ังความรู้ในวิชาชีพของตน ตลอดจนความ เข้าใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชา ไม่มีอะไรที่จะดึงดูดความเชื่อมั่น และความเชื่อถือในตัวผู้บังคับบัญชาได้เร็ว เท่ากับความรอบรทู้ ี่ผู้บงั คับบญั ชาแสดงออกมา ผ้ทู ี่รูง้ านของตน ย่อมสร้างความเช่ือม่ันให้กับตนเองได้ดี เทา่ กบั ท่ีคนอื่นเชอ่ื ม่ันตน การขาดความรู้นั้นเป็นสิ่งซ่อนเร้นไม่มิด ท่านจะตบตาผู้ใต้บังคับบัญชาของท่าน ไม่ได้ คาถามตา่ ง ๆ ทที่ า่ นไมส่ ามารถตอบได้ ก็จงยอมรับอย่างหนา้ ชืน่ วา่ ไม่ทราบ แล้วรบั เอาคาถามน้ัน ไป ถามผูท้ ่ีทราบ หรือเกีย่ วข้องโดยตรง แลว้ มาตอบให้ได้ ข. ความรอบรู้ของท่านไม่ควรจากัดอยู่เพียงวิชาทหารเท่าน้ัน ข่าวสารท่ัวไปที่ควรทราบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เหตุการณ์ภายในประเทศและต่างประเทศ จะชว่ ยให้ท่านมีความรรู้ อบตัวมากยงิ่ ขึน้ ค. เพื่อเสรมิ สรา้ งให้เกิดความรอบรู้ จะต้องปฏิบตั ิดงั น้ี 1) จัดให้มหี ้องสมุดสว่ นตวั และจดั เรื่องท่เี ก่ยี วขอ้ งทางทหารไวเ้ ปน็ สว่ นหนึง่ ต่างหากโดยเฉพาะ 2) ศึกษาหาความรจู้ ากคมู่ ือสนาม ข้อเขียนหรือบทความที่เก่ียวข้องทางทหารอนื่ ๆ เชน่ ระเบยี บขอ้ บงั คบั คาแนะนาการฝึก – ศกึ ษา และการสงครามทางทหารในอดตี 3) อ่านนิตยสารของเหล่า หรอื หนงั สืออนื่ ๆ ทีอ่ อกในนามของกองทัพบก 4) อา่ นหนงั สอื พมิ พ์รายวัน และนิตยสารรายสัปดาห์ แลว้ พยายามเลอื กเฟน้ เอา เฉพาะส่วนทเ่ี สนอข่าวอย่างถกู ต้อง 5) ฝกึ นิสยั ใหช้ อบสนทนาในเรือ่ งเปน็ งานเปน็ การ ทีม่ ีสาระ 6) ประเมนิ ค่าประสบการณข์ องตนเอง โดยเปรียบเทยี บกับประสบการณ์ของผูอ้ นื่ 7) จงเปน็ คนตื่นตวั ร้จู ักฟงั รู้จักสงั เกต และทาการค้นควา้ ในเรอ่ื งท่ตี นยงั ไม่เขา้ ใจให้เข้าใจดพี อ 50. ความจงรักภกั ดี ก. ความจงรักภักดี คือ คุณสมบัติของบุคคลที่มีความเช่ือถือ และยึดม่ันต่อประเทศชาติ ต่อ กองทัพต่อหน่วย ต่อผู้บังคับบัญชา และผู้เกี่ยวข้องอ่ืน ๆ ถ้ามีคุณสมบัติดังกล่าวนี้เพียงอย่างเดียว สามารถทาให้ผู้บังคับบัญชาเกิดความมั่นใจในตัวท่าน และได้รับความนับถือจากท่าน ตลอดจน ผใู้ ต้บงั คบั บัญชา และ ผู้มสี ว่ นเก่ียวข้องด้วย การปฏิบัติทุกอย่างของท่าน จะเป็นผลสะท้อนให้เห็น ความจงรกั ภกั ดขี องทา่ นทมี่ ตี ่อผบู้ งั คบั บญั ชาชนั้ เหนอื ข. เพอ่ื เสริมสรา้ งใหเ้ กิดความจงรักภักดี จะตอ้ งปฏิบัติดงั น้ี 1) เมอ่ื ผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชากระทาความผิด ต้องรีบหาทางปอ้ งกันโดยเร็ว 2) เมือ่ ทาการอบรมผู้ใตบ้ ังคบั บัญชา อย่านาข้อบกพร่องเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ อนั เปน็ การตาหนิ ผบู้ งั คับบัญชาช้นั เหนือมาพูดให้ฟัง 3) ฝึกทางานให้ได้ทุกอย่างจนสุดความสามารถ และสนับสนุนข้อตกลงใจของผู้บังคับบัญชาด้วย ความเตม็ ใจ 4) อยา่ นาเรื่องสว่ นตัวของผใู้ ต้บงั คบั บัญชา ไปเล่าให้ผ้อู ืน่ ฟงั 5) จงยนื หยัดต่อสู้เพอ่ื ประเทศชาติ,กองทพั ,หนว่ ย,ผูบ้ งั คับบัญชา,ผู้ใต้บังคับบัญชา และผู้มีส่วนร่วม อน่ื ๆ เมือ่ เหน็ วา่ ถูกกลา่ วหาอย่างไม่เป็นธรรม 22
6) อย่าวพิ ากษว์ ิจารณผ์ ู้บงั คบั บัญชาชน้ั เหนือ ตอ่ หน้าผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชา 7) การถกแถลงปัญหาเก่ียวกับการบังคับบัญชานอกหน่วยของตน ต้องพิจารณาไตร่ตรองให้รอบ ครอบเสียก่อน 51. ความรู้จักกาลเทศะ ก. ความรูจ้ กั กาลเทศะ คือ ความสามารถที่จะเข้ากับบุคคลอ่ืนได้ โดยไม่ก่อให้เกิดศัตรู หรือ เปน็ ปฏิปกั ษต์ อ่ กัน ในทางมนุษย์สัมพันธ์ กาลเทศะคือ ความสามารถท่ีจะพูดหรือทาในส่ิงหนึ่งสิ่งใด ถูกต้องตามเวลาอันสมควร กาลเทศะหมายความรวมถึงการทาความเข้าใจในธรรมชาติมนุษย์ การ พจิ ารณาถึงความร้สู ึกนกึ คดิ ของผู้อน่ื ข. กาลเทศะ มีความสาคัญตอ่ ความสัมพนั ธ์ระหว่างบุคคลท้ังมวล การวิพากษ์วิจารณ์จะต้อง แจ่มแจง้ ไม่มีเคลือบแคลง และจะต้องเป็นไปในทางสร้างสรรค์ จะต้องไม่เป็นการบ่ันทอนกาลังใจ หรือบีบ บังคับให้ผู้ใต้บังคับบัญชามีจิตใจหันเหออกนอกลู่นอกทาง ผู้บังคับบัญชาทุกคนจะต้องรู้จักกาลเทศะ เมื่อ ตอ้ งใหค้ าแนะนาแก่ผู้มาหาด้วยเรอ่ื งเดือดรอ้ นส่วนตวั จงอยา่ บอกปัดท่ีจะไม่แก้ปัญหาให้ เพราะบทบาทของ ท่านตอนนเ้ี ทา่ กับเป็นท่ปี รกึ ษาคนหน่ึงของเขา บางครั้งการรู้จักกาลเทศะเป็นอย่างดีจะทาให้ง่ายต่อการรับ ฟัง ทาใหท้ หารรู้จกั วธิ แี ก้ปัญหา ทา่ นอาจเหน็ ด้วยกับวิธแี กป้ ญั หาของเขา หรือแนะนาหนทางปฏิบัติอย่าง อื่นในทางทค่ี วร ค. มารยาท เป็นสว่ นหนึง่ ของกาลเทศะ ซ่งึ ทา่ นไมอ่ าจละเลยได้เม่ือต้องมีความสัมพันธ์กับผู้ใหญ่ หรือผู้ใต้บงั คบั บญั ชา การทีผ่ อู้ นื่ มมี ารยาทต่อเรา แต่เราไม่มีมารยาทตอบเท่าที่ควร แสดงว่าเป็นผู้ท่ี เยอ่ หยิง่ หรอื ขาดความสนใจ นายทหารท่ีขาดประสบการณ์หรือนายทหารช้ันประทวนบางคนมีความรู้สึกว่า การแสดงความสุภาพออ่ นโยนในการปกครองทหาร เปน็ การแสดงถึงความอ่อนแอหรือเกิดผลเสีย ทาให้การ ประจบสอพลอมากขึ้นนนั้ ไม่เป็นความจริงเสมอไป มารยาทกอ่ กาเนิดมาจากการแสดงออกทางจิตใจออกมา ในรปู ของคาพูดและการกระทา ผูน้ าบางคนอาจออกคาสง่ั อยา่ งกระโชก โฮกฮาก บางคนอาจออกคาสั่งด้วยนา้ เสยี งท่อี ่อนโยนมมี ารยาท เพื่อหวังที่จะให้เกิดการเชื่อฟัง แต่ละวิธีอาจ ได้รับการเชื่อฟังอย่างเต็มอกเต็มใจ และให้ความร่วมมือท่ีดีกว่า ในเวลาคับขันอาจต้องออกคาส่ังอย่าง เร่งด่วนเพ่ือสงวนเวลาและไม่มีความจาเป็นจะต้องให้เกิดความเชื่อฟังตามที่มุ่งหวัง บางคร้ังอาจมีความ จาเป็นต้องใช้เสียงตวาดแทนการใช้เสียงทานองปลอบโยน แม้จะเป็นการแสดงท่ีไร้มารยาทอย่างไม่มีเหตุผล โดยปกติคาพดู ที่มีน้าเสยี งหนกั แน่น สุภาพ และมมี ารยาท มกั จะไดร้ ับการตอบสนองในทันที ดังน้ันกาลเทศะ และมารยาทจึงต้องสมั พนั ธ์กนั อยา่ งใกลช้ ิดกับอากปั กิริยาของจติ ใจเทา่ ๆ กนั กับลกั ษณะทา่ ทีและภาษา ง. เพื่อเสรมิ สรา้ งให้เกิดความรูจ้ กั กาลเทศะ จะตอ้ งปฏบิ ตั ดิ งั น้ี 1) จงเปน็ ผมู้ ีมารยาท และมีจติ ใจร่าเริงเบิกบาน 2) จงใส่ใจพจิ ารณาในตวั บคุ คลอื่น 3) ศึกษาแนวทางปฏบิ ัตขิ องนายทหารท่ปี ระสบผลสาเร็จ และมีชือ่ เสียงในทางมนษุ ยส์ มั พนั ธ์ 4) ศกึ ษาบคุ ลกิ ภาพของคนแตล่ ะประเภททแี่ ตกตา่ งกนั เพอ่ื ใหไ้ ด้มาซ่ึงความรู้เก่ยี วกบั ธรรมชาติ และพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ 5) เสรมิ สร้างนสิ ยั ในการให้ความร่วมมือใหม้ ีอยู่ในจติ ใจ เท่าๆ กับการลงมือปฏบิ ัติจริง 6) มจี ิตใจเขม้ แขง็ ทรหดอดทน 7) ปฏิบัติต่อผู้อ่ืนเช่นเดยี วกับทตี่ นต้องการใหผ้ ู้อื่นปฏบิ ตั ิต่อตน 8) ต้องรูว้ า่ เมอ่ื ใดควรปรากฏตัว ท้ังเป็นทางการและไมเ่ ป็นทางการ ต้องคาดคิดว่า 23
การปรากฏตัวจะทาใหต้ นเองและผู้อ่ืนเดอื ดร้อนหรือไม่ 52. ความไม่เห็นแกต่ วั ก. ความไม่เห็นแก่ตัว คือ การไม่ฉวยโอกาสตักตวงความสุข หรือความก้าวหน้าให้กับตัวเอง โดยทาให้ผู้อ่ืนเดือดร้อน หรือเสียประโยชน์ แต่กลับเป็นฝ่ายหาความสะดวกสบาย ความพึงพอใจ และ ความบนั เทงิ ร่ืนรมยต์ า่ ง ๆ ให้แกผ่ ใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาเป็นผู้ได้รับกอ่ นตน ถ้าหนว่ ยของตนไดร้ ับการยกยอ่ งว่าทางานดีเด่น ก็นามาสรรเสริญให้กับผู้ใต้บังคับบัญชาได้รู้ว่าเป็นผู้มีส่วน ช่วยให้ส่ิงต่าง ๆ เป็นผลสาเร็จข้ึนมา ไม่มีผู้ใต้บังคับบัญชาคนใดจะรักนับถือผู้บังคับบัญชาท่ีชอบฉกฉวย ผลประโยชน์เป็นของตนเพียงคนเดียวเมื่อหน่วยมีความดีความชอบ แต่พอมีข้อบกพร่องก็ปัดให้มาเป็น ความผดิ ของผู้ใตบ้ ังคับบญั ชา โดยตนเองไมย่ อมรบั ผิดรว่ มด้วย การเปน็ ผู้นาท่ีแท้จริง จะตอ้ งเป็นผทู้ รี่ ่วมเป็นรว่ มตายกับผู้ใต้บังคับบัญชาทุกอย่าง ไม่ว่าจะตกอยู่ในอันตราย หรือประสบความยากลาบากอย่างไร กต็ อ้ งอย่เู คียงบ่าเคยี งไหลก่ ับผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชาเสมอ ข. เพ่อื เสรมิ สร้างให้เกิดความไมเ่ ห็นแก่ตวั จะตอ้ งปฏบิ ตั ิดงั นี้ 1) หลกี เลย่ี งการใช้ตาแหน่ง หน้าท่ี หรอื ชนั้ ยศ เพื่อเอาเปรยี บผ้ใู ต้บังคับบญั ชาใน เรอ่ื งความปลอดภยั และความสุขสบายตา่ ง ๆ 2) รับพจิ ารณาขอ้ เดอื ดรอ้ นหรอื ปัญหาต่างๆ ท่ีเกดิ ขึน้ กบั ผใู้ ต้บงั คบั บญั ชา และชว่ ย ขจดั ปัญหาต่าง ๆ เหลา่ นัน้ เทา่ ที่จะทาได้ 3) ใหร้ างวัลหรือคาชมเชยแกผ่ ู้ใตบ้ ังคบั บญั ชา ที่ปฏิบตั งิ านดเี ด่นอย่างสมา่ เสมอ ................................................................... บทที่ 5 หลักของการเปน็ ผู้นา 53. กลา่ วทว่ั ไป จากประวัติศาสตร์การทหารที่ผ่านมา เคยมีผู้นาในอดีตนาหลักการท่ัว ๆ ไปชนิดหน่ึง ไปใช้ ปฏิบัตงิ านจนประสบผลสาเร็จมาแลว้ หลักการท่ีวา่ นี้เรียกว่า \" หลกั ของการเป็นผู้นา \" ซ่ึงผู้นาแต่ละคนได้ นาไปใชใ้ หเ้ กดิ ผลมากน้อยในลักษณะต่าง ๆ กัน แล้วแต่การปฏบิ ตั ขิ องแต่ละคน ความจริงที่ว่าผู้นาทุกคนไม่ สามารถนาหลกั ของการเปน็ ผู้นาแตล่ ะข้อไปใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ได้อย่างเต็มทเี่ สมอไป แต่ก็ไม่ทาให้เกิดผลเสีย แต่อย่างใด ถึงแม้ว่าการนาหลักการเหล่านี้ไปใช้อาจต้องผันไปตามสถานการณ์ ผู้นาซึ่งละเลยไม่ยอมใช้ หลักการเหล่าน้ี อาจต้องเสี่ยงต่อความผิดพลาดซ่ึงอาจเกิดขึ้นได้ หลักการเหล่านี้ ปรากฏต ามแผนภูมิ หมายเลข 2 ขา้ งลา่ งน้ี ซ่ึงจะได้กลา่ วถึงรายละเอยี ดของหลักการแตล่ ะขอ้ ตัง้ แตข่ อ้ 54 - 64 แผนภมู หิ มายเลข 2 หลกั ของการเป็นผนู้ า - เป็นผูม้ คี วามสามารถทงั้ ทางเทคนคิ และทางยุทธวธิ ี ( ร้จู ักหน้าท่ขี องตน ) - รจู้ ักตนเอง และ แสวงหาทางปรบั ปรุงตนเอง - ทาความคนุ้ เคย และ ดูแลสวัสดิภาพของผู้ใต้บังคบั บัญชา - ใหผ้ ใู้ ต้บงั คบั บัญชา รใู้ นส่ิงท่ีควรรู้ 24
- ทาตนเป็นตวั อยา่ ง ตาม - ต้องแนใ่ จว่าผู้ปฏบิ ัตงิ านเข้าใจงาน ตรวจตราการปฏบิ ตั ิงานให้สาเรจ็ ความมุง่ หมาย - ใหผ้ ูใ้ ตบ้ ังคบั บญั ชาปฏบิ ัติเป็นอนั หน่งึ อันเดยี วกนั - ตดั สินใจไม่ผิดพลาด และ ถูกกาลเทศะ - ปลูกฝงั ความรบั ผดิ ชอบให้เกิดแก่ผูใ้ ต้บงั คับบัญชา - คาสั่งท่อี อกไป ตอ้ งไม่เกนิ ความสามารถของผู้ปฏิบัติ - รบั ผิดชอบของการปฏิบัติของหน่วยตน 54. หลักการข้อท่ี 1 เป็นผู้มคี วามสามารถทั้งทางเทคนคิ และทางยุทธวิธี ก. การทีจ่ ะรู้จักหนา้ ท่ขี องตนโดยถ่องแท้ ผนู้ าหนว่ ยไมเ่ พยี งแต่จะมคี วามรู้เฉพาะรายละเอียด ในเรื่องนั้น ๆ เท่านั้น ยังจะต้องมีความรู้ทั่วไปอย่างกว้างขวางเก่ียวกับภาวะแวดล้อมท่ีน่าสนใจอีกด้วย ต้องมีความสามารถในการฝกึ และการรบเทา่ ๆ กัน ความสามารถทางเทคนคิ การบรหิ ารทางเทคนิค และการ บริหารงานในหน้าที่ ถา้ แสดงใหเ้ ห็นขอ้ บกพรอ่ งในเรือ่ งเหลา่ นี้ จะทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาขาดความเชื่อมั่นใน การเป็นผูน้ าของท่าน ข. เทคนคิ ท่คี วรนามาใช้ 1) หาทางเพมิ่ พูนความร้เู ก่ียวกับวชิ าการทางทหาร ให้มขี ้ึนอยา่ งกว้างขวางรอบตัว ซึง่ อาจจะไดจ้ ากการเข้าศึกษาในโรงเรยี นเหล่า การอ่านหนังสือเพือ่ ศกึ ษาและคน้ ควา้ โดยไม่จากัด 2) ต้องคบหาสมาคมกับผทู้ ีม่ คี วามรู้ รจู้ ักสังเกตและศกึ ษาหาวธิ ปี ฏบิ ตั ขิ องผนู้ าเหล่าน้นั 3) หาทางเพ่ิมพูนความรู้ด้วยการคบหาสมาคมกับบุคคลท่ีอยู่ต่างเหล่า หรือต่างกองทัพ เพ่ือให้มี ความรกู้ ว้างขวางในหนว่ ยอน่ื ด้วย 4) หาโอกาสใชค้ วามรูใ้ นทางปฏิบัติให้เกิดประโยชน์ ลักษณะผู้นาที่แท้จริงจะได้มาจากการปฏิบัติ เทา่ น้ัน 5) ต้องมีความรู้เก่ียวกับการพัฒนาการทางทหารท่ีทันสมัยอยู่เสมอ ทาความคุ้นเคยกับขีด ความสามารถ และขีดจากัดของหนว่ ยรอง 6) เตรียมตวั เตรียมใจไว้ให้พรอ้ มเพ่อื จะทางานในตาแหนง่ ท่สี งู ขึน้ เม่ือมีโอกาส 7) ทาความเขา้ ใจและนาหลกั การจัดงานไปใชใ้ หถ้ กู ต้อง 55. หลกั การขอ้ ท่ี 2 รู้จกั ตนเองและแสวงหาทางปรบั ปรุงตนเอง ก. ประเมินคา่ ตนเอง ยอมรับความเขม้ แข็งและจุดอ่อนของตนเอง ไม่มีใครสามารถเป็นผู้นาท่ีดีได้ ถา้ ไม่รู้ขีดความสามารถ ขีดจากัด และการเอาชนะใจตนเอง หาทางเสรมิ สร้างตนเองใหม้ คี ณุ ลักษณะของผู้นา ทีต่ ้องการ ตามทก่ี ล่าวมาแล้วในบทที่ 4 ข. เทคนคิ ทคี่ วรนามาใช้ 1) วิเคราะห์ตนเองให้ตรงเป้าหมายเพื่อพิจารณาว่า ตนเองมีคุณสมบัติประจาตัวที่เข้มแข็งและ อ่อนแอเพยี งใด พยายามเอาชนะความอ่อนแอและเพิม่ ความแข็งแกร่งให้กับตนเองให้มากขึ้น 2) ขอทราบความคิดเห็นของผู้อ่ืนที่เห็นว่าเหมาะสมและมีประโยชน์ เพ่ือใช้เป็นแนวทางในการ ปรับปรุงลักษณะผนู้ าของทา่ น 3) แสวงหาประโยชนจ์ ากการคน้ คว้าหาสาเหตุที่ทาให้เกิดผลสาเร็จ หรือความล้มเหลวจากผู้นาคน อื่น ๆ ทั้งในอดตี และปจั จบุ นั 4) สรา้ งความสนใจอย่างแท้จรงิ ให้เกิดข้ึนแก่ประชาชน เพื่อใหเ้ กดิ ความใกลช้ ดิ กนั 25
5) ต้องมศี ลิ ปะในการเขยี นและการพูดท่ที าใหบ้ งั เกิดผล 6) ปลูกฝังความสัมพนั ธฉ์ นั ทม์ ติ ร ใหเ้ กดิ ขน้ึ กบั ทหารต่างเหลา่ ทัพและทางด้านพลเรือน 7) เสรมิ สรา้ งให้เกิดปรชั ญาแหง่ ชวี ติ และการทางาน โดยมเี ป้าหมายและแผนการท่ี แนน่ อนเพ่อื ดารงไวซ้ ง่ึ ปรัชญาดังกล่าว 56. หลักการขอ้ ที่ 3 ทาความคุ้นเคย และดูแลสวัสดภิ าพของผู้ใต้บังคบั บัญชา ก. ถา้ ท่านพยายามใชค้ วามสังเกต ใช้ความเปน็ กนั เองกบั ผใู้ ตบ้ ังคับบญั ชา และรับรู้ถึงความแตกต่าง ของแต่ละคน ท่านจะมีความเข้าใจถึงปฏิกิริยาและการปฏิบัติงาน ภายใต้สภาวการณ์ต่าง ๆ ของ ผใู้ ตบ้ ังคบั บญั ชาดีขึน้ การจัดหาสิง่ ต่าง ๆ ใหถ้ ูกตอ้ งตามความต้องการของผู้ใต้บังคับบัญชา จะช่วยให้ท่าน ได้รับความเคารพนบั ถอื เกิดความเชอื่ มัน่ และไดร้ บั ความร่วมมอื อยา่ งจริงใจจากผ้ใู ตบ้ งั คบั บญั ชา ข. ความปรารถนาของผู้ใต้บังคับบัญชา ที่จะให้ได้ส่ิงหน่ึงส่ิงใดท่ีต้องการ เป็นพฤติกรรมขั้นต้นท่ี ต้องพิจารณา ไมว่ า่ จะใชค้ วามพยายามอยา่ งยงิ่ ยวดสกั เพียงใดในการปฏบิ ัติหน้าท่ี ก็ตอ้ งข้ึนอยู่กับความ พอใจอย่างเพียงพอในความต้องการเหล่านั้น การรู้จักผู้ใต้บังคับบัญชาและทาส่ิงต่าง ๆ เหล่านั้น ให้ได้ ตามความประสงค์ทุกอย่าง จะช่วยเพิ่มพูนประโยชน์ให้เกิดขึ้นแก่หน่วย และเพ่ิมประสิทธิภาพให้แก่หน่วย เปน็ อยา่ งดี เม่ือผใู้ ต้บงั คับบัญชาไดท้ ราบวา่ ทา่ นมีความห่วงใยสวัสดิการของเขา จะทาให้เขาเกิดทัศนคติท่ีดี ตอ่ กองทพั และชีวติ ทหารมากย่ิงขึน้ ค. เทคนิคต่าง ๆ ท่คี วรนามาใช้ 1) หาโอกาสดูแลผู้ใต้บังคับบัญชา และให้โอกาสแก่ผู้ใต้บังคับบัญชาได้พบท่านบ้าง เพื่อให้เกิด ความเปน็ กันเองและความใกลช้ ิด 2) เสริมสร้างความเข้าใจอันดีให้แก่ผู้ใต้บังคับบัญชาด้วยการพบประเป็นส่วนตัว ในการบังคับ บัญชาหน่วยขนาดเล็ก ผู้บังคับบัญชาไม่เพียงแต่รู้จักช่ือของผู้ใต้บังคับบัญชาเท่านั้น ยังต้องรู้จักนิสัยใจคอ และ คณุ ลักษณะของแต่ละคนอีกด้วย 3) ใส่ใจในสภาพความเปน็ อยขู่ องผู้ใต้บงั คบั บญั ชา เก่ียวกับสิ่งแวดลอ้ ม อาหาร เครื่องนุ่งห่มและ ทพ่ี ักอาศัย 4) ใหค้ วามสนใจเป็นพิเศษต่อบริการต่าง ๆ ที่ผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคนควรจะ ได้รับว่ามีเพียงพอ หรือไม่ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ควรสนใจต่อปญั หาสว่ นตัวของแตล่ ะคน 5) จดั ใหม้ สี วสั ดกิ ารทางใจ ดว้ ยการสนับสนนุ การนับถอื ศาสนาของแตล่ ะคน 6) บารงุ สขุ ภาพและพลานามัยของผู้ใต้บังคบั บญั ชา ด้วยการหมน่ั ตรวจตราดแู ลใน เร่ืองการรักษา อนามัย และการสขุ าภบิ าล 7) สนบั สนุนโครงการรกั ษาความปลอดภัยอยา่ งเข้มแข็ง 8) พิจารณาท่าทีทางจิตใจของผู้ใต้บังคับบัญชา ด้วยการหมั่นตรวจเยี่ยมบ่อย ๆ อย่างไม่เป็น ทางการ และจากแหล่งข่าวสารทุกชนิดท่พี งึ หาได้ 9) ให้การตดั สินใจในเร่ืองตา่ ง ๆ โดยไม่เลอื กทีร่ กั มักที่ชัง 10) ต้องแน่ใจว่าการกาหนดวันลา การหยุดพักผ่อน การแบ่งผลัด ตลอดจนสิทธิ พิเศษต่าง ๆ ตอ้ งแบง่ ใหอ้ ยา่ งท่ัวถึงและเท่ยี งธรรมทส่ี ดุ 11) ส่งเสริมให้ผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน พัฒนาตนเองให้ก้าวหน้าด้วยการให้ โอกาสศึกษาหา ความรูใ้ สต่ ัวเทา่ ท่จี ะทาได้ 12) จดั ใหม้ กี ารเล่นกฬี า และมีเครอื่ งหย่อยใจภายในหน่วยอย่างเพียงพอ และมสี ว่ น ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากเครอื่ งบารุงความสขุ ต่าง ๆ เหลา่ นน้ั 26
13) ต้องมสี ว่ นรบั ทราบปญั หาที่เกิดข้ึนกับผู้ใต้บงั คบั บญั ชา เพ่อื จะไดม้ ีความเข้าใจ ในตัวผ้ใู ตบ้ ังคบั บญั ชาดขี ้นึ 57. หลกั การข้อที่ 4 ให้ผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาร้ใู นสง่ิ ที่ควรรู้ ก. ทหารทกุ คนยอ่ มตอ้ งการทราบว่า ผลงานที่ตนกระทาลงไปน้ันดีเลวแค่ไหน และหน่วยมีความ มงุ่ หมายจะใหเ้ ขาทาอยา่ งไร ผ้นู าจะตอ้ งแจ้งเร่ืองเหลา่ นใ้ี หท้ ราบเท่าท่ีจะเปดดเผยได้ เพ่ือเป็นการกระตุ้น ใหเ้ กดิ ความคิดริเร่มิ เพือ่ ประสิทธภิ าพในการทางานเปน็ ชดุ และเป็นการบารุงขวัญให้ดีข้ึน ผู้ท่ีทราบ สถานการณ์และภารกิจล่วงหนา้ ยอ่ มทางานได้ดี และมปี ระสทิ ธภิ าพกวา่ ผ้ทู ที่ าไปโดยไม่รู้อะไรเลย ข. ทหารที่ได้รบั การบอกเลา่ ในเรือ่ งตา่ ง ๆ เป็นอย่างดี ย่อมมที ่าทีแสดงออกต่อผู้นาและหน่วยเป็น อยา่ งดเี ช่นเดยี วกัน เขาย่อมร้วู ่าหนว่ ยตอ้ งการให้เขาทาอะไร เม่ือเขาทราบภารกิจของหน่วยดีพอ จากความ เขา้ ใจของแตล่ ะคนน้ี ย่อมทาให้หนว่ ยบรรลุถงึ เป้าหมาย และปรบั พฤตกิ รรมของตนให้ตรงเป้าหมายได้ ทหารไม่ว่าเป็นรายบุคคล หรือท้ังหมู่คณะ ย่อมมีความชื่นชมยินดีเมื่อทราบว่า ผลงานที่ตนได้กระทาลงไป ประสบผลสาเร็จลงด้วยดี หากผนู้ ารู้จกั วธิ กี ารชมเชยหรือใหร้ างวลั หรือการแจ้งข่าวทไี่ ดผ้ ล จะทาให้เป็นการ บารงุ ขวญั ความรักหมรู่ ักคณะ วนิ ยั และความชานาญให้กับหน่วยน้ัน ๆ เป็นอย่างดี สิ่งที่คนกลัวกันมาก ท่ีสดุ คอื การไม่รู้อะไรเลย จากการบอกกล่าวให้ผู้ใต้บังคับบัญชาได้รู้ในส่ิงท่ีควรรู้ จะช่วยลดความกลัว และ ข่าวลอื ตา่ ง ๆ ท่านท่ีเป็นผู้บังคับบัญชามีส่วนช่วยในการขจัดภาวะหลายอย่าง ซึ่งเป็นเหตุให้เกิดความตื่น ตระหนกท่ีเกดิ ข้ึนในสภาวะสงครามได้ ค. เทคนิคตา่ ง ๆ ทีค่ วรนามาใช้ 1) อธบิ ายให้ผู้นาช้นั รองลงไปเข้าใจวา่ ทาไมงานเหล่านั้นจะตอ้ งทาให้สาเร็จ และ ท่านได้เสนอวิธี ทาไว้อย่างไร 2) ท่านตอ้ งหมน่ั ออกตรวจเยี่ยมบอ่ ย ๆ เพ่ือให้เป็นท่มี น่ั ใจว่า ผนู้ าช้นั รองได้บอก เล่าข่าวสารต่าง ๆ ท่จี าเป็นไปถึงตวั ทหารทกุ คน 3) แจง้ ให้ผ้นู าชัน้ รองลงไปไดร้ ูใ้ นสิง่ ทคี่ วรรู้แผนการท่จี ะกระทาต่อไปในอนาคต 4) กระจายข่าวสารเกี่ยวกับขีดความสามารถของอาวุธฝ่ายเรา เปรียบเทียบกับฝ่าย ของข้าศึก เมอ่ื ขา้ ศกึ ได้เปรยี บในโอกาสแรก และแสดงใหเ้ หน็ วิธีเอาชนะขา้ ศกึ 5) ให้ทหารในหน่วยได้ทราบถึงขีดความสามารถ และขีดจากัดของหน่วยสนับสนุน หน่วยรบ หน่วยช่วยรบตา่ ง ๆ 6) ตอ้ งพร้อมท่จี ะตรวจจบั ขา่ วลือทไี่ ม่เปน็ จริงให้หมดไป ด้วยการแถลงให้ทราบ ขอ้ เทจ็ จริง 7) เสริมสร้างขวัญ และความรักหมู่รักคณะ ด้วยการแพร่ข่าวสารเกี่ยวกับความสาเร็จ ของหน่วย ทุกวถิ ที างใหม้ ากท่ีสดุ 8) แจ้งใหห้ น่วยทราบเกีย่ วกบั ระบบข้อบงั คับใหม่ๆ ทีอ่ อกมาเกย่ี วกบั เงินเดือน การเลือนฐานะสิทธิ และผลประโยชนต์ า่ ง ๆ ท่ีควรได้ 58. หลกั การข้อที่ 5 ทาตนเปน็ ตัวอย่าง ก. ทหารมกั จะมองผู้บังคบั บญั ชาของตนเป็นตวั อย่างเพ่ือปฏิบตั ิตามในบางเรอื่ ง หรือในทางกลับกัน เพอ่ื ปลดเปลื้องข้อบกพร่องของตนเอง การวางตนและอากปั กริ ิยาต่าง ๆ ของท่าน จะทาใหผ้ ู้ใต้บังคับบัญชา มคี วามเชื่อถอื เกดิ ความภาคภมู ใิ จหรอื มคี วามปรารถนาแคไ่ หนนน้ั ขนึ้ อยกู่ บั มาตรฐานในการปฏิบัติของท่าน ผู้บังคบั บัญชาท่ีสอ่ แสดงทา่ ทีท่ีไม่น่านิยมใหป้ รากฏตอ่ ทหาร จะเป็นการทาลายความเช่ือมั่นและความเคารพ ยาเกรงระหวา่ งผู้นากับทหาร 27
ข. เทคนิคที่ควรนามาใช้ 1) ต้องบารุงรักษาร่างกายให้แข็งแกร่งอยู่ตลอดเวลา มีจิตใจแช่มชื่นเบิกบาน แต่งกายสะอาด เรียบรอ้ ยถูกต้องตามระเบียบ 2) ควบคมุ อารมณข์ องตนเองได้ ผบู้ ังคับบัญชาท่ีบรรลุโทษง่ายโดยปราศจากการควบคุม หรือเกิด ความกดดันในจติ ใจเป็นครงั้ คราว จะทาใหผ้ ู้ใต้บังคับบญั ชาเส่อื มความเคารพนบั ถอื และความจงรกั ภกั ดี 3) จงมองคนในแงด่ ี สร้างพลงั ใจในการเอาชนะให้ต่อเน่อื ง ดว้ ยการเสริมสร้างขดี ความสามารถและความสาเร็จให้แก่หน่วย แสดงท่าทีท่ีไม่หวั่นไหว และมีความเช่ือม่ัน โดยเฉพาะใน สถานการณท์ ่มี ีความยากลาบาก ยิง่ มคี วามต้องการในเร่ืองนีม้ าก 4) การปฏิบัตติ นทกุ อยา่ ง อยา่ ให้เป็นท่ีตาหนิติเตียนจากผู้อ่ืน การประพฤติหยาบคาย และการใช้ วาจาสามหาว เป็นเคร่ืองบ่งบอกถึงความอ่อนแอ และลักษณะประจาตัวท่ีโลเล ไม่มีความแน่นอน การไม่ ตรงต่อเวลา และมีความเห็นแก่ตัว ตลอดจนการตามใจตนเองในเรื่องความฟุ่มเฟือยอย่างชนิดไม่มีใครเอา อย่างได้ จะสรา้ งความไม่พอใจให้กับทหารทุกชน้ั ยศ 5) ใหค้ วามร่วมมอื ในกจิ การทุกสิ่ง ทั้งด้านจิตใจและการกระทา ความร่วมมือต้องกระทาด้วยกัน ทง้ั สองฝา่ ย ด้วยความมงุ่ มาตรปรารถนาอย่างเตม็ อกเต็มใจของมวลสมาชิกจนกระทง่ั เกดิ ผลสาเร็จท้ังคณะ 6) มีความคิดริเร่มิ และปลูกฝังให้กบั ผ้ใู ต้บังคับบัญชาเกิดความริเริ่ม 7) ตอ้ งมีความจงรกั ภกั ดีอย่างสงู สุดต่อผ้บู งั คับบญั ชา และผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชา สนับสนุนผู้ใต้บังคับบัญชาทุกวิถีทาง ตราบจนกระท่ังเขาพ้นจากหน้าท่ีไป ผู้บังคับบัญชาที่หาทางปกป้อง ผ้ใู ตบ้ ังคับบญั ชาท่กี ระทาความผดิ จากการลงทณั ฑ์ของผู้บังคับบัญชาช้ันเหนือขึ้นไป จะทาให้ตนเองขาด ความจงรักภกั ดีจากผู้อื่น ความจงรักภักดีเป็นคุณลักษณะของผู้นาที่สาคัญอันหนึ่ง ซึ่งผู้บังคับบัญชาชั้น เหนอื ตอ้ งการให้การสนับสนนุ นโยบายของตน ไม่วา่ นโยบายน้นั จะมีบุคคลทม่ี สี ่วนเกยี่ วขอ้ งด้วยหรือไม่ 8) หลีกเลี่ยงอยา่ ใหม้ ีการเห็นแกพ่ รรคพวก เปน็ การยากทจี่ ะหลกี เลย่ี งการเขา้ ขา้ ง ผู้ใต้บังคับบัญชา ที่ตนเองเคยสมาคมด้วยเป็นส่วนตัว และผู้ท่ีเคยรับใช้อย่างภักดีมาชั่วระยะหน่ึง แต่ถึงอยา่ งไรกต็ าม ตอ้ งพยายามหักห้ามความรู้สกึ ทจี่ ะเอนเอียงเหลา่ น้ีไวใ้ ห้มากทีส่ ดุ 9) ต้องมีความกล้าหาญในทางธรรม ผู้บังคับบัญชาท่ีไม่ยึดหลักในการสงเคราะห์ ต่อ ผู้ใต้บังคับบัญชา เมื่อมีโอกาสท่ีต้องกระทา หรือพยายามเบี่ยงบ่ายความรับผิดชอบเม่ือหน่วยกระทาผิด จะทาใหผ้ ูใ้ ต้บงั คับบัญชา และผเู้ ก่ียวข้องเสอื่ มความเคารพนบั ถอื ลงทนั ที 10) ต้องร่วมเปน็ ร่วมตายในอันตราย หรอื ความยากลาบาก เมอ่ื หนว่ ยต้องเผชญิ กบั อนั ตราย ต้องหมั่นไปตรวจเย่ียมบอ่ ย ๆ เพอ่ื ให้กาลังใจ และใหผ้ ูใ้ ต้บังคบั บญั ชาเหน็ วา่ ตนมสี ่วนร่วมในความ ลาบากนั้นดว้ ย 59. หลกั การข้อท่ี 6 ตอ้ งแน่ใจว่าผู้ปฏิบัติเข้าใจงาน ตรวจตราการปฏิบัติงานให้สาเร็จตามความมุ่ง หมาย ก. ออกคาส่ังให้ชัดเจน กะทัดรัด และแน่ใจว่าผู้รับคาสั่งเข้าใจดีแล้ว หาโอกาสกากับดูแล เพ่ือให้แน่ใจวา่ มีการปฏิบัตติ ามคาส่ังโดยทันทีหรือไม่ ผู้นาที่สามารถต้องรู้จักใช้ผู้ใต้บังคับบัญชา เพ่ือให้ สามารถปฏบิ ตั ติ ามคาสงั่ อย่างไดผ้ ล ผบู้ ังคบั บญั ชาทใ่ี ช้ฝา่ ยอานวยการหรือผใู้ ต้บงั คับบัญชาไม่เป็น หรือใช้ไม่ 28
ถกู ต้องตามความสามารถของแต่ละคน แสดงถึงความอ่อนแอเบื้องต้น และหย่อนความสามารถในการเป็น ผนู้ า ข. คาสัง่ ที่ออกมาอย่างชัดเจน กะทดั รัดและเข้าใจงา่ ย จะทาให้ผู้รับปฏิบัติตอบสนองอย่างรวดเร็ว หรืออกี นัยหน่ึง คาสง่ั ท่ีกลา่ วซ้าซากมีรายละเอียดมาก อาจก่อให้เกิดความงุนงง ผู้ใต้บังคับบัญชาต้องการ เพียงว่า จะพบผู้บังคับบัญชาก็ต่อเม่ือต้องการคาแนะนาหรือคาปรึกษาหารือเท่าน้ัน การกากับดูแล และรบกวนบ่อย ๆ จะทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความขุ่นเคืองและราคาญใจ ความริเร่ิมในตัว ผู้ใต้บังคับบัญชาจะมีขึ้นได้ในโอกาสท่ีเขาได้ใช้ความนึกคิด เพื่อใช้เทคนิคของตนปฏิบัติงานหรือภารกิจให้ เกิดผลสาเรจ็ ค. เทคนิคทค่ี วรนามาใช้ 1) ต้องแน่ใจว่างานชนดิ นัน้ จาเป็นต้องออกคาส่งั 2) ใช้คนตามลาดบั สายกากรบงั คับบญั ชาทีก่ าหนดไว้ 3) เสริมสร้างความสามารถในการคิดให้แจ่มใส และในการออกคาส่ังท่ีชัดเจน กะทัดรัด และ ตรงไปตรงมา โดยการศกึ ษาและการปฏิบัติ 4) สนบั สนุนให้ผูใ้ ต้บังคับบัญชารูจ้ ักคน้ หาขอ้ ความต่าง ๆ ท่ปี รากฏในคาสั่ง หรอื คาแนะนาทียังไม่ เขา้ ใจ เพ่อื ทาความเข้าใจให้แจม่ แจง้ ในทนั ทที ันใด 5) สอบถามผูใ้ ต้บังคับบัญชาวา่ มขี ้อสงสัยหรือไม่ เข้าใจอย่างไรในคาส่งั ใหป้ ฏิบตั นิ น้ั บา้ ง 6) กากบั ดแู ลการปฏิบตั ิตามคาสัง่ ตอ้ งกระทาอย่างม่นั คง และตอ้ งยืนหยดั ให้มกี าร ปฏิบัติตามคาส่ังที่ตนต้องการให้ได้ บางครั้งอาจต้องให้นายทหารฝ่ายอานวยการเป็นผู้ไปตรวจเย่ียม ผู้ใต้บงั คบั บัญชา เพอ่ื หาทางช่วยเหลอื เปน็ ครัง้ คราวกไ็ ด้ 7) หาวิธตี ่าง ๆ เพ่ือชว่ ยเหลอื ผ้ใู ต้บงั คับบญั ชาปฏิบตั ิภารกจิ ให้สาเร็จให้มากที่สดุ เทา่ ที่จะทาได้ 8) พยายามเปลี่ยนแปลงกาหนดการตรวจตราดูแล และเปล่ียนจุดทต่ี ้องการตรวจอยู่ เสมอ 9) ฝกึ ให้เกดิ แนวความคิดและขอ้ ระมดั ระวงั ในการกากับดูแล การกากับดูแลมากเกินไป เป็นการ ขัดขวางความริเริ่ม และก่อให้เกิดความไมส่ บอารมณ์ และการกากับดูแลน้อยเกินไปอาจทาให้งานไม่สาเร็จก็ ได้ 60. หลักการข้อที่ 7 ให้ผู้ใตบ้ ังคับบญั ชาเป็นอนั หนึ่งอันเดียวกนั ก. เป็นหน้าทีข่ องผูบ้ งั คับบัญชาทจี่ ะฝกึ ให้ผใู้ ต้บังคับบัญชา ร้จู กั ปฏบิ ตั งิ านร่วมกันเป็นชุด ซึ่งจะเป็น หนทางนาไปสู่ความสาเร็จ โดยเร่ิมต้นจากหน่วยเล็กที่สุดไปจนถึงหน่วยใหญ่ที่สุด หน่วยทหารประกอบไป ดว้ ยหารเหล่าต่าง ๆ แตล่ ะหน่วยต่างทางานร่วมกนั เปน็ ชดุ เพ่อื เปา้ หมายอนั เดยี วกัน ทหารแต่ละคนต้องมี ความเข้าใจว่า ตนมีความเหมาะสมกับตาแหน่งหน้าที่ได้ในชุดน้ัน ผู้บังคับบัญชาท่ีหมั่นฝึกฝน ผู้ใต้บังคับบัญชาอยู่เสมอ จะทาให้หน่วยมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับท่ีต้องการ การปฏิบัติงานร่วมกัน เป็นชุดจะได้ผลดีที่สุด บุคคลผู้มีส่วนร่วมจะต้องมีขวัญดีเยี่ยม มีความสามัคคีกลมเกลียว มีวินัย และมี ประสบการณ์ดีพอ ข. ในเมือ่ ลกั ษณะผนู้ ามีส่วนเกี่ยวข้องกบั กิริยาที่กระทาตอ่ กัน ระหว่างสมาชิกภายในหน่วย และ ระหว่างสมาชิกดว้ ยกันภายในหน่วย การท่ีจะทาให้เกิดความสาเร็จตามความต้องการและวัตถุประสงค์ของ หมู่คณะนน้ั จะกระทาไดง้ ่ายข้ึนด้วยการกอ่ ให้เกดิ การปฏิบัติงานรว่ มกนั เป็นชดุ สมาชกิ แต่ละคนในหน่วยจะ ทางานอย่างมีประสิทธิภาพมากข้ึน ถ้ามีส่ิงบารุงใจจากหน่วย เช่น กาหนดเคร่ืองหมายหน่วยให้ทุกคนใช้ ร่วมกนั สร้างความพอใจในสิง่ ทท่ี กุ คนต้องการ ประสบการณ์ที่หน่วยได้รับจากการปฏิบัติงานเป็นชุด จะทา ให้แต่ละคนร้สู กึ วา่ ไดป้ ฏบิ ัติจนประสบผลสาเรจ็ และปลอดภยั 29
ค. เทคนคิ ทคี่ วรนามาใช้ 1) ต้องประกันได้ว่า จากการตรวจตราและทดสอบการฝกึ หนว่ ยทม่ี ีแนวโน้มในทางที่ ดีขน้ึ โดยปฏิบัตใิ ห้เป็นไปตามหลกั สูตรการฝกึ และหลกั นยิ มทห่ี นว่ ยเหนือกาหนดให้ 2) ตอ้ งแนใ่ จว่าเครอื่ งอานวยความสะดวกในการฝึกของหนว่ ย มีการจดั เตรยี มไวอ้ ย่างดที ี่สุด และใช้ เครอ่ื งมือทีม่ อี ยอู่ ยา่ งคมุ้ คา่ เชน่ การฝึกการติดตอ่ สือ่ สาร และมีปัญหาทางยุทธวิธีสมจริง การฝึกทุกครั้ง ตอ้ งให้เป็นไปตามความมงุ่ หมายและอธิบายความหมายในการฝกึ ให้สมาชกิ ทุกคนได้ทราบ 3) ตอ้ งมัน่ ใจว่า ส่วนแยกภายใตก้ ารบงั คับบัญชาแต่ละส่วน ต้องรู้ขีดความสามารถและขีดจากัดซ่ึง กันและกันเป็นอย่างดี เพ่อื กอ่ ใหเ้ กิดความเชื่อถือและเกดิ ความเข้าใจรว่ มกนั 4) ต้องม่ันใจว่า ผู้นาระดับรองลงไปแต่ละส่วนต้องเข้าใจกลไก และการควบคุมทางยุทธวิธี ของ หนว่ ยตน 5) ยึดถอื การฝกึ หนว่ ยตามสภาพความเปน็ จรงิ ในปัจจบุ ัน 6) ตอ้ งใหน้ ายทหารและนายสบิ แต่ละนายทราบหนา้ ทข่ี องตนว่า จะตอ้ งปฏบิ ตั ิงานร่วมกับผู้ใดบ้าง จนเป็นปกติวสิ ัย 7) ต้องให้ผู้นาระดับรองลงไปแต่ละคนทาความเข้าใจ และรู้คุณลักษณะความผิดแปลก ความ เข้มแข็ง และจุดออ่ นของผ้ทู เ่ี ป็นสมาชกิ ในบังคับบญั ชาของตนแต่ละคน 8) หาโอกาสฝกึ รว่ มกันกับหนว่ ยอน่ื ให้มาก ทง้ั หนว่ ยรบและหน่วยชว่ ยรบ 9) อธิบายให้แต่ละคนเข้าใจถึงความรับผิดชอบ และความสาคัญที่แต่ละคนมีบทบาท ท้ังน้ีเพ่ือ ความสาเรจ็ ของหนว่ ย 61. หลักการขอ้ ที่ 8 ตัดสนิ ใจไมผ่ ิดพลาดและถูกกาลเทศะ ก. ผู้บังคับบัญชาต้องมีความสามารถในการประมาณสถานการณ์ และตัดสินใจได้โดยไม่ผิดพลาด ต้องสามารถหาเหตุผลแวดล้อม โดยใช้ความพยายามอย่างย่ิงยวด แล้วตัดสินใจอย่างรวดเร็วว่า จะต้องทา อะไรเพื่อใหไ้ ดร้ ับประโยชน์จากเหตกุ ารณท์ เ่ี กดิ ข้นึ ผบู้ ังคับบัญชาที่ไม่มีความเด็ดขาด จะก่อให้เกิดความ พะวักพะวน เสื่อมความนับถือ และก่อความยุ่งยาก การตัดสินใจปฏิบัติโดยฉับพลันจะสร้างความเช่ือถือ ใหก้ บั ผู้นาคนนน้ั การฝกึ และศกึ ษาอยู่เสมอ และการวางแผนท่ถี ูกตอ้ ง จะเป็นการปูพื้นฐานให้กับความเป็น ผูส้ ามารถในอาชีพ ซ่งึ มีความจาเปน็ ตอ่ การตัดสินใจที่ถกู ตอ้ งและถกู กาลเทศะ ข. เทคนคิ ที่ควรนามาใช้ 1) เสรมิ สร้างใหเ้ กิดความนกึ คดิ ที่มีระเบียบ และมเี หตุผลแวดล้อมดว้ ยการฝึกหม่นั อยู่ เสมอในเร่ืองการประมาณสถานการณ์ตามความมุ่งหมาย การประมาณสถานการณ์ไม่จากัดอยู่ในเฉพาะ วงการทหารเท่านนั้ ทกุ คนจะต้องนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวันดว้ ยกนั ท้ังน้นั 2) ถ้าเวลาและโอกาสอานวย ต้องวางแผนไปตามเหตุการณ์ที่น่าจะเป็นไปได้ทุกทางท่ีเหตุผล พอเพียงที่จะคาดลว่ งหนา้ ได้ 3) พจิ ารณาข้อเสนอ และคาแนะนาของผูใ้ ต้บงั คับบัญชาก่อนตกลงใจ 4) ประกาศขอ้ ตกลงใจให้ทันเวลา เพอื่ ใหโ้ อกาสผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชามีเวลาวางแผนของตนเท่าท่ีจาเป็น 5) ทาแผนและประมาณการทีม่ ีผู้เห็นพอ้ งในหน่วย และนาออกใช้ 6) ต้องมั่นใจอยู่เสมอว่า ฝ่ายอานวยการและผู้ใต้บังคับบัญชา เข้าใจในแผน และนโยบายปัจจุบัน ของท่านดพี อ 7) พิจารณาผลท่ีท่านตกลงใจไปแลว้ จากหนว่ ยรอง และหน่วยสนับสนนุ 62. หลักการขอ้ ที่ 9 ปลูกฝังความรู้สึกรับผดิ ชอบใหแ้ ก่ผ้ใู ตบ้ ังคับบัญชา 30
ก. การมอบอานาจให้ได้ส่วนสัมพันธ์กับการรับผิดชอบ จะก่อให้เกิดความเชื่อถือ และความ เคารพนับถอื ซ่งึ กันและกนั ระหวา่ งผใู้ หญ่และผู้น้อย ท้ังยังเป็นการกระตุ้นให้ผู้น้อยเกิดความคิดริเริ่ม และ ใหค้ วามร่วมมอื อย่างเต็มอกเต็มใจ ผู้นาที่ให้ความเชื่อถือและวางใจในตัวผู้ใต้บังคับบัญชา ด้วยการมอบ อานาจใหอ้ ย่างถกู ต้อง จะทาให้ตนเองเกิดความปรารถนาทจี่ ะรบั ภาระในการรับผดิ ชอบเพ่ิมมากขึ้น การ ไม่ยอมมอบอานาจบางอย่างให้ผอู้ ื่นทา เป็นลกั ษณะของผูน้ าทีใ่ ชไ้ มไ่ ด้ ข. เทคนคิ ทคี่ วรนามาใช้ 1) ปฏบิ ัตหิ นา้ ทใี่ ห้เปน็ ไปตามสายงานการบังคับบัญชา 2) แจ้งให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่าจะต้องทาอะไร ไม่ใช่ทาอย่างไร และให้รับผิดชอบในผลงานท่ี เกดิ ข้นึ เม่อื มอบหมายหน้าทีใ่ ห้ทาแล้วต้องกากบั ดแู ล แต่ไมค่ วรเขา้ ไปยุง่ เกย่ี วนอกจากจาเป็นจรงิ ๆ 3) หาโอกาสใหป้ ฏิบตั งิ านทีส่ งู กว่า ให้ทาบ่อย ๆ เท่าที่จะทาได้ โดยหมนุ เวยี นกันไปปฏิบตั ิ หลาย ๆ คน 4) ต้องรับรู้ความสาเร็จของผู้ใต้บังคับบัญชาโดยรวดเร็ว เมื่อปรากฏว่าเขาแสดงความคิดริเริ่ม และ ผลงานออกมาให้เหน็ 5) แกไ้ ขข้อบกพรอ่ งท่เี กิดจากการใชว้ จิ ารณญาณ และความคิดรเิ รม่ิ เพอ่ื กระตุ้นให้ บคุ คลตื่นตวั หลีกเลี่ยงการวพิ ากษ์วิจารณ์ และการประณามจากบุคคลบางคน มีความโอบอ้อมอารี และให้ คาสรรเสรญิ อยา่ งเปดด เผยตอ่ ผู้ท่ีเหน็ วา่ สมควร 6) ให้คาแนะนา และความช่วยเหลือโดยไม่เห็นแก่ส่ิงตอบแทน เมื่อได้รับการร้องขอจาก ผู้ใต้บังคับบัญชา 7) แน่ใจว่าทหารในบงั คบั บญั ชา ได้รับการบรรจใุ นตาแหนง่ ซ่ึงตรงตามความสามารถทเ่ี ขามีอยู่ 8) จงสนับสนุนผู้ใต้บังคับบัญชาภายในขอบเขตอย่างทันการ และด้วยความเสมอภาค จนกระทั่ง เกดิ ความศรัทธาเช่อื ถอื ในตัวผู้ใต้บังคบั บญั ชาแต่ละคน 9) แสดงความมุ่งมั่นของตนให้เห็นว่าพร้อมท่ีจะรับผิดชอบ และยืนหยัดต่อความเป็นอยู่ของผู้นา ระดับรองลงไป ใหอ้ ยู่ในมาตรฐานอนั เดียวกัน 63. หลกั การข้อท่ี 10 คาส่ังท่อี อกไปยอ่ มไมเ่ กินความสามารถของผูป้ ฏิบตั ิ ก. การที่ผู้บังคับบัญชาจะใช้ผู้ใต้บังคับบัญชา ปฏิบัติงานได้อย่างเรียบร้อยได้ผลดี จะต้องมีความรู้ เกย่ี วกับขดี ความสามารถและขีดจากดั ของผู้ใต้บังคับบัญชาเป็นอย่างดี จะต้องพินิจพิเคราะห์อย่างรอบคอบ ในการใช้หนว่ ย การปฏบิ ัตภิ ารกจิ ล้มเหลวก่อให้เกิดการเสื่อมความนับถือ ซ่ึงมีผลทาให้ขวัญเสื่อม ความ รกั หม่รู กั คณะ วนิ ัย และประสบการณล์ ดนอ้ ยลงไป ข. เทคนคิ ที่ควรนามาใช้ 1) ทาความเข้าใจและนาหลกั การสงครามมาใช้ 2) ทราบขา่ วสารอยู่ตลอดเวลา เพอื่ นามาเทียบเคียงกับประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิงานของหนว่ ย 3) แน่ใจว่างานท่ีมอบให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติมีเหตุผลพอเพียง อย่าลังเลท่ีจะใช้หน่วย เม่ือมี เหตุฉกุ เฉิน 4) วิเคราะห์งานที่มอบหมายให้ทาทุกอย่าง ถ้ามีเครื่องมือไม่เพียงพอให้รายงานผู้บังคับบัญชา โดยตรงทราบ เพือ่ ขอการสนับสนุนตามความจาเป็น 5) พยายามแบง่ งานให้หน่วยตา่ ง ๆ ทา โดยใหไ้ ดส้ ัดส่วนเทา่ ๆ กนั 6) ใชห้ นว่ ยใหเ้ ตม็ ขีดความสามารถ กอ่ นที่จะขอความช่วยเหลอื จากหนว่ ยอื่น 7) นาหลกั การจดั การมาใช้ จะได้ตกลงใจได้ถกู ต้อง 64. หลักการขอ้ ท่ี 11 รบั ผิดชอบผลการปฏิบัติของหนว่ ยตน 31
ก. ผู้บังคับบัญชาต้องใช้ความริเริ่มในการปฏิบัติงาน โดยไม่ต้องรอคาสั่งให้ปฏิบัติ ก่อนที่จะเข้า รบั ผิดชอบงานใด ทา่ นตอ้ งเสริมสรา้ งตนเองให้มคี วามสามารถในการนาหน่วยให้มากข้ึน แล้วรับผิดชอบ ตอ่ งานทุกชนิดของหน่วย ท้ังที่ทาไปแล้วและไม่ได้ทา ผู้นาท่ีบ่ายเบี่ยงไม่ยอมรับผิดชอบงานใด ๆ จะ ทาให้ผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชาเสือ่ มศรัทธา ข. เทคนิคท่ีควรนามาใช้ 1) เรียนรูใ้ หท้ ราบถงึ หน้าทีข่ องผบู้ ังคบั บัญชาเหนอื ตนขน้ึ ไป และเตรียมเขา้ รับผดิ ชอบแทน 2) เสาะหาวธิ กี ารมอบงานในลักษณะแปลก ๆ เพื่อให้ตนเองเกิดประสบการณ์เม่ือมีโอกาสต้อง เข้ารบั ผิดชอบ 3) พยายามฉกฉวยโอกาสตา่ ง ๆ ทีเ่ ปน็ ประโยชน์ แล้วทาให้มคี วามรบั ผิดชอบเพมิ่ มากขน้ึ 4) ทางานทุกชนิด ไม่ว่าใหญ่หรือเล็กให้ดีที่สุดเท่าท่ีตนมีความสามารถ รางวัลท่ีท่านจะได้รับก็ คือ โอกาสทจ่ี ะทางานใหญ่กวา่ และสาคญั กวา่ ย่อมมีมากขึ้น 5) ยอมรบั คาวพิ ากษ์วิจารณ์ และขอ้ ผิดพลาดของตน 6) ยืนหยัดต่อสิง่ ท่ีท่านคดิ ว่าถูก และกลา้ ทจ่ี ะเผชิญตอ่ โทษทณั ฑ์ 7) ประเมนิ คา่ ข้อผดิ พลาดของผใู้ ต้บังคับบญั ชาด้วยความระมดั ระวัง ก่อนท่ีจะปฏิบัติลงไป แน่ใจ ว่าท่เี ขาทาผิด ไมใ่ ชเ่ พราะท่านมสี ่วนอยดู่ ้วย พิจารณาถึงกาลังพลที่มีอยู่ ขจัดคนเลวออกไป หาคนใหม่ มาทดแทนเมอ่ื จาเปน็ 8) ถา้ ไม่มีคาสง่ั ปฏิบัติ จงใชค้ วามรเิ ริ่มที่เห็นวา่ เม่ือปฏบิ ตั ิงานไปแลว้ ผบู้ งั คบั บัญชาช้ันเหนือต้อง เห็นชอบดว้ ย .................................................. บทที่ 6 สงิ่ ชี้สอบของการเปน็ ผู้นา 1. กลา่ วท่วั ไป ก. ส่ิงทีจ่ ะเปน็ เครื่องชี้วา่ การบงั คับบัญชาของผู้นาหน่วยทหาร ได้รับความสาเร็จหรือประสบความ ล้มเหลวมอี ยู่ 4 ประการ คอื ขวญั , วินัย, ความรักหมู่รักคณะ และความรู้ความชานาญ สิ่งช้ีสอบของการ เปน็ ผ้นู าทง้ั 4 ประการน้ี สามารถใช้เป็นเคร่ืองวัดในการประเมินค่าของหน่วยได้อย่างดี การประเมินค่า ของหน่วยจะต้องกระทาโยต่อเนื่อง เพื่อช่วยในการพิจารณาว่าหน่วยมีประสิทธิภาพเพียงพอและสามารถ ปฏบิ ตั ภิ ารกจิ ทไ่ี ดร้ บั มอบหมายใหเ้ กดิ ผลสาเรจ็ เพยี งใดหรอื ไม่ ข. ในขณะท่ที ่านประเมินค่าของหน่วย ท่านอาจจะพบปัญหาซึ่งเป็นปฏิปักษ์ต่อสิ่งช้ีสอบอย่างหนึ่ง อย่างใดอ้นเป็นผลทาให้ลดประสิทธิภาพของหน่วยลง ท่านจะต้องพยายามแก้ปัญหาเหล่านี้ให้ได้ เพื่อนา หนว่ ยใหถ้ ึงจดุ หมาย เพื่อดารงและรักษาไว้ซ่งึ ประสิทธิภาพทางการรบของหน่วย ค. ในหัวข้อตอ่ ไปจะได้กล่าวถงึ รายละเอียดของส่ิงช้ีสอบของการเป็นผู้นาเพื่อความเข้าใจในความหมายและ นาวธิ ีการในการพัฒนาหนว่ ย และประเมินคา่ ของหนว่ ยใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ไป 2. ความเกย่ี วพันของสง่ิ ชส้ี อบของการเป็นผนู้ า ส่ิงช้ีสอบของการเป็นผู้นาทั้ง 4 ประการ จะทาให้หน่วยบังเกิดผลสาเร็จในภารกิจได้จะต้องมีการพึ่งพา อาศยั กัน ตัวอยา่ งเช่น หนว่ ยท่ีมีอัตราผู้ประพฤติเกเรอยู่ในเกณฑ์ต่า ไม่เพียงแต่แสดงว่าหน่วยน้ันมีวินัยดี 32
แต่ยังหมายถึงว่าหน่วยน้ันมีขวัญดีและมีความรักหมู่รักคณะดีอีกด้วย ฉะน้ัน ในการศึกษาต่อไปน้ี ควร ระลึกไวว้ ่า อาจจะมีปัจจัยบางอย่างท่ีมีผลกระทบกระเทือนต่อส่ิงช้ีสอบมากกว่าหนึ่งอย่าง ถึงแม้ว่า หน่วย หนึ่งจะมวี นิ ยั , ความรักหมู่รักคณะและความร้คู วามชานาญตา่ กวา่ ขวัญ แต่ท้ัง 4 อย่างก็มคี วามสาคัญเท่า ๆ กนั การที่ปจั จยั ทั้ง 3 อยา่ ง ต้องอาศยั ขวัญก็เพราะผลของสว่ นรวมไดม้ าจากทหารแตล่ ะคน อ า จ จ ะ กลา่ วไดว้ ่าขวัญเปรยี บเสมอื นดินทีใ่ สป่ ุ๋ย วนิ ยั , ความรกั หมูร่ ักและความรู้ความชานาญเปรียบเสมือนเมล็ดพืช ที่หวา่ นลงไปบนดิน ดงั นน้ั เราจึงต้องเข้มงวดกับขวัญเป็นประการแรก แล้วจึงหาทางสร้างสรรค์สิ่งช้ีสอบ อ่นื ๆ ใหส้ งู ตามขึ้นมา การมีส่ิงชีส้ อบอยา่ งหนึ่งน้อยเกินไปอาจเป็นผลกระทบกระเทือนหรือทาลายสิ่งชี้สอบ อืน่ ๆ ตามไป 3. ขวญั ก. ขวัญ คือ สภาวะทางจิตของทหารแต่ละคน สภาวะนี้ขึ้นอยู่กับท่าทีที่ทหารมีต่อสิ่งแวดล้อม ไม่วา่ จะเป็นเพ่อื ทหารดวั ยกนั , ผู้นาของตน, ความเป็นอยู่ท่ัว ๆ ไปของหน่วยและส่ิงอื่น ๆ ซ่ึงทหารเห็นว่ามี ความสาคัญแก่ตนเอง ขวัญมีความเกี่ยวพันอย่างใกล้ชิดกับการทาให้บุคคลใดบุคคลหน่ึงมีความพอใจใน ความตอ้ งการขนั้ มลู ฐานของตน ถ้าการฝกึ , การปกครอง, และการรบพุ่งของหน่วยได้กระทาไปในทางที่ช่วย ให้เกิดความพอใจในความต้องการขั้นมูลฐานของทหารแล้ว จะได้รับการสนองตอบเป็นอย่างดีจากทหาร การมขี วญั ดี เปน็ สภาวะทางจติ ทท่ี าให้ทหารเกดิ ความเช่ือม่ันทาให้มีความเป็นอยู่ดีข้ึนทาให้เขากล้าเผชิญต่อ ความลาบาก, เกดิ ความอดทน และเกดิ ความตัง้ ใจจรงิ ข. การประเมินเกีย่ วกับขวญั (1) สภาวะเก่ียวกบั ขวญั จะไมค่ งท่ีอยูก่ ับที่ กล่าวคอื ตอ้ งเปล่ียนแปลงอยเู่ สมอ สภาวะ ทางขวญั ของผูใ้ ต้บังคับบัญชา เป็นเครอื่ งชี้อนั สาคญั ของผูน้ าหนว่ ย วา่ มคี วามสามารถในการนาหน่วยเพียงใด ท่านอาจจะวัดขวัญของหน่วยได้ ด้วยการสังเกตการแสดงออกของผู้ใต้บังคับบัญชาอย่างใกล้ชิดในภารกิจ ประจาวัน ด้วยการตรวจ, ด้วยการสอบถามเป็นรายคนท้ังเป็นทางการและไม่เป็นทางการ และการ ประเมินผลจากรายงานตา่ ง ๆ เร่ืองท่คี วรตง้ั เปน็ ข้อสังเกตไวโ้ ดยเฉพาะกค็ ือ.- (1) อากัปกริ ยิ าของแตล่ ะบคุ คล ความประพฤติสว่ นตัว มาตรฐานของแบบธรรมเนียมทหารทป่ี ฏบิ ัติ อนามยั สว่ นตัว การใชเ้ ครื่องบารงุ ความสขุ การทะเลาะเบาะแว้งมีมากเกนิ ไป ขา่ วลอื ท่อี าจก่อใหเ้ กดิ อันตราย สภาพของโรงเล้ียงและโรงท่อี ยู่ การระวังรกั ษายทุ โธปกรณ์ การปฏบิ ัติตอ่ คาส่งั และคาชแี้ จง ความชานชิ านาญในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี เหตุจงู ใจในระหว่างการฝกึ (2) รายงานทางธุรการท่ีเก่ยี วข้องกบั สถานภาพกาลงั พล ถ้าไดม้ ีการประเมนิ คา่ อยา่ งถูกต้องแล้วจะช่วยวัดขวัญของหน่วยได้เป็นอย่างดีเร่ืองต่าง ๆ ที่ควรจะบันทึกไว้ ในรายงาน คอื .- 33
การจับกมุ ไม่วา่ จะเป็นทหารหรอื พลเรือน ความเสียหายหรือสญู หายของทรัพย์อันเกดิ จากความประมาทเลนิ เล่อ ปญั หาทางครอบครัว หน้ีสนิ การทาความผดิ การขาดหนีราชการ การร้องเรยี น เพื่อขอโยกยา้ ยตาแหนง่ หนา้ ท่ี การทาร้ายตนเองให้บาดเจบ็ อตั ราการเจ็บปว่ ย คนพลัดหลง อัตราการขอกลบั เขา้ รับราชการใหม่ 4. ความรกั หมรู่ ักคณะ ก. ความรกั หม่รู กั คณะ คือ ความจงรักภกั ดี, ความภูมิใจ และความกระตือรือร้นต่อการแสดงออก ของสมาชิกภายในหนว่ ยของตน ในเมอื่ ขวัญ หรือถงึ ท่าทขี องทหารแต่ละคน ความรักหมู่รักคณะก็เปรียบเสมือนชีวิตจิตใจของหน่วย เป็น จติ ใจปกติธรรมดาซง่ึ เกดิ จากความเปน็ น้าหน่งึ ใจเดียวกันของสมาชิกทกุ คนในหน่วยอนั หมายความรวมถึงการ เสียสละ และความจงรักภักดีท่ีมีต่อหน่วย มีความซาบซ้ึงในเกียรติประวัติ แบบธรรมเนียมและช่ือเสียงของ หน่วย ความรกั หมูร่ กั คณะ เปน็ บคุ ลิกลกั ษณะประจาหนว่ ยซงึ่ แสดงให้เห็นกาลงั ใจที่จะต่อสู้ และชัยชนะซึ่ง ไม่มีใครทาบติด ความรักหมู่รักคณะจะมีขึ้นได้ต้องอาศัยความพอใจท่ีทหารจะได้รับจากการท่ีตนเป็นส่วน หน่งึ ของหน่วย ทา่ ทีที่แสดงออกตอ่ ทหารในหนว่ ยเดยี วกนั และความเชอ่ื ม่ันในตวั ผ้นู าหน่วยของตน ข. ปจั จัยที่ควรนามาพิจารณา เพอื่ ประเมนิ ค่าความรกั หมรู่ ักคณะของหน่วยคอื .- (1) การแสดงออกของทหารในความกระตือรอื รน้ ต่อหนว่ ย และความภูมใิ จในหนว่ ยของตน (2) ความมชี ่ือเสยี งดีเด่นกว่าหนว่ ยอ่นื (3) ความมีเลือดนกั ส้อู ันเขม้ ข้น (4) ความรว่ มมอื อย่างจรงิ ใจตอ่ กจิ กรรมของหนว่ ย (5) ความภมู ใิ จในเกียรติประวตั ิและแบบธรรมเนยี มของหน่วย (6) ความพร้อมเพรยี งในการชว่ ยเหลือซึ่งกันและกนั (7) ความเชื่อมัน่ ท่วี ่าหนว่ ยตนเป็นหน่วยท่ยี อดเยีย่ มท่สี ดุ ในกองทพั (8) อตั ราการสมัครเขา้ มาอย่ใู นหนว่ ยน้นั สูง 5. วนิ ัย ก. วินยั คือ การทบ่ี คุ คลหรอื กลุม่ คนมคี วามเชื่อฟังและปฏิบตั ติ ามคาสง่ั โดยฉบั ไว และมคี วามริเร่ิม ในการปฏบิ ตั ิในทางทีเ่ หมาะสม แมจ้ ะไมม่ คี าส่งั ใหป้ ฏิบตั ิ วนิ ัยเปน็ สภาวะของจติ ที่แสดงออกมาในทางเช่ือฟัง และปฏิบตั ิตามอย่างมปี ฏิภาณไหวพริบ, ด้วยความเตม็ ใจและพร้อมเพรยี งกัน วิ นั ย ข อ ง ห น่ ว ย เ ป็ น หลักประกันเสถียรภาพภายใต้ความกดดัน หน่วยที่มีวินัยดีจะสามารถปฏิบัติงานได้ดีอย่างเสมอต้นเสมอ ปลาย ไม่ว่าจะมีผู้คอยควบคุมดูแลหรือไม่ ท่ีเป็นเช่นน้ีเกิดจากผลการฝึกที่ได้ผล การนาหน่วยที่มีไหวพริบ ของผู้นา ซ่งึ จะชว่ ยให้ทหารกล้ายนื หยัดในสนมรบ และกลา้ เผชิญกับความยากลาบาก นานาประการโดยไม่ สะทกสะท้าน ในเมอื่ ความสาเร็จในการรบ ส่วนมากเกิดจาการปฏิบัติโดยฉับพลันของหน่วย หรือทหารเป็น บคุ คล ความจาเปน็ ที่หน่วยทหารต้องมีวินัยมากกว่าหน่วยงานอ่ืน ก่อนที่จะมีใครคิดหาหนทางปฏิบัติต่าง ๆ โดยไม่มีคาสั่งให้ปฏิบัติ บุคคลผู้นั้นจะต้องมีความเข้าใจว่าตนจะทาอะไรและมีบทบาทในการแสดงออก 34
อยา่ งไร การจะทาเช่นนไ้ี ด้ตอ้ งอาศยั การฝึกฝน หรอื กอ่ นทจี่ ะสนองตอบตอ่ คาสง่ั ใด ๆ ด้วยความเตม็ อกเต็มใจ และโดยใชป้ ฏิภาณไหวพรบิ จาเป็นจะต้องมีความเข้าใจและมคี วามสามารถเช่นเดียวกัน บวกกับความเช่ือม่ัน ในตวั ผูบ้ ังคบั บญั ชาของตน การที่จะเป็นเชน่ นไี้ ดก้ ็ต้องอาศัยลักษณะผ้นู า ข. ปจั จัยท่คี วรจะนามาพิจารณาในการประเมนิ ค่าสถานภาพทางวนิ ัยของหน่วย คอื .- (1) ความตงั้ ใจตอ่ รายละเอยี ดในการปฏิบัติ (2) ความสัมพนั ธอ์ ยา่ งกลมกลืนระหว่างหน่วยกับบคุ คล (3) การเสียสละต่อหน้าท่ี (4) ความสมั พันธอ์ นั เหมาะสมระหว่างผ้ใู หญ่กบั ผู้นอ้ ย (5) การปฏิบตั ิตนอยา่ งเหมาะสมทั้งและนอกหนา้ ที่ (6) มาตรฐานในการรักษาความสะอาด, การแต่งกายและแบบธรรมเนยี มทหาร (7) ความว่องไวในการปฏิบตั ิตอ่ คาสัง่ และคาชแี้ จง (8) ความยึดมน่ั ในสายการบังคับบญั ชา (9) ความสามารถและความต้ังใจจริงที่จะปฏิบัติหน้าที่อย่างได้ผล โดยไม่ต้องกากับดูแล หรือกากับดูแลแตเ่ พียงเล็กนอ้ ย 6. ความรู้ความชานาญ ก. ความรคู้ วามชานาญ คือ ความสามารถของบุคคลและของหน่วยที่จะปฏิบัติงานหรือภารกิจให้ เกิดผลดี ด้วยการใชค้ วามสามารถทางร่างกาย, ทางเทคนิคและทางยทุ ธวิธีมาประกอบกัน ความรู้ความชานาญของหนว่ ย เกิดจากการรวมเอาความชานาญของแต่ละคนภายในหน่วย โดยมี ผู้นาหน่วยเป็นผู้ผสมผสาน ทาให้เกิดชุดปฏิบัติงานที่คล่องแคล่วข้ึนมา หน่วยของท่านจะมีความรู้ความ ชานาญได้ก็ต่อเมื่อท่านมีความตอ้ งการให้การปฏบิ ัติเปน็ กลุม่ หรอื เปน็ รายบุคคลมมี าตรฐานสงู ค ว า ม รู้ ความชานาญ สว่ นใหญ่ไดม้ าจากการฝกึ ฉะน้ัน ในฐานะเป็นผู้บังคับบัญชา ควรจะใช้เวลาในการกากับดูแล การฝกึ ใหม้ าก การกากับดูแล เปน็ วิธีตัดสินความรู้ความชานาญของบุคคลและของหน่วยที่ดีท่ีสุด และได้ผล ทส่ี ุดวธิ ีหนึ่ง ข. ปจั จัยทคี่ วรนามาพจิ ารณา เพื่อประเมินค่าความร้คู วามชานาญของหนว่ ย คอื .- (1) อากัปกิริยาสว่ นบคุ คลและสภาพทางร่างกายของแต่ละบุคคล (2) สภาพของอาวุธ ยทุ โธปกรณ์และบริเวณพ้นื ทขี่ องหนว่ ย (3) การใชเ้ วลาเตรยี มการเพอ่ื ปฏิบัติต่อสถานการณ์ หรือ สถานการณต์ ่าง ๆ กนั (4) ทา่ ทีทแี่ สดงออกของหนว่ ยและบุคคลภายในหน่วย (5) ความสามารถในการนาหนว่ ย (6) ความรวดเรว็ และความแน่นในการแจกจ่ายคาสัง่ , คาแนะนาและข่าวสาร (7) ระดับของความชานาญท่ีปรากฏให้เห็นเม่ือสาเร็จแลว้ (8) ความรู้ความชานาญทงั้ ในทางเทคนิคและทางยุทธวิธี 7. การพฒั นาสิง่ ชสี้ อบของการเปน็ ผู้นา ก. การพัฒนาสิ่งชี้สอบของการเป็นผู้นา เป็นกรรมวิธีท่ีต้องกระทาโดยต่อเน่ือง และทาอยู่ ตลอดเวลา โดยเฉพาะอยา่ งย่ิงในระหวา่ งการฝึกและขณะทาการรบ ถ้าทา่ นมีความเขา้ ใจในปัจจัยและพลังซึ่ง จะสง่ ผลใหไ้ ดต้ ามทที่ ่านตอ้ งการ ทา่ นตอ้ งมีความสามารถในการใช้คนใหเ้ ป็นไปตามขั้นตอน 35
ข. การปฏบิ ตั บิ างอย่างซึ่งเป็นท่ีทราบกันดีอยู่แล้ว จะช่วยให้พัฒนาสิ่งชี้สอบบางอย่างได้ดีขึ้น การ ปฏบิ ตั ิอย่างหนึ่งอย่างใดซงึ่ ชว่ ยในการปรบั ปรงุ สิง่ ชี้สอบขอ้ หนงึ่ ให้ดขี น้ึ อาจเปน็ ผลดีต่อส่ิงชส้ี อบตอ่ ๆ ไปด้วย หัวข้อทจ่ี ะกลา่ วต่อไปน้ี มีขน้ั ตอนในการปฏบิ ตั ิเพอื่ เป็นการพัฒนาสงิ่ ชี้สอบแตล่ ะข้อใหด้ ขี นึ้ คือ.- (1) เกย่ี วกบั ขวญั เน้นผลทางจติ ใจ ก.) สอนใหเ้ กิดความเชอื่ ในสาเหตุ และภารกจิ ทีไ่ ด้รบั มอบ ข.) ปลูกฝังใหผ้ ู้ใต้บังคบั บัญชาเกดิ ความเชือ่ มน่ั ในตนเอง เช่อื ม่ันใน ผู้บงั คบั บญั ชาการฝึกและยุทโธปกรณ์ ค.) ช่วยให้เกิดการรักงาน ด้วยการพิจารณามอบงานให้ทาอย่างระมดั ระวงั ง.) ให้ผู้ใตบ้ งั คบั บัญชาระลึกอยูเ่ สมอว่า การท่ที า่ นตอ้ งยน่ื มือมาเกยี่ วขอ้ งก็ เพราะกองทัพมคี วามหว่ งใยในสวัสดิการทง้ั ทางกาย ทางใจและทางธรรมของเขาและผ้ทู อ่ี ยู่ในปกครองด้วย จ.) จดั ใหม้ ีการปนู บาเหน็จความชอบ ฉ.) ให้ผใู้ ตบ้ ังคบั บัญชาเกิดความรู้สึกวา่ เขาเป็นบุคคลที่มีความสาคัญต่อหนว่ ย ช.) รับรคู้ วามปรารถนาของทหาร เพื่อให้มีความรู้สึกเป็นเอกเทศและปฏิบัติต่อทหารเป็น รายบคุ คล ซ.) สนับสนนุ ใหท้ หารมคี วามผกู พนั ต่อบา้ นเกิด, ครอบครัวและการนบั ถือศาสนาด้วยความ เข็มแข็ง (2) เก่ยี วกับความรักหมรู่ ักคณะ เน้นพธิ /ี กิจกรรมร่วมกัน ก.) เริม่ ด้วยการจดั ใหม้ ีพธิ ีตอ้ นรับทหารใหม,่ มกี ารเลา่ ใหท้ ราบถึงเกยี รติ ประวัติความเป็นมาของหน่วย ตลอดจนขนบธรรมเนยี มประเพณี และบทบาทในปัจจบุ นั ของหน่วย ข.) ก่อใหเ้ กิดความร้สู ึกในหน่วยของตนว่าเป็นหน่วยทด่ี ีเย่ียม ค.) รับรู้ความสาเร็จของหน่วยและของทหารทุกคน และเป็นที่ม่ันใจได้ว่ามีการเผยแพร่ เกียรติคุณอยา่ งถูกต้อง ง.) ใชก้ ารจดั งานพิธ,ี การกาหนดสัญลักษณ,์ คติเตือนใจ และเน้ือเพลงปลูกใจทางทหารให้ เกดิ ประโยชน์ในทางสรา้ งสรรค์ จ.) ใช้วธิ กี ารแข่งขนั เพอ่ื เสริมสรา้ งให้เกดิ ความรว่ มมือทางานเป็นชดุ ฉ.) ใช้การมอบรางวลั และอิสริยาภรณ์ให้เป็นกาลงั ใจ (3) เกยี่ วกบั วินัย ก.) การแสดงออกเกีย่ วกับวินยั ใหด้ ู ผู้บงั คบั บัญชาเป็นตัวอย่าง ข.) ใช้ระบบยุติธรรมและไม่เลือกท่ีรักมักที่ชัง ในการลงโทษและให้สิทธิ์และความดี ความชอบทดั เทียมกนั ค.) ก่อให้เกิดความเชอื่ ม่ันและเคารพนบถือซึง่ กนั และกนั ดว้ ยการฝึก ง.) สนับสนุนและเฝ้าติดตามการพัฒนาวินัยให้กับตนเอง ในระหว่างผู้ ใต้บังคับบัญชา ด้วยกัน จ.) จงต่นื ตัวต่อสภาวะทีจ่ ะเป็นตวั การทาลายล้างวนิ ัย ให้เสอื่ มถอยลงเท่าท่จี ะทาได้ (4) เกี่ยวกบั ความรูค้ วามชานาญ เนน้ การปฏบิ ัตงิ าน/การฝึกฯ ก.) ฝึกฝนผูใ้ ตบ้ งั คบั บญั ชาให้ปฏบิ ัตหิ นา้ ท่ขี องตนดว้ ยความละเอียดรอบคอบ ข.) เนน้ ถึงการปฏบิ ตั ิงานร่วมกันเป็นชดุ ตามสายการบังคบั บญั ชา ค.) จัดใหม้ ีการบารุงรักษาร่างกายใหเ้ ขม้ แข็ง 36
ง.) จัดใหม้ ีการฝกึ สับเปล่ยี นตาแหนง่ กนั จ.) ทาการฝกึ ใหส้ มจรงิ ฉ.) จดั ใหแ้ ตล่ ะคนได้มโี อกาสทาหนา้ ทใี่ นตาแหนง่ ท่ีสูงขน้ึ ไปให้บ่อยท่ีสดุ เท่าที่จะทาได้ ช.) ตอ้ งแน่ใจวา่ จากการตรวจและการทดสอบการฝกึ หนว่ ยมแี นวโน้มในทางที่ ดขี ึ้น และปฏบิ ัติตามหลกั สตู รการฝกึ และหลกั นยิ มท่หี น่วยกาหนดได้ ซ.) วางมาตรฐานในการปฏบิ ัตใิ ห้สงู ขึน้ และคาดคั้นให้พยายามปฏิบตั ใิ หไ้ ด้ ............................................. บทที่ 7 ปัญหาเก่ียวกบั ลักษณะผู้นา ตอนท่ี 1 กรรมวิธีในการแก้ปญั หา 1. กลา่ วทั่วไป ก. มีปัญหาหลายประการท่เี กย่ี วข้องกับลักษณะผู้นา ท่ีจะต้องหาทางแก้ปัญหาต่าง ๆ เหล่าน้ี ท่ีไม่ ควรมองข้าม แต่ต้องหาทางเข้าแก้ไขด้วยวิธีที่ได้ผลดีสุดเท่าท่ีจะทาได้ ถ้าท่านแก้ปัญหาเหล่าน้ีไม่ได้ ก็จะมี ผลกระทบกระเทือนต่อประสทิ ธภิ าพในการปฏิบัติของหนว่ ยโดยตรง ข. ปัญหาท่ัวไปซ่ึงมักจะพบอยู่เสมอ ได้แก่ ปัญหาเกี่ยวกับการเข้าทาหน้าที่บังคับบัญชา,การ คัดเลือกและการพัฒนาตัวผู้นาหน่วยรอง ๆ ลงไป , ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ใหญ่กับผู้น้อย และการใช้ข้อ ปรกึ ษาหารือ ค. ท่านไม่อาจจะยึดถือเอาประสบการณแ์ ละการสงั เกตมาเป็นแนวทางในการตัดสินใจให้ถกต้องได้ เสมอไป ปัญหาทเี่ กดิ ขึน้ มกั จะมีความสลับซบั ซอ้ นย่งิ กวา่ ทผ่ี ้สู งั เกตการณ์จะไดป้ ระสบ พบเห็นและประสบการณ์อาจทาให้เกิดการผิดพลาดได้บ่อย ๆ ฉะนั้น จึงมีความจาเป็น ที่ท่านจ ะต้อง เสริมสร้างแนวความคิด ซ่ึงอาจจะใช้ในการแก้ไขในลักษณะของการวิเคราะห์ท่ีเป็นระเบียบในห้วงเวลาท่ี กาหนดได้ 2. กรรมวธิ ใี นการแกป้ ญั หาเก่ียวกบั ลักษณะผนู้ า กรรมวิธีในการแก้ปญั หาเก่ยี วกับลักษณะผ้นู า เป็นวิธีเข้าถึงปัญหาเพ่ือวิเคราะห์อย่างถูกต้อง เพ่ือ ชว่ ยในการตกลงใจในการแกป้ ญั หาเกี่ยวกับลักษณะผู้นา กรรมวิธีนี้มีอยู่ 3 ข้ันตอนด้วยกันคือ ขั้นเรียนรู้ ปัญหา, ข้ันทาการประมาณสถานการณแ์ ละขัน้ ปฏิบตั กิ าร ก. ข้ันเรียนรู้ปัญหา จะมีปัญหาเกิดขึ้นในหน่วยก็ต่อเม่ือเหตุการณ์หรือสภาวะท่ีเกิดข้ึนมีผล กระทบกระเทือนต่อส่ิงชส้ี อบของการเปน็ ผู้นาในทางตรงกันข้าม อยา่ งไรกต็ ามการขบคดิ ปญั หาโดยเพ่งเล็งใน เร่ืองขวัญ, ความรักหมู่รักคณะ, วินยั หรือความรู้ความสามารถอย่างหนง่ึ อย่างใดเพยี งอย่างเดียวจะไม่ช่วยใน การแยกแยะปัญหาออกไดอ้ ยา่ งเตม็ ท่ี ในเม่อื มปี ัจจัยและสภาวการณห์ ลายอย่างในหนว่ ย ซึ่งมีอิทธิพลต่อส่ิงช้ี สอบแต่ละอย่าง ฉะนั้น ท่านต้องประเมินค่าของหน่วยโดยใช้สิ่งชี้สอบทุกอย่างประกอบเข้าด้วยกัน เพื่อ พจิ ารณาเน้อื หาของปัญหาใหค้ รบถ้วน 37
ข. ขั้นประมาณสถานการณ์ ก่อนที่จะทาการแก้ปัญหาท่านต้องทาความเข้าใจธรรมชาติท่ีแท้จริง ของปญั หาใหก้ ระจ่างว่า มีใครเก่ียวข้องบ้าง, สภาวะแวดลอ้ มตา่ ง ๆ มอี ะไรบา้ ง, ปัญหาเกดิ ข้ึนที่ไหน, เม่ือใด, การตรวจสอบปัจจัยต่าง ๆ เหลา่ น้ี ใหเ้ ป็นไป (1) พจิ ารณาหาสาเหตุ ในการพิจารณาถึงธรรมชาตทิ ี่แท้จรงิ ของปัญหาแตล่ ะคร้งั ท่าน จะต้องพิจารณาว่า “ทาไม” ปัญหาเหล่าน้ีจึงเกิดข้ึน และเกิดขึ้นได้ “อย่างไร” แล้วจึงสืบหาข้อเท็จจริงซ่ึง ปรากฏอยู่ในปัญหานั้น ถ้าบางส่วนของปัญหาไม่สามารถค้นพบข้อเท็จจริงท่ีมีสาระได้ ท่านต้องอาจตั้ง สมมตุ ิฐานท่ีมเี หตุผลมาประกอบกไ็ ด้ (2) พิจารณาหาทางแก้ไขที่นา่ เป็นไปได้ หลงั จากทที่ ่านได้พิจารณาถงึ มูลเหตุเบื้องตน้ หรือสาเหตทุ เี่ กิดปญั หาขึ้น ทา่ นควรพิจารณาถึงหนทางแก้ไขท่นี ่าเป็นไปได้สาหรับปัญหาน้ันด้วยอย่าด่วนตัด คาตอบท่ีได้จากการพิจารณาในคร้ังแรกทิ้งไปเสีย ถึงแม้ในตอนหลังจะพิสูจน์ได้ว่า คาตอบน้ันไม่มีค่าต่อ ปญั หาท้ังมวล คาตอบท่ีได้มาอย่างคร่าว ๆ อาจมีแนวความคิดที่มีค่าแฝงอยู่ด้วยก็ได้ ย่ิงพิจารณาคาตอบไว้ มากเทา่ ใด ยดึ ทาใหก้ ารแกไ้ ขปัญหาขน้ั สดุ ทา้ ยดมี ากยงิ่ ขึ้นเท่านน้ั (3) ประเมนิ คา่ หนทางแก้ไขทนี่ ่าเปน็ ไปได้ ในการประเมินค่า คาตอบทนี่ ่าหยบิ ยกข้ึนมา พิจารณา ก่อนอนื่ ต้องเปรียบเทียบข้อดี ขอ้ เสียใหท้ ราบเสยี ก่อน เมอ่ื ไดเ้ ปรียบเทียบคาตอบแต่ละข้อแล้ว ให้ นาข้อดีของคาตอบอันหนง่ึ ไปเปรยี บเทยี บกับขอ้ ดีของคาตอบข้ออน่ื ๆ ด้วย เพ่ือพิจารณาว่าคาตอบอันไหนดี ท่สี ดุ จงจาไว้วา่ ข้อพจิ ารณาทีผ่ ูน้ าควรนามาใช้ในการเลอื กหนทางปฏิบัติ หรือการออกคาสั่งที่เหมาะสมดัง ได้กล่าวไว้แล้วในข้อ 25. จงระวังอย่าให้อคติหรือความขอบพอเป็นส่วนตัวเข้ามามีส่วนครอบงาในการ พจิ ารณาของท่าน เหนอื ส่งิ อน่ื ใด จงจาไวว้ ่าผนู้ าท่หี นุ หนั พลันแลน่ รบี รวบรดั จดั หาคาตอบรวดเร็วเกินไป อาจ กอ่ ให้เกดิ ปัญหาทนี่ า่ หนักใจเพ่มิ มากข้ึนยงิ่ กว่าปญั หาซง่ึ ตนกาลงั หาทางแกไ้ ขอยู่ (4) เลือกหนทางปฏบิ ัติทด่ี ที ่ีสุด อาจจะเป็นคาตอบใดคาตอบหน่งึ ซง่ึ ผา่ นการพิจารณามา บา้ งแลว้ หรอื อาจจะนาเอาคาตอบหลาย ๆ คาตอบมารวมกัน เพ่อื ใชเ้ ป็นหนทางปฏบิ ตั ทิ ่ีน่าจะเปน็ ไปได้ ค. ขน้ั ปฏบิ ัติการ นาหนทางปฏิบัติท่ีเลือกไว้แล้วมาใช้ให้เกิดผล ด้วยการใช้เทคนิคท่ีเหมาะสมกับ บุคลิกลักษณะของทา่ น อย่าเพง่ิ พอใจในการปฏบิ ัติเร่ิมแรกที่ดาเนินไปเพียงเล็กน้อย เพราะความสาเร็จจะมี ข้ึนได้ ขนึ้ อยกู่ ับความสามารถและความต้ังใจจริงของท่านในการกากับดูแลและตรวจสอบผลจากการปฏิบัติ จงจาไว้ ปัจจัยที่สาคัญท่สี ุดประการหนึ่งซึ่งแยกให้เห็นความแตกต่างระหว่าง ผู้นาที่สามารถกับผู้นาพ้ืน ๆ ก็ คือ ความสามารถในการเลือกหนทางปฏบิ ัตทิ ี่ได้ผล แล้วนามาใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์อย่างเตม็ ท่ี ตอนที่ 2 ขอบเขตของปญั หา 1. การเขา้ ทาหนา้ ท่ีบงั คบั บญั ชา ในวงการทหารมสี ภาวการณ์หลายอย่างท่ีทาให้ตอ้ งมีการหมุนเวียนผลัดเปล่ียนตัวผู้นาหน่วย ซึ่งเป็น สว่ นหน่งึ ของกิจการทหารทีต่ อ้ งกระทาอันเปน็ ปกติวิสยั ปญั หาพิเศษมักจะเกดิ ข้นึ ในกรณที ีผ่ ู้นาหน่วยต้องเข้า ปฏิบัติหน้าท่อี ยา่ งกะทนั หันภายใตส้ ภาวการณท์ ไี่ มป่ กติ ปญั หาเชน่ นี้ ไมเ่ กยี่ วกบั เร่อื งของปัญหาที่จะกล่าวใน ตาราเลม่ น้ี ถึงแม้วา่ เทคนคิ ต่าง ๆ ท่ีจะกล่าวต่อไปนี้เม่ือได้ดัดแปลงให้เหมาะกับสภาพของท้องถิ่นแล้ว อาจ นาไปใชไ้ ด้กบั การทาหนา้ ที่บังคับบัญชาทุกชนดิ ก็ตาม ก. ในการเขา้ ทาหน้าที่บงั คบั บญั ชาหนว่ ยทหาร ตอ้ งวางแผนการปฏิบตั ิงานทกุ อยา่ งโดยตัง้ ข้อคิดไว้ว่าแผนการท่ีน่าประทับใจอันแรกที่วางไว้จะต้องใช้ได้เป็นเวลานาน ท่านอาจจะหลีกเล่ียงหรือลด ปัญหาในการนาหนว่ ยไดห้ ลายประการ ปญั หาตา่ ง ๆ น้ีอาจเกิดข้ึนได้ ถ้าการวางแผนงานของท่านก่อให้เกิด ความร้สู กึ ไมน่ า่ นิยมอย่างฝงั ใจเสียตง้ั แตแ่ รกเร่ิม 38
ข. สงั เกต การปฏิบัติของหนว่ ยสักช่วั ระยะหนง่ึ ก่อนทจี่ ะมกี ารเปลย่ี นแปลงขนานใหญ่ เก่ยี วกับนโยบายของหนว่ ย การกระทาเช่นนี้ ต้องให้แน่ใจเสียก่อนว่า การปฏิบัติและการออกคาส่ังของท่าน จะต้องใชข้ ้อเท็จจรงิ หรอื สมมุตฐิ านท่มี เี หตผุ ลและใช้วิจารณญาณดพี อ แต่ไม่อาจกาหนดใหต้ ายตัวลงไปได้ว่า จะต้องใช้เวลาในการสังเกตนานเท่าใด ลักษณะผู้นาเป็นเรื่องส่วนบุคคลท่ี มีอยู่มากมายเหลือท่ีจะกล่าว ระยะเวลาท่ีจะใช้ในการสังเกตหน่วยมากน้อยเท่าใดน้ัน ขึ้นอยู่กับบุคลิกลักษณะ, ความสามารถและ ประสบการณ์ของตวั ของทา่ นเอง บุคลกิ ลกั ษณะของผู้ใต้บังคับบัญชา ประเภทของหน่วย และสถานการณ์ท่ี เผชญิ หน้ากับหน่วยในขณะทที่ ่านเขา้ รับหน้าที่บงั คบั บัญชา ,ในสถานการณ์อ่ืน ๆ ท่ีต้องใช้ลักษณะผู้นา ท่าน ตอ้ งพิจารณาว่า มคี วามจาเป็นจะตอ้ งเปลยี่ นแปลงอะไรบ้างหรอื ไม่ ถา้ มี จะตอ้ งกระทาเมือ่ ใด ค. ประเมนิ คา่ ของหนว่ ยโดยใช้สง่ิ ชี้สอบของการเปน็ ผูน้ า เพราะว่าส่วนใหญข่ องปญั หา ในการนาหน่วย เรม่ิ ตน้ จากส่งิ ช้ีสอบอย่างใดอย่างหนึง่ ถา้ รจู้ กั ใชก้ รรมวิธีในการแก้ปัญหาให้ถูกทาง จะช่วยให้ การแกป้ ญั หาในการนาหน่วยได้ง่ายขึ้น ประเมินค่าผู้ใต้บังคับบัญชาเพ่ือพิจารณาความเข้มแข็งและจุดอ่อน ของแต่ละคน ใชว้ ิธกี ารทุกอยา่ งทม่ี ีอยู่เพื่อช่วยในการเสริมสรา้ งผู้ใต้บงั คบั บญั ชาใหด้ ีขึ้น ประเมนิ ค่าหน่วยรอง แตล่ ะหน่วยท่ีปฏบิ ัตงิ านได้ผลดีเพือ่ กระต้นุ หนว่ ยใหม้ ีประสทิ ธภิ าพดขี นึ้ ง. ช้ีแจงให้หนว่ ยทราบถงึ นโยบาย และมาตรฐานท่ีต้องการกาหนดมาตรฐานให้สงู ไว้ และรักษาให้อยู่ในระดับน้ันให้ได้ ต้องหาส่ิงจูงใจให้หน่วยเข้าถึงจุดมุ่งหมายสุดยอดที่ต้องการ นั้นคือ ประสทิ ธผิ ลในการรบของหน่วย 2. การคัดเลอื กผู้นาหน่วยรอง ก. ยงั ไม่มีวิธกี ารทแี่ นบเนียนพอท่จี ะใช้พิจารณาว่า บุคคลใดเป็นผู้นาท่ีมีความสามารถหรือไม่ แต่ถึง อย่างไรก็ตาม ผู้บังคับบัญชาที่ต้องรับผิดชอบในการคัดเลือกตัวผู้นาหน่วยที่สามารถได้เคยใช้วิธีการต่าง ๆ เพอื่ ใหไ้ ดข้ ่าวสารทีเ่ ก่ียวข้องในการนามาประกอบการพิจารณาอย่างไดผ้ ลมาแลว้ คอื .- (1) การสมั ภาษณ์ การสมั ภาษณ์เปน็ ส่วนตัว เป็นวิธีที่มคี า่ ต่อการสงั เกตบุคลกิ ลักษณะ ของผนู้ าท่ีจะมาเป็นผู้นาท่ีดี ท้ังยังให้ข่างสารที่เป็นประโยชน์อันไม่อาจหาได้จากแหล่งอื่น ต้องวางแผนการ สมั ภาษณ์ และระหวา่ งการสมั ภาษณใ์ ห้เฝา้ ดสู ังเกตลักษณะต่าง ๆ ดงั น.ี้ - ก.) การวางตัว และอากปั กริ ยิ าประจาตวั ข.) มารยาท ค.) หลกั ฐานที่ปรากฏเก่ยี วกบั ความจรงิ ใจ และความซือ่ สตั ย์ ง.) ความกระตอื รอื ร้นและท่าทีทต่ี รงไปตรงมา จ.) ความรอบรแู้ ละความสามารถในการแสดงความคิดเหน็ ฉ.) ทา่ ทที ี่ผดิ ปกติ หรือแนวโน้มของบุคลกิ ภาพประจาตวั (2) การสังเกต เป็นวิธีหาข่าวสารท่ีนา่ เช่อื ได้ หากกระทาในห้วงเวลาหน่ึง โดยสงั เกตตาม หัวขอ้ ต่อไปน้.ี - ก.) มีทา่ ทตี่ รงไปตรงมา และเขา้ ถงึ งานทุกประเภท ข.) มีความปรารถนาท่ีจะใสใ่ จและเขา้ รบั ผิดชอบ ค.) มีความสามารถท่จี ะมองปัญหาในวงกวา้ ง โดยใช้วิจารณญาณ ประกบการณ์ และตาแหนง่ งาน ท่ีจะแยกอารมณ์ประจาตัวออกจากข้อเท็จจริง ง.) มีความจงรักภกั ดีต่อผบู ังคับบญั ชาและผู้ใต้บังคบั บัญชา จ.) มีความสามารถในการปฏิบตั งิ านอยา่ งเสมอต้นเสมอปลาย ในลกั ษณะท่ี ได้เปรียบเม่ือเผชญิ กบั สถานการณ์ทเี่ ลวรา้ ย ไมว่ า่ ในหน่วยปกติหรือในสนาม ฉ.) มีความสามารถทาใหผ้ อู้ ื่นมคี วามเคารพยาเกรงและใหค้ วามรว่ มมอื เป็น 39
อยา่ งดีต่อผทู้ ี่มีส่วนเกีย่ วข้อง (3) การให้คาแนะนา เสาะหาคาแนะนาที่เกย่ี วขอ้ งกับความสามารถของผูน้ าที่ต้องการ ในเรอ่ื ง งานท่เี คยทามากอ่ น ปรมิ าณความรบั ผิดชอบ และความสัมพนั ธ์ทีม่ ตี อ่ นายทหารท่ีให้คาแนะนาต่าง ๆ เหลา่ น้ี จะตอ้ งนามาพิจารณาร่วม เพื่อประเมินคา่ จากคาแนะนาตา่ ง ๆ ที่ไดร้ บั (4) บนั ทึกทางธรุ การ ถา้ มีหลักฐานบันทกึ อะไรทพ่ี อหาไดใ้ หน้ ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ เพอื่ หาข่าวสารที่เป็นพืน้ ฐาน ข. ผ้บู ังคับบญั ชาทีเ่ คยปฏิบตั งิ านจนเกดิ ผลดีมาแล้วในอดตี ใช้หลักเกณฑ์ดังต่อไปนใ้ี นการคัดเลือก คนเพ่ือเล่ือนชัน้ , เลือ่ นตาแหนง่ ทต่ี อ้ งเพิ่มภาระรับผดิ ชอบมากขน้ึ คอื .- (1) ให้แสดงความสามารถในการทางานใหด้ ู (2) การฝกึ และประสบการณจ์ ากการทางานอยา่ งหน่ึงหรอื งานที่คลา้ ยกนั (3) อายรุ าชการ และอาวุโส (4) เพ่งเลง็ ถงึ บุคลกิ ภาพที่มีต่อผเู้ กย่ี วขอ้ งและผู้ใต้บังคับบัญชา (5) การศกึ ษาทางทหารและทางพลเรือน ค. หลักเกณฑท์ ี่สาคัญทีสดุ ในการคัดเลือกบคุ คล เพือ่ การเล่ือนชั้นเลือ่ นตาแหนง่ ท่มี ีความรบั ผิดชอบ มากขึน้ คอื การให้แสดงความสามารถในการปฏิบัติงานให้ดู 3. การพฒั นาผ้นู าหน่วยรอง ก. การพัฒนาลักษณะผู้นาให้แกผ่ ู้ใต้บังคับบญั ชา จะต้องกระทาโดยต่อเนอ่ื ง ฉะน้ันทา่ นตอ้ งฉวย โอกาสฝกึ สอนผนู้ าหนว่ ยระดับรองลงไป ใหท้ ราบถึงส่วนประกอบของลกั ษณะผู้นาว่ามอี ะไรบา้ ง ตลอดจน การนาไปใช้อย่างถูกต้องเพื่อให้เข้าสามารถเปน็ ผู้นาท่ดี ขี ึน้ ได้ การทจ่ี ะทาเชน่ นใ้ี หไ้ ด้ผล ท่านจะตอ้ งทาความ รูจ้ ักกับผใู้ ตบ้ งั คับบญั ชาของท่านเปน็ อยา่ งดตี ้องเรียนรู้วา่ คนไหนตอ้ งการดึงบังเหยี นให้ดงึ คนไหนตอ้ งการ ปฏิบัตงิ านอย่างอิสระโดยไม่ต้องคอยจ้าจี้จา้ ไช ควรแข่งขันการทางานด้วยจติ ใจที่เปน็ ธรรม แม้ว่าการกระทา ของผู้ใตบ้ งั คบั บญั ชาบางคนอาจจะรุนแรงเกินขอบเขต, มีความเห็นแกต่ วั และมีความห้าวหาญจนเกนิ ไป อนั อาจกอ่ ใหเ้ กิดความแตกร้าวและคแู่ ข่งจะแสลงใจก็ตาม แต่ผลทไี่ ด้รบั ก็คอื การเอาชนะตนเอง หรอื อีกนัยหน่ึง ผู้ใตบ้ ังคับบัญชาบางคนอาจแสดงใหเ้ หน็ ถงึ ความขลาดเขลาเบาปัญญาอนั ไม่นา่ ยอบรับ จนเกดิ เปน็ นสิ ัยใน การทางานของตน ทา่ นจาเป็นตอ้ งดัดนิสัยให้เปน็ กล้าแข็งขึ้น และคอยกระตุ้นเตือนให้เปน็ คนใจปา้ กลา้ ได้ กลา้ เสยี เม่ือทราบความแตกต่างของแตล่ ะคนแล้ว ทา่ นอาจใช้เทคนิคท่ีเหมาะสม เพือ่ ใหผ้ ู้ใตบ้ งั คับบญั ชามี ความเชือ่ ถือ, มีความม่ันใจ, เคารพนบั ถือ และให้ความร่วมมอื อย่างจงรักภักดี ข. วิธปี ฏบิ ัติต่อไปนี้เปน็ วธิ ที ่ีเคยใช้ได้ผลดีในการพัฒนาผนู้ าหน่วยรองให้ดีขึน้ คือ.- (1) สนบั สนุนโครงการประกอบอาชีพตามทวี่ างแผนไว้ (2) มีการผลดั เปลี่ยนหนา้ ทีต่ ามระยะเวลาทกี่ าหนด เพือ่ ให้แต่ละคนมีความร้พู ืน้ ฐานท่ี กว้างขวางและทดแทนกันได้ (3) ให้โอกาสเข้ารับการศึกษาในโรงเรยี นเหลา่ หรือโรงเรียนของหน่วย (4) ตรวจสอบการฝึกตามปกติ และการฝึกราชการสนาม (5) ทาการฝกึ สอนเก่ียวกับลกั ษณะผู้นาและให้คาปรกึ ษาที่ถกู ต้อง (6) มอบอานาจให้ทาแทนใหม้ ากท่ีสุดเทา่ ที่จะสามารถรับผิดชอบได้ (7) มีการปฏบิ ัตใิ ห้เปน็ ไปตามสายการบังคับบญั ชา (8) กาหนดมาตรฐานในการบรรลุถึงความสาเรจ็ ไว้ใหส้ ูง (9) ยกย่องใหเ้ ปน็ ตวั อย่าง 40
ค. ในระยะการพัฒนาตัวบุคคลนี้ ท่านต้องมคี วามสัมพันธเ์ ปน็ ส่วนตวั กับผู้ใต้บงั คับบญั ชาตลอดเวลา ใหเ้ ขามโี อกาสได้รวู้ า่ ทา่ นต้องการอยา่ งไร บอกกล่าวให้เขาทราบถงึ ระดับทต่ี อ้ งการในการทจ่ี ะบรรลุถึง เปา้ หมายทว่ี างไว้ และแนะนาวถิ ที างทเ่ี ขาเหลา่ น้ันควรจะปรับปรงุ ตนเองยอยอ่ งชมเชยเมอ่ื ถึงเวลา จงระวงั และหลกี เลย่ี งอยา่ ใหม้ ีการเห็นแก่ตัว ง. เมอ่ื ต้องมีการเปลีย่ นแปลงตัวผู้นาหน่วยอย่างรวดเร็ว แทบทุกหนว่ ย การหาบคุ คลไปทดแทน เป็นปญั หาทห่ี นกั จงึ มีความจาเปน็ ที่ผู้บังคบั บญั ชาทกุ คนจะตอ้ งวางแผน และฝึกกาลงั ทดแทนเอาไว้ เพอื่ ให้มี บคุ คลไปผลัดเปลย่ี นตาแหนง่ กันได้ตลอดเวลา การวางแผนเพอื่ ทดแทนผนู้ าหน่วย เป็นจานวนมากมี ความสาคญั มากย่ิงข้ึนในการรบ ในเม่ือมีความเร่งดว่ นในการหมนุ เวียนผลัดเปลี่ยนกาลงั พล จ. ความสามารถในการนาหนว่ ยของผูน้ าหน่วยรอง จะต้องอยูใ่ นระดบั สงู แนวความคิดและการใช้ หนว่ ยทเ่ี ปล่ยี นแปลงอยู่บอ่ ย ๆ จาเป็นทีผ่ ู้บงั คับบัญชาจะต้องให้ความไวว้ างใจมากย่งิ ขึน้ ในความสามารถและ แหลง่ กาเนิดของผ้ใู ต้บังคับบญั ชา หน่วยทหารอาจถูกใช้ให้ปฏิบัตงิ านที่ต้องกระจายกาลังอย่างกว้างขวาง ทง้ั อยา่ งอสิ ระและกงึ่ อิสระ อาวุธที่ปรบั ปรงุ ใหม่, ยทุ ธวิธใี หม่ ๆ และ เครอ่ื งมอื สอ่ื สารที่ทนั สมยั ทาให้เกดิ ความ จาเปน็ ตอ้ งเน้นในเร่อื งลักษณะผนู้ าในหนว่ ยขนาดเลก็ ใหม้ ากทสี่ ุด ความสาเรจ็ หรอื ความลม้ เหลว จะขน้ึ อยู่ กับความมีประสทิ ธภิ าพของผู้บังคับบัญชาว่าจะได้รบั การสนองตอบจากผูน้ าหนว่ ยขนาดเลก็ ไดอ้ ย่างเตม็ ที่ หรอื ไมใ่ นเมือ่ ขาดการตดิ ต่อ หรือมีโอกาสติดตอ่ กนั ไดน้ อ้ ยทส่ี ดุ เพือ่ เตรียมรบั มอื เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นใหม่ ๆ เหลา่ นี้ ผ้บู ังคบั บญั ชาทุกระดับช้นั จะตอ้ งเข้าใจคุณคา่ ของการพฒั นาผู้นาหนว่ ยรองของตน 4. ความสัมพนั ธผ์ ู้ใหญก่ ับผู้น้อย ก. ความสัมพันธ์ท่ีถกู ตอ้ งระหว่างผู้ใหญก่ ับผูน้ ้อย เป็นสงิ่ หนึ่งทีจ่ ะต้องให้เกิดมขี นึ้ เพื่อให้เกิดความ เชอ่ื มัน่ , ความเคารพนบั ถอื และความร่วมมอื กันอย่างเขม็ แขง็ ก่อนท่จี ะเกิดความคุ้นเคยกัน เมือ่ ความคุ้นเคย กันยังไมม่ ขี น้ึ ก็จะกอ่ ให้เกิดการปลอ่ ยปละละเลยมแี นวโนม้ ทาใหก้ ารสนองตอบของผ้ใู ต้บงั คับบัญชาลด น้อยลง และในฐานะของผู้ใตบ้ ังคับบัญชาถา้ ทา่ นแสดงความเคารพนบั ถือ และการสนับสนุนอย่างเตม็ ทตี่ ่อ ผบู้ งั คบั บัญชาใหป้ รากฏ ก็จะทาให้ผู้ใต้บงั คบั บัญชารอง ๆ ลงไปเอาอย่าง และสนองตอบในทานองเดยี วกัน ข. อานาจในการครองใจคนของท่าน จะเปน็ ประโยชน์อยา่ งใหญ่หลวงในการเสริมสร้าง ความสมั พันธอ์ ันกลมเกลยี วในระหวา่ งผู้นาชนั้ รองในบังคบั บญั ชาของทา่ นไดเ้ ป็นอย่างดี ให้การพิจารณาการ ปฏบิ ัติหนา้ ที่ของแต่ละคน โดยไม่ลาเอยี งใหก้ ับผู้หน่ึงผูใ้ ด 5. การให้คาปรึกษาต่อปัญหาส่วนตวั ก. การใหค้ าปรกึ ษาหารือตอ่ ปัญหาสว่ นตัวของบคุ คลบางคน กค็ อื การให้ความกระจา่ งแจ้งตอ่ ปัญหาหรือชว่ ยเหลือหาทางแกไ้ ขดว้ ยการพดู คุย วิธใี หค้ าปรกึ ษาทีไ่ ด้ผลดที ่ีสดุ ก็คือพยายามสนับสนุนใหเ้ ขา หาวธิ ีแก้ไขไดด้ ว้ ยตนเอง ซึง่ อาจกระทาไดโ้ ดยแสดงความสนใจในตัวปญั หาและสนบั สนนุ ให้เขามีโอกาสพูด อยา่ งเสรี แลว้ จงึ สอดแทรกขอ้ คิดเหน็ หรือข้อเสนอแนะ เพือ่ เปน็ แนวทางให้เขาไดค้ ดิ หาทางแกไ้ ขที่ สมเหตุสมผลต่อปญั หา การใหค้ าปรึกษา จะช่วยเสรมิ สร้างความริเร่มิ ให้เกิดขึน้ ในบคุ คลใดบคุ คลหนึ่งเพื่อเกิด การเอาใจใสต่ นเอง เพ่ือใหย้ ืนหยดั ได้ด้วยสาพังตนเองโดยไมต่ ้องพงึ่ คนอน่ื ข. ปญั หาสว่ นตัวทีเกดิ ขน้ึ ภายในหน่วยใดหนว่ ยหนึง่ มักจะมขี อบเขตทกี่ ว้างขวางและแตกตา่ งกัน ออกไป ปัญหาทตี่ ้องการคาปรกึ ษาไดแ้ ก่ปัญหาข้อข้องใจเกี่ยวกบั การเล่ือนยศ, เลอื่ นขน้ั . การบรรจเุ ข้าทางาน , ความเหลอื่ มลา้ กับผูอ้ ่ืน, ปญั หาทางการเงิน, ความทกุ ข์ยากของครอบครัว, และปัจจยั อนื่ ๆ อีกหลายอยา่ ง รวมทัง้ ความอยดู่ ีกินดีของแตล่ ะคน มีความจาเปน็ อยวู่ ่าเมื่อจะชว่ ยใครในการแกป้ ัญหาส่วนตวั ของเขาจะต้อง ชว่ ยให้จติ ใจของเขาปกติจากความกงั วลและมีสมาธใิ นการปฏบิ ัตงิ านท่ไี ดร้ บั มอบ ค. การทาความเขา้ ใจในพฤตกิ รรมของมนษุ ย์ในทางปฏิบตั แิ ลว้ มกั จะไม่ก่อใหเ้ กดิ ประโยชนใ์ ห้แก่ ท่าน ในการชว่ ยเหลือผูใ้ ต้บังคับบญั ชาแก้ปัญหาของตน พฤติกรรมทง้ั มวลเปน็ สาเหตุเร่มิ ต้น สาเหตุซ่ึงไมม่ ี 41
อาการตอ้ งมีการเยียวยา พยายามทาความเข้าใจว่า ทาไมบุคคลใดบุคคลหนง่ึ จงึ คิดและปฏิบัตติ ามวิธีทีเ่ ขา เคยทากอ่ นได้รับคาแนะนาให้ปฏิบตั ิตามแนวทางที่แนะนาให้ ง. เมื่อเริม่ ใหค้ าปรึกษาหารอื ควรพจิ ารณาเรอ่ื งต่อไปน้ีประกอบด้วย คอื .- (1) ผู้นาทกุ คนภายในหน่วย ควรจะเรยี นรถู้ งึ การปฏิบัติงาน, ความตอ้ งการ, และ ผลประโยชนท์ ่ไี ด้รับจากการให้คาปรกึ ษาหารอื (2) ผู้นาน้ันควรจะปรากฏตวั อยตู่ ลอดเวลาเพ่อื เป็นผใู้ ห้แนวทาง และความ ช่วยเหลอื ต่อผู้ใต้บงั คับบัญชาทกุ โอกาสท่ที าได้ (3) ควรจะสอนให้ทหารร้จู ักร้องเรียนผา่ นผ้นู าหนว่ ยที่ใกลช้ ิดตนท่ีสุดโดยไม่ ข้ามข้นั ตามสายการบังคบั บัญชา เวน้ แตใ่ นกรณเี ร่งด่วน หรอื เรอื่ งทต่ี อ้ งพิจารณาเป็นพเิ ศษ จ. หัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ เปน็ ขอ้ พิจารณาบางประการ ซง่ึ เคยใช้ได้ผลมาแล้วในการให้คาปรกึ ษาหารือ คอื .- (1) รบั ฟงั ปญั หาด้วยความจรงิ ใจ ทาความเข้าใจในปัญหาโดยไม่เอนเอยี งเขา้ กับฝ่ายหนงึ่ ฝา่ ยใด (2) ใชค้ าพูดหรือวลที ่ที าให้เขา้ ใจไดง้ ่ายในการพดู คุย (3) อยา่ พดู ข่มผู้ใต้บังคับบญั ชา (4) ขา่ วสารที่พูดคุยกนั ในระหวา่ งปรกึ ษาหารือควรจะถือเป็นเรอ่ื งปกปดด (5) ขอความชว่ ยเหลือจากฝา่ ยอานวยการ การบริการเกยี่ วกบั สวัสดกิ าร, และหน่วยเหนอื ให้มากท่ีสุด จะต้องรู้สายงานในการตดิ ตามเรือ่ ง ถ้าเปน็ ไปไดค้ วรจะร้จู กั ชื่อของผูท้ ถ่ี กู มาอ้างองิ ดว้ ย เม่ือ บรรจทุ หารใหก้ บั หน่วยงานใดแลว้ จะตอ้ งใหท้ หารมคี วามม่นั ใจในความสามารถของท่านทจี่ ะดแู ลสวสั ดกิ าร ของเขาอยู่ โดยให้ความสนใจอย่างต่อเนื่องตอ่ ปญั หาทเี่ กิดข้นึ กบั ทหารถึงแมจ้ ะมอบตัวให้หน่วยงานอ่ืนไป แลว้ หน่วยงานทว่ี ่านไี้ ดแ้ กอ่ นศุ าสนาจารย,์ หน่วยเสนารกั ษ,์ หน่วยกาชาด, นายทหารพระธรรมนญู , หน่วยงานบรรเทาสาธารณภัยของ ทบ. เจ้าหน้าที่จเร, นายทหารฝ่ายกาลังพล, นายทหารฝา่ ย ประชาสัมพนั ธ์, นายทหารฝ่ายการศกึ ษา และนายทหารฝ่ายการเงิน (6) ควรจะใชค้ วามระมัดระวังเปน็ พิเศษในการใหค้ าปรึกษาแกบ่ ุคคลที่มปี ญั หายุ่งยาก และลกึ ซง้ึ ที่ตอ้ งแกไ้ ข ในกรณพี เิ ศษเช่นน้ี การให้คาปรกึ ษาโดยผนู้ าหนว่ ยซ่ึงไม่มีความเชี่ยวชาญในเร่อื งน้ี โดยเฉพาะ อาจกอ่ ให้เกิดอนั ตรายมากกว่าเกิดผลดี ในทางกลับกันควรจะส่งตัวบุคคลเหล่านี้ไปใหเ้ จ้าหน้าที่ ๆ เกย่ี วข้องกบั สุขภาพจิต เปน็ ผู้ให้คาปรกึ ษาหรอื จติ แพทย์อนื่ ๆ ท่ีมีอยู่ท้ังน้ี เพ่อื สวัสดิภาพของเขาเองและผลดี ของการทหาร (7) อยา่ ใหข้ ้อตกลงใจใด ๆ กบั ตวั ทหาร เพยี งแต่แนะแนวทางจากเร่ืองท่ีได้พดู คยุ กนั ใน ลักษณะทท่ี าให้ผูม้ าขอคาปรกึ ษาเกิดแนวความคิดทีจ่ ะแกป้ ญั หาให้กับตนเอง 7. การต้อนรับเม่อื เขา้ มาอยใู่ นหน่วยเดยี วกนั ก. ผู้ที่เป็นทหารใหม่ มกั จะเกิดความรู้สกึ ว่า ได้แยกตวั เองออกมาจากเพ่ือนฝูงและครอบครวั ทาง บา้ น จึงมคี วามจาเป็นตอ้ งทาให้เขามีความรูส้ กึ วา่ ได้มาเปน็ สมาชิกคนหน่งึ ของหม่คู ณะ ย่งิ ในชีวิตทหารเขา ยิ่งจะพบวา่ มีความเปน็ เอกภาพและมีอิสระในการเลือกดารงชีวิตนอ้ ยกว่าชวี ติ พลเรือน โดยเกิดความรู้สึกวา่ ไม่มคี วามสาคญั และนาไปสู่ความรู้สกึ ท่ีสูญเสยี ความเป็นเจ้าของตนเอง ท่านอาจชว่ ยเขาได้ในการปรบั ตัวใหม้ ี ความลาบากนอ้ ยลงดว้ ยการอธบิ ายใหท้ ราบถงึ เหตุผลท่ีต้องจดั ใหเ้ ขา้ มาอยใู่ นกรมกอง โดยเฉพาะทาในสอง สามวันแรกทเ่ี ริ่มเขา้ ประจาการ อธบิ ายให้ทราบถึงกรรมวิธีในการฝึก ซ่ึงทาให้เขาไม่สามารถมีเวลากลับไปใช้ ชวี ติ และทางานท่ีบ้านได้ ตลอดจนอธบิ ายว่า ทาไมกองทัพบกจึงไม่สามารถจดั ส่งิ อานวยความสะดวกเหมอื น เมื่ออยู่บา้ นหรือชุมนมุ ชนตา่ ง ๆ ได้ ข. อีกประการหน่งึ ทหารทเี่ ขา้ มารบั ราชการใหม่ ๆ อาจจะพบว่า ชีวิตทหารมอี สิ ระสว่ นตวั มากกวา่ ท่ีเขาเคยมใี นชวี ติ พลเรอื น จงึ เห็นวา่ ข้อห้ามต่าง ๆ ซง่ึ บิดามารดา ครูบาอาจารยเ์ คยสงั่ สอนอบรมไว้ อยู่ 42
ห่างไกลเขามาก การถูกปลอ่ ยตัวอยา่ งกะทันหนั อาจทาให้เขาไร้สานึกและเกดิ พฤตกิ รรมทีไ่ มใ่ ชป่ กติวสิ ยั ขึ้น การให้คาปรึกษาหารือเปน็ ส่วนตวั และการกาหนดขอ้ บงั คับที่จาเปน็ จะเปน็ เครื่องช่วยในการควบคมุ ปญั หา เหล่าหน้ไี ด้ ค. ขอ้ สาคัญประการหนง่ึ ก็คอื ท่านควรสละเวลาให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อการปรับตัวเองของ ทหารใหม่เหล่านี้ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในเดอื นแรก ๆ ทเี่ ข้ารบั ราชการ ถ้าต้องการให้ทหารใหม่เป็นทหารท่ีดีมี คุณค่าและสามารถปรับตวั เองได้อยา่ งรวดเรว็ จะตอ้ งมีวิธีการตอ้ นรบั ทหารใหมท่ เ่ี ข้ามาอยู่ในหนว่ ยด้วยวิธที ี่ ถูกตอ้ ง ท้งั น้ี โดยไมค่ านงึ ถงึ พื้นฐานประสบการณ์และธรรมชาตขิ องงานท่เี กยี่ วข้อง ทหารใหม่ยอ่ มต้องการให้ มีการชีแ้ จงทาความเข้าใจขั้นตน้ เพอื่ ใหเ้ กิดความคนุ้ เคยตอ่ หน่วยและทาให้เขาทราบวา่ หนว่ ยประสงคใ์ ห้เขา ทาอะไร ทั้งยงั ตอ้ งการการต้อนรบั อันอบอุน่ และอยา่ งจริงใจ โดยไมต่ อ้ งมีพธิ รี ตี องอะไรมาก เพอ่ื ให้เขาเกดิ ความรู้สึกวา่ เป็นผ้มู ีสงั กัด และสามารถปรบั ตวั เข้ากบั หนว่ ยได้อย่างรวดเรว็ ง. กอ่ นอืน่ จะตอ้ งแยกทหารใหม่เขา้ ประจาการหนว่ ยตา่ ง ๆ ตามทหี่ นว่ ยน้ัน ๆ ตอ้ งการและให้ มั่นใจว่าทหารแต่ละคนไดป้ ฏบิ ัตงิ านตามที่เขาถนัด ปญั หาทางขวญั ซ่ึงมกั จะเกิดข้นึ อย่เู สมอหลังจากทไี่ ด้ พจิ ารณาจัดแบ่งให้หน่วยตามความตอ้ งการแลว้ น่ันคอื ขีดความสามารถของแต่ละบคุ คล และความปรารถนา ของแตล่ ะคน ท่านอาจขจดั ปัญหาเหล่านี้ได้ โดย.- (1) ใชน้ ายทหารชัน้ ประทวนทมี่ ปี ระสบการณ์ และเข้าถึงจติ ใจทหารเหล่านน้ั เป็นผู้ มอบหมายงานในรายละเอียดตา่ ง ๆ ใหท้ หารเป็นผู้ปฏิบตั ิ (2) ย้าใหท้ หารทราบวา่ งานทีแ่ ต่ละคนตอ้ งทาน้ัน มคี วามสาคญั ตอ่ ภารกิจของส่วนรวม อย่างไร และความสาคัญทีต่ อ้ งมอบใหแ้ ต่ละคนทางานตามสดั ส่วน ของผนู้ าท่ีสามารถให้ความดแู ลอยา่ ง ท่ัวถงึ (3) เน้นใหท้ ราบวา่ นับแต่การปฐมนิเทศขัน้ ตน้ ไปจนจบการฝกึ แต่ละคนจะต้องมคี วาม เกยี่ วพนั อยูก่ บั ความสาเร็จของหน่วยเปน็ ส่วนรวม จ. วธิ กี ารตอ้ นรบั ทด่ี ี เป็นแนวความคดิ ที่แสดงออกเกย่ี วกับสวัสดกิ าร และความสะดวกสบายของ ทหาร ซงึ่ ช่วยในการปรับตัวอยา่ งรวดเร็ว และกอ่ ให้เกิดความนิยมชมชอบในตวั ผนู้ าหน่วยและหนว่ ยของตน การท่จี ะทาเชน่ น้ีไดจ้ ะตอ้ ง.- (1) วธิ กี ารต้อนรับต้องกระทาอย่างง่าย ๆ หลกี เลี่ยงรายการท่ยี ดื ยาดโดยไม่จาเป็นและไม่ ตอ้ งเสยี เวลารอคอยนานเกนิ ไป (2) แจง้ เรอื่ งต่าง ๆ ที่ควรปฏบิ ัติให้ทหารทราบ เตรยี มข่าวสารตา่ ง ๆ เก่ียวกบั การบรรจุ เขา้ ประจาตาแหนง่ ไว้ เพอื่ แจ้งให้ทหารได้ทราบและปฏิบตั ทิ ันที (3) ใชเ้ วลาเพียงเล็กน้อยในการจัดปรบั เพ่ือโยกย้ายไปอยหู่ น่วยอน่ื หลงั จากน้ีแลว้ ให้มี การย้ายนอ้ ยที่สดุ (4) จัดทาตารางฝกึ ดดั แปลง สาหรับทหารใหม่เพ่ือใช้ในหว้ งเวลาวา่ งก่อนเริ่มฝกึ ตาม ตารางฝึกปกติ (5) ชว่ ยเหลือให้แต่ละคนไดร้ บั ความพอใจในสงิ่ ที่ตนต้องการ ตอนที่ 3 ข้อพจิ ารณาพเิ ศษ 1. ความสมั พันธ์กบั พลเรือนในถ้องถ่ิน ก. ไม่มีหลักฐานอันใดที่แสดงให้เห็นความต้องการลักษณะผนู้ าทเี่ ป็นแบบอยา่ งและมีไหวพริบดใี น กองทัพบกท่จี ะนามาชใี้ หเ้ หน็ มากไปย่ิงในเร่อื งความสัมพันธร์ ะหว่างทหารกบั พลเรือน ความสาคญั ของ ความสมั พนั ธ์นี้ สามารถอธบิ ายได้อย่างดีทส่ี ุดด้วยการตรวจดูปฏิกิรยิ าของเหตุการณ์ท่เี กิดขนึ้ ทกุ ระดับการ 43
บังคบั บัญชา ซ่ึงเปน็ เครอ่ื งทาความเส่ือมเสียใหก้ ับความสมั พันธ์อันดีท่มี ีต่อกัน ท่าทีท่ปี ระชาชนด้านพลเรอื น มตี ่อกองทพั บก มสี ่วนเก่ียวข้องอย่างสาคัญที่สดุ ต่อการปฏบิ ตั ิทางทหารในพนื้ ท่ีตา่ งแดน ข. เมอ่ื พิจารณาดจู ากประวตั ิศาสตร์ทผี่ ่านมากจะเหน็ วา่ กองทัพบกสหรฐั ไดร้ ับอิทธพิ ลจากพล เรอื น และไม่มคี วามแข็งแกรง่ ไปยิ่งกวา่ กาลังฝา่ ยพลเรือนเลย พฤติกรรมของทหารเปน็ รายบุคคล ในสภาวะ แวดลอ้ มของพลเรอื น เมอ่ื รวมกันเข้ามาก ๆ หากพจิ ารณาในเรอ่ื งระดบั การยอมรับหนว่ ยต่าง ๆ ของทหาร ตลอดจนท่าทีและขอบเขตของการสนบั สนุนจากพลเรอื นแล้วยังอยหู่ ่างไกลมาก กระทบกระเทอื นทผี่ ู้นาทาง ทหารจะได้รับเปน็ ผลโดยตรงมาจากการท่ีเข้าไปมีสว่ นเกยี่ วขอ้ งกับชุมชนของพลเรอื น และเป็นผลทางออ้ ม จากการบังคับบัญชาทหาร ฉะน้ัน ส่ิงแรกท่ีผู้บังคับบัญชาหน่วยทหารจะต้องทา ก็คอื หาวิธีการสร้าง ความสัมพนั ธ์กนั ดขี ึน้ กบั ชมุ ชนท่ีหนว่ ยทหารนั้น ๆ ไปต้ังอยู่ ค. จากหลกั ฐานท่ปี รากฏให้เห็นในระหว่างสงครามโลกครงั้ ที่2 และการปฏิบตั กิ ารทางยทุ ธวธิ ีใน ปจั จุบนั การสนบั สนุนการปฏิบตั งิ านของกองทัพบกจากชาวพืน้ เมอื ง เป็นผลกระทบกระเทอื นโดยตรงต่อ ความสาเรจ็ ต่าง ๆ ความรบั ผดิ ชอบในการให้การสนบั สนนุ ในภาวะแวดล้อมของพลเรือน เปน็ หนา้ ที่ของ ผบู้ งั คับบญั ชาทุกระดับชัน้ ทีจ่ ะใหก้ ารสนบั สนนุ การปฏิบตั ภิ ารกจิ ของกองทัพบก ไมว่ า่ จะมหี รอื ไม่มี นายทหารฝ่ายกจิ การพลเรอื น หรอื ไม่กต็ าม การปฏบิ ตั ิของหนว่ ยหรือบุคคลที่ปราศจากความรบั ผิดชอบจะ กอ่ ให้เกิดความบาดหมางที่เกาะกนิ ใจขนึ้ ในหมปู่ ระชาชนอย่างรวดเรว็ ถา้ มกี ารนาลกั ษณะผ้นู าทางทหารใช้ กับสงครามประเภทนอ้ี ยา่ งถูกวิธี ผู้นาหนว่ ยอาจหาทางบนั่ ทอนประสทิ ธภิ าพของหนว่ ยทีเ่ ปน็ ปฏิปกั ษไ์ ดด้ ้วย การเสริมสรา้ งความร่วมมือระหว่างทหารกับพลเรือน ให้มอี ยู่ตลอดไป ง. จากประวัตศิ าสตรท์ ่ีผ่านมา หน่วยทหารและปฏิบัติการทางทหารเคยมอี ิทธิพลต่อเศรษฐกิจและ สังคมของพืน้ ท่ี ๆ เขา้ ปฏิบตั ิการ ในภาวะของสงครามเยน็ การปฏิบตั ิการชว่ ยเหลือประชาชน กอ่ ใหเ้ กิดพลงั อันใหญ่หลวง ในการรับรขู้ ดี ความสามารถของกองทพั บกทมี่ ผี ลกระทบกระเทอื นตอ่ การปฏบิ ัติเงยี บ บทบาท ของผูน้ าหนว่ ยทหารในฐานะที่เปน็ หัวเรยี่ วหวั แรงในการสร้างชาติ กค็ ือแง่คดิ ในลักษณะผ้นู าซึ่งไมเ่ คย เกย่ี วขอ้ งกับกองทัพมากอ่ น ความเขา้ ใจในคา่ นิยมและสิง่ จูงใจของพลเรือนและตาแหนง่ หน้าทท่ี างทหารซึ่งมี อานาจตอ่ พน้ื ทแ่ี หง่ ใดแหง่ หน่ึงคือ การพิจารณาเก่ียวกับลกั ษณะผู้นาเปน็ หลกั การเปลย่ี นแปลงปัจจัยตา่ ง ๆ ซึ่งกล่าวไว้ในบทท่ี ๓ ผู้นาทางทหารจะต้องดดั แปลงใหเ้ ข้ากบั แนวความคิดทีต่ นเชื่อวา่ ยังแตกต่างกนั อยู่ แนวทางในการสรา้ งชาตยิ ่อมตอ้ งอาศยั การนาเอาหลกั ของการเปน็ ผู้นาไปใช้ทนั ที 2. หน้าท่ีในการให้คาปรึกษา ก. มีตาแหน่งต่าง ๆ หลายตาแหนง่ ในต่างประเทศ ทม่ี ีหนา้ ที่ต้องใหค้ าปรึกษาแกห่ น่วยทหาร ตา่ งชาติ นอกจากปฏบิ ัติในหน่วยทหารอเมริกนั ข้อพจิ ารณาขน้ั ต้น สาหรบั ผู้ที่ได้รับการบรรจใุ นตาแหน่งที่ ปรกึ ษา ก็คอื การให้ คาปรึกษา มีใชก่ ารบังคับบัญชางาน ของทป่ี รึกษา ต้องมีความสัมพนั ธก์ ับผู้ร่วมงาน อย่างดที ่ีสดุ ด้วยบรรยากาศของความเคารพนบั ถือและความเข้าอกเขา้ ใจซ่งึ กนั และกัน ถ้าข้อคดิ เห็นและ คาแนะนาของเขามีผยู้ อมรบั ท่ีปรึกษา ตอ้ งพดู จาหวา่ นลอ้ มให้ผรู้ ว่ มงานเห็นดีเหน็ ชอบกับขอ้ เสนอแนะของ ตน การเสริมสรา้ งความสามารถในการนาข้อคดิ เห็น และคาแนะนาไปใหผ้ ู้อื่น ยอมรับและเหน็ พ้องด้วยอยา่ ง รวดเร็ว จะเป็นการเพ่ิมพูนประสทิ ธิภาพในการปฏบิ ตั ิงานให้กับทีป่ รึกษาผูน้ ้นั เปน็ อย่างมาก ทปี่ รึกษาจะตอ้ ง จาใส่ใจวา่ คาแนะนาของตนอาจจะไม่บงั เกดิ ผล ตามทต่ี นหวังอยา่ งทนั ทีทันใดเสมอไป ถ้าไม่เกิดผลโดยทันที ตามทตี่ นมงุ่ หวงั ปฏิกริ ิยาของทปี่ รึกษา ไมเ่ พียงแตจ่ ะกระทบกระเทอื นตอ่ ความสมั พนั ธ์กับผ้ทู ี่ตนให้ คาปรึกษาเท่านน้ั หากยังเก่ียวพันไปถงึ ที่ปรึกษาอน่ื ๆ ซง่ึ เขาต้องรับผดิ ชอบในขอบเขตของเขาดว้ ยตอ้ งจัดให้ มกี ารตง้ั ข้อสงั เกต และการประมาณค่าบ่อย ๆ เป็นพิเศษท่ปี รึกษาซง่ึ อยู่ประจาหนว่ ยหรือสายงานทเ่ี กย่ี วข้อง 44
กบั การบงั คบั บญั ชา และการนาหนว่ ยภาวะแวดลอ้ มของตาแหน่งท่ีปรกึ ษา ความจาเปน็ ในการใช้หลักและ เทคนิคของการเปน็ ผู้นามีมากกวา่ ตาแหน่งอื่น ๆ การรู้จกั กาลเทศะ การใชว้ จิ ารณญาณ, ความซือ่ สัตย์สุจริต, ความกระตอื รือรน้ , ลกั ษณะทหาร, การแสดงความรอบรู้เก่ียวกบั กิจการทหารเป็นส่ิงจาเปน็ เมื่อต้องทาหนา้ ที่ เปน็ ท่ปี รึกษา ข. ทีป่ รึกษามีความจาเป็นต้องเรยี นรแู้ ละทาความเข้าใจในปัญหาทเี่ กดิ ขึน้ กับผรู้ ่วมงานและหนว่ ย ทหารตา่ งชาติ เขาตอ้ งศึกษาและทาความเขา้ ใจกับศาสนา, ประเพณ,ี วฒั นธรรม, สมาคม, สงั คม, คา่ นิยม, การจดั หน่วย, ยุทธวิธี, การเมือง, สิทธแิ ละความรบั ผิดชอบ ที่ปรึกษาอาจนาหลักของการเป็นผ้นู าไปใชอ้ ยา่ ง มปี ระสทิ ธิภาพ โดยมีความรอบรู้ และเข้าอกเขา้ ใจในความต้องการและเจตนาของผ้รู ว่ มงาน ค. การตดิ ต่อสื่อสารไม่ดี หรือทีต่ ัง้ หนว่ ยอยู่หา่ งไกลอาจลดประสทิ ธิภาพในการกากับดูแลและการ สนบั สนุนหนว่ ย จะทาใหท้ ่ีปรกึ ษามคี วามรูส้ กึ ว่า จะต้องช่วยตัวเองเปน็ อย่างมาก ท่ปี รกึ ษาจะต้องแสดงออก ซึ่งความเชื่อมั่น รกั ษาเกยี รติของการมิใหถ้ ูกตาหนิ, ทาตนเปน็ ตัวอย่างในทางท่ีดี ต่อหนว่ ยทหารทตี่ นไป ประจาอยู่ และตอ่ บุคคลอื่น ในสานักงานทป่ี รกึ ษาของตนเอง .............................................................. บทท่ี 8 ลักษณะผ้นู าในหนว่ ยระดบั กองพันขึ้นไป 1. กล่าวท่วั ไป ผู้บงั คับบญั ชาช้ันสูงเคยประสบปญั หาในการสร้างส่ิงแวดลอ้ ม ให้ผู้นาไปสู่ความสาเร็จในการนาหน่วยมาแลว้ ดว้ ยการหาโอกาสพบปะผู้ใต้บงั คับบัญชา, ด้วยการกาหนดนโยบายขนึ้ แล้วแถลงให้ทราบ, ดว้ ยลักษณะ ทา่ ทางในการปกครองบังคับบัญชา, ดว้ ยความสามารถในการตกลงใจแก้ปญั หา และดว้ ยความสามารถตดิ ต่อ ใหท้ ว่ั ถงึ กนั ได้ภายในหนว่ ยในเวลาอนั รวดเรว็ 2. สภาพแวดล้อมของลกั ษณะผนู้ า ก. เกยี่ วกบั ฝา่ ยอานวยการและผู้ใตบ้ ังคับบัญชา ผบู้ งั คับบญั ชาช้นั สูงมสี ่วนเก่ียวข้องกับฝ่าย อานวยการและผบู้ งั คับหน่วยรองของตน คอื เรอ่ื งการใชค้ ุณลักษณะและหลกั ของการเป็นผู้นา ผ้บู ังคบั บญั ชา ชน้ั สงู สามารถสร้างอิทธพิ ลตอ่ สภาวะแวดล้อมของการนาหน่วยโดยผา่ นทางฝา่ ยอานวยการและ ผู้บงั คบั บัญชาหน่วยรอง ดว้ ยการฟันฝ่าอปุ สรรคตา่ ง ๆ เพอื่ ใหเ้ ปน็ ทีเ่ ชื่อแน่ได้วา่ ฝ่ายอานวยการและผู้บังคับ หนว่ ยรอง ไดช้ ว่ ยเสรมิ สรา้ งและนาคณุ ลักษณะตลอดจนหลกั ของการเป็นผนู้ าในขอบเขตท่ีแต่ละคนมอี านาจ บังคับบญั ชาอยู่ ข. นโยบายของผบู้ งั คับบัญชาชนั้ สงู การให้ความร่วมมอื อย่างมีประสิทธิภาพในหนว่ ยขนาดใหญ่ จะ มีข้นึ ได้ ตอ้ งข้นึ อยกู่ บั นโยบายของผ้บู ังคบั บญั ชาและแนวทางทจ่ี ะนาไปใชป้ ฏิบตั ิเปน็ ส่วนใหญ่ และจาเปน็ อย่เู องทีน่ โยบายนน้ั ๆ จะต้องดาเนินไปตามหลักของการเป็นผนู้ าเพื่อให้สามารถสนบั สนุนการปฏิบตั ิตาม ภารกิจของหน่วยได้ นโยบายของผบู้ ังคับบัญชาจะตอ้ งมเี หตุผล,ทาความเขา้ ใจได้, อธิบายใหฟ้ งั ได,้ ตอ้ ง แจกจ่ายใหท้ ราบอยา่ งทั่วถงึ และผ้ทู ี่ตอ้ งปฏิบัติ ต้องมคี วามเข้าใจโดยแจม่ แจ้ง นโยบายทีก่ าหนดจะตอ้ งมีผู้ ปฏบิ ัตติ าม หรอื ละเวน้ การปฏิบัตใิ นบางกรณีตามวิธีปฏบิ ัตโิ ดยทั่วไป ผู้บังคบั บญั ชา จะอนญุ าตให้ ผ้ใู ตบ้ ังคับบญั ชาดัดแปลงวิธีการและเทคนิคต่าง ๆ เพอ่ื ปฏบิ ตั ใิ หเ้ ปน็ ไปตามนโยบาย ผ้บู งั คบั บญั ชาจะต้อง 45
มน่ั ใจตนเองวา่ นโยบายของตนมีผ้เู ข้าใจและปฏิบัตติ าม จนถงึ หนว่ ยระดับต่าลงไป โดยทราบได้จากการ ตรวจตราเป็นประจา ค. การปฏบิ ัตกิ ารบังคบั บัญชา ตามทไ่ี ดก้ ล่าวมาแลว้ ว่า ผนู้ าอาจเปน็ ท้ังเจ้าหน้าทสี่ ั่งการและผู้ ปฏิบตั ติ าม แลว้ แต่สถานการณ์จะอานวย ความรอบรู้เกีย่ วกับผลอันเกิดขึน้ แก่หนว่ ยในการใช้ลกั ษณะผ้นู า และความสามารถในการแบง่ เบาภาระและกระจายอานาจอยา่ งชาญฉลาดและไดผ้ ล เป็นสง่ิ จาเป็นท่ี ผ้บู งั คับบัญชาชัน้ สูง แบง่ มอบความรบั ผิดชอบและการตกลงใจบางสว่ นแก่หนว่ ยระดบั ต่าสุด ในเมอื่ มีข่าวสาร เกิดข้ึน ทาให้ตอ้ งตัดสินใจและอย่ใู นขดี ความสามารถทหี่ น่วยจะปฏบิ ตั ิได้ แต่ถึงอย่างไร ผูบ้ งั คบั บัญชาชัน้ สูง ยงั คงมคี วามรับผิดชอบในเรือ่ งนัน้ อยดู่ ว้ ย การมอบอานาจท่ไี ด้ผลเปน็ สว่ นสาคญั ทีช่ ่วยในการเสรมิ สรา้ ง ความรูส้ กึ รบั ผิดชอบใหเ้ กิดข้ึนกับผู้ใต้บงั คับบัญชา และเปน็ การใชห้ น่วยให้เหมาะกับขดี ความสามารถที่ กาหนดไว้ 3. การจดั หนว่ ยและการควบคุม ก. กล่าวท่ัวไป การจดั หน่วยมีผลกระทบกระเทอื นตอ่ ผลงานของผนู้ าหน่วย ความสมั พันธซ์ ง่ึ เกิดขน้ึ ระหว่างผนู้ าหน่วยกับผใู้ ต้บงั คับบญั ชา ผู้มีสว่ นเก่ยี วข้องและผู้ใหญ่ ควรกาหนดให้มขี น้ึ เพ่อื เพิม่ พูน ประสิทธิภาพของผนู้ าหน่วย ดว้ ยเหตุผลอันนี้ ผนู้ าจงึ ตอ้ งทาความข้าใจในหลักการจดั หน่วยทถ่ี กู ต้อง ข. หลกั ในการจดั หนว่ ย (1) สาระสาคัญ แต่ละสว่ นที่จัดขึ้นจะต้องมคี วามจาเปน็ เพอื่ ปฏบิ ัติภารกิจของหน่วยให้ สามารถลลุ ่วงไปได้ (2) ดุลยภาพ แต่ละส่วนของหนว่ ยท่จี ดั ขึน้ จะต้องกาหนดใหท้ าหนา้ ท่ีในสว่ นของตนให้ เป็นผลสาเร็จ แตต่ อ้ งไม่ใหซ้ า้ ซ้อนกบั ภารกิจของส่วนอ่นื ๆ ในหนว่ ยเดียวกัน (3) ความร่วมมอื การจดั หน่วยจะตอ้ งมีผูใ้ หค้ วามรว่ มมือในการทางานอยา่ งเต็มเป่ียม เพอื่ ไมไ่ ด้เกดิ ชอ่ งวา่ งหรอื กา้ วกา่ ยหนา้ ทกี่ ัน (4) ความออ่ นตวั การจัดหน่วยจะต้องกาหนดให้ปฏิบัติภารกจิ ได้โดยไม่เกดิ ขอ้ ย่งุ ยาก เม่อื ขอบเขตของงานเปลย่ี นไปหรือสิง่ แวดลอ้ มเปลี่ยนแปลง (5) ประสทิ ธิภาพ การจัดหนว่ ยตอ้ งได้รบั ประโยชนจ์ ากคน, เงนิ , วตั ถุ, และส่ิงอานวย ความสะดวกต่าง ๆ ใหม้ ากที่สุด ค. กรรมวธิ ีในการจัด (1) การจัด เปน็ กรรมวธิ ใี นการพฒั นาและรกั ษาโครงสร้างของหน่วยซงึ่ จะทาให้การ ควบคมุ งา่ ยขึน้ และให้หลกั ประกันได้ ว่าหนว่ ยสามารถปฏิบตั ภิ ารกจิ ใหส้ าเร็จได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ท้งั นี้ ตอ้ งอาศยั ผู้นาเปน็ ผ้พู จิ ารณาว่า จะต้องทาหนา้ ท่ีแตล่ ะอย่างแค่ไหน จงึ จะทาใหภ้ ารกิจทั้งมวลสาเรจ็ ลง แล้ว จงึ จดั หนว่ ยใหม้ วี ิธีการเพียงพอทจี่ ะทาหน้าทแี่ ต่ละหนา้ ท่ี หน่วยท่จี ะทาหน้าท่ีให้เกดิ ผล จะต้องจดั ใหม้ โี ครง ร่างซึง่ แตล่ ะคนสามารถปฏบิ ตั ิงานร่วมกนั ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธภิ าพ เพ่ือให้บรรลุถงึ จดุ มุ่งหมายร่วมกนั นน้ั คอื การปฏิบัติภารกิจของหนว่ ยให้สาเร็จ (2) การจดั หนว่ ยให้ขึน้ สมทบ มีข้อพจิ ารณาทีเ่ กย่ี วขอ้ งอยู่ 3 ประการ คือ.- (ก) ประการแรกพิจารณาเก่ียวกบั งานหนักก่อน คอื พิจารณางานท่จี ะตอ้ งทา ทงั้ หมดว่ามอี ะไรบา้ ง แลว้ จึงแบ่งออกเปน็ สว่ นยอ่ ย ๆ เพอ่ื แบง่ กนั ทาตามหน้าท่เี ม่อื ไดจ้ ดั ทารายการปฏบิ ัติ ขดี ความสามารถของแต่ละสว่ นจะตอ้ งใช้พง่ึ พาอาศัยกนั ได้ เพื่อใหเ้ ป็นทเี่ ชอ่ื แนไ่ ด้วา่ มีการรวมพลงั เป็นกลุม่ กอ้ น เพื่อป้องกันการปฏบิ ัติทซ่ี า้ ซ้อน หรือละเลยไมป่ ฏิบตั ิ และเพ่ือเปน็ การกาหนดความรบั ผิดชอบใหอ้ ยา่ ง 46
ชดั แจง้ ในขัน้ นี้ ผนู้ าที่ดี จะตอ้ งพจิ ารณาถงึ ความสามารถท่ีนา่ เป็นไปไดข้ องกาลังพลและยทุ โธปกรณท์ ีใ่ ช้ใน การปฏบิ ตั ภิ ารกิจและสภาวะตา่ ง ๆ ทเ่ี ขาตอ้ งทางานในประเภทนั้นบ่อย ๆ (ข) ประการตอ่ ไปกค็ อื การจัดทาโครงสรา้ ง โดยจัดทาเป็นผงั การจัดตามท่ี จินตนาการไว้ จากผงั การจดั จะแสดงใหเ้ ห็นว่า แต่ละส่วนของหน่วยงานนัน้ มคี วามเกย่ี วพนั กนั อยา่ งไร และ แสดงใหเ้ ห็นว่าสายงานต่าง ๆ มอี านาจหน้าที่อยา่ งไร ซงึ่ ผู้นาทีด่ ีจะตอ้ งพจิ ารณาถงึ ขีดความสามารถของ บุคคลทีจ่ ะบรรจุลงในตาแหน่งเหลา่ น้นั (ค) ประการสดุ ทา้ ย กค็ ือการแบง่ มอบงาน หนว่ ยทหารโดยทั่วไป จะแบ่งมอบ งาน โดยยดึ ถืออัตราการจดั กาลังพลและยุทโธปกรณ์ (อจย.) เป็นหลกั หรืออัตราเฉพาะกิจ (อฉก.) และอัตรา ส่ิงอปุ กรณ์ (อสอ.) ทเ่ี ก่ยี วข้อง เพือ่ ให้ผูบ้ งั คบั หนว่ ยทราบว่าจะได้รบั กาลังพลยทุ โธปกรณ์ และทรัพยากรอน่ื ๆ ประจาหนว่ ยเท่าใดในหนว่ ยน้ัน (ง) ขอ้ จากดั ในการจดั หนว่ ยของผนู้ า ผนู้ าหน่วยจะต้องจัดหนว่ ยของตนให้ เป็นไปตาม อจย., อสอ., หรอื อฉก. ซึ่งหน่วยเหนอื เป็นผ้กู าหนดให้ การจัดเชน่ นี้ เปน็ การกาจัดอานาจของ ผบู้ ังคับหนว่ ยในการท่จี ะพัฒนา หรอื ดดั แปลงหน่วยให้เปน็ ไปตามแนวความคิดของตน จากขอ้ จากัดดังกล่าว ตามที่ผู้บังคบั ช้นั เหนือกาหนดให้น้ี ผบู้ ังคับหน่วยอาจจัดฝา่ ยอานวยการและส่วนต่าง ๆ ที่อยใู่ ตบ้ งั คับบัญชา ให้อยูใ่ นลักษณะทเ่ี ชอ่ื แนไ่ ดว้ า่ จะปฏบิ ตั ิภารกิจของหนว่ ยไดเ้ ปน็ ผลสาเร็จดีท่สี ดุ การจัดใหมเ่ ช่นน้ี อาจจัดทา ข้นึ เพอื่ เหมาะกับการปฏบิ ัติเฉพาะกิจ เพือ่ ให้ได้รับประโยชนจ์ ากขดี ความสามารถของกาลงั พลและ ยทุ โธปกรณไ์ ด้อยา่ งเต็มที หรือเพื่อขจดั อุปสรรคที่กีดขวางความสาเรจ็ อนั เกิดจากข้อบกพรอ่ งของกาลังพล หรือยุทโธปกรณ์ 4. ช่วงการบงั คบั บญั ชา ก. ช่วงการบังคับบญั ชา คอื จานวนของผใู้ ต้บังคับบญั ชาซึ่งบคุ คลหนงึ่ สามารถทาการควบคมุ , กากับดแู ล หรอื ให้คาแนะนาอย่างได้ผล เป้าหมายของการนาหน่วย คือการใชห้ นว่ ยใหเ้ กดิ ผลดี ฉะนัน้ ผูน้ า หน่วยที่ดีจะต้องมคี วามเขา้ ใจอย่างทว่ั ถงึ ในเร่อื ง ชว่ งของการบงั คบั บัญชาและส่ิงอืน่ ที่มาเกี่ยวขอ้ งอยู่ดว้ ย ข. ปจั จัยประการหนึ่งซงึ่ มผี ลกระทบกระเทือนตอ่ ช่วงการบังคับบัญชา คอื ชว่ งความสนใจ กล่าวคือ เปน็ ความสามารถของแตล่ ะบุคคลทจี่ ะแยกการเอาใจใส่ตอ่ งานต้งั แต่สองอย่างขึน้ ไป คนเราจะมี ขดี จากดั สูงสุดอยขู่ ีดหนง่ึ ซ่ึงไมส่ ามารถใหค้ วามสนใจต่องานเพม่ิ มากข้นึ ได้ ถงึ แมจ้ ะต่ากว่าขดี จากดั ที่วา่ น้ี การมอบงานใหมใ่ หท้ าเพิ่มมกั จะทาให้ละทง้ิ งานที่กาลงั ทาไดผ้ ลอยแู่ ลว้ หันไปเอาใจใสต่ อ่ งานอน่ื ย่ิงกวา่ นั้น ความสามารถทีจ่ ะแบง่ ความสนใจไปใหก้ ับงานจะลดลงเนอ่ื งจากมีความเหนด็ เหนอื่ ยทั้งทางรา่ งกายและจติ ใจ เกดิ ขนึ้ จงึ ทาใหช้ ่วงของการบงั คับบัญชาหมดไป พรอ้ มกบั พลังทางรา่ งกายและจิตในพลอยลดลงด้วย ค. ปัจจัยอนื่ ๆ ทมี่ ีผลกระทบกระเทอื นต่อชว่ งการบังคับบญั ชา มสี าเหตมุ าจากทา่ ทีของแต่ละ บุคคล ถา้ แต่ละคนมีทัศนะทีไ่ ด้พจิ ารณาไว้กอ่ นแล้ว กจ็ ะทาให้ความสามารถในการใคร่ครวญหาเหตุผลต้อง เสื่อมคลายลง อาจทาใหเ้ ขาเข้าใจผดิ หรือแปลเจตนาผิด ๆ เกยี่ วกับส่ิงท่ไี ด้เหน็ ไดย้ นิ มา ในทางกลับกนั จะมี ผลกระทบกระเทือนตอ่ ความสามารถในการควบคุม กากับดแู ลหรือใหค้ าแนะนาแก่ผู้ใต้บังคบั บัญชา อนั จะ ทาให้ช่วงการบงั คับบัญชาเกิดการจางหายไปในท่ีสดุ ง. การปฏบิ ตั ิตอ่ กนั ในเรอ่ื งมนุษยส์ ัมพันธ์ ก็มีผลกระทบกระเทือนต่อช่วงการบงั คับบญั ชาด้วย เชน่ กนั ตวั อยา่ งเช่น ถ้าผู้นาคนหนึ่งมผี ู้บังคับบญั ชาสองคน เขาจะมีมนุษย์สมั พันธต์ อ่ คน ๒ คน ความสัมพันธ์ ท่ีเกดิ ขึ้นกับแต่ละคน จะไดร้ บั ผลกระทบกระเทือนมาจากความสัมพันธอ์ นั ท่ีสามน่ันคอื สิ่งที่เกิดขน้ึ ระหวา่ ง ผใู้ ต้บงั คับบญั ชาทัง้ สองคน ยง่ิ ช่วงการบังคับบญั ชามีมากข้นึ เท่าใด ย่งิ ทาให้เกดิ ความซับซอ้ นในความสัมพนั ธ์ มากข้ึนเท่าน้นั ทง้ั ยังเป็นการยากตอ่ การควบคุมมากขึ้นอกี ดว้ ย 47
จ. ส่วนใหญม่ คี วามเหน็ พอ้ งตอ้ งกนั วา่ ช่วงการบงั คบั บญั ชาควรมอี ย่างตา่ สดุ เพียง 3 คน ส่วนชว่ ง การบังคบั บัญชาสงู สุดยงั มคี วามเหน็ แตกตา่ งกนั อยู่มาก ถ้ามมี ากเกินไปจะเกิดเป็นภาระหนกั ทาให้ยุ่งยากต่อ การนาหน่วยมีปัจจยั บางประการซง่ึ ควรจะนามาพจิ ารณาว่าควรจะมีชว่ งการบังคับบญั ชาในขดี จากัดสูงสดุ เท่าใด คอื .- (1) ประกบการณแ์ ละการฝึกของผูน้ า (2) ประสบการณแ์ ละการฝกึ ของผู้ใตบ้ ังคบั บัญชา (3) การตดิ ตอ่ ระหวา่ งผูน้ ากับผู้ใต้บงั คับบัญชามีความเขา้ ใจมากนอ้ ยเพียงใด (4) งานของผูใ้ ต้บังคับบัญชามรี ะดับเทา่ เทียมกันหรือไม่ (5) ผู้นากบั ผใู้ ต้บงั คบั บัญชา อยู่หา่ งกนั มากน้อยเท่าใด (6) นับแตก่ ารใช้ข้อตกลงใจจนถึงขั้นการปฏบิ ตั ิ หน่วยมีเวลามากน้อยเทา่ ใด (7) บุคลกิ ลักษณะของผูน้ าหน่วย และของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน (8) สภาวะทางร่างกายและจิตใจของผนู้ าหน่วย และของผใู้ ต้บงั คบั บัญชา (9) ความสบั สนวุน่ วายภายในหน่วย 5. สายการบังคับบัญชา ก. สายการบังคับบัญชา คือ ลาดบั ตอ่ เนื่องของผบู้ ังคับบญั ชา ท่ีจะใชอ้ านาจในการปกครอง บงั คบั บญั ชาโดยลดหลน่ั กัน เปน็ สายงานทจี่ ะต้องแจกจา่ ยคาสั่งลงไปตามลาดับ หรือเสนอรายงานขึ้นไป ตามลาดบั เป็นการติดต่อกนั ทัง้ ข้นึ ทั้งล่อง จากสายการบังคับบญั ชานจี้ ะเปน็ กาหนดขอบเขตความรับผิดชอบ อานาจหน้าทแี่ ละการกากบั ดแู ลให้มขี ้ึน เปน็ การหลีกเลยี่ งมใิ ห้เกิดช่องวา่ งและการกา้ วกา่ ยหนา้ ท่ี, ความ รบั ผดิ ชอบและงา่ ยต่อการควบคุม ดงั นั้น ผู้นาจึงจาเป็นต้องมคี วามเข้าใจและใช้สายการบังคับบญั ชาให้ ถูกตอ้ ง เพ่ือใหห้ นว่ ยสามารถปฏิบัตงิ านได้อย่างสมั ฤทธิผ์ ล ข. การปฏบิ ตั ิตามสายงานให้บังเกดิ ผล จะต้อง.- (1) มอบอานาจหนา้ ทใ่ี ห้แกผ่ ใู้ ตบ้ งั คบั บัญชาอย่างเพียงพอ เพอ่ื ให้การปฏบิ ตั งิ านทตี่ อ้ ง รบั ผิดชอบได้เปน็ ผลสาเร็จ (2) มอบความรับผิดชอบโดยเฉพาะให้แก่ผู้ใตบ้ ังคบั บญั ชาในแตล่ ะงานที่เขาต้องปฏิบัติ (3) ให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบว่า เขากาลังทางานเพ่ือใครและมคี วามรับผิดชอบตอ่ ผใู้ ด (4) ให้ผู้ใต้บงั คับบญั ชารู้จักวธิ รี อ้ งเรยี นโดยผา่ นไปยังผู้บังคับบญั ชาโดยตรงของตน หรือฝ่ายอานวยการทีเ่ กย่ี วขอ้ ง (5) ทุกคนตอ้ งคานึงถึงตาแหนง่ ของตนในสายการบงั คับบญั ชานั้น (6) ผู้ใต้บังคบั บัญชาแต่ละคนจะต้องมผี บู้ ังคับบัญชาไม่เกินหน่ึงคนในการส่งั งานใหท้ า ในเร่อื งทตี่ อ้ งรบั ผดิ ชอบอยา่ งเดียวกัน 6. ความสมั พันธร์ ะหว่างผบู้ ังคับบัญชากบั ฝ่ายอานวยการ ก. หน้าทป่ี ระการแรกของนายทหารฝา่ ยอานวยการกค็ ือ ชว่ ยเหลอื ผู้บงั คบั บัญชาในการปฏิบตั ิ หน้าทคี่ วามรับผิดชอบในการบังคบั บญั ชายังคงอยู่กบั ตัวผูบ้ ังคบั บัญชา ไม่อาจมอบหมายให้ฝา่ ยอานวยการ คนใดคนหน่งึ รบั ผดิ ชอบแทนได้ เพราะไมไ่ ด้อยู่ในสายการบงั คับบญั ชา ฉะนั้นนายทหารฝ่ายอานวยการจงึ ทา ไดแ้ ตเ่ พยี งออกกคาสง่ั ให้ผู้บังคับบญั ชาหรอื ในนามผ้บู ังคบั บัญชา ข. ของนายทหารฝ่ายอานวยการท่มี ปี ระสิทธภิ าพต้องทราบขา่ วสารอยู่ตลอดเวลา ด้วยการหม่นั ไป เยย่ี มผู้บงั คบั หน่วยรอง และนานโยบาย, คาสัง่ และคาชี้แจง้ ของผบู้ ังคับบญั ชาไปอธิบายให้หนว่ ยรองทราบ และปฏบิ ัตติ ามความจาเปน็ ตลอดจนสงั เกตการณ์ปฏิบัติงานตามความมุ่งหมายของผบู้ ังคับบัญชา ว่า 48
ดาเนนิ การไปแคไ่ หนเพยี งใด โดยเสนอขอ้ คิดเหน็ ส่วนตัวร่วมไปดว้ ยเพ่อื ให้บรรลุความประสงคข์ อง ผ้บู งั คบั บัญชา ค. นายทหารฝา่ ยอานวยการที่ดีต้องรจู้ ักกาลเทศะ ถ้าไมร่ ู้จกั กาลเทศะแล้วความสมั พนั ธ์ ของฝ่ายอานวยการทมี่ ตี ่อผู้บังคับบัญชาและฝา่ ยอานวยการของหน่วยเหนือ, หนว่ ยรอง, หน่วยขา้ งเคยี ง หน่วยทหาร ตลอดจนผู้ใต้บงั คับบญั ชาในหน่วยของตนอาจเกดิ อุปสรรคขึ้นได้ ความสาเร็จตา่ ง ๆ ขนึ้ อยู่กบั ความสามารถในการให้ความร่วมมือการประสานงานอย่างแทจ้ รงิ เทา่ ๆ กับการใช้ความรคู้ วามสามารถตาม ตาแหนง่ หน้าทีใ่ ห้เกดิ ประโยชน์ ง. ผ้บู ังคบั บญั ชา จัดให้มนี ายทหารฝา่ ยอานวยการไวเ้ พอ่ื .- (1) ทางานอยา่ งใกล้ชิด และเปน็ อนั หน่งึ อันเดยี วกับฝ่ายอานวยการคนอน่ื ๆ ,กบั หน่วย เหนอื , หน่วยรองและหน่วยขา้ งเคียง (2) วเิ คราะหอ์ ย่างถูกต้อง, ประเมินค่าอยา่ งเหมาะสมและให้ข้อเสนอแนะแนวหนทาง ปฏิบัติทดี่ ีท่ีสุดตอ่ ปัญหาต่าง ๆ ทีเ่ กิดข้ึนในหน่วย (3) เตรียมคาชี้แจง้ ทส่ี อดคลอ้ งกบั นโยบายของผู้บงั คับบญั ชา เพอ่ื สง่ ใหก้ ับหน่วยรองรบั ไป ปฏิบัติ (4) รายงานสถานภาพของหน่วยรองใหผ้ ู้บงั คบั บัญชาทราบอย่างละเอยี ด โดยไม่ก่อให้เกดิ ข้อข่นุ เคืองใจขนึ้ กบั หน่วยรอง (5) เสริมสรา้ งให้หน่วยรองเกดิ ความรู้สึกเชอ่ื ถือ ในการปฏบิ ัตขิ องฝ่ายอานวยการ เพอื่ ให้ การไปตรวจเย่ยี มของฝา่ ยอานวยการไดร้ บั การต้อนรบั ด้วยดี (6) ให้แน่ใจวา่ ไดม้ ีการประสานงานกนั อย่างเรียบร้อย กอ่ นทจี่ ะลงมือปฏิบตั ิหรอื ให้ ขอ้ เสนอแนะในการปฏบิ ตั ิ จ. ฝ่ายอานวยการจะตอ้ งพยายามหลีกเลือ่ งส่งิ โน้มน้าวต่าง ๆ ทีจ่ ะรายงานใหผ้ ้บู งั คับบญั ชาทราบ เฉพาะเรื่องทีต่ นคดิ วา่ ผู้บงั คบั บญั ชาต้องการจะได้ยนิ ไดฟ้ งั เท่าน้ัน แตต่ อ้ งแจง้ ข่าวสารปัจจัยท่ีมีความสาคัญ ให้ผูบ้ ังคบั บญั ชาทราบอย่างเสมอต้นเสมอปลาย โดยไม่มีอุปาทานและในลักษณะท่ีตรงต่อเปา้ หมาย เมอ่ื ผบู้ ังคบั บัญชาประกาศขอ้ ตกลงใจ หรือกาหนดนโยบายออกมาครง้ั ใด นายทหารฝา่ ยอานวยการจะต้อง สนับสนนุ ข้อตกลงใจอนั นัน้ ดว้ ยความกระตือรอื รน้ ดว้ ยความเตม็ อกเตม็ ใจ โดยไม่นาความรู้สึกส่วนตัวเขา้ มา พัวพนั การทางานนน้ั และต้องกระทาให้สาเร็จ ฉ. ความสัมพันธ์ ระหวา่ งผู้บังคบั บญั ชาและฝ่ายอานวยการเมอ่ื มองอีกดา้ นหนง่ึ คือฝ่าย อานวยการตอ้ งการให้ผ้บู งั คบั บัญชา (1) คารงและรักษาไวซ้ ึ่งสัมพนั ธภาพอนั ใกลช้ ิดกบั ตน (2) สร้างบรรยากาศซ่งึ นาไปสูค่ วามเชือ่ มั่นและความเคารพนบั ถอื ซ่งึ กันและกนั (3) ออกคาสง่ั อยา่ งแจ่มแจ้ง, ตรงไปตรงมาและมีเวลาพอ เพื่อให้ผ่ายอานวยการเตรยี มการ ปฏิบตั ไิ ดท้ ันเวลา (4) พจิ ารณาข้อเสนอแนะของฝ่ายอานวยการโดยละเอียดและตรงเป้าหมายกอ่ นท่ีจะให้ ขอ้ ตกลงข้ันสุดท้าย (5) ให้ความอนเุ คราะห์ตอ่ การแสดงความคิดเห็นแปลก ๆ ใหม,่ ประเมินอย่างเปดดอก, และ ลงโทษอย่างเทีย่ งธรรม เพอ่ื ไม่ให้เสียกาลังใจ (6) รบั รู้ในผลงาน และปนู บาเหนจ็ อยา่ งยตุ ธิ รรม เพือ่ เปน็ กาลังใจ (7) สนับสนุนการปฏิบัตโิ ดยดาเนนิ การตามนโยบายของผบู้ งั คบั บญั ชา 49
Search