๑๕๒ รายการตรวจสอบความชานาญทางยุทธวธิ ี ตารางท่ี ๑๑ และ ๑๒ การรบด้วยวธิ รี ุก ตาราง……………………………………………………….คะแนนรวม…………………………………. หนว่ ย……………..มว………………ผบ.มว.………………………..รอง ผบ.มว….…………………... กิจเฉพาะที่ ๑ (การรุก) : การเคลือ่ นทีเ่ ข้าปะทะ เงอ่ื นไข : มว.ถ. กาลงั เคล่ือนที่ การปะทะคาดวา่ จะเป็นไปได้และได้รับการเฝ้าตรวจเพื่อให้การระวังป้องกัน จาก มว.ข้างเคียง (สมมุติ) มว.ถ.ได้ถูกทาการยิงจาก ๑ มว.(+) ฝ่ายคุกคาม( ถ. ๔ คันอยู่กับที่ระยะ ๑,๕๐๐- ๑,๘๐๐ ม.หรือ BMP ๔ คันอยู่กับท่ีระยะ ๑,๓๐๐-๑,๖๐๐ ม.และ ๑ชุดยิง ตถ.ระยะ ๖๐๐-๘๐๐ม. เวลาใน การยิง ๓๐ วินาที มาตรฐาน : กอ่ นการปะทะ : ๑. ผบ.มว. เลอื กใช้เทคนิคการเคล่ือนทแี่ ละรปู ขบวนท่เี หมาะสมหรือไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๒. มว.ถ. ทาการเคลือ่ นท่ถี ูกต้องตามคาสงั่ ของ ผบ.มว.หรือไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๓. ผบ.มว. ไดก้ าหนดเขตรบั ผิดชอบให้ ถ.แต่ละคันในตอน หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๔. ถ.แตล่ ะคันใน มว. ตรวจการณเ์ ขตรบั ผิดชอบทีไ่ ดร้ บั มอบ หรอื ไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ เมอ่ื ปะทะ : ๑. เมอ่ื รถถังคนั แรกคน้ พบเป้าหมาย ก. ยิงโตต้ อบทันท่ี หรอื ไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ข. แจ้งเตอื น มว.ของตนด้วยรายงานการปะทะ หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๒. เมื่อ ถ.แตล่ ะคันภายใน มว.ได้ยินรายงานการปะทะ หรอื เหน็ ถ.คนั อ่ืนทาการยิงได้มีการปฏิบัติ ก. หมุนปนื ไปยังทิศทางของข้าศกึ หรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ข. ตรวจการณ์ค้นหาเป้าหมายในเขตรบั ผดิ ชอบ หรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ค. ยงิ โต้ตอบทันทท่ี ่ีคน้ พบเป้าหมาย หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๓. มว. ไดม้ ีการทาฉากควัน และนาผบู้ าดเจ็บออกจากการปฏบิ ตั ิการอย่างถกู ต้อง หรือไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๔. ผบ.มว. ไดอ้ อกคาส่ังทาการโต้ตอบด้วยการยงิ และปรบั รปู ขบวนในการปะทะ หรือไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๕. มว. ปฏบิ ัตติ ามคาสัง่ ของ ผบ.มว. หรือไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๖. ผบ.มว.หรอื รอง ผบ.มว. สง่ รายงานการปะทะให้ ผบ.รอ้ ยทราบ หรือไม่ ? ๒ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๗. ผบ.มว. ใชอ้ าวธุ ยงิ เลง็ จาลองทาการยงิ ขม่ และทาลายขา้ ศกึ หรือไม่ ? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๘. มว.ทาการเคลอ่ื นท่ี อยา่ งตอ่ เนอื่ งเพ่อื คน้ หา ขอ้ ได้เปรยี บเหนอื ข้าศึก หรือไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๙. ถ.แตล่ ะคัน ทาการตรวจการณค์ ้นหาเป้าหมายและทาการยิงหรือตรวจการณใ์ หก้ บั ถ. คนั อืน่ ทีร่ ้องขอ หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๑๐. วนิ ัยการยิงที่ทาการฝกึ มาทาใหต้ าบลกระสุนตกของปืนกล แต่ละชุดท่ที าการยิงตกใน จดุ ทท่ี าการเลง็ และได้ระยะ หรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๑๑. ถ.ภายใน มว.ไดท้ าการรวบรวมจานวนและชนดิ ของเปา้ หมาย และผลของการยงิ ตอ่ เปา้ หมายสง่ ให้ ผบ.มว.ทราบ หรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๑๒. รายงานสถานการณท์ ่ีสมบรู ณไ์ ดถ้ กู ส่งใหก้ ับ ผบ.ร้อยทราบ หรอื ไม่ ? ๒ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๑๓. ผบ.มว. ไดอ้ อกคาสัง่ แนะนาในการปฏิบตั ิภารกจิ ตอ่ ไป หรือไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่
๑๕๓ ๑๔. คาแนะนาในการปฏบิ ตั ิของ ผบ.มว.ท่อี อกไป สนั้ ,ชัดเจน และสมบรู ณห์ รอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๑๕. การติดต่อสอื่ สารภายใน มว. ส้ัน และปลอดภยั เทา่ ทเี่ ปน็ ไปไดห้ รอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๑๖. ผบ.มว. ได้มกี ารแสดงออกซึ่ง จติ สานึกของการระวังปอ้ งกนั ,ปฏิกิริยาในการโตต้ อบอยา่ ง รวดเรว็ ,ความรเิ รม่ิ .ความง่าย และความรุกรบ หรอื ไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๑๗. มว.ไดม้ ีการหลกี เล่ียงการใชเ้ ส้นทางทีต่ ดั กับขอบฟ้า เช่นแนวสันเขา,เคร่ืองกีดขวาง และภมู ิประเทศท่ีจากัดการเคลอื่ นท่ี หรอื ไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ กจิ เฉพาะที่ ๒ (การรกุ ) : การเคลอ่ื นทเ่ี ข้าปะทะ เง่ือนไข : มว. ถ.กาลังเคลือ่ นท่ี การปะทะคาดว่าจะเป็นไปได้และได้รับการเฝ้าตรวจเพ่ือให้การระวังป้องกัน จาก มว.ขา้ งเคยี ง มว.ไดเ้ ขา้ ไปอยู่ในพ้นื ทท่ี มี่ ีสารเคมแี ละอย่ใู นระดบั ลปภบ´๓ อย่างน้อย เม่ือ มว.ถูกยงิ จาก ๑ มว.(+) ฝา่ ยคุกคาม(ถ.๔ คนั อย่กู ับทร่ี ะยะ ๑,๒๐๐-๑,๔๐๐ ม.หรือ BMP ๔ คันอยู่กับท่ีระยะ ๑,๐๐๐-๑,๒๐๐ ม.)และ ๑ มว. ตถ.(๓ ชุดยิง)ระยะ ๘๐๐-๙๐๐ม. เวลาในการยงิ ๓๐ วนิ าที มาตรฐาน : กอ่ นการปะทะ : ๑. ผบ.มว. เลือกใช้เทคนิคการเคลอ่ื นทแี่ ละรปู ขบวนที่เหมาะสมหรือไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๒. มว.ถ. ทาการเคลอื่ นทีถ่ ูกต้องตามคาสงั่ ของ ผบ.มว.หรือไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๓. ผบ.มว. ไดก้ าหนดเขตรบั ผิดชอบให้ ถ.แตล่ ะคันในตอน หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๔. ถ.แตล่ ะคันใน มว. ตรวจการณเ์ ขตรบั ผดิ ชอบที่ไดร้ บั มอบ หรือไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ เมอ่ื ปะทะ : ๑. เมือ่ รถถงั คนั แรกคน้ พบเปา้ หมาย ก. ยิงโต้ตอบทันท่ี หรือไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ข. แจง้ เตอื น มว.ของตนดว้ ยรายงานการปะทะ หรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๒. เมื่อ ถ.แต่ละคนั ภายใน มว.ไดย้ นิ รายงานการปะทะ หรอื เหน็ ถ.คนั อ่ืนทาการยงิ ไดม้ ีการปฏิบัติ ก. หมุนปืนไปยงั ทิศทางของขา้ ศกึ หรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ข. ตรวจการณค์ ้นหาเปา้ หมายในเขตรบั ผิดชอบ หรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ค. ยงิ โตต้ อบทนั ทท่ี ่ีคน้ พบเปา้ หมาย หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๓. มว. ไดม้ ีการทาฉากควัน และนาผบู้ าดเจบ็ ออกจากการปฏิบตั กิ ารอย่างถูกตอ้ งหรือไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๔. ผบ.มว. ไดอ้ อกคาสัง่ ทาการโต้ตอบด้วยการยงิ และปรบั รปู ขบวนในการปะทะ หรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๕. มว. ปฏิบัตติ ามคาสั่งของ ผบ.มว. หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๖. ผบ.มว.หรอื รอง ผบ.มว. สง่ รายงานการปะทะให้ ผบ.รอ้ ยทราบ หรือไม่ ? ๒ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๗. ผบ.มว. ใชอ้ าวธุ ยิงเล็งจาลองทาการยงิ ขม่ และทาลายข้าศึก หรอื ไม่ ? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๘. มว.ทาการเคลื่อนท่ี อยา่ งต่อเนอื่ งเพือ่ คน้ หา ข้อไดเ้ ปรียบเหนอื ข้าศึก หรือไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๙. ถ.แตล่ ะคัน ทาการตรวจการณค์ ้นหาเปา้ หมายและทาการยงิ หรอื ตรวจการณ์ให้กบั ถ.คนั อ่ืน ที่ร้องขอ หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๑๐. วนิ ัยการยงิ ทที่ าการฝกึ มาทาให้ตาบลกระสุนตกของปืนกล แตล่ ะชุดท่ีทาการยงิ ตกในจุดท่ี ทาการเลง็ และไดร้ ะยะ หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่
๑๕๔ ๑๑. ถ.ภายใน มว.ได้ทาการรวบรวมจานวนและชนิดของเปา้ หมาย และผลของการยงิ ต่อเปา้ หมาย สง่ ให้ ผบ.มว.ทราบ หรอื ไม่ ? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๑๒. รายงานสถานการณท์ สี่ มบรู ณไ์ ดถ้ ูกสง่ ให้กบั ผบ.รอ้ ยทราบ หรอื ไม่ ? ๒ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๑๓. ผบ.มว. ได้ออกคาสัง่ แนะนาในการปฏิบัติภารกจิ ตอ่ ไป หรอื ไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๑๔. คาแนะนาในการปฏิบตั ิของ ผบ.มว.ทอ่ี อกไป สั้น,ชัดเจน และสมบรู ณห์ รือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๑๕. การติดตอ่ ส่ือสารภายใน มว. สน้ั และปลอดภัยเท่าท่เี ปน็ ไปได้หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๑๖. ผบ.มว. ไดม้ ีการแสดงออกซ่ึง ไหวพรบิ การระวังป้องกนั ,ปฏกิ ิริยาในการโตต้ อบอย่าง รวดเร็ว, ความรเิ ริม่ , ความง่าย และความรุกรบ หรอื ไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๑๗. มว.ไดม้ ีการหลีกเล่ยี งการใช้เส้นทางท่ตี ดั กับขอบฟ้า เช่นแนวสันเขา,เครอื่ งกดี ขวาง และภมู ปิ ระเทศที่ จากดั การเคลอ่ื นท่ี หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ กจิ เฉพาะที่ ๓ (การรกุ ) : การเฝา้ ตรวจภายใต้การกาบังการตรวจการณจ์ ากฉากควนั เงอ่ื นไข : มว.ถ.ทาการยึดครองที่ม่ันเพื่อทาการระวังป้องกันและได้รับคาสั่งให้เฝ้าตรวจให้กับ มว.อ่ืนท่ีกาลัง เคลื่อนที่ ฉากควันได้ถูกทาการยงิ เพื่อกาบังการตรวจการณ์ที่มน่ั ระวงั ปอ้ งกนั ฝ่ายคุกคาม ๒ มว. ( ถ. ๔ คันอยู่ กับที่และ ๒ คันกาลังเคลื่อนท่ีระยะ ๑,๐๐๐-๑,๖๐๐ ม.หรือ BMP ๔ คันอยู่กับท่ีและ BMP ๒ คันกาลัง เคลือ่ นทรี่ ะยะ ๙๐๐-๑,๓๐๐ ม.)และ ๒ ชุดยงิ ตถ.(BRDM ๒) ระยะ ๑๔๐๐-๑๖๐๐ม.ได้เคล่ือนที่เข้ามาอยู่ใน ย่านการเห็นและทาการยงิ มว.ทก่ี าลงั เคลอื่ นที่ เวลาในการยงิ ๓๐ วนิ าที มาตรฐาน : กอ่ นการปะทะ : ๑. มว.ไดย้ ดึ ครองทมี่ นั่ ในตาแหนง่ กาบงั ตวั รถ หรือไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๒. ผบ.มว. ได้แบง่ มอบเขตรบั ผดิ ชอบในการตรวจการณ์ให้ มว. หรอื ไม่ ? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๓. ถ.แตล่ ะคันใน มว.ตรวจการณเ์ ขตรบั ผดิ ชอบของตน หรอื ไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๔. ผบ.มว. รายงานว่า “พรอ้ ม” เมื่อยดึ ครองท่มี ่ันได้ให้ ผบ.ร้อยทราบ หรอื ไม?่ ๒ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ เมื่อปะทะ : ๑. เม่ือรถถังคนั แรกคน้ พบเปา้ หมาย ก. ยิงโตต้ อบทนั ที่ หรือไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ข. ถ.แตล่ ะคันทาการตรวจการณใ์ นเขตรับผิดชอบของตน หรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๒. เมือ่ ถ.แตล่ ะคนั ภายใน มว.ได้ยินรายงานการปะทะ หรอื เหน็ ถ.คันอ่ืนทาการยงิ ได้มีการปฏิบัติ ก. หมนุ ปนื ไปยังทศิ ทางของข้าศกึ หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ข. ตรวจการณ์คน้ หาเปา้ หมายอน่ื เพม่ิ เตมิ หรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ค. ยงิ โต้ตอบทันทท่ี ี่ค้นพบเป้าหมาย หรือไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๓. ผบ.มว.หรอื รอง ผบ.มว. ได้สง่ รายงานการปะทะให้ ผบ.รอ้ ยทราบ หรอื ไม?่ ๒ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๔. ผบ.มว. ใช้อาวุธยิงเล็งจาลองทาการยงิ ขม่ หรอื ทาลายข้าศึกหรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๕. ผบ.มว.ควบคุมการยงิ ของ มว.โดยออกคาส่งั ยงิ ข้ันตอ่ มา (เร่มิ แรก) หรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๖. วินัยการยงิ ทไ่ี ด้รับการฝึกมาทาให้ตาบลกระสุนตกและระยะทีท่ าการยิงปืนกลถูกต้องหรือไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๗. จานวนและชนดิ ของเปา้ หมาย และผลของการยงิ ตอ่ เปา้ หมาย ไดม้ ีการรวบรวมและสง่ ให้ กบั ผบ.มว. หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๘. ผบ.มว. ได้ส่งรายงานสถานการณท์ ส่ี มบรู ณ์ให้ ผบ.รอ้ ยทราบ หรอื ไม่ ? ๒ คะแนน ใช่ ไม่ใช่
๑๕๕ ๙. ผบ.มว. ไดอ้ อกคาส่ังแนะนาในการปฏบิ ตั ิภารกิจตอ่ ไปทีถ่ ูกตอ้ ง หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๑๐. คาแนะนาในการปฏบิ ัติของ ผบ.มว.ที่ออกไป ส้ัน,ชัดเจน และสมบรู ณห์ รือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๑๑ การตดิ ต่อสอื่ สารภายใน มว. ส้นั และปลอดภยั เทา่ ทเี่ ปน็ ไปได้หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๑๒. ผบ.มว. ได้มีการแสดงออกซงึ่ ไหวพรบิ ในการระวังปอ้ งกนั ,ปฏิกิรยิ าในการโต้ตอบอย่าง รวดเร็ว, ความรเิ รมิ่ , ความงา่ ย และความรุกรบ หรือไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ กิจเฉพาะที่ ๔ (การรุก) : การเคลอื่ นทีเ่ ขา้ ปะทะ – การเคลอ่ื นทท่ี ีมกี ารเฝ้าตรวจข้ันท่ี ๑ เงือ่ นไข : มว.ถ.กาลงั ปะทะ และไม่ไดร้ บั การเฝา้ ตรวจให้ มว.ได้รบั คาสงั่ ให้เขา้ ตตี ่อไป เมื่อตอน ถ.เร่ิมเคล่ือนที่ มว.ได้ถูกยิงจาก ๑ มว. ฝ่ายคุกคาม (ถ. ๓ คันท่ีระยะ ๑,๐๐๐-๑,๔๐๐ ม.หรือ BMP ๓ คันท่ีระยะ ๑,๐๐๐- ๑,๒๐๐ ม.) และ ๑ ตอน ตถ. (BRDM ๒ ๒ คัน ระยะ ๑๔๐๐-๑๖๐๐ ม.) เวลาในการยงิ ๓๐ วินาที มาตรฐาน : ตอน ถ.ที่ทาการเฝา้ ตรวจ: ๑. ตอน ถ.อย่ใู นท่ีมน่ั กาบงั ตวั รถหรือไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๒. ผบ.ตอนมอบเขตรบั ผดิ ชอบให้ ถ.แต่ละคนั ภายในตอนหรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๓. ถ.แต่ละคันในตอน ทาการตรวจการณ์คน้ หาเปา้ หมายในเขตรบั ผดิ ชอบของตนหรอื ไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๔. ผบ.ตอนแจง้ ใหก้ บั ตอน ถ.ท่จี ะเคล่อื นที่ทราบวา่ “พร้อม” ท่จี ะใหก้ ารระวังปอ้ งกันหรอื ไม?่ ๒ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๕. ตอน ถ.ได้คอยจนกระทงั่ ตอน ถ.ที่กาลงั เคลอ่ื นทเี่ ข้าทีก่ าบงั ก่อนทจ่ี ะทาการเคล่อื นท่ีหรอื ไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ตอน ถ.ทีก่ าลังเคลือ่ นที่ : ๑. ตอนทาการเคล่อื นทีอ่ ยา่ งรุกรบ โดยใช้ภูมิประเทศทม่ี อี ยใู่ นการกาบงั และซ่อนพราง หรอื ไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๒. ปีกของตอนรกั ษาตาแหนง่ ระหว่างตนเองและรถของผบ.ตอน ตามรปจ.ในขณะเคล่ือนที่ หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๓. ถ.แต่ละคันภายในตอนเมอ่ื เคลอ่ื นทไี่ ด้ทาการตรวจการณใ์ นเขตท่ไี ดร้ บั มอบ และรักษา ทิศทางปืนใหญไ่ วใ้ นตาแหนง่ สดุ ท้ายทพ่ี บขา้ ศกึ หรอื ไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๔. เมอ่ื การเคลอื่ นท่ไี ปยงั ท่มี ั่นขน้ั ตอ่ ไปส้ินสุดลง ตอนได้ทาการยดึ ครองทีม่ ่ันในตาแหนง่ ทม่ี ่ัน กาบังตังรถ และเตรียมการทจี่ าเป็นเพ่อื ทาการคุ้มครองใหก้ บั ตอนอื่น หรือไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๕. ผบ.ตอน ได้แจง้ ให้ตอนทท่ี าการเฝา้ ตรวจ ให้ทาการคมุ้ ครองเมอื่ ตนเองเรมิ่ เคลอ่ื นที่ หรือไม?่ ๒ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ เมอ่ื ปะทะ : ๑. เมอ่ื รถถังคันแรกค้นพบเป้าหมาย ก. ยิงโต้ตอบทนั ที่ หรอื ไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ข. เตอื นใหต้ อนของตนทราบด้วยรายงานการปะทะ หรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๒. เม่อื ถ.แตล่ ะคันภายในมว.ไดย้ ินรายงานการปะทะ หรอื เห็น ถ.คนั อืน่ ทาการยิง ไดม้ กี ารปฏบิ ัติ ก. หมนุ ปืนไปยงั ทศิ ทางของข้าศกึ หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ข. ตรวจการณ์คน้ หาเป้าหมายอ่นื เพิม่ เตมิ หรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ค. ยงิ โต้ตอบทนั ทที่ คี่ ้นพบเปา้ หมาย หรือไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๓. ผบ.มว. ควบคุมการยิงโดยออกคาสง่ั ยงิ ข้นั ต่อมา(เรม่ิ แรก) หรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่
๑๕๖ ๔. วนิ ยั การยิงท่ีได้รบั การฝกึ มาทาใหต้ าบลกระสนุ ตกและระยะท่ีทาการยิงปืนกลถูกตอ้ งหรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๕. ผบ.ตอน ท่ที าการเฝา้ ตรวจได้ทาการรวบรวมจานวนและชนดิ ของเปา้ หมาย และผลของ การยงิ ตอ่ เป้าหมาย สง่ ให้ ผบ.มว.ทราบหรอื ไม่ ? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๖. ผบ.มว.ไดส้ ง่ รายงานสถานการณ์อย่างสมบรู ณ์ ให้กับ ผบ.รอ้ ยทราบ หรอื ไม่ ? ๒ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๗. คาแนะนาในการปฏบิ ตั ขิ อง ผบ.มว.ทอ่ี อกไป สั้น,ชัดเจน และสมบรู ณห์ รือไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๘. การติดต่อส่ือสารภายใน มว. สัน้ และปลอดภยั เท่าทีเ่ ปน็ ไปได้หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๙. ผบ.มว. ได้มีการแสดงออกซึ่ง ไหวพรบิ ในการระวงั ป้องกนั ,ปฏกิ ิริยาในการโต้ตอบอยา่ ง รวดเร็ว,ความริเรมิ่ .ความง่าย และความรุกรบ หรอื ไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ กจิ เฉพาะท่ี ๕ : การเคลอ่ื นที่เข้าปะทะ - การเคลอื่ นที่ท่มี ีการเฝ้าตรวจขัน้ ท่ี ๒ เงอ่ื นไข : มว.ถ.ได้ส่งั ให้ ๑ ตอน ถ.เคลื่อนท่ีไปขา้ งหน้าเพื่อยดึ ครองที่ม่ันตั้งรับ เม่ือตอนท่ีเคล่ือนท่ีไปข้างหน้า เขา้ ทม่ี น่ั ตั้งรบั แล้ว และทาหน้าทเี่ ฝ้าตรวจเพื่อระวงั ป้องกันใหก้ บั ตอนทอ่ี ยู่กบั ที่ เมื่อตอนที่ ๒ เร่มิ เคล่ือนที่ มว. ได้ถูกยิงจาก ฝ่ายคุกคาม( ถ. ๓ คัน ระยะ ๑,๐๐๐-๑,๔๐๐ ม.หรือ BMP ๓ คัน ระยะ ๑๐๐๐-๑,๒๐๐ ม.) เวลาในการยิง ๓๐ วนิ าที มาตรฐาน : ตอน ถ.ท่ีทาการเฝ้าตรวจ: ๑. ตอนยึดครองทม่ี ั่นกาบงั ตัวรถ หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๒. ผบ.ตอนไดก้ าหนดเขตรบั ผิดชอบให้ ถ.แต่ละคัน หรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๓. ถ.แตล่ ะคนั ตรวจการณเ์ ขตรบั ผิดชอบของตน หรอื ไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๔. ผบ.ตอนได้รายงานวา่ “พรอ้ ม” เมื่อยึดครองทม่ี ั่นได้ หรอื ไม?่ ๒ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ตอน ถ.ท่กี าลงั เคลื่อนท่ี : ๑. ตอนทาการเคลอื่ นที่อยา่ งรุกรบ โดยใช้ภูมปิ ระเทศทมี่ อี ยู่ในการกาบงั และซอ่ นพราง หรือไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๒. ปีกของตอนรกั ษาตาแหนง่ ระหว่างตนเองและรถของผบ.ตอน ตามรปจ.ในขณะเคลอื่ นที่ หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๓. ถ.แต่ละคันภายในตอนเมอ่ื เคลอ่ื นทไี่ ดท้ าการตรวจการณ์ในเขตท่ไี ด้รบั มอบ และรกั ษา ทศิ ทางปืนใหญไ่ วใ้ นตาแหน่งสดุ ทา้ ยทพี่ บข้าศึก หรอื ไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๔. เมื่อการเคล่อื นทไี่ ปยังทม่ี ัน่ ขัน้ ต่อไปส้ินสดุ ลง ตอนได้ทาการยดึ ครองท่มี ั่นในตาแหนง่ ทมี่ ัน่ กาบังตวั รถ และเตรยี มการทจี่ าเป็นเพื่อทาการคุ้มครองใหก้ บั ตอนอน่ื หรอื ไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๕. ผบ.ตอน ได้แจ้งใหต้ อนทท่ี าการเฝ้าตรวจใหท้ าการคมุ้ ครองเมื่อตนเองเรมิ่ เคลอื่ นท่ี หรอื ไม?่ ๒ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ เมื่อปะทะ : ๑. เมื่อรถถังคนั แรกคน้ พบเป้าหมาย ก. ยงิ โต้ตอบทนั ท่ี หรือไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ข. แจ้งเตือนให้ตอนของตนทราบด้วยรายงานการปะทะ หรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๒. เมอื่ ถ.แต่ละคนั ภายในตอนได้ยินรายงานการปะทะ หรอื เหน็ ถ.คนั อืน่ ทาการยิงไดม้ ีการปฏบิ ัติ
๑๕๗ ก. หมุนปืนไปยังทศิ ทางของข้าศกึ หรือไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ข. ตรวจการณค์ ้นหาเป้าหมายอ่ืนเพ่ิมเติม หรอื ไม่? ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ค. ยิงโตต้ อบทนั ทที่ ่คี น้ พบเป้าหมาย หรอื ไม?่ ๓ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๓. ผบ.มว. ควบคุมการยงิ โดยออกคาส่งั ยิงขั้นต่อมา(เรม่ิ แรก) หรอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๔. ผบ.ตอน ทท่ี าการเฝา้ ตรวจ ได้ทาการรวบรวมจานวนและชนิดของเป้าหมาย และผลของ การยงิ ต่อเป้าหมาย หรอื ไม่ ? ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๕. ผบ.มว. ไดส้ ง่ รายงานสถานการณอ์ ยา่ งสมบูรณ์หก้ บั ผบ.ร้อยทราบ หรอื ไม่ ? ๒ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๖. คาแนะนาในการปฏบิ ตั ิของ ผบ.มว.ที่ออกไป สนั้ ,ชัดเจน และสมบรู ณห์ รอื ไม?่ ๑ คะแนน ใช่ ไม่ใช่ ๗. การติดต่อส่อื สารภายในตอน ส้นั และปลอดภยั เท่าทเ่ี ปน็ ไปได้หรอื ไม่? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่ ๘. ผบ.มว. ได้มีการแสดงออกซงึ่ ไหวพริบในการระวงั ปอ้ งกนั ,ปฏกิ ริ ยิ าในการโตต้ อบอยา่ ง รวดเร็ว, ความรเิ ร่มิ , ความง่าย และความรกุ รบ หรือไม่ ? ๓ คะแนน ใช่ ไมใ่ ช่
๑๕๘ บทที่ ๑๒ ตารางฝกึ รถถงั ทางยทุ ธวธิ ี ในบทน้ีจะกล่าวถึงการจัดตารางฝึกรถถังทางยุทธวิธี โดยมีวิธีการท่ีใช้ในการฝึก , แหล่ง ทรพั ยากรในการฝึก, การประเมินผลการฝึก และกาลงั ของฝ่ายคกุ คามท่ีต้องใช้ในการฝึก ตารางฝึกวิชา หลักยิงอาวธุ รถถังจะทาการฝกึ หน่วยรถถงั เพ่ือให้ยิงถูกเป้าหมาย แต่สาหรับตารางฝึกรถถังทางยุทธวิธี นนั้ จะใช้ความชานาญจากวิชาหลักยิงและระบบเครื่องช่วยฝึกยิงด้วยเลเซอร์ ทาการฝึกหน่วยในการ สนองตอบอย่างรวดเร็วต่อการปฏบิ ตั ิการของฝา่ ยคกุ คาม เพอื่ ให้สามารถทาลายเป้าหมายเหล่าน้ันลงได้ ตารางฝึกทางยทุ ธวิธจี ะทาการฝึกพลประจารถถงั ,ตอนรถถงั (รถถงั พรอ้ มปีก) และหมวดรถถัง ในระดับ ขนั้ ตน้ , ขัน้ กลาง และขนั้ สงู สาหรับหนว่ ยกาลงั ประจาการและกองกาลังสารอง ท้งั ในเวลากลางวันและ กลางคนื การจัดตารางฝึกทางยุทธวิธี ตารางฝึกทางยทุ ธวธิ เี ป็นแนวความคิดในการจัดทาการฝึก เพื่อความก้าวหน้าในแนวระดับ จากการฝึกขัน้ ต้นไปยังขนั้ กลางจนถึงขัน้ สูง และตามแนวดงิ่ จากการฝึกเป็นบุคคล ไปจนถึงการฝึกการ โต้ตอบ ตาราง ก, ค และ ช จะเนน้ ในการประสานการปฏิบัติท่ีจาเป็นระหว่างบุคคลจนกระท่ังสาเร็จ ภารกิจ ตัวอย่างเช่น ผบ. รถ ของ มว.รถถังจะต้องทราบตาแหน่งของรถถังคันอื่นๆ ภายในมว. ใน ระหว่างทอ่ี ยูใ่ นรูปขบวนท่มี ีการระวังป้องกันรอบตวั การประสานการปฏิบัตเิ ชน่ นี้เป็นสงิ่ สาคัญเพ่อื ให้การ ปฏบิ ตั ติ ามกจิ เฉพาะกระทาได้อยา่ งถกู ต้อง ตาราง ข, จ และ ด เป็นการฝกึ ปฏิบัติของพลประจารถหรือ ระหวา่ งพลประจารถด้วยกันเพ่ือให้ปฏิบตั ไิ ด้ถกู ตอ้ งตามหน้าทที่ กี่ าหนดไว้โดยเฉพาะ การฝึกเหล่านี้ต้อง ใช้การวางแผนและมีการเคลอื่ นที่มากกวา่ ตาราง ก, ค และ ช กาลงั ฝา่ ยคกุ คามจะเร่ิมจาลองในตาราง ข, จ และ ด สาหรับตาราง ค และ ฉ คอื ประตูท่ีจะตอ้ งผา่ นเพอ่ื ไปทาการฝกึ ในระดับสงู ต่อไป ตาราง ต เปน็ ตารางทใี่ ชใ้ นการกาหนดคุณวุฒิ การฝกึ ปฏบิ ัติในการโต้ตอบต่าง ๆ เหล่าน้ีต้องใช้การควบคุมท่ีเข้มงวด มากสาหรับกาลงั ท่ีเปน็ ฝ่ายคุกคาม การฝกึ ในแต่ละตารางเหล่านเี้ ปน็ การฝกึ ท่ใี ชร้ ถถงั ล้วน ๆ และต้องใช้ ความชานาญจากทไี่ ดเ้ รียนรจู้ ากตารางท่ตี า่ กวา่ เพ่ือใหก้ ารปฏิบัติเป็นที่น่าพอใจ
๑๕๙ ความสัมพันธข์ องตารางฝกึ ทางยทุ ธวธิ ี ขนั้ ต้น ขนั้ กลาง ขัน้ สูง พลประจารถ ตอน หมวด ตาราง ก กิจเฉพาะของพลประจารถ (พร้อมปกี ของตอน) เป็นบุคคล ตาราง ข ตาราง ง ตาราง ช การฝกึ พลประจารถ ตาราง ค การประสานการปฏบิ ัติ การประสานการปฏิบตั ิ การฝกึ พลประจารถในการโต้ตอบ ระหว่างพลประจารถ ระหวา่ งพลประจารถ ตาราง จ ตาราง ด การฝกึ ตอนรถถงั การฝกึ หมวดรถถงั ตาราง ฉ ตาราง ต การฝึกตอนรถถังในการโตต้ อบ การฝกึ หมวดรถถังในการโตต้ อบ ตารางฝกึ ข้นั ต้น ก ข และ ค ตาราง ก กิจเฉพาะของพลประจารถถงั เปน็ บคุ คล จะอธิบายให้ทราบถึงกิจเฉพาะท่ีสาคัญๆ ในการรบท่ีพลประจารถถังจะต้องปฏิบัติเพ่ือความอยู่รอดและความมีประสิทธิภาพในการรบ (ตัวอย่างเช่น “การบอกเส้นทางโดยการใช้ลักษณะของภูมิประเทศที่มีการกาบังและซ่อนพราง” - หลักสูตรการเคลอื่ นที่) เม่ือพลประจารถแตล่ ะนายมคี วามชานาญในกิจเฉพาะเหลา่ นแี้ ลว้ จะได้รบั การฝึก ในตาราง ข ตอ่ ไป ตาราง ข การฝึกพลประจารถ ประกอบดว้ ยรูปแบบของการปฏิบตั ติ ามมาตรฐานเพ่ือให้การ ปฏิบัติการประสพผลเม่ือได้รับคาส่ังให้ปฏิบัติ (ตัวอย่างเช่น “พลประจารถบาดเจ็บ”) เม่ือได้รับการ สนับสนุน ตารางฝึกนี้สามารถฝกึ ปฏบิ ตั ภิ ายในทตี่ ง้ั ของหนว่ ยหรือในพ้ืนที่การฝึกเดียวกันได้ หลังจากที่เกิดความชานาญในการฝกึ พลประจารถแล้ว พลประจารถกพ็ รอ้ มทจี่ ะทา การฝึกในตาราง ค การฝึกพลประจารถในการโต้ตอบต่อไป (ตัวอย่างเช่น “การยิงรูปขบวนของส่วน ระวังปอ้ งกันฝ่ายคกุ คามในระยะใกล้ (การยงิ จู่โจม)”) ในขณะท่ีเราปฏบิ ัติการรบไม่ไดม้ ีรถถังปฏิบัติการ อยู่เพยี งคนั เดียวโดยไมไ่ ด้รบั การสนับสนนุ ดังนน้ั พลประจารถถังแต่ละคันจะต้องมีความชานาญในการ ปฏิบัติเป็นคันก่อนท่ีเข้าปฏิบัติการเป็นส่วนหนึ่งของชุดปฏิบัติการท่ีใหญ่ขึ้น เช่น ตอนหรือมว.รถถังได้ ทักษะทไี่ ดจ้ ากการเรยี นรู้ในตาราง ก และ ข นั้น ได้บรรจไุ ว้เพือ่ เป็นการเตรียมการเพ่ือไปปฏิบตั ิในตาราง ค พลประจารถจะได้รับการวางตัวให้อยู่ในฉากภาพที่ต้องใช้การตัดสินใจทางยุทธวิธีอย่างสูงสุดด้วย ตนเอง พลประจารถจะต้องเผชิญกับกาลังฝ่ายคุกคามในตาราง ค เคร่ืองช่วยฝึกยิงด้วยแสงเลเซอร์ สามารถเพิม่ ความสมจรงิ และความตรึงเครยี ดได้ ระบบเครือ่ งชว่ ยฝกึ ยงิ อาวธุ รถถังด้วยแสงเลเซอรจ์ ะช่วย เพม่ิ ทกั ษะในวชิ าหลักยิงในขณะทที่ าการฝกึ กจิ เฉพาะทางยุทธวธิ ีได้ ตารางฝกึ ขนั้ กลาง ง จ และ ฉ ตาราง ง จ และ ฉ เป็นการพัฒนาการทางานร่วมกันเป็นทมี ทจ่ี าเป็นสาหรบั รถถังสองคันโดย ใช้แนวคดิ เรื่องการใช้ปกี เพื่อให้สามารถปฏบิ ตั กิ ารได้อย่างมีประสิทธภิ าพภายในหมวด ตาราง ง การประสานการปฏิบตั ิระหว่างพลประจารถ เปน็ การฝกึ ในกจิ เฉพาะทจี่ าเป็นตอ้ งใช้ ในการประสานการปฏบิ ัติระหวา่ งพลประจารถของรถถังแตล่ ะคันและการปฏิบัติงานร่วมกันของรถถังที่ เป็นปีก เพื่อให้สามารถปฏิบัติการได้อย่างมีประสิทธิภาพและเพื่อความอยู่รอดในสนามรบได้ (ตวั อย่างเช่น “การเคลอ่ื นย้ายทางยุทธวิธีโดยใชแ้ นวความคิดเรอ่ื งปกี ”)
๑๖๐ ตาราง จ การฝึกตอนรถถัง เป็นการฝึกรถถังสองคันในกิจเฉพาะที่สาคัญและได้มาตรฐาน จ น ก ร ะ ทั่ ง ร ถ ถั ง ท้ั ง ส อ ง คั น ส า ม า ร ถ ป ฏิ บั ติ ก า ร ร่ ว ม กั น ไ ด้ เ ห มื อ น เ ป็ น ธ ร ร ม ช า ติ ต า ม สั ญ ช า ติ ญ า ณ เชน่ เดยี วกับทปี่ ฏบิ ตั ิในตาราง ข (ตวั อยา่ งเชน่ “การตอ่ ต้านอาวธุ ยงิ เลง็ จาลอง (จาลองภาพ)”) ตาราง ฉ การฝึกตอนรถถังในการโต้ตอบ เป็นการฝึกให้ปฏิบัติการร่วมกันในทุกๆ ส่ิงที่ เหมือนกันกับการฝึกในตาราง ค ตารางฝึกนี้จาเป็นต้องทาการฝึกรถถังสองคันให้ปฏิบัติการร่วมกัน (ตวั อยา่ งเชน่ “การยิงตอ่ เป้าหมายของปืนกล”) ตารางฝกึ ขน้ั สงู ช ด และ ต ตาราง ช, ด และ ต เป็นการนาเอารถถังทุกคันภายในหมวดมาฝึกร่วมกัน เพ่ือให้เกิดความ ชานาญและมีประสทิ ธภิ าพเมอ่ื ปฏบิ ตั ิการร่วมกันเป็นหนว่ ย ตาราง ช การประสานการปฏิบัติภายในหมวดรถถัง พลประจารถภายในมว. จะต้อง ประสานการปฏิบตั ริ ว่ มกันเพื่อปฏิบัติการรบในสนามรบได้ท้ังสามมิติ ๓๖๐ องศา (ตัวอย่างเช่น “การ ปฏิบัตริ ปู ขบวนรปู ลม่ิ ”) ตาราง ด การฝึกหมวดรถถัง ต้องการให้มว.ปฏิบัติการสามารถปฏิบัติการโต้ตอบได้เองตาม สญั ชาตญิ าณอย่างเปน็ ธรรมชาตติ ามสถานการณเ์ ฉพาะทกี่ าหนดให้ น้นั คอื การปฏบิ ตั ิการฝกึ รูปขบวนใน การรบ (ตวั อย่างเชน่ “รปู ขบวนทางซา้ ย”) ตาราง ต การฝึกโต้ตอบของหมวดรถถัง จะใช้กิจเฉพาะที่ได้รับการเรียนรู้จากตารางทาง ยุทธวิธี ก-ด มว.รถถังจะเผชิญหน้ากับกาลังฝ่ายคุกคามท่ีติดต้ังเครื่องช่วยฝึกยิงด้วยแสงเลเซอร์ในฉาก ภาพของการรบปะทะ การเคล่ือนท่ีเข้าไปยงั พนื้ ท่ดี าเนินกลยุทธจะตอ้ งมกี ารโตต้ อบตามสถานการณ์ของ การรบตามแบบท่ีคาดว่าจะได้พบในการตั้งรับ (เข้าตีเร่งด่วน) หรือเป็นผลจากการที่หน่วยทหารฝ่าย เดียวกันเขา้ ปฏิบัตกิ ารตเี จาะ (ตัวอยา่ งเชน่ “การยิงเปา้ หมายตามเหตกุ ารณ์ – ทบ่ี ังคับการกรมของกอง กาลังฝ่ายคุกคาม”) ตารางฝกึ ทางยทุ ธวิธีในการฝกึ ตารางฝึกปฏบิ ตั กิ ารรบได้ถูกพฒั นาขนึ้ เพ่อื ฝึกความชานาญในระบบอาวุธ-ความเช่ียวชาญใน วิชาหลกั ยิงและยุทธวิธี ความสาเร็จในการฝึกในตารางฝึกปฏิบัติการรบจะแสดงให้เห็นว่าพลประจารถ, ตอน และมว.รถถงั สามารถใช้รถถงั ได้เต็มขีดความสามารถอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพในการรบ ในอดตี ท่ีผ่าน มาได้ใชต้ ารางฝึกวิชาหลกั ยิงเพยี งอย่างเดียวในการประเมนิ ผลประสิทธิภาพในการรบ แต่ตารางฝึกทาง ยุทธวิธีจะนาเอาการฝกึ พลประจารถและการฝึกมว.รถถังรวมเขา้ ไว้ดว้ ยกนั ซ่ึงจะสัมพนั ธก์ ันกับกิจเฉพาะ ในโปรแกรมการฝกึ และการประเมนิ ผลของกองทพั บก และตารางฝกึ วิชาหลักยิง เพ่ือนามาประเมินค่า ความชานาญในระบบอาวุธท้ังปวง การปฏิบัตเิ ชน่ นไ้ี มไ่ ดเ้ ปน็ การลดความสาคัญของตารางฝึกวิชาหลักยิง แต่เป็นการเพมิ่ ทักษะทางยทุ ธวธิ ขี องวชิ าหลกั ยิง ตารางฝกึ ทางยุทธวิธีจะฝึกพลประจารถและมว.รถถังให้สามารถทาการยงิ ไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ และ มปี ระสิทธภิ าพ ในขณะเคล่ือนทข่ี ีดความสามารถในการดาเนินกลยุทธของรถถัง เอ็ม๖๐เอ๓ จะช่วยให้ พลประจารถถังปฏิบัติการถอนตัวในขณะที่ยังคงขีดความสามารถในการยิงต่อเป้าหมายไว้ได้ด้วยขีด ความสามารถอันสงู สดุ สาหรบั พลประจารถถังและมว.รถถังเพอื่ ให้เกดิ ความชานาญและความรวดเร็ว มี ความคล่องแคล่วและใหเ้ กดิ การยงิ ทม่ี คี วามแม่นยาของรถถัง เอ็ม๖๐เอ๓ กาลังพลทุกนายจะต้องได้รับ การฝกึ ให้เข้าปฏิบัตกิ ารในภูมิประเทศแบบตา่ งๆ ดว้ ยความเร็วที่แตกตา่ งกันออกไป ในทุกๆ เงื่อนไขของ สภาพแวดล้อม (กลางวนั , กลางคืน, หมอก ควนั และในภารกจิ ที่ต้องมกี ารระวงั ปอ้ งกนั นชค. (ลปภบ.) ตารางฝึกทางยทุ ธวธิ ีและตารางฝกึ วชิ าหลักยงิ ท่ชี อบใชก้ ันมากในการนามาทาการฝกึ คอื การ นาทง้ั สองรปู แบบมาฝึกรว่ มกนั ตัวอย่างเชน่ ตารางที่ ๑๐ ซึ่งเป็นตารางกาหนดคุณวุฒวิ ชิ าหลักยงิ สาหรับ
๑๖๑ ตอนรถถงั ควรจะทาการฝกึ ตาราง ฉ ซงึ่ เป็นตารางกาหนดคุณวุฒิทางยุทธวิธีสาหรับตอนรถถังตามทันที การปฏบิ ตั ิเชน่ นี้จะทาให้หนว่ ยไดร้ ับประโยชน์สูงสุดจากตารางฝึก และใกล้เคียงกับความมุ่งหมายในการ ฝกึ ในแบบทจี่ ะทาการรบ ส่งิ ต่างๆ เหลา่ น้ตี อ้ งใช้การวางแผนท่ีเพม่ิ มากขึ้น เนือ่ งจากหลักสูตรทางยุทธวิธี ควรจะกาหนดไว้ใหอ้ ยู่ใกล้กบั สนามฝกึ วชิ าหลกั ยิง วิธีการที่ดีที่สุดรองลงมา ในสถานที่ทไ่ี มส่ ามารถปฏิบัติ เช่นนนั้ ได้ คือ ทาการฝึกตารางฝึกทางยทุ ธวิธที นั ทีท่ีจบการฝึกวชิ าหลกั ยิง การปฏบิ ัตติ ามตารางฝกึ ทางยุทธวิธมี ีข้อจากดั เฉพาะการสร้างแบบการฝึกและความชานาญ ของหนว่ ยทจ่ี ดั ตง้ั ตารางการฝกึ เท่านั้น หลักสูตรการฝกึ ควรจะเหมือนกบั กับหลักสตู รการโต้ตอบของผนู้ า หน่วยที่มีฉากภาพการปฏิบัติหรือกิจเฉพาะอยู่กับที่ ตารางฝึกจะต้องทาการฝึกปฏิบัติในทุกสภาวะ แวดล้อม, กลางวนั หรอื กลางคืน, ซ่งึ ขึน้ อย่กู ับการตกลงใจของผบ.หน่วยและยุทโธปกรณ์ท่ีมีอยู่ รูปแบบ ของหลักสูตรและคาสัง่ การของกจิ เฉพาะทอ่ี ย่ใู นตารางฝึกใช้การประเมินผลจากสภาพภูมิประเทศท่ีมีอยู่ หน่วยทีท่ าการฝึกตามตารางฝึกสามารถเริ่มปฏิบัติได้ทั้งในระหว่างการประเมินผลก่อนการฝึกหรือเม่ือ หน่วยจบการฝึกแลว้ ข้นึ อยู่กับเวลาท่ีมอี ยูแ่ ละจานวนของหน่วยที่จะเขา้ รบั การฝกึ ตามตาราง สาหรบั การ เพ่มิ ความสมจรงิ ในการฝึกกจิ เฉพาะทั้งหมดจะต้องเรมิ่ การฝกึ ในระดับการป้องกันนชค. ระดับ ๒ ถ้าไม่มี อปุ กรณป์ ้องกัน นชค. ให้สวมชุดกนั ฝนและสวมถุงมอื สีดา แหล่งทรัพยากรในการฝึก แหลง่ ทรพั ยากรท่ตี ้องการใช้ในการปฏิบัตติ ามตารางฝึกข้ึนอยู่กับสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ท่มี อี ยู่ ในการประมาณการเป้าหมายและภูมิประเทศ ตัวอย่างเช่น พึงระลึกเสมอว่าตารางฝึกทาง ยทุ ธวธิ ีไมเ่ พยี งแตท่ า้ ทายขดี ความสามารถของหน่วย เพ่ือโต้ตอบการรบได้อย่างมีประสิทธิภาพแต่พวก เขาจะตอ้ งใช้จ่ายในการปฏบิ ตั ิด้วยราคาทส่ี ูงเช่นเดียวกนั เครอ่ื งชว่ ยฝกึ ยิงด้วยแสงเลเซอร์หรือการฝึกให้ สมจริงเปน็ อยา่ งน้อยทส่ี ดุ คอื สว่ นสาคัญยิ่งของฝึกปฏิบตั กิ ารรบให้สมจรงิ หน่วยจะตอ้ งใช้การยงิ โตต้ อบกบั กองกาลังฝา่ ยคกุ คาม เพ่อื ความแมน่ ยาเคร่ืองชว่ ยฝึกยิงดว้ ยเลเซอร์ไดก้ ลายเปน็ สง่ิ ที่จดั หาใหไ้ ด้ ในฐานะ ท่เี ป็นเคร่อื งมือทนี่ ิยมใช้ในการฝกึ ยิงกนั มาก (สาหรบั ข้อมลู เพ่ิมเติมของเครือ่ งชว่ ยฝกึ ยิงดว้ ยเลเซอร์จะพบ ได้ในผนวก ง การรวบรวมอุปกรณ์เคร่ืองช่วยฝึกเพื่อความมุ่งหมายในการฝึกวิชาหลักยิง และการฝึก หน้าท่ขี องพลประจารถถัง) ข้าศึกสามารถปรากฏได้จากทุกทิศทางในสนามรบท่ีไร้ขอบเขต การต่อสู้ท่ีต้องการขีด ความสามารถสูงกว่ามาตรฐานตามปกติของหน่วย แผนการฝึกเบื้องต้นในตารางฝึกทางยุทธวิธีจะต้อง ปฏบิ ัตติ ามให้ใกล้เคียงกับทไ่ี ด้กล่าวไว้ในตารางฝึกให้มากท่ีสุดเท่าท่ีจะทาได้ เป้าหมายบางชนิดท่ีได้รับ การจัดหามาและกิจเฉพาะตามลาดับภายในตารางฝกึ สามารถช่วยให้ทาการฝึกในลักษณะของสภาพภูมิ ประเทศที่แตกตา่ งกันได้ ถ้าจัดหาอุปกรณ์ท่ีดัดแปลงมาเพื่อเพ่ิมขีดความสามารถในการมองเห็นได้จะ ชว่ ยเพิม่ ความสมจรงิ ให้มากยิ่งข้นึ แตก่ ารสูญเสียขดี ความสามารถในการเคลอื่ นทข่ี องเป้าหมายจะลดค่า ความสมจริงลงไป ช่องว่างของภูมิประเทศตามท่ีต้องการของตารางฝึกจะข้ึนอยู่กับลักษณะของภูมิ ประเทศและพืชพันธ์ไมท้ ่ีมีอยู่ พื้นท่ีการฝึกของหน่วยในระดับกองร้อยเป็นส่ิงที่ขอแนะนาให้ใช้สาหรับ การฝกึ ปฏิบัติตามตารางฝกึ ทางยุทธวธิ ีนี้ การประเมนิ ผล หลกั พื้นฐานในการประเมินผลการฝกึ ตามตารางฝกึ ทางยุทธวิธี คือ การวจิ ารณ์หลงั การปฏิบัติ โดยการประเมนิ ผลการฝึกตามหลักการขัน้ พืน้ ฐานเพอื่ วัดความสาเร็จหรือความล้มเหลวในตารางฝึกทาง ยุทธวธิ นี น้ั ถอื วา่ เป็นเช่นเดียวกบั การปฏิบัติการรบ ถ้าหนว่ ยสาเร็จตามภารกิจที่ไดร้ บั มอบและอยู่รอดจา การรบ สามารถพจิ ารณาได้ว่าหนว่ ยประสบความสาเร็จ แต่ถา้ หน่วยถกู ทาลายหรือไม่สามารถปฏิบัติได้ ตามความมุ่งหมาย นั่นคือ ความล้มเหลว พลประจารถ ตอนหรือมว.รถถัง ที่ล้มเหลวในการใช้ภูมิ
๑๖๒ ประเทศอย่างถูกตอ้ งจะไม่สามารถอยูร่ อดจากภารกิจได้ ถา้ บกพรอ่ งในการออกคาสง่ั ยิงทถี่ ูกต้อง หรือทา การยิงรถถงั ในมว.ของตนเอง บางทอี าจจะไมส่ ามารถอยู่รอดจากภารกิจท่ีกาหนดได้ ตารางฝึกทางยุทธวิธี จะเน้นความผิดพลาดทพ่ี ลประจารถไม่สามารถมโี อกาสปฏบิ ตั ิซ้าได้อกี ในการรบ กองกาลังฝ่ายคุกคาม ตารางฝึกทางยุทธวธิ ตี ้องการการควบคุมกองกาลังของฝ่ายคุกคามอย่างเข้มงวด กาลังฝ่าย คุกคามจะปฏิบตั กิ าร และโตต้ อบการปฏิบัติในทิศทางเดียวกันกับท่ีหน่วยใช้ในการปฏิบัติ ที่เป็นเช่นน้ี เพื่อให้แน่ใจไดว้ ่าหนว่ ยมคี วามเขม้ แขง็ ในทิศทางเดียวกัน สาหรับการค้นหาเป้าหมายและการใช้ระบบ อาวุธ กาลังพลของฝ่ายคุกคามจะไมไ่ ดร้ ับอนุญาตให้กาลงั พลสรา้ งสรรค์สิ่งประดิษฐ์ต่าง ๆ เพื่อเอาชนะ กาลงั ฝ่ายเราตลอดทั้งตารางการฝึก นายทหารควบคุมกาลังฝ่ายคุกคามจะใช้คาแนะนาของกาลังฝ่าย คุกคามทมี่ ีอยใู่ นแตล่ ะภารกิจเฉพาะ เพ่ือประเมนิ ผลการปฏบิ ัตขิ องกาลังฝ่ายคุกคาม และกาลงั ของฝ่าย คุกคามจะปฏิบัติการแต่เพียงการเขา้ ปะทะกบั ฝา่ ยเราเทา่ นั้น นายทหารผคู้ วบคุมจะใช้ตาแหนง่ ทแี่ สดงให้ ทราบจากแผนภูมกิ ารวางกาลงั เพอื่ วางกาลงั ในขนั้ ตน้ ให้กบั กาลงั ของฝา่ ยคกุ คามเท่านน้ั การวางกาลงั ที่ แน่นอนของฝา่ ยคุกคามจะขนึ้ อยกู่ ับลกั ษณะของภมู ปิ ระเทศเพ่ือให้การปฏบิ ัติสอดคลอ้ งกันกับหน่วยหนึ่ง ไปยังหน่วยตอ่ ไป การใชเ้ วลาจะต้องทาให้สอดคล้องกันกบั มาตรฐานสาหรับการยิงของฝา่ ยคุกคามในแต่ ละกจิ เฉพาะ การปรากฏตัวและยทุ ธวิธีของฝา่ ยคกุ คามเมือ่ เข้าปะทะกบั กาลังฝา่ ยเรา ควรจะต้องปฏิบัติ ใหส้ มจริงทส่ี ดุ เทา่ ที่จะทาได้ เพอ่ื รวมสญั ญาณของการยิงเล็งตรง การใช้เครือ่ งชว่ ยเพ่ิมขีดความสามารถ ในการมองเห็นจะทาให้หลักสูตรการฝึกสมจริงมากยง่ิ ข้นึ เครือ่ งแบบของกองกาลังฝ่ายคกุ คามและอาวุธ ท่ใี ช้ ควรจะจดั ทาใหส้ อดคล้องกับทฤษฎีการรบของฝ่ายคกุ คามถา้ สามารถทาได้ ตารางฝกึ ทางยทุ ธวธิ ี ก – กิจเฉพาะของพลประจารถเป็นบคุ คล รายการกิจเฉพาะของพลประจารถเปน็ บุคคล หมายเลขกิจเฉพาะ กจิ เฉพาะของพลประจารถ หมายเลขกิจเฉพาะ ผบู้ ังคับรถ ๐๗๑-๓๒๖-๐๕๑๕ กิจเฉพาะที่ ๑ การเคลอ่ื นท่บี นเส้นทางโดยใชล้ กั ษณะของภมู ิประเทศ ๐๗๑-๓๒๖-๐๖๐๘ ในการกาบงั ซ่อนพราง ๐๗๑-๓๒๖-๑๐๑๙ ๐๗๑-๓๒๖-๑๐๐๖ กิจเฉพาะท่ี ๒ เทคนิคการใชท้ ศั นะสญั ญาณในการตดิ ตอ่ สอื่ สาร ๐๗๑-๓๒๖-๐๕๑๓ ๐๗๑-๓๓๑-๐๘๒๐ กจิ เฉพาะท่ี ๓ การจดจาและการโต้ตอบอันตรายจากอาวุธเคมีหรือชีวะ กิจเฉพาะที่ ๔ การเคลอื่ นย้ายจากจดุ หนงึ่ ไปยังอกี จดุ หนง่ึ ทางพ้ืนดนิ ๐๗๑- ๓๓๑-๐๘๐๓ กจิ เฉพาะท่ี ๕ การเลือกท่ตี งั้ ยิง ๐๗๑-๓๓๑-๐๘๐๒ กจิ เฉพาะท่ี ๖ การวิเคราะห์ลกั ษณะของภูมปิ ระเทศโดยใชล้ ักษณะของ ภูมปิ ระเทศทางทหารหา้ ประการ ๐๗๑-๑๙๒-๑๐๐๘ กจิ เฉพาะที่ ๗ การรวบรวม/การรายงานขา่ วสาร (ขนาด, การเคลอื่ นไหว, ทตี่ ัง้ , หนว่ ย, เวลา และยุทโธปกรณ์ (SALUTE)) กจิ เฉพาะท่ี ๘ กรรมวธิ ที ีท่ ราบแล้วหรือคาดว่าจะเปน็ กาลงั พล, เอกสารและ ยุทโธปกรณ์ฝา่ ยคกุ คาม กิจเฉพาะที่ ๙ การวางทุ่นระเบิดดกั รถถงั แบบโลหะ เอม็ ๒๑ (จาลอง)
๑๖๓ กิจเฉพาะที่ ๑๐ การวางท่นุ ระเบิดดกั รถถงั ขนาดหนัก เอม็ ๑๕ (จาลอง) ๐๗๑-๑๙๒-๑๐๐๘ ๐๗๑-๑๙๒-๑๐๐๘ กจิ เฉพาะท่ี ๑๑ การวางทุ่นระเบดิ สงั หารบคุ คลแบบกระโดดสะเก็ดระเบดิ เอ็ม๑๖เอ๑ (จาลอง) หมายเลขกจิ เฉพาะ กจิ เฉพาะของพลประจารถ หมายเลขกจิ เฉพาะ พลยงิ กิจเฉพาะที่ ๑ การพสิ จู น์ทราบเปา้ หมายโดยใช้กล้องเลง็ TTS ไม่มหี มายเลขกจิ เฉพาะ กจิ เฉพาะที่ ๒ การพสิ ูจนฝ์ า่ ยยานรบห้มุ เกราะฝ่ายเราและฝา่ ยคกุ คาม ๘๗๘-๙๒๐-๑๐๐๑ พลบรรจุ กจิ เฉพาะท่ี ๑ เทคนคิ การใช้ทัศนะสญั ญาณในการติดต่อสอ่ื สาร ๐๗๑-๓๒๖-๐๖๐๘ กิจเฉพาะท่ี ๒ การวางทุน่ ระเบดิ ดกั รถถงั แบบโลหะเอม็ ๒๑ (จาลอง) ๐๗๑- ๑๙๒-๑๐๐๘ กิจเฉพาะที่ ๓ การวางท่นุ ระเบดิ ดกั รถถังขนาดหนกั เอม็ ๑๕ (จาลอง) ๐๗๑-๑๙๒-๑๐๐๘ กิจเฉพาะที่ ๔ การวางทุ่นระเบดิ สงั หารบคุ คลแบบกระโดดสะเก็ด ๐๗๑-๑๙๒-๑๐๐๘ ระเบิดเอม็ ๑๖เอ๑ (จาลอง) กจิ เฉพาะท่ี ๕ การรวบรวม/การรายงานข่าวสาร (ขนาด, การ ๐๗๑-๓๓๑-๐๘๐๓ เคล่อื นไหว, ท่ตี งั้ , หน่วย, เวลา และยทุ โธปกรณ์ (SALUTE) กิจเฉพาะท่ี ๖ การพสิ จู นฝ์ ่ายยานรบห้มุ เกราะฝ่ายเราและฝา่ ยคกุ คาม ๘๗๘-๙๒๐-๑๐๐๑ กิจเฉพาะที่ ๗ การใช้งานวิทยAุ N/VRC-๑๒ ๑๑๓-๕๘๗-๒๐๔๓ กิจเฉพาะที่ ๘ การบรรจกุ ระสุนปืนใหญ่ขนาด ๑๐๕ มม. ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๔๐ พลขับ กจิ เฉพาะท่ี ๑ การขับรถถงั เอ็ม๖๐เอ๓ ผา่ นหมบู่ า้ น(ปฏบิ ัตเิ มอ่ื จาเป็น ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๐ ข้ึนอยกู่ ับปจั จยั METT-T) กิจเฉพาะท่ี ๒ การขบั รถถงั เอม็ ๖๐เอ๓ ในพื้นทเ่ี ปน็ ปา่ ไม้ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๐ กจิ เฉพาะที่ ๓ การขบั รถถงั เอ็ม๖๐เอ๓ ผา่ นเครื่องกีดขวางทเ่ี ป็นน้า ๑๗๑—๑๒๓-๑๐๕๐ กจิ เฉพาะที่ ๔ การเคลอ่ื นทบ่ี นเส้นทางโดยใช้ลกั ษณะของภมู ปิ ระเทศ ๐๗๑-๓๒๖-๐๕๑๕ ในการกาบงั ซ่อนพราง กจิ เฉพาะท่ี ๕ เทคนคิ การใช้ทัศนะสญั ญาณในการติดต่อสอ่ื สาร ๐๗๑-๓๒๖-๐๖๐๘ กจิ เฉพาะที่ ๖ การดาเนินกลยุทธผา่ นเครอื่ งกดี ขวางทเ่ี ป็นคูและทีต่ ้ังทางด่ิง ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๐ กจิ เฉพาะท่ี ๗ การโตต้ อบอาวุธยิงเลง็ จาลอง (จาลอง) ๐๗๑-๓๒๖-๐๕๑๐ กจิ เฉพาะท่ี ๘ การเลือกเข้าทีต่ ั้งยงิ ชว่ั คราว ๐๗๑-๓๒๖-๐๕๑๓
๑๖๔ กิจเฉพาะของพลประจารถเปน็ บคุ คล ผบู้ ังคับรถ กจิ เฉพาะท่ี ๑ : การเคลื่อนทบ่ี นเส้นทางโดยใชล้ กั ษณะของภมู ปิ ระเทศในการกาบงั และซ่อนพราง เง่ือนไข : รถถงั เอม็ ๖๐เอ๓ ปฏิบตั งิ านได้เตม็ ระบบ, สนามฝกึ ขับรถถงั ทมี่ ลี ักษณะของภูมิประเทศทแ่ี ตกต่างกนั และเครอ่ื งกีดขวางทางธรรมชาติ (ใชย้ านพาหนะชนิดแทนได)้ มาตรฐาน: ภายในเวลา ๕ นาที สง่ั ให้พลขบั ขับรถไปใหถ้ งึ จดุ หมายโดยไมม่ กี ารเปิดเผยตวั เองใหพ้ ลยิงของขา้ ศึก ตรวจการณพ์ บ, ถูกทาลายหรอื ทาให้รถถงั เคลอ่ื นท่ไี ม่ได้หรือทาใหพ้ ลประจารถบาดเจบ็ กจิ เฉพาะท่ี ๒: เทคนคิ การใช้ทศั นะสญั ญาณในการตดิ ต่อส่อื สาร เงื่อนไข : ให้สถานการณใ์ นสนามฝึกพรอ้ มกบั ธงสัญญาณและไฟฉายเทา่ ทจี่ าเปน็ มาตรฐาน : แสดงวิธีการใช้ทัศนะสญั ญาณท่ถี ูกต้องแตล่ ะวธิ ตี ามท่กี ลา่ วไว้ในคมู่ ือการใชท้ ศั นะสัญาณ กจิ เฉพาะท่ี ๓ การจดจาและการโต้ตอบอันตรายจากอาวธุ เคมีหรอื ชีวะ เงื่อนไข : ใหส้ ถานการณ์ในสนามฝึกดว้ ยระดบั การป้องกนั นชค. ระดับ ๑ มีการใช้อาวุธเคมีและชีวะ (จาลอง) และสง่ิ ทีค่ าดวา่ พวกเขาจะตอ้ งใช้ในการโตต้ อบจากขา้ ศึก มาตรฐาน : การจดจาถึงอันตราย การใส่ชุดและหน้ากากป้องกันภายในเวลา ๑๕ นาที, การแจ้งเตือน, การ ค้นหาสถานที่ปอ้ งกนั สิ้นการปฏบิ ตั ดิ ้วยการป้องกนั ในระดบั ที่ ๔ เงื่อนไข : จา่ ยแผนทที่ างทหารมาตรสว่ น ๑:๕๐,๐๐๐ ของพนื้ ท่กี ารฝกึ ให,้ เข็มทิศ, บรรทัดมาตรสว่ นพิกัด ตาราง จุดเรมิ่ ตน้ และจดุ หมายปลายทางท่มี รี ะยะไมเ่ กนิ ๓,๐๐๐ ม. มาตรฐาน : เดินทางด้วยเท้าโดยใชเ้ วลาไมเ่ กนิ ๑ ชม. หรือโดยยานพาหนะไม่เกนิ ๑๕ นาที่ จากจดุ เรม่ิ ต้นถงึ จุดหมายปลายทาง กจิ เฉพาะที่ ๕ : การเลอื กที่ตั้งยิง เงอ่ื นไข : รถถงั เอ็ม๖๐เอ๓ ปฏบิ ัตงิ านได้เตม็ ระบบและแจกจ่ายสถานการณท์ างยทุ ธวธิ จี าลองให้ มาตรฐาน : การเลอื กทีต่ งั้ ยิงจะตอ้ งไมเ่ ลอื กที่ตงั้ ยิงบนภูมปิ ระเทศที่เห็นเด่นชดั และต้องมที ่ีกาบงั และซอ่ นพราง เสน้ ทางเขา้ -ออกทต่ี ้ังยิง ตอ้ งแน่ใจว่าทต่ี ้งั ยงิ มีพน้ื ทที่ ไี่ ดร้ ะดบั และเมื่ออยูใ่ นตาแหนง่ ทมี่ ่ันกาบังตัวรถจะต้องไม่มี สิ่งใดมาจากดั พน้ื ทกี่ ารยงิ ของพลยิง ในการต้งั รับ ที่ม่นั แหง่ สุดทา้ ยจะต้องครอบคลุมเขตการยงิ ท่ีได้รับมอบ ใน การปฏิบตั กิ ารรุก (ในการระวังปอ้ ง)ที่ต้ังยิงจะต้องช่วยให้มีการเปลี่ยนที่ต้ังจากการยิงข่ม ณ ท่ีตั้งท่ีทราบแล้ว หรอื วา่ จะปอ้ งกนั ที่ต้งั ของขา้ ศกึ และมีการแจ้งเตือนล่วงหน้าจาก อนตถ. (ATGM) กจิ เฉพาะท:่ี ๖ การวเิ คราะห์ภมู ปิ ระเทศโดยใช้ลกั ษณะของภมู ปิ ระเทศทางทหารหา้ ประการ เงอ่ื นไข : ใหส้ ถานการณท์ างยุทธวธิ ที รี่ วมถงึ เสน้ ทางหรอื ทตี่ งั้ โดยเฉพาะบนพนื้ ดินหรอื ในแผนที่ มาตรฐาน : การวเิ คราะห์เสน้ ทางหรอื ท่ตี ัง้ จากเงอื่ นไขลกั ษณะของภูมิประเทศทางทหารห้าประการ (การตรวจ การณ์และพื้นการยิง, การกาบังและการซ่อนพราง, เครื่องกีดขวาง, ภูมิประเทศสาคัญ และแนวทางการ เคลื่อนที่) และประมาณการว่าแตล่ ะลักษณะมผี ลกระทบตอ่ ภารกิจอยา่ งไร กิจเฉพาะท่ี ๗ : การรวบรวม/การรายงานขา่ วสาร (ขนาด, การเคลือ่ นไหว, ทต่ี ัง้ , หนว่ ย, เวลาทีพ่ บ และ ยทุ โธปกรณ)์ (SALUTE) เงอ่ื นไข: ให้สถานการณ์ทางยุทธวิธจี าลองท่รี วมถงึ หน่วยทหารข้าศึก, การยงิ ในแต่ละรูปแบบของการเคล่ือนที่ และใครเป็นผ้ตู รวจการณพ์ บทัง้ จากตาเปล่าหรอื ด้วยกล้องส่องสองตา มาตรฐาน: ให้ใช้แบบฟอรม์ การรายงานทสี่ มบรู ณด์ ้วยวาจาหรอื ลายลกั ษณอ์ ักษร รายงานใหผ้ บ. หนว่ ยทราบ โดยอธบิ ายถึงแต่ละจุดทนี่ า่ สนใจท่แี สดงให้เหน็ ในรายละเอยี ดในแตล่ ะหัวข้อของแบบฟอร์มการรายงาน (SALUTE) (ทตี่ ้ังอาจไมจ่ าเป็นต้องบอกเป็นพกิ ัด) กจิ เฉพาะท่ี ๘ : กรรมวิธที ี่ทราบแล้วหรอื คาดวา่ จะเป็นกาลงั , เอกสารและยทุ โธปกรณข์ องฝ่ายคกุ คาม
๑๖๕ เงอ่ื นไข : มอบพื้นที่ ที่มีประชาชน และกาลังทหารหน่วยอ่ืนท่ีเป็นฝ่ายเรา, เชลยศึก ๒ นาย พร้อม (ปืนเล็ก ยาว, ปืนพก, ดาบปลายปืน) และเอกสารทางทหาร, ตาบลรวบรวมเชลยศกึ และป้ายเชลยศึก มาตรฐาน : ห้ามเชลยศึกพูดคุยกัน และหา้ มทาร้ายร่างกายเชลยศกึ , ปลดอาวธุ และเอกสาร ยกเวน้ บตั รประจา ตัวของแตล่ ะบคุ คล, ทาปา้ ยอาวธุ และยุทโธปกรณ์ของเชลยศกึ แตล่ ะนายพรอ้ มด้วยนามเตม็ ของหนว่ ยท่าน, วัน, เวลาและสถานการณท์ ่ีจบั กุมไดแ้ ละสง่ มอบอาวธุ และเอกสาร ณ ตาบลรวบรวมเชลยศกึ กิจเฉพาะที่ ๙: การวางทนุ่ ระเบดิ ดกั รถถังแบบโลหะ เอม็ ๒๑ (จาลอง) เงื่อนไข: จา่ ยทุ่นระเบดิ ดักรถถังแบบโลหะ เอม็ ๒๑, ชนวน เอม็ ๖๐๗, บสู เตอร์ เอม็ ๑๒๐, ประแจตั้งชนวน เอ็ม ๒๖ ถงุ ทรายเปล่า และพลว่ั สนาม มาตรฐาน: ประกอบอุปกรณท์ กุ ชน้ิ สว่ นเขา้ ดว้ ยกันตามลาดบั และวางในสนามทนุ่ ระเบดิ จาลอง กจิ เฉพาะที่ ๑๐: การวางทุน่ ระเบดิ ดักรถถังขนาดหนกั เอ็ม ๑๕ (จาลอง) เง่อื นไข : จ่ายท่นุ ระเบิดดกั รถถงั แบบโลหะ เอม็ ๑๕, ชนวน เอม็ ๖๐๓, ประแจตง้ั ชนวน เอม็ ๒๐, พลั่วสนาม, เคร่ืองจดุ ชนวน (เอม็ ๑, เอ็ม๑ เอ๑, เอ็ม๓ และเอม็ ๕) และชนวนกนั เขยื้อน เอม็ ๑ มาตรฐาน : ประกอบอุปกรณท์ ุกชน้ิ ส่วนเขา้ ด้วยกนั ตามลาดบั และวางในสนามทนุ่ ระเบิดจาลอง กิจเฉพาะที่ ๑๑ : การวางทุ่นระเบิดสังหารบุคคลแบบกระโดดสะเก็ดระเบิด เอ็ม๑๖เอ๑, ชนวน เอ็ม๖๐๖, ประแจตง้ั ชนวนเอม็ ๒๕ และพล่ัวสนาม มาตรฐาน : ประกอบอุปกรณ์ทุกชิ้นสว่ นเขา้ ด้วยกนั ตามลาดบั และวางในสนามทุ่นระเบิดจาลอง พลยงิ กิจเฉพาะท่ี ๑ : การพสิ จู น์ทราบเปา้ หมายโดยใช้กล้องเลง็ TTS เง่ือนไข : รถถัง เอ็ม๖๐เอ๓ ปฏิบัติงานได้เต็มระบบ, กล้องเล็ง TTS, เป้าของกล้องเล็ง TTS วางในระยะที่ แตกตา่ งในสภาวะทท่ี ศั นะวิสยั จากดั (ควัน, หมอก, เวลากลางคืน) มาตรฐาน : ภายในเวลา ๖ นาที ตอ่ หนงึ่ เป้าหมาย ใชก้ ลอ้ งเล็ง TTS พสิ จู น์ทราบเป้าหมายไดถ้ กู ต้องตามแบบ ของเปา้ หมาย ๔ ใน ๕ เป้าหมาย กิจเฉพาะที่ ๒ : การพสิ จู น์ยานรบห้มุ เกราะของฝา่ ยเราและฝ่ายคกุ คาม เงือ่ นไข : ใชท้ ี่ต้งั หนว่ ยหรือสนามฝึกทม่ี องเหน็ ยานรบห้มุ เกราะอยู่, ในสถานการณ์ทางยุทธวิธีหรือการจาลอง สถานการณ์ทางทางยทุ ธวธิ ี (อาจใชห้ นุ่ จาลองหรอื ไพ)่ มาตรฐาน : พิสจู นท์ ราบเปา้ หมายได้ถูกตอ้ งตามแบบของเปา้ หมาย ๑๘ ใน ๒๐ แบบ พลบรรจุ กจิ เฉพาะท่ี ๑ : เทคนคิ การใชท้ ศั นะสัญญาณในการติดตอ่ สอื่ สาร เงอ่ื นไข : ใหส้ ถานการณใ์ นสนามฝกึ พรอ้ มกบั ธงสญั ญาณและไฟฉายเท่าที่จาเป็น มาตรฐาน : แสดงวธิ ีการใชท้ ศั นะสญั ญาณท่ถี กู ตอ้ งแตล่ ะวธิ ตี ามท่ีกลา่ วไวใ้ นคู่มอื การฝึก (STP 17-19E-SM) (ทบ.สรอ.) กจิ เฉพาะท่ี ๒ : การวางทนุ่ ระเบิดดกั รถถงั แบบโลหะ เอม็ ๒๑ (จาลอง) เงอื่ นไข : จ่ายทุ่นระเบดิ ดักรถถงั แบบโลหะ เอ็ม ๒๑, ชนวน เอม็ ๖๐๗, บสู เตอร์ เอ็ม๑๒๐, ประแจต้งั ชนวน เอ็ม ๒๖, ถุงทรายเปล่า, และพล่วั สนาม มาตรฐาน : ประกอบอุปกรณ์ทกุ ชิ้นส่วนเข้าดว้ ยกนั ตามลาดบั และวางในสนามทนุ่ ระเบิดจาลอง กจิ เฉพาะท่ี ๓: การวางทุ่นระเบดิ ดักรถถังขนาดหนกั เอ็ม๑๕ (จาลอง)
๑๖๖ เง่อื นไข: จา่ ยทุ่นระเบดิ ดักรถถงั แบบโลหะ เอม็ ๑๕, ชนวน เอม็ ๖๐๓, ประแจต้งั ชนวน เอ็ม๒๐, พลว่ั สนาม, เคร่ืองจดุ ชนวน (เอ็ม๑เอ๑, เอม็ ๓ และเอ็ม๕) และชนวนกันเขย้ือน เอ็ม๑ มาตรฐาน: ประกอบอปุ กรณ์ทกุ ชิน้ ส่วนเข้ากนั ตามลาดับ และวางในสนามท่นุ ระเบดิ จาลอง กจิ เฉพาะท่ี ๔ : การวางทุ่นระเบดิ สงั หารบคุ คลแบบกระโดดสะเกด็ ระเบดิ เอม็ ๑๖เอ๑ (จาลอง) เงอ่ื นไข : จ่ายท่นุ ระเบดิ สังหารบคุ คลแบบกระโดดสะเกด็ ระเบดิ เอ็ม๑๖เอ๑, ชนวน เอ็ม๖๐๖, ประแจตัง้ ชนวน เอม็ ๒๕ และพลว่ั สนาม มาตรฐาน : ประกอบอปุ กรณท์ ุกช้ินส่วนเข้าดว้ ยกันตามลาดบั และวางในสนามท่นุ ระเบิดจาลอง กจิ เฉพาะท่ี ๕ : การรวบรวม/การรายงานขา่ วสาร (ขนาด, การเคล่ือนไหว, ท่ีตั้งหนว่ ย, เวลาทีพ่ บ และ ยทุ โธปกรณ์ (SALUTE) เงื่อนไข : ใหส้ ถานการณ์ทางยุทธวธิ จี าลองทร่ี วมถงึ หนว่ ยทหารขา้ ศึก, รูปแบบของการยงิ ในการเคลื่อนท่ี และ ใครเปน็ ผูต้ รวจการณ์พบทั้งจากตาเปลา่ หรอื ด้วยกล้องสอ่ งสองตา มาตรฐาน : ให้ใชแ้ บบฟอร์มการรายงานทสี่ มบรู ณ์ด้วยวาจาหรอื ด้วยลายลกั ษณอ์ กั ษร รายงานให้ ผบ. หนว่ ย ทราบ โดยอธบิ ายถึงแตล่ ะจดุ สนใจท่แี สดงใหเ้ หน็ ในรายละเอยี ดในแตล่ ะหวั ข้อของแบบฟอรม์ การรายงาน (SALUTE)(ท่ตี ้งั อาจไมจ่ าเป็นตอ้ งบอกพิกัด กิจเฉพาะที่ ๖ : การพสิ จู นฝ์ ่ายยานรบหมุ้ เกราะของฝา่ ยเราและฝา่ ยคกุ คาม เงอ่ื นไข : ใช้ท่ตี ั้งหน่วยหรือสนามฝกึ ทีม่ องเห็นยานรบหมุ้ เกราะอยู่, ในสถานการณ์ทางยุทธวิธหี รือการจาลอง สถานการณ์ทางยทุ ธวธิ ี (อาจใชห้ ุ่นจาลองหรอื ไพ)่ มาตรฐาน : พิสจู น์ ทราบเป้าหมายได้ถูกต้องตามแบบของเปา้ หมาย ๑๘ ใน ๒๐ แบบ กิจเฉพาะท่ี ๗: การใชง้ านชดุ วทิ ยุ AN/VRC-๑๒ เงอ่ื นไข: จ่ายชดุ วิทยุท่ีใช้ปฏบิ ตั กิ ารได,้ คท. ๑๑-๕๘๒๐-๔๐๑-๑๐-๑ และ นปสอ. ให้ มาตรฐาน: ตง้ั ความถีล่ ่วงหน้าในขา่ ยวิทยุของกองร้อยและมว. เปดิ ชดุ วทิ ยใุ ชง้ านและเลิกใช้งาน กิจเฉพาะที่ ๘: การบรรจกุ ระสุนปืนใหญร่ ถถังขนาด ๑๐๕ มม. เงอ่ื นไข : รถถงั เอ็ม ๖๐ เอ ๓ จอดอยกู่ ับท่ี,พลประจารถ,กระสุนปนื ใหญร่ ถถงั และออกคาสั่งยิงสวติ ช์พดั ลม เปิดใช้งานอยู่,สถานีทุกสถานภี ายในรถได้เตรียมการสาหรบั ใช้งานไว้แล้วกิจเฉพาะน้ีควรจะปฏิบัติในทุกสภาวะ (กลางวัน,กลางคนื ,และระดบั การป้องกนั นชค.) มาตรฐาน : ภายใน ๕ วินาที หลงั จากได้ยนิ หัวขอ้ คาสงั่ ยิงชนดิ กระสุน, บรรจุกระสนุ ชนิดเดยี วกับทอี่ อกใน คาส่ังยิง หลบพ้นทางถอยของปืน, ผลักกระเดื่องนริ ภัยไปท่ี “FIRE” แลว้ รายงานวา่ “ พรอ้ ม” พลขับ กจิ เฉพาะท่ี ๑: การขบั รถถัง เอม็ ๖๐เอ๓ ผ่านหมบู่ ้าน (ปฏบิ ตั เิ มื่อจาเปน็ ข้นึ อยกู่ บั ปจั จยั (METT-T) เงือ่ นไข : หมบู่ า้ นเล็ก ๆ ซงึ่ มีถนนเปน็ วงรอบแคบ ๆ และมสี ง่ิ ปลูกสร้างสองขา้ งทางตามแนวถนน ใชพ้ ลนาทาง ได้เมือ่ จาเป็น มาตรฐาน : เคล่ือนย้ายรถถังผา่ นหม่บู า้ นโดยให้มีช่องว่างท้ังทางด้านบนและด้านข้างของตัวรถอย่างเพียงพอ เพือ่ หลีกเลย่ี งการก่อให้เกิดความเสียหายกบั ยานพาหนะและสงิ่ ปลูกสรา้ งตา่ งๆ กจิ เฉพาะที่ ๒: การขับรถถงั เอม็ ๖๐เอ๓ ในพน้ื ทเี่ ปน็ ปา่ ไม้ เงอ่ื นไข: รถถงั เอม็ ๖๐ เอ๓ และพน้ื ทีท่ ่เี ปน็ ป่าไมเ้ บาบางและหนาแนน่ มาตรฐาน: ดาเนินกลยุทธด้วยรถถังผา่ นพน้ื ท่ีปา่ ไม้โดยไม่ก่อให้เกิดอันตราย และทาความเสียหายให้กับกาลัง พลหรือยานพาหนะ ใชก้ ารขับเคลื่อนตาแหน่งเกียร์ต่า “L” เตือนให้พลประจารถทราบเม่ือจะผ่านเคร่ืองกีด ขวาง ทาให้มีชอ่ งว่างอยา่ งเพยี งพอสาหรับรถถงั โดยใช้เส้นทางธรรมชาติหรือท่ีมนุษย์สร้างข้ึนถ้ามี ใช้เส้นทาง
๑๖๗ รองเพื่อหลกี เล่ียงเคร่อื งกีดขวางถา้ ทาไดแ้ ตค่ วรดารงไว้ซง่ึ ทิศทางของการเคลื่อนที่ ปรับความเร็วให้เหมาะสม กับสภาพการจราจรของภูมปิ ระเทศและการมองเห็น กจิ เฉพาะที่ ๓: การขบั รถถัง เอม็ ๖๐เอ๓ ผ่านเครอื่ งกดี ขวางทเ่ี ป็นนา้ เงื่อนไข : รถถัง เอม็ ๖๐เอ๓ ในภมู ิประเทศทีแ่ ขง็ , ราบเรียบและพ้ืนทโ่ี ล่งแจ้งและเครื่องกีดขวางทเ่ี ป็นน้าลกึ ๔๘ นว้ิ และกว้าง ๓๐ ฟุต ซึง่ มพี ้ืนแขง็ และเปน็ ลาดสมอ มาตรฐาน : หยดุ รถถงั เม่ือถงึ ริมตลิง่ , เปลี่ยนเคร่อื งเปล่ียนความเร็วไปท่ี “ L “ ตรวจให้แน่ใจว่าปิดล้ินถ่ายน้า แลว้ เคลือ่ นรถถงั อยา่ งชา้ ๆ ลงน้า ถ้านา้ เขา้ ไปในตวั รถถังให้ติดเคร่ืองปั้มน้าและเคลื่อนท่ีด้วยความเร็วคงท่ี ๘ กม./ชม. (๕ไมล์/ชม.) เมื่อถงึ รมิ ตลิ่งดา้ นไกล ให้ขับเคล่ือนรถถังขนึ้ บนตลง่ิ อย่างชา้ ๆ เปดิ ลิ้นถ่ายนา้ และปฏิบัติ ภารกจิ ตอ่ ไป กจิ เฉพาะที่ ๔: การเคลือ่ นทบี่ นเส้นทางโดยใช้ลักษณะของภมู ิประเทศในการกาบงั และซอ่ นพราง เงื่อนไข: รถถงั เอ็ม๖๐เอ๓ ทป่ี ฏบิ ตั ิการไดเ้ ต็มระบบ และฝึกขับรถถังท่ีลักษณะของภูมิประเทศและเครื่องกีด ขวางที่แตกต่างกนั มาตรฐาน: ภายในเวลา ๕ นาที ดาเนนิ กลยทุ ธดว้ ยรถถังไปถึงจุดหมายปลายทางโดยไมม่ ีการเปิดเผยตัวรถถัง ต่อพลยิงของขา้ ศึก, โดยไมท่ าความเสยี หาย หรือทาใหค้ วามสามารถในการเคลอ่ื นทข่ี องรถถงั ชารุด หรอื ทาให้ พลประจารถไดร้ บั บาดเจบ็ กจิ เฉพาะที่ ๕: เทคนคิ การใชท้ ัศนะสัญญาณในการตดิ สือ่ สาร เงอื่ นไข : ให้สถานการณใ์ นสนามฝึกพร้อมกับธงสญั ญาณและไฟฉายเท่าทจี่ าเปน็ มาตรฐาน : แสดงวธิ กี ารใหส้ ญั ญาณท่ถี กู ตอ้ งแตล่ ะวธิ ตี ามทกี่ ล่าวไวใ้ นคู่มือการใช้ทศั นะสญั ญาณ กิจเฉพาะท่ี ๖ : การขับรถถงั เอ็ม๖๐เอ๓ ผา่ นเคร่ืองกดี ขวางทเี่ ปน็ และข้ามเคร่อื งกดี ขวางในแนวดง่ิ เงอื่ นไข : รถถงั เอ็ม ๖๐ เอ๓, คูกวา้ ง ๑๘๐ นิว้ ,เครอ่ื งกีดขวางทางแนวดิง่ สงู ๔๙ นิ้ว เชน่ กาแพงหรือรัว้ มาตรฐาน : แจ้งเตอื นใหพ้ ลประจารถทราบว่าจะเคลื่อนที่ เคล่ือนเข้าหาคันคูอย่างช้า ๆ เม่ือขอบหน้าของ รถถงั ตกลงและแตะขอบของคันคู ใหเ้ พ่ิมกาลัง, ปรับความเรว็ และรักษาไว้ซ่ึงทิศทางในการเคลื่อนที่ แจ้งเตือน ใหท้ ราบว่าข้ามเคร่อื งกดี ขวาง เคลือ่ นที่เข้าหาเคร่ืองกีดขวางทางด่ิงทางมุมด้านขวาอย่างช้า ๆ เพ่ิมกาลังเม่ือ รถถงั เร่ิมปีนจนกระทัง่ หนา้ รถเร่มิ ตกลง จากน้ันลดกาลังของเคร่ืองยนต์ลงจนกระทั่งรถถังออกจากเครื่องกีด ขวาง ปฏิบัตติ ามทิศทางการเคลือ่ นทต่ี ่อไป กจิ เฉพาะที่ ๘: การโต้ตอบอาวุธยิงเล็งจาลอง (จาลอง) เงอ่ื นไข: รถถงั เอม็ ๖๐เอ๓ ทป่ี ฏบิ ตั กิ ารได้เตม็ ระบบพร้อมอปุ กรณป์ ระจารถ ในขณะทเ่ี ขา้ สู่สถานการณ์ทาง ยทุ ธวิธี (กาลงั เคลอ่ื นท)ี่ มาตรฐาน : ปฏิบตั ิตามคาส่ังการเคลือ่ นที่ที่ผบ.รถ ออกคาส่ังให้, เคล่ือนที่เข้าท่ีมั่นสารอง, หยุดรถถัง, ใส่หน้า กากปอ้ งกนั และปรับตาแหนง่ ของหมวก, เปิดสวิตช์กรองอากาศ และรายงานว่า “พลขบั พรอ้ ม“ กจิ เฉพาะท่ี ๙: การเลือกทต่ี ัง้ ยงิ ชั่วคราว เงื่อนไข : รถถงั เอม็ ๖๐เอ๓ ทปี่ ฏบิ ตั กิ ารได้เตม็ ระบบพร้อมอุปกรณป์ ระจารถ ในขณะท่เี คลอ่ื นทเี่ ข้าสทู่ ี่มนั่ ตง้ั รับชัว่ คราว, การหยุดชว่ั ขณะ, หรอื เมอื่ ได้รบั คาส่งั ในการยงิ เล็งตรง มาตรฐาน : เลือกและยึดครองท่ีต้ังยิงที่ให้การตรวจการณ์และพื้นการยิงดี ที่มีกาบังและซ่อนพราง, หรือมี เฉพาะท่ีกาบงั เทา่ น้ัน, หรือมีเฉพาะท่ีซ่อนพรางเทา่ นั้น ในขณะเดียวกันรถถังกอ็ ยู่ในตาแหนง่ กาบังตัวรถ
๑๖๘ ตารางฝึกทางยุทธวธิ ี ข- การฝึกพลประจารถ การปอ้ งกนั ต่อตา้ นการโจมตีด้วยสารเคมี คาแนะนาในการฝึก กิจเฉพาะ ข-๑ : การสวมหน้ากากป้องกันไอพษิ ,การกลับเขา้ สกู่ ารส่อื สารภายในรถ,การปดิ ฝาปอ้ ม และการต่อ ท่อกรองกา๊ ซเข้ากบั หนา้ กากป้องกัน เงื่อนไข : ยานพาหนะ : รถถังอยู่ในสภาพพร้อมรบกาเคลอื่ นทผี่ า่ นภูมปิ ระเทศทเ่ี ปน็ ป่าละเมาะ พลประจารถถงั แต่ละนายมหี นา้ กากปอ้ งกันไอพษิ เอม็ ๒๕เอ๑ อยู่ในถุงเก็บ ได้รบั คาแจง้ เตือนว่าถกู โจมตดี ้วยอาวธุ เคมี (จาลอง) เคร่อื งป้องกนั ทกุ ชนิดอยใู่ นตาแหนง่ ใช้งาน การตรวจกอ่ นการใชง้ านปฏบิ ัตเิ รยี บรอ้ ยแลว้ สถานขี องผบ.รถ: ฝาปิดปอ้ มของผบ.รถอยใู่ นตาแหน่งปิด ผบ.รถกาลงั ตรวจการณเ์ ขตรับผิดชอบของตน สถานีของพลยงิ : พลยิงกาลงั ตรวจการณ์เขตรบั ผิดชอบของรถถัง สถานีของพลบรรจุ : ฝาปิดปอ้ มของพลบรรจุขัดกลอนอยใู่ นตาแหนง่ ปิด พลบรรจุกาลงั ตรวจการณ์เขตรบั ผดิ ชองของตน สถานขี องพลขับ ฝาปิดปอ้ มของพลขบั ขดั กลอนอยใู่ นตาแหน่งปิด พลขับกาลงั ตรวจมาตรวดั และไฟรถอยู่ พลขับกาลงั ตรวจการณใ์ นเขตรบั ผดิ ชอบของตนผา่ นกลอ้ งตรวจการณ์ พลขับกาลงั ขบั รถอยู่ มาตรฐาน: ภายในเวลา ๑ นาที ๒๖ วินาที หลังจากได้รับคาเตือนเร่ิมแรกว่า “ก๊าซ” พลประจารถจะต้อง ส้ินสุดการปฏิบัติการฝึกดังต่อไปน้ี: สวมหน้ากากเสร็จภายในเวลา ๑๕ วินาทีและจัดเครื่องกรองให้อยู่ใน ตาแหน่งใน ๖ วินาที, ปิดป้อม, เปล่ียนหมวกพลประจารถเอใช้ในการรบ, ต่อปากพูด และกลับเข้าสู่การ ติดตอ่ สื่อสารภายในรถภายใน ๓๐ วนิ าที ต่อทอ่ กรองกา๊ ซเข้ากับหน้ากากป้องกันและ เปิดเคร่ืองให้ทางานใน ๓๕ วินาที สองสามวินาทีหลังจากท่ีการติดต่อสื่อสารภายในรถเร่ิมทางาน พลประจารถแต่ละนายจะต้อง รายงานการปฏิบตั ิของตนท้ังหมดตามลาดับขนั้ คาแนะนาในการฝกึ พลประจารถ : อ่านคาแนะนาตอ่ ไปน้ีให้พลประจารถฟังตามทีเ่ ขยี นไว้อย่างถกู ต้อง “ความมุ่งหมายในการฝึกพลประจารถน้ี เพื่อประเมินผลขีดความสามารถของพวกเราในการสวม หน้ากากป้องกัน,การกลับเข้าสู่การติดต่อส่ือสารภายในรถ,การปิดป้อม, และการต่อท่อกรองอากาศเข้ากับ หน้ากากป้องกัน สมมุติวา่ เรากาลงั เคลอ่ื นท่ีเขา้ สู่สนามรบ เราไดร้ ับรายงานจาก ผบ.มว.ของเราวา่ พวกเราตกอยู่ ภายใต้การโจมตจี ากจากอาวธุ เคมี เมอื่ ได้รับคาส่ังเร่มิ แรก พวกเราจะต้องสวมหน้ากากปอ้ งกนั ภายในเวลา ๑๕ วนิ าที และจัดตาแหน่งสายรัดภายใน ๖ วินาที เราจะต้องปิดฝาป้อมทั้งหมด,เปล่ียนหมวกพลประจารถ และ กลับเข้าสู่การติดต่อส่ือสารในรถภายในเวลา ๓๐ วินาที ขั้นตอนสุดท้ายเราต้องต่อท่อกรองอากาศเข้ากับ
๑๖๙ หนา้ กากปอ้ งกนั และเปดิ เครอ่ื งกรองอากาศให้ทางานภายในเวลา ๓๕ วนิ าที หลงั จากทก่ี ารตดิ ต่อสอื่ สารภายใน รถกลับมาใชง้ านได้อกี คร้งั หน่งึ ผมจะคอยสังเกตการปฏบิ ัติของพวกเราว่าปฏิบัติได้ถูกต้องตามขั้นตอน เมื่อ สนิ้ สุดการปฏิบัตกิ ารฝกึ แลว้ ผมจะแจ้งผลการปฏบิ ตั ิให้ทราบ” “คณุ มีคาถามเก่ยี วกบั การฝึกพลประจารถนห้ี รือไม่” (ตอบคาถาม) “พลประจารถ-เตรียมปฏิบตั กิ ารฝกึ ” การป้องกันตอ่ ตา้ นการโจมตีดว้ ยสารเคมี คาแนะนาการดาเนินกรรมวธิ ี ผบ.รถ พลยิง พลบรรจุ พลขับ ๑.ถอดหมวกพลประจารถ ถอดหมวกพลประจารถ ถอดหมวกพลประจารถ ถอดหมวกพลประจารถ ๒.สวมหน้ากากและ สวมหน้ากากและ สวมหน้ากากและ สวมหนา้ กากและ จัดตาแหน่งหน้ากาก จัดตาแหนง่ หนา้ กาก จัดตาแหน่งหนา้ กาก จดั ตาแหนง่ หนา้ กาก ๓. ถอดปากพดู ออก ถอดปากพดู ออก ถอดปากพูดออก ถอดปากพดู ออก จากหมวกพลประจารถ จากหมวกพลประจารถ จากหมวกพลประจารถ จากหมวกพลประจารถ ๔.ใส่ปากพดู ของหน้ากาก ใสป่ ากพดู ของหน้ากาก ใส่ปากพดู ของหนา้ กาก ใส่ปากพูดของหนา้ กาก เขา้ กับหมวกพลประจารถ เขา้ กบั หมวกพลประจารถ เข้ากับหมวกพลประจารถ เข้ากบั หมวกพลประจารถ ๕. สวมหมวกพลประจารถ สวมหมวกพลประจารถ สวมหมวกพลประจารถ สวมหมวกพลประจารถ ๖. ออกคาสงั่ ว่า รายงาน”พลยงิ รายงาน”พลบรรจุ รายงาน “พลขบั “พลประจารถรายงาน” เรียบรอ้ ย” เรียบรอ้ ย” เรียบรอ้ ย”เปดิ ท่อ ดดู อากาศที่เครือ่ งทา ความสะอาดและท่ี กรอง และเปิดสวทิ ช์ ๗.ปิดและขดั กลอน ปิดและขัดกลอน ฝาปิดปอ้ ม ๘.ปลดทอ่ อากาศ ปลดทอ่ อากาศ ปลดท่ออากาศ ปลดท่ออากาศ จากทเ่ี กบ็ ในรถ จากทเี่ กบ็ ในรถ จากทเ่ี กบ็ ในรถ จากทเี่ กบ็ ในรถ ๙ ตอ่ ท่ออากาศเข้ากับ ต่อทอ่ อากาศเข้ากบั ตอ่ ท่ออากาศเขา้ กบั ต่อทอ่ อากาศเขา้ กับ หม้อกรองอากาศ หมอ้ กรองอากาศ หมอ้ กรองอากาศ หมอ้ กรองอากาศ ของหนา้ กากปอ้ งกนั ของหนา้ กากปอ้ งกนั ของหนา้ กากปอ้ งกัน ของหนา้ กากป้องกัน
๑๗๐ ๑๐. ออกคาส่ัง ตดิ ต้ังกล้องตรวจการณ์ ปฏบิ ัตติ ามคาสงั่ “พลขับ-เคลอ่ื นท”่ี ๑๑.ส่งรายงาน นชค.ใหผ้ บ.มว. ทราบ ข้อสงั เกต : เพือ่ ปอ้ งกนั อันตรายจากความเย็นจัดของใบหน้าในสภาพอากาศทีเ่ ยน็ จัด ให้ใชเ้ คร่ืองทาความอบอนุ่ (HEATER) เขา้ กับท่ออากาศประมาณ ๑๕-๒๐ นาที ก่อนปฏบิ ตั ิตามข้อ ๘, ๙ ในขณะที่ทาการอุ่น เคร่ืองทาความอบอุน่ อยใู่ ห้ใช้การหายใจจากหม้อกรองอากาศของหน้ากากการใช้หมอ้ กรองอากาศ ในการหายใจอาจทาให้การหายใจติดขัดเลก็ นอ้ ย การปอ้ งกนั การตอ่ ตา้ นการโจมตีด้วยเคมี รายการตรวจสอบการปฏบิ ัติ เวลา_________/__________(นาท/ี วนิ าที) การปฏบิ ตั เิ ปน็ สว่ นรว่ ม ผา่ น ไม่ผา่ น ข้ันตอนในการปฏบิ ตั ิ พลประจารถ คู่มอื การฝึก ๑. แจ้งเตือน “กา๊ ซ” ผา่ น ไม่ผ่าน กจิ เฉพาะหมายเลข ๒.จอดรถถงั และลอ็ คเบรค ๓.ถอดหมวกพลประจารถ, ใส่ ผบ.รถ________ _________ ไมม่ หี มายเลข พลยงิ ________ _________ พลบรรจ_ุ _____ _________ พลขบั ________ _________ พลขับ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๐ ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๐๑๒
๑๗๑ หนา้ กาก พลยิง ________ _________ จัดตาแหนง่ หน้ากาก พลบรรจ_ุ _____ _________ พลขับ________ _________ ๔. ต่อปากพูด-หฟู งั กบั หมวก ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ พลประจารถและออกคาสั่งวา่ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ “พลประจารถ รายงาน” พลยิง ________ _________ พลบรรจ_ุ _____ _________ ๕. ตอ่ ปากพูด-หฟู งั แล้วรายงานว่า “พร้อม” พลขับ________ _________ ๖. สวมหมวกพลประจารถ ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๐๑๒ พลยงิ ________ _________ พลบรรจ_ุ _____ _________ พลขบั ________ _________ ๗.ปิดฝาป้อมปืนและขัดกลอน ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ พลบรรจ_ุ _____ _________ ๘. ปดิ ท่อทางเดินอากาศของ พลบรรจ_ุ _____ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ เครอ่ื งกรองอากาศและหน่วย พลขบั ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ กรองอากาศ ๙.เปดิ เครอื่ งกรองอากาศบรสิ ทุ ธ์ิ
๑๗๒ ขั้นตอนในการปฏบิ ตั ิ พลประจารถ คูม่ ือการฝึก ผา่ น ไมผ่ ่าน กิจเฉพาะหมายเลข ๑๐.ปลดข้อตอ่ อากาศออกจากท่ี ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ เกบ็ พลยงิ ________ _________ พลบรรจ_ุ _____ _________ พลขับ________ _________ ๑๑.ตอ่ ปลายสายทอ่ อากาศเขา้ กบั ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ ขอ้ ต่อบนเครอ่ื งกรองของหน้ากาก พลยงิ ________ _________ ๑๒.ออกคาสง่ั “พลขบั -เคลื่อนที่ “ ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ ๑๓. ปฏบิ ตั ิตามคาส่งั ของผบ.รถ พลขับ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ ๑๔.ตดิ ตงั้ กลอ้ งตรวจการณ์ พลบรรจ_ุ _____ _________ ไม่มหี มายเลข ๑๕. รายงาน โดยใชแ้ บบฟอร์ม ให้ ผบ.รถ________ _________ ไมม่ หี มายเลข ผบ.มว. ทราบ หมายเหตุ .................................................................................................................................................. ........................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................. ........................................... .................................................................................................................................. ......................................
๑๗๓ การปอ้ งกันต่อต้านการโจมตดี ว้ ยสารเคมี กจิ เฉพาะ-เพ่อื -ทาการฝกึ ตอ่ เน่ือง หมายเลขกจิ เฉพาะ ลักษณะของกิจเฉพาะ หลกั ฐานท่ีใช้ในการฝึก ๐๓๑-๕๐๓-๑๐๑๒ การติดต้งั -การสวม-การถอดและการเกบ็ คท.๓-๔๒๔๐-๒๘๐-๑๐ ๓๑๐-๕๐๓-๓๐๐๕ รักษา หน้ากากปอ้ งกันและเครอ่ื งกรอง ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๐ เอม็ ๒๔,เอม็ ๒๕, หรอื เอ็ม ๒๕ เอ ๑ นว. ๑๗-๑๕-๓ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๕ การเตรียมและสรปุ รายงาน นชค. คท.๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ คท.๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ การขบั รถถงั เอม็ ๔๘ เอ ๕ และเอ็ม ๖๐ การใช้งานเครอ่ื งทาอากาศบรสิ ทุ ธบ์ิ นรถถงั เอม็ ๖๐เอ๓
๑๗๔ การปอ้ งกันต่อต้านการโจมตดี ว้ ยนิวเคลียร์ (ฝ่ายเรา) คาแนะนาในการฝกึ กิจเฉพาะ ข-๒: การป้องกันตอ่ ตา้ นการโจมตดี ้วยนวิ เคลียรจ์ าลอง (ฝ่ายรา) เงือ่ นไข : ยานรบ : รถถงั ท่ีติดตั้งอปุ กรณพ์ ร้อมรบอยู่ในตาแหนง่ ที่ม่ันกาบังตวั รถ ออกคาสง่ั เตือนวา่ มีการโจมตดี ้วยนวิ เคลียร(์ ฝ่ายเรา) เครื่องป้องกนั ทกุ ชนดิ อยูใ่ นตาแหนง่ พร้อมใชง้ าน การตรวจสอบก่อนใชง้ านกระทาเรยี บรอ้ ยแลว้ สถานี ผบ.รถ : ฝาปิดปอ้ มปืนของ ผบ.รถ เปดิ อยู่และกลอนยึดฝาปอ้ มปนื อยู่ในตาแหน่งขัดกลอน ผบ.รถ กาลงั ตรวจการณ์เขตรบั ผดิ ชอบ สถานี พลยงิ : พลยงิ กาลงั ตรวจการณใ์ นเขตรบั ผดิ ชอบของตนอยู่ สถานี พลบรรจุ : ฝาปิดปอ้ มปืนของพลบรรจเุ ปิดอยแู่ ละกลอนยดึ ฝาป้อมปืนอยู่ในตาแหนง่ ขัดกลอน พลบรรจุ ทาการ ตรวจการณเ์ ขตรับผดิ ชอบ เครื่องปิดท้ายปนื ใหญอ่ ยู่ในตาแหนง่ ปิด (ปืนใหญบ่ รรจุกระสุนฝึกบรรจุอย)ู่ สถานี พลขบั : ฝาปิดหอ้ งพลขับ ปิดอยู่ในตาแหน่งขดั กลอน พลขับกาลงั ตรวจเครอ่ื งวัดและไฟเตือนต่าง ๆ อยู่ เครอื่ งยนตอ์ ยู่ในลกั ษณะเดนิ เบา (ความเร็วรอบ ๑,๐๐๐-๑,๒๐๐ รอบ/นาที(rpm)) เครอ่ื งเปล่ียนความเร็วอยใู่ นตาแหน่งวา่ ง (N) มาตรฐาน : ภายในเวลา ๗ วินาที หลังจากทีแ่ สงแลบจากแรงระเบิด (จาลอง) ของอาวุธนิวเคลียร์,ป้องกันพล ประจารถจากแสงสว่างจ้า, รังสีความร้อนและแรงระเบิดเริ่มแรก พลประจารถแต่ละนายจะต้องปฏิบัติการ ป้องกันท้ังหมดตามขั้นตอน คาแนะนาในการฝึกพลประจารถ : อ่านคาแนะนาตอ่ ไปน้ใี หพ้ ลประจารถฟงั อย่างถูกตอ้ งตามทก่ี ล่าวไว้ “ความม่งุ หมายของการฝึกนเ้ี พอ่ื ประเมินผลขดี ความสามารถของท่านในการปอ้ งกนั ตนเอง จากการโจมตีด้วย นิวเคลียร์ สมมุติว่าเราอยู่ในสภาวะการรบในที่ม่ันต้ังรับและตรวจการณ์พบแสงแลบจากการระเบิดของ นวิ เคลยี ร์ (จาลอง) เราจะต้องปฏบิ ตั ิการปอ้ งกนั ภายในเวลา ๗ วนิ าทีหลังจากทีเ่ กดิ แสงแลบจากการระเบดิ ของ นิวเคลยี ร์ ผมจะคอยสงั เกตการปฏิบัติของทา่ นเพื่อประเมินผลว่าปฏิบัติได้ถูกต้องตามขั้นตอนหรือไม่ เมื่อจบ การฝึกแลว้ ผมจะวจิ ารณ์ผลการปฏิบตั ิใหฟ้ ัง” “คุณมีคาถามเก่ียวกบั การฝกึ นห้ี รือไม”่ (ตอบคาถาม) “พลประจารถ-เร่มิ ปฏบิ ัติการฝกึ ”
๑๗๕ การป้องกนั ต่อต้านการโจมตีดว้ ยนวิ เคลียร(์ ฝา่ ยเรา) คาแนะนาในการดาเนนิ กรรมวธิ ี ผบ.รถ พลยงิ พลบรรจุ พลขับ ๑.แจ้งเตอื น ปิดฝากลอ้ งเลง็ หลบเขา้ ไปในป้อมปืน ดับเคร่อื งยนต์ ,ปิดสวิตช์ “ถกู โจมตี หมุนปอ้ มปนื ไปด้านหลัง ปั๊มน้ามัน เปิดสวติ ชไ์ ฟ ดว้ ยนิวเคลยี ร”์ หลักทิ้งไว้ ล็อคเบรค ๒.หลบเขา้ ไปในป้อมปืน ซบหน้าลงกับแขนและ ซบหนา้ ลงกับแขนและ ซบหน้าลงกบั แขนและ ปดิ ตา ปิดตา ปิดตา ๓.ปิดฝากลอ้ งเลง็ ตรึงตวั ให้มนั่ คง ตรึงตวั ให้มัน่ คง ตรงึ ตวั ให้มั่นคง ๔.ซบหน้าลงกับแขน อย่ใู นตาแหนง่ เดมิ จน อยใู่ นตาแหนง่ เดมิ จน อยู่ในตาแหนง่ เดิมจน และปดิ ตา กระทง่ั ผบ.รถแจง้ วา่ กระทง่ั ผบ.รถแจ้งวา่ กระทัง่ ผบ.รถแจง้ ว่า “ทกุ อย่างปลอดภยั ” “ทกุ อยา่ งปลอดภยั ” “ทุกอย่างปลอดภยั ” ๕.ตรึงตวั ใหม้ น่ั คง ๖.อยู่ในตาแหน่งเดมิ จนกระทัง่ คลื่นแรงระเบดิ ผ่านไปและยอ้ นกลบั มา ๗.แจ้งวา่ ”ทกุ อย่างปลอดภยั ” ๘.สง่ รายงานนชค.ตามแบบฟอร์มให้ผบ.มว.ทราบ ขอ้ สงั เกต : โดยปกตทิ ฤษฎีการรบแบบมาตรฐานของฝา่ ยคุกคาม ภายหลงั จากการโจมตีดว้ ยนวิ เคลยี รจ์ ะใช้ สารเคมโี จมตีตามมา พลประจารถจะตอ้ งเตรียมเข้าสรู่ ะดับ ลปภบ.- ๔หลงั จากถกู โจมตีด้วยนวิ เคลยี ร์ การปอ้ งกนั ตอ่ ตา้ นการโจมตดี ้วยนวิ เคลียร์ รายการตรวจสอบการปฏบิ ตั ิ เวลา_____/______ (นาที/วินาที) การปฏบิ ตั เิ ป็นสว่ นรวม ผ่าน ไม่ผ่าน ขั้นตอนในการปฏบิ ัติ พลประจารถ คู่มือการฝึก
๑๗๖ ผา่ น ไม่ผ่าน กิจเฉพาะหมายเลข ๑. แจง้ เตอื น”ถูกโจมตดี ว้ ยนิวเคลยี ร”์ ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ ๒.หลบเข้าไปในป้อมปนื ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ พลบรรจ_ุ _____ _________ ๓.ปดิ ฝาปดิ กล้องเลง็ ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ ๔.ปิดฝาปดิ กลอ้ งเลง็ พลยงิ ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ ๕.หมุนปอ้ มปืนไปด้านหลงั พลยงิ ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๖.ดับเครอื่ งยนต์และปดิ สวิทช์ปั๊มนา้ มนั พลขับ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๔๙ เปิดเช้ือเพลงิ สวิตชไ์ ฟหลัก ลอ็ คเบรค ๗. ซบหน้าลงกับแขน, ปดิ ตา และ ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ ตรึงตวั ใหม้ ่นั คง พลยิง ________ _________ พลบรรจ_ุ _____ _________ พลขับ________ _________ ๘. อยใู่ นตาแหน่งเดิมจนกระทง่ั ผบ.รถ ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ แจ้งวา่ “ทุกอย่างปลอดภัย” พลบรรจ_ุ _____ _________ พลขับ________ _________ ๙. อย่ใู นตาแหน่งเดมิ จนกระทง่ั คล่ืนจาก ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ แรงระเบดิ ผา่ นไปหรือยอ้ นกลบั ไป ๑๐. แจง้ เตอื น “ทุกอยา่ งปลอดภัย” ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ ๑๑. ส่งรายงานนชค ให้ผบ.มว.ทราบ ผบ.รถ________ _________ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ ข้อสงั เกต: _____________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ _____ ________________________________________________________________________________ _____ ________________________________________________________________________________ _____
๑๗๗ การปอ้ งกนั ต่อต้านการโจมตดี ้วยนวิ เคลยี ร์ (ฝา่ ยเรา) กจิ เฉพาะ-เพ่ือ-ทาการฝึกตอ่ เนอ่ื ง หมายเลขกจิ เฉพาะ ลกั ษณะของกิจเฉพาะ หลกั ฐานท่ใี ช้ทาการฝกึ ๐๓๑-๕๐๓-๑๙๐๕ การเตรยี มยานรบเม่ือมีการโจมตี รส. ๑๗-๙๕ ๐๓๑-๕๐๓-๓๐๐๕ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๔๙ ด้วยนิวเคลียร์ TEC ๙๓๑-๑๗๑-๐๓๐๑-F* ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ TEC ๙๓๑-๑๗๑-๐๓๐๑-F* การเตรียมและสรปุ รายงาน นชค. นว. ๑๗-๑๕-๓ การติดและดับเครือ่ งยนต์ ถ.M๔๘A๕, คท.๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ และถ.ตระกลู M๖๐ การเคล่อื นยา้ ยผู้บาดเจ็บออกจากถ.M๔๘A๕ คท.๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ และถ.ตระกลู M๖๐ * TEC = Training Extension Course (หลกั สูตรการฝกึ เพ่มิ เตมิ )
๑๗๘ การทาลายและการสละรถถงั ทเ่ี คร่ืองยนต์ชารดุ คาแนะนาในการฝกึ กิจเฉพาะท่ี ข-๔: การทาลาย (จาลอง) และการสละรถถังที่เคร่ืองยนตช์ ารดุ (จาลอง) เงือ่ นไข ยานรบ : รถถังซ่งึ เครื่องยนตช์ ารดุ (จาลอง) โดยเครอ่ื งยนตส์ ญู เสยี กาลังและอยใู่ นท่ีม่ันกาบงั ตวั รถ อุปกรณ์ คชฝ. ที่ต้องใช้งาน ปนื พกขนาด .๔๕ น้ิว, ปลย.เอม็ ๑๖เอ๑, ระเบดิ ฝกึ ขวา้ ง, นปสอ., แมกกาซีน, เสบยี ง และหนา้ กากป้องกันไอพิษ อุปกรณร์ ักษาความปลอดภัยทุกชนดิ อยใู่ นตาแหนง่ การตรวจก่อนใช้งานกระทาเรียบรอ้ ยแล้ว รถถงั บรรทกุ ยุทโธปกรณ์ตามแผนการบรรทกุ สถานผี บ.รถ : ฝาปดิ ปอ้ มปืนของผบ.รถ เปิดอยูแ่ ละกลอนยึดฝาปิดป้อมปืนอย่ใู นตาแหนง่ ขดั กลอน ผบ.รถกาลงั ตรวจการณเ์ ขตรบั ผดิ ชอบ พลยงิ : กาลังตรวจการณใ์ นเขตความรบั ชอบของรถถงั อยู่ สถานพี ลบรรจุ : ฝาปิดปอ้ มปืนของพลบรรจุ เปดิ อยแู่ ละกลอนยึดฝาปดิ ป้อมปนื อยูใ่ นตาแหน่งขดั กลอน พลบรรจกุ าลงั ตรวจการณ์เขตความรบั ผดิ ชอบของตน แทง่ ลกู เลื่อนอยู่ในตาแหนง่ ปิด (บรรจุกระสนุ ฝึกบรรจุอย)ู่ สถานีพลขับ: ฝาปิดหอ้ งพลขบั ปดิ และกลอนยึดฝาปดิ อยู่ในตาแหนง่ ขัดกลอน เคร่อื งยนต์ดบั อยู่ พลขบั กาลังตรวจการณ์ในเขตความรบั ผดิ ชอบของตนผา่ นกลอ้ งตรวจการณ์
๑๗๙ มาตรฐาน: ภายในเวลา ๕ นาที หลงั จากไดร้ บั คาสง่ั เริม่ แรกว่า “รถถังใชง้ านไมไ่ ด้” และใหส้ ละรถถังท่ี เครื่องยนตช์ ารุด (จาลอง) พลประจารถแต่ละนายจะต้องปฏบิ ตั หิ น้าทที่ งั้ หมดตามขนั้ ตอน ขอ้ สงั เกต: ถา้ ไมม่ ีการปะทะกับข้าศกึ หรอื ไมจ่ วนตัวจนถูกขา้ ศกึ จับได้ใหผ้ บ.รถ นา นปสอ.ติดตวั ไปดว้ ย คาแนะนาในการฝึกของพลประจารถ: อา่ นคาแนะนาดังตอ่ ไปน้ใี ห้พลประจารถฟงั ตามท่ีเขียนไวใ้ หถ้ ูกตอ้ ง “ความมุ่งหมายในการฝึกนเี้ พ่ือทดสอบขดี ความสามารถของพวกเราในการทาลาย (จาลอง) และการ สละรถถังทเ่ี ครอื่ งยนต์ชารดุ (จาลอง)สมมุตวิ ่ารถถงั เครอ่ื งยนต์ชารดุ หลังจากท่ีได้สง่ คาอธบิ ายสถานการณ์ให้ ผบ.มว. ออกคาสง่ั ให้เตรียมการทาลายรถถงั และ นปสอ. ด้วยลูกระเบดิ ขว้างจานวน ๔ ลกู สละรถและขนอาวธุ , หนา้ กากป้องกันไอพิษ, เสบียงและกระสนุ ด้วยตนเอง ผมจะคอยสงั เกตการปฏบิ ัติของพวกท่านเพื่อตรวจการ ปฏิบตั ทิ ีถ่ ูกตอ้ งครั้งน้ีแลว้ จะแจง้ ผลการฝกึ ใหท้ ราบ” “คุณมคี าถามใดทเ่ี ก่ยี วกับการฝึกครง้ั นห้ี รอื ไม”่ (ตอบคาถาม) “พลประจารถ – เตรยี มเรมิ่ การฝกึ โตต้ อบ”
๑๘๐ การทาลายและการสละรถถงั ทเี่ คร่อื งยนต์ชารุด คาแนะนาการดาเนินกรรมวิธี ผบ.รถ พลยงิ พลบรรจุ พลขับ ๑. ออกคาสงั่ “สละรถ- ท่รี วมพล(ขวา/ซ้าย/ ดา้ นหลงั ) ๒. หมนุ ป้อมปนื ไปท่ี เปดิ แท่งลกู เลอ่ื นและ ดับเครื่องยนต์ ตาแหนง่ ๓ นาฬิกา นากระสนุ ปืนใหญอ่ อก ตง้ั ความถ่วี ิทยไุ ปท่ี ตาแหน่งไม่ไดใ้ ชง้ าน ๓. ตรวจปนื ใหญ่ใหอ้ ยูใ่ นแนวระดับ วางกระสุนไว้บนพน้ื ๔. ถอดเครื่องประกอบชดุ ของ กลอ้ งเล็งเอม็ ๓๖ ออก (จาลอง) ๕. ยกปนื กลผบ.รถ ขน้ึ ใน ตาแหน่งสงู สุด ๖. ถอดเครอ่ื งปดิ ท้ายปนื กล ถอดปืนกลร่วมแกน เอ็ม ๘๕ (จาลอง) แลว้ ใสเ่ ข้า วางไว้บนป้อมปนื ไปในรงั เพลิงของปนื ใหญ่ ๗.เกบ็ กากปอ้ งกนั นชค. เก็บหน้ากากป้องกันนชค. เกบ็ หน้ากากปอ้ งกนั นชค. เกบ็ หน้ากากป้องกันนชค. อาวธุ ประจากาย อาวธุ ประจากาย อาวธุ ประจากาย อาวธุ ประจากาย, เสบยี ง และ นปสอ. และเสบียง ปนื กลและกระสนุ ปืนกล และกระสนุ ลูกระเบดิ ขวา้ งทัง้ หมด รวมทงั้ ระเบดิ เพลิง 4 ลกู (ฝกึ ) ๘.ใส่ นปสอ.ไว้ในรังเพลงิ ปนื ใหญ่ ๙. รบั ลกู ระเบิดเพลิง ส่งระเบิดเพลงิ ให้ ทาลายท่อนา้ มนั เคร่อื ง จากพลยงิ ๒ ลกู ผบ.รถ ๒ ลูก ทาความรอ้ นใหแ้ ตก แล้วเปิดสวติ ช์ไว้ ๑๐.ออกจากป้อมปืนของ ดึงสลักนริ ภัยระเบิดเพลงิ ออกจากป้อมปนื ทางตนและไปทางด้านหลงั รถ และวางลูกระเบิดทง้ั ช่อง ทางเขา้ ออกของ ตนและลงจากรถถัง ๒ ลูกในรงั เพลิง
๑๘๑ คาแนะนาการดาเนินกรรมวธิ ี ผบ.รถ พลยิง พลบรรจุ พลขบั ๑๑.เปดิ แผน่ ปิดเคร่ืองยนต์ ออกจากปอ้ มปืนทางชอ่ ง ปิดแท่งลูกเลื่อนและ ด้านขวาเพอ่ื เปิดถังน้ามนั ข้นึ -ลงปอ้ มปืนของ ผบ.รถ ใสถ่ งุ มือกนั ความร้อน เช้ือเพลิง ๑๒. ดึงสลกั ลกู ระเบดิ เตรียมปืนกลรว่ มแกน เพลงิ 1 ลูกและวาง และกระสุน 2 กล่อง ทงั้ 2 ลกู ลงบนถังน้ามัน แล้วลงจากรถ เพอื่ จุดนา้ มัน ๑๓.ลงจากรถ ข้อสังเกต: ถ้าไม่มีระเบิดเพลิงแบบ Thermite สาหรับการทาลายรถถัง ให้ใช้ค้อนหรือเคร่ืองมืออื่นๆ ท่ีมี น้าหนักทาลายอุปกรณ์ใหใ้ ชไ้ มไ่ ด้ (คอมพิวเตอร์, กล้องเล็งต่างๆ, เครื่องมือส่ือสาร และเครื่องวัดต่างๆ) เข็ม แทงชนวนปนื ใหญ่ และเครอ่ื งปิดทา้ ยปนื กล เอม็ ๘๕ ควรจะนาออกจากรถถงั และทาลายเสีย ถ้ามีวัสดุที่ติด ไฟง่าย ราดนา้ มนั เชื้อเพลงิ และน้ามนั เครอื่ งภายในป้อมปนื แล้วจดุ ดว้ ยไฟหรอื ลกู ระเบดิ ขว้าง ถ้าไมม่ กี ารปะทะ กบั ขา้ ศกึ หรอื ไม่จวนตัวที่จะถูกข้าศกึ จับได้ ให้ ผบ.รถ นา นปสอ.ติดตวั ไปด้วย การทาลายและการสละรถถงั ทเ่ี ครอ่ื งยนต์ชารุด รายการตรวจสอบการปฏบิ ตั ิ เวลา_____/_____(นาที/วินาที) การปฏิบตั ิเปน็ ส่วนรวม ผ่าน ไมผ่ า่ น
๑๘๒ ขนั้ ตอนในการปฏิบตั ิ พลประจารถ คู่มอื การฝกึ ผา่ น ไม่ผ่าน กจิ เฉพาะหมายเลข ๑. ออกคาสัง่ “สละรถ-ท่รี วมพล ผบ.รถ________ _________ (ปฏบิ ตั ิตาม รปจ.ของหน่วย) (บอกทิศทางขวา, ซา้ ย หรอื หลงั )” ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๑๒ ๒. หมนุ ป้อมปนื ไปท่ี ๓ นาฬกิ า พลขับ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๔๙ ๓. ดบั เครอ่ื งยนต์ พลยิง ________ _________ ๑๑๓-๕๘๗-๒๐๔๓ ๔.ตง้ั ความถวี่ ิทยุทไ่ี ม่ได้ใชง้ าน พลบรรจ_ุ _____ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๔๐ ๕.เปดิ แทง่ ลกู เลือ่ นและนากระสุนออก ๖.ถอดเครอ่ื งประกอบชดุ กลอ้ งเล็งเอม็ ๓๖ ผบ.รถ________ _________ ยกมมุ สูงของปืนกลผบ.รถขึน้ สงู สุด ๗.ถอดเครือ่ งปิดทา้ ยปืนกลเอม็ ๘๕ ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๒-๑๐๑๘ วางในรังเพลงิ ปนื ใหญ่ ๘.ถอดปนื กลรว่ มแกนและวางบนปอ้ มปืน พลบรรจ_ุ _____ _________ ๙. เกบ็ หนา้ กากนชค., อาวธุ ประจากาย, พลยิง ________ _________ ลูกระเบิดขวา้ งรวมทงั้ ระเบิดเพลิง ๔ ลกู ๑๐.สง่ ระเบิดเพลงิ ให้ผบ.รถ ๒ ลกู พลยงิ ________ _________ ๑๑. เก็บหนา้ กากนชค., อาวธุ ประจากาย พลบรรจ_ุ _____ _________ ปืนกลมอื , และกระสนุ พลขบั ________ _________ ๑๒. เกบ็ หน้ากากนชค.,อาวธุ ประจากาย, ผบ.รถ________ ________ เสบียงและนปสอ. ๑๓.วาง นปสอ. ไว้ในรังเพลงิ ปืนใหญ่ ผบ.รถ________ _________ ๑๔.รับระเบดิ เพลงิ จากพลยงิ ๒ ลกู ผบ.รถ________ _________ ๑๕.ออกจากป้อมปนื และไปทท่ี ้ายรถ ผบ.รถ________ _________ ๑๖. ทาลายท่อน้ามันเครอ่ื งทาความอบอุ่น ผบ.รถ________ ________ ให้แตก(จาลอง)และเปดิ สวิตช์ทง้ิ ไว้
๑๘๓ ข้ันตอนในการปฏบิ ัติ พลประจารถ คู่มือการฝึก ผา่ น ไม่ผ่าน กิจเฉพาะหมายเลข ๑๗. ดงึ สลกั ระเบดิ เพลงิ 1ลูก และวาง พลยิง ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๔๐ ทง้ั ๒ ลูก ลงในรงั เพลงิ ปืนใหญ่ พลยงิ ________ _________ ๑๘.ปิดแทง่ ลูกเลอ่ื นและสวมถงุ มอื พลบรรจ_ุ _____ _________ ๑๙.มดั ปืนกลรว่ มแกนและกระสุน สองกล่องเขา้ ด้วยกัน ๒๐.ลงจากรถถัง พลยงิ ________ _________ พลบรรจ_ุ _____ _________ พลขับ________ _________ ๒๑. เปดิ แผ่นปดิ ถังนา้ มนั เชอ้ื เพลงิ ผบ.รถ________ _________ ๒๒. ดงึ สลกั ระเบิดเพลิง ๑ ลูก และ ผบ.รถ________ _________ วาง ผบ.รถ________ _________ ทั้ง ๒ ลกู ลงบนถังนา้ มนั เช้ือเพลงิ เพื่อจดุ ไฟเผาถังนา้ มัน ๒๓.ลงจากรถถัง ข้อสังเกต: __________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____
๑๘๔ การทาลายและการสละรถถังทเ่ี คร่ืองยนต์ชารดุ กิจเฉพาะ-เพือ่ -ทาการฝกึ ตอ่ เนื่อง หมายเลขกจิ เฉพาะ ลกั ษณะของกจิ เฉพาะ หลกั ฐานทีใ่ ชใ้ นการฝกึ ๑๑๓-๕๘๗-๒๐๔๓ การเตรยี ม/การใชช้ ุดวิทยุ FM คท. ๑๑-๕๘๒๐-๓๙๘-๑๒ ๑๗๑-๑๒๒-๑๐๑๒ ๑๗๑-๑๒๒-๑๐๑๘ คท. ๑๑-๕๘๒๐-๔๐๑-๑๐-๑ ๑๗๑-๑๒๒-๑๐๔๐ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๔๙ คท. ๑๑-๕๘๒๐-๔๙๘-๑๒ ๑๗๑-๑๒๙-๑๐๑๒ คท. ๑๑-๕๘๒๐-๖๖๗-๑๒ การปรนนบิ ตั ิบารุง ปืนกล M ๒๔๐/M ๒๔๐C คท. ๙-๑๐๐๕-๓๑๓-๑๐ โดยผู้ใช้งาน การปรนนบิ ตั ิบารงุ ปนื กล M ๘๕ โดยผู้ใช้งาน คท. ๙- ๑๐๐๕-๒๑๓-๑๐ การบรรจแุ ละการเลกิ บรรจุกระสุนปืนใหญ่ คท. ๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ ขนาด ๑๐๕ มม. ในรถถัง M๔๘A๕, M ๖๐ การตดิ และดับเครอ่ื งยนต์ถ. M๔๘A๕, M๖๐ คท. ๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ การเตรียมอาวธุ ในสถานรี บของ ผบ.รถ คท. ๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ สาหรบั ใช้งานบนรถถงั M๖๐ A๓
๑๘๕ การเคลื่อนย้ายพลประจารถทีไ่ ดร้ บั บาดเจ็บ คาแนะนาในการฝึก กิจเฉพาะที่ ข-๕: การเคล่ือนยา้ ยพลประจารถท่ีบาดเจบ็ (จาลอง) ผา่ นช่องทางของพลบรรจุ เงอื่ นไข: ยานรบ: รถถังในสภาพพร้อมรบจอดอยู่ในทม่ี ่ันกาบงั ตัวรถ อปุ กรณร์ กั ษาความปลอดภยั ทกุ ชนดิ อยใู่ นตาแหนง่ การตรวจกอ่ นใชง้ านกระทาเรียบรอ้ ยแลว้ สถานผี บ.รถ: ฝาปิดปอ้ มปืนของผบ.รถเปิดอยใู่ นตาแหน่งขดั กลอน ผบ.รถกาลงั ตรวจการณเ์ ขตความรับผดิ ชอบ พลยิง: กาลงั ตรวจการณ์ในเขตความรับผดิ ชอบรถถังอยู่ สถานพี ลบรรจุ: ฝาปดิ ปอ้ มปืนของพลบรรจเุ ปดิ อย่ใู นตาแหน่งขดั กลอน พลประจาที่ไดร้ บั บาดเจ็บอยู่ในตาแหน่งของพลบรรจุ(จาลอง) สถานีพลขบั : ฝาปดิ ปอ้ มปืนของพลขบั เปิดอยใู่ นตาแหนง่ ขัดกลอน เครื่องยนตก์ าลงั เดินเบาอย(ู่ ๑,๐๐๐-๑,๒๐๐ รอบ/นาที) พลขบั กาลังตรวจมาตรวดั ต่างๆอยู่ เครอ่ื งเปลีย่ นความเรว็ อย่ใู นตาแหน่ง N หรือ P พลขับกาลงั ตรวจการณใ์ นเขตความรบั ผิดชอบของตนผ่านกล้องตรวจการณ์ มาตรฐาน: ภายในเวลา ๒ นาที หลงั จากได้รบั คาสง่ั เริม่ แรกวา่ “เคลื่อนย้ายผบู้ าดเจบ็ ” (จาลอง) พลประจารถ แตล่ ะนายจะตอ้ งปฏบิ ัตหิ น้าทท่ี ้งั หมดของตนตามขนั้ ตอน คาแนะนาในการฝึกของพลประจารถ: อ่านคาแนะนาตอ่ ไปนใ้ี หพ้ ลประจารถฟังอยา่ งถกู ตอ้ งตามทเ่ี ขยี นไว้: “ความมุ่งหมายในการฝกึ น้เี พ่อื ทดสอบขีดความสามารถของพวกเราในการเคลื่อนของพลประจา รถทบ่ี าดเจ็บ (จาลอง) สมมุติว่าพลซุ่มยิงของข้าศึกทาให้พลประจารถได้รับบาดเจ็บและพลซุ่มยิงถูกฆ่า ตายแล้ว ภายในเวลา ๒ นาที จะต้องเคล่ือนย้ายผบู้ าดเจ็บออกจากรถถัง หลงั จากท่ไี ดร้ บั คาสั่งเร่ิมแรก ผม จะต้องคอยสงั เกตการปฏบิ ัตขิ องทกุ ทา่ นเพอ่ื ตรวจสอบการปฏบิ ัติท่ีถูกต้อง เม่ือจบการฝึกครั้งนี้แล้ว ผมจะ วิจารณ์ผลการฝกึ ใหท้ ราบ” “คุณมีคาถามใดท่ีเกีย่ วกบั การฝกึ ครงั้ นห้ี รือไม่” (ตอบคาถาม) “พลประจารถ – เตรียมเรม่ิ การฝึก”
๑๘๖ การเคลื่อนยา้ ยพลประจารถท่ไี ด้รบั บาดเจ็บ คาแนะนาการดาเนนิ กรรมวิธี ผบ.รถ พลยิง พลบรรจุ พลขับ พลประจารถทุกนายแจง้ เตือน “พลบรรจุ (พลยิง,ผบ.รถ) – บาดเจบ็ ” ๑. ออกคาส่ัง “เคลอื่ นยา้ ย แนใ่ จสวติ ชป์ ืนใหญ่ จาลองวา่ เป็นผบู้ าดเจบ็ -พลบรรจอุ อกจากปอ้ ม” อยูใ่ นตาแหนง่ “OFF” และกระเดอื่ งนริ ภยั ของ พลบรรจอุ ย่ใู นตาแหน่ง “SAFE” ตรวจสอบดวู า่ ๒. สัง่ พลขบั ใหเ้ ข้าท่กี าบัง ถา้ พลบรรจยุ งั มีชีวติ อยู่ ขับรถตามคาสง่ั ของ และลอ็ คป้อมปืน ให้เคล่ือนยา้ ยตอ่ ไป ถา้ ตาย ให้เคลื่อนยา้ ยศพ ออกและอยู่ในตาแหนง่ ของพลบรรจุ หมนุ ปอ้ มปนื ไปที่ ๙ น. ผบ.รถ ดบั เครอ่ื งยนต์ ออกจากช่องทางของ ตนเอง และอยู่ขอบ ด้านบนชอ่ งทางของ พลบรรจุ ๓. ยกร่างพลบรรจขุ ้นึ สงู ยกร่างพลบรรจขุ ้นึ สงู รวบใตแ้ ขนพลบรรจุ พอท่ีพลขบั จะจบั ใต้แขน พอท่พี ลขบั จะจับใตแ้ ขน และยกตัวข้ึนจากช่ พลบรรจไุ ด้ พลบรรจุได้ ทางออกของพลบรรจุ ๔.ออกจากปอ้ มทางช่อง อย่ตู าแหน่งของ ผบ.รถ จับพลบรรจนุ งั่ บนฝา ทางของตนเอง และตรวจการณ์พื้นท่ี ปอ้ มของพลบรรจุ ๕. วางพลบรรจไุ ว้บน วาง พลบรรจไุ ว้บน ลงจากรถ ดาดฟา้ ดา้ นหลงั ดาดฝาดา้ นหลงั ๖. ชว่ ยเหลือพลบรรจุใน ขณะทพ่ี ลขบั ลงจากรถ ๗. พยงุ พลบรรจสุ ่งให้ พลขบั
๑๘๗ การเคลอ่ื นยา้ ยพลประจารถทไ่ี ด้รบั บาดเจ็บ ผบ.รถ พลยงิ พลบรรจุ พลขบั ๘. ลงจากรถ ให้สะโพกและขาของ พลบรรจวุ างพกั อยู่ กบั ด้านหน้ารถขณะ เดยี วกนั ช่วยพยุงรา่ ง พลบรรจุเอาไว้เพ่ือรอ ผบ.รถ ๙.ยกสะโพกและขาพล ยกร่างพลบรรจอุ อก บรรจุออกจากหน้ารถ จากหน้ารถและวาง และวางราบลงนอนกบั พ้ืน ราบลงนอนกบั พืน้ ๑๐.ปฐมพยาบาลขัน้ ตน้ รายงานสถานภาพของ ปฐมพยาบาลข้ันต้น รถถงั และกาลังพลให้ ผบ.มว.ทราบและร้อง ขอการสง่ กลบั ผบู้ าดเจ็บ ขอ้ สงั เกต: ถ้าผบ.รถ หรือพลยงิ บาดเจบ็ ให้สมมตุ วิ ่าพลบรรจปุ ฏิบตั หิ น้าท่นี ัน้ แทนสาหรับการเคล่ือนยา้ ย หลังจากเคลอื่ นยา้ ยสิ้นสุดลง ใหป้ ฏิบตั กิ ารฝกึ ดว้ ยพลประจารถ ๓ นาย การเคล่อื นย้ายพลประจารถทบ่ี าดเจบ็ รายการตรวจการปฏิบตั ิ เวลา______/______(นาที/วินาที) การปฏิบัตเิ ป็นสว่ นรวม ผา่ น ไม่ผ่าน
๑๘๘ ขัน้ ตอนในการปฏิบัติ พลประจารถ ค่มู ือการฝกึ ผา่ น ไมผ่ า่ น กจิ เฉพาะหมายเลข ๑. แจ้งเตอื น “พลบรรจบุ าดเจบ็ ” ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ พลยิง ________ _________ ๒. ออกคาส่งั “เคลอ่ื นย้ายพลบรรจ-ุ พลขบั ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ออกจากปอ้ ม” ผบ.รถ________ _______ พลยิง ________ _________ ๓. แน่ใจวา่ สวิตชป์ ืนใหญอ่ ยู่ในตาแหนง่ “OFF” และกระเด่อื งนริ ภัยของ พลยงิ ________ _________ พลบรรจุอยใู่ นตาแหนง่ “SAFE” ๔. ตรวจดวู า่ พลบรรจุมีชวี ิตอยหู่ รอื ไม่ ๕. สง่ั ให้พลขับขบั รถเขา้ ท่กี าบงั ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๖.ขบั รถตามคาสงั่ ของผบ.รถ พลขับ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓- ๑๐๕๐ ๗. ดับเครือ่ งยนต์ พลขบั ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๔๙ ๘. หมุนปอ้ มปนื ไปที่ ๙ นาฬกิ าและ พลยิง ________ _________ ๑๗๗-๑๒๓-๑๐๗๗ ล็อคป้อมปืน พลขบั ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๙. ออกจากรถทางชอ่ งทางของตนเอง พลยงิ ________ _________ และไปอย่ดู ้านข้างฝาปดิ ป้อมพลบรรจุ ๑๐. ยกพลบรรจอุ อกทางชอ่ งทางใหส้ งู เทา่ ทีจ่ ะทาได้ ๑๑. รบั พลบรรจุออกทางช่องทางเข้าออก พลขบั ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ และให้นงั่ บนฝาปดิ ปอ้ มปนื ผบ.รถ________ ________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๒. ออกจากปอ้ มปนื ทางชอ่ งทางของ ผบ.รถ
๑๘๙ ขนั้ ตอนในการปฏิบตั ิ พลประจารถ คู่มือการฝึก กจิ เฉพาะหมายเลข ผ่าน ไม่ผา่ น ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๓. เขา้ ไปอยูใ่ นตาแหนง่ ของผบ.รถ พลยิง ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ และ พลยิง ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ตรวจการณพ์ น้ื ที่ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๔. วางพลบรรจลุ งบนดาดฟา้ ดา้ นหลงั ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๕. พยุงพลบรรจุไวใ้ นขณะทพี่ ลขบั ลง ผบ.รถ________ _________ รถ ๑๖. ลงจากรถ พลขับ________ _________ ๑๗. สง่ ร่างพลบรรจุให้พลขบั ผบ.รถ________ _________ ๑๘. รับพลบรรจแุ ละพยุงตวั ไว้ พลขบั ________ _________ ๑๙. คอยให้ผบ.รถเข้ามาชว่ ย พลขบั ________ _________ ๒๐.ลงจากรถ ผบ.รถ________ _________ ๒๑. ยกร่างพลบรรจลุ งจากรถ ผบ.รถ________ _________ พลขับ________ _________ ๒๒.ปฐมพยาบาลข้นั ตน้ ผบ.รถ________ _________ พลขับ________ _________ ๒๓.รายงานสถานภาพของรถถงั และ พลยงิ ________ _________ พลประจารถให้ ผบ.มว.ทราบและ
๑๙๐ รอ้ งขอการสง่ กลบั ผบู้ าดเจ็บ ขอ้ สงั เกต: __________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____
๑๙๑ การเคล่ือนย้ายพลประจารถทบ่ี าดเจบ็ กจิ เฉพาะ-เพอ่ื -ทาการฝึกตอ่ เนอ่ื ง ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๔๙ หมายเลขกจิ เฉพาะ ลกั ษณะของกจิ เฉพาะ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๕๐ หลักฐานที่ใชท้ าการฝึก ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ คท.๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ การติดและดบั เคร่ืองยนต์รถถงั M๔๘A๕ หรอื รถถงั ตระกลู M60 คท.๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ การขับรถถงั M๔๘ A๕ หรอื รถถัง รส. ๘-๓๕ ตระกลู M ๖๐ คท.๙-๒๓๕๐-๒๕๓-๑๐ การเคลอื่ นย้ายพลประจารถถงั ท่ีบาดเจบ็ ออกจากรถถัง M ๔๘ A ๕ หรอื รถถงั ตระกลู M60
๑๙๒ การเคล่ือนย้ายพลขับทบ่ี าดเจบ็ คาแนะนาในการฝึก กิจเฉพาะท่ี ข-๖: การเคล่ือนพลขับทบี่ าดเจ็บ (จาลอง) ออกจากรถถัง เงื่อนไข: ยานรบ: รถถงั ในสภาพพร้อมรบจอดอยใู่ นพ้นื ทรี่ วมพลในแนวหน้า พลขบั บาดเจบ็ อยใู่ นสถานีของตนเอง(จาลอง) อุปกรณร์ กั ษาความปลอดภัยทุกชนิดอย่ใู นตาแหน่ง การตรวจกอ่ นใชง้ านกระทาเรียบรอ้ ยแลว้ สถานีผบ.รถ: ฝาปิดปอ้ มปืนของผบ.รถเปิดอย่ใู นตาแหนง่ ขัดกลอน ผบ.รถกาลงั ตรวจการณเ์ ขตรบั ผิดชอบ พลยิง: กาลงั ตรวจการณ์ในเขตรบั ผดิ ชอบของรถถงั อยู่ สถานพี ลบรรจุ: ฝาปดิ ปอ้ มปืนของพลบรรจุเปดิ อยู่ในตาแหน่งขัดกลอน พลบรรจกุ าลงั ตรวจการณเ์ ขตรบั ผดิ ชอบของตน สถานีพลขับ: ฝาปดิ ปอ้ มของพลขบั เปดิ อยู่ในตาแหนง่ ขดั กลอน เคร่ืองยนตก์ าลงั เดนิ เบาอยู่ (๑,๐๐๐-๑,๒๐๐ รอบ/นาท)ี เครือ่ งเปลีย่ นความเรว็ อยใู่ นตาแหนง่ N หรือ P พลขบั บาดเจบ็ อยูใ่ นสถานีของตนเอง มาตรฐาน: ภายในเวลา ๒ นาที หลงั จากไดร้ ับคาสงั่ เรม่ิ แรกวา่ \" เคลอื่ นยา้ ยผู้บาดเจบ็ \" พลขบั (จาลอง)ออก จากรถถัง พลประจารถแตล่ ะนายจะต้องปฏิบตั หิ น้าทีท่ ง้ั หมดของตนตามขัน้ ตอน คาแนะนาในการฝึกของพลประจารถ: อ่านคาแนะนาต่อไปนใ้ี ห้พลประจารถฟังอยา่ งถูกตอ้ งตามทีเ่ ขยี นไว้ \" ความมงุ่ หมายในการฝึกนี้ เพือ่ ทดสอบขีดความสามารถของพวกเราในการเคลื่อนย้าย พลขับท่ี บาดเจ็บ (จาลอง)สมมุติวา่ พลขับบาดเจบ็ ไม่ได้สตโิ ดยไมท่ ราบสาเหตุ ภายในเวลา ๒ นาทีเราจะตอ้ งยา้ ย พลขบั ออกจากรถถัง หลงั จากท่ไี ดร้ ับคาส่งั เรม่ิ แรก ผมจะคอยสงั เกตกุ ารปฏบิ ตั ขิ องทกุ ทา่ นเพอ่ื ตรวจสอบ การปฏิบัตทิ ่ีถกู ต้อง เม่อื จบการฝึกครั้งนี้แลว้ ผมจะวจิ ารณ์ผลการฝึกให้ทราบ \" \" คุณมีคาถามใดท่เี ก่ียวกบั การฝึกครง้ั น้หี รอื ไม่ \" (ตอบคาถาม ) \" พลประจารถ - เตรยี มเร่มิ การฝึก \"
๑๙๓ การเคล่อื นยา้ ยพลขับท่ีบาดเจ็บ คาแนะนาการดาเนินกรรมวธิ ี ผบ.รถ พลยงิ พลบรรจุ พลขบั พลประจารถแจง้ เตือน \" พลขบั - บาดเจบ็ \" ๑. ออกคาสั่ง \"เคลื่อนย้าย แนใ่ จว่าสวติ ช์ปืนใหญ่ แน่ใจว่ากระเดือ่ งนิรภยั จาลองว่าเปน็ ผบู้ าดเจ็บ พลขบั ออกทางช่องพลขบั \" อยู่ในตาแหน่ง \" OFF \" อยู่ในตาแหน่ง \"SAFE\" หมุนป้อมปืนไปทศิ ทาง๖น. ลอ็ คป้อมปืน, ดับเครื่อง เพอื่ เปิดชอ่ งทางพลขบั ปลดฝาปดิ ชอ่ งทางพลขบั จากด้านในปลดลอ็ คป้อมปนื ๒. ออกจากปอ้ มปืน หมนุ ปอ้ มปนื ไปทศิ ทาง ๓ น. ลอ็ คปอ้ ม ออกจากปอ้ มปืน ๓. เปิดฝาปดิ ชอ่ งทางพลขบั อยใู่ นตาแหนง่ ของ ผบ.รถ อยู่ท่ีขอบอีกดา้ นหน่ึง จากด้านนอกและอยู่ท่ีขอบ ตรวจการณ์พื้นที่ ของชอ่ งทางเขา้ ออก ของฝาปดิ ช่องทาง ๔. ย่ืนมือลงไปจบั มอื ทั้งสอง ข้างของพลขับไว้ ๕. ถ้าจาเป็นใหเ้ ล่ือนที่น่งั ของพลขบั ๖. จับแขนของพลขบั ประสาน กนั ทีห่ น้าอก ๗. จับแขนขา้ งหนงึ่ ของพลขับ จับแขนข้างหนึง่ ของพลขบั ๘. ยกและหมุนใหห้ น้าของ ยกและชว่ ยหมนุ ตัวของพลขบั พลขบั หนั ไปทา้ ยรถ ๙. วางรา่ งพลขบั น่งั ลงที่ วางร่างพลขบั นง่ั ลงที่ ขอบช่องทางเขา้ ออก ขอบชอ่ งทางเข้าออก ๑๐. พยงุ รา่ งพลขบั ไว้ขณะที่ ลงจากรถ พลบรรจุลงจากรถ ๑๑. คอ่ ย ๆ หย่อนร่างพลขับลง รับพลขบั โดยสอดแขน ไปในออ้ มแขนของพลบรรจุ รับใตร้ กั แรข้ องพลขบั ๑๒. ยกขาพลขบั ออกจากชอ่ ง ค่อย ๆเลอ่ื นตวั พลขับ ทางเข้า - ออก เม่ือพลบรรจุ ลงทางลาดหน้ารถและ ค่อย ๆ เล่ือนตวั ของพลขบั พยงุ รา่ งพลขบั ไว้จน ลงทางลาดดา้ นหนา้ รถ กระทง่ั ผบ.รถ ถึงพ้ืน
ผบ.รถ พลยงิ พลบรรจุ ๑๙๔ พลขบั ๑๓. ลงจากรถ ๑๔. ยกสะโพกและขาของ ยกรา่ งพลขบั ลงจากรถ พลขบั ลงจากรถขณะเดียว และวางราบลงนอนกับพื้น กนั ชว่ ยพยงุ รา่ งพลขับวาง ราบลงนอนกบั พื้น ๑๕. ปฐมพยาบาลข้นั ตน้ รายงานสถานภาพของ รถถงั และกาลังพลให้ ผบ.มว.ทราบและรอ้ งขอ การสง่ กลบั ผูบ้ าดเจบ็ ทางสายแพทย์ ขอ้ สงั เกต : ภายใตก้ ารยงิ ของข้าศกึ ใหเ้ คลือ่ นย้ายพลขบั ออกทางปอ้ มปนื
การเคลื่อนย้ายพลขบั ทบี่ าดเจ็บ ๑๙๕ รายการตรวจสอบการปฏิบตั ิ คมู่ ือการฝึก กจิ เฉพาะหมายเลข เวลา ______ / ______ (นาที / วนิ าที ) ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ การปฏิบตั เิ ปน็ สว่ นรวม ผ่าน ไม่ผา่ น ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ขั้นตอนในการปฏิบตั ิ พลประจารถ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ผา่ น ไม่ผ่าน ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑. แจง้ เตือน “พลขบั บาดเจ็บ” ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ พลยิง ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๒. ออกคาสง่ั \"เคลอื่ นย้ายพลขับ - พลบรรจ_ุ _____ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ออกจากช่องทางเข้าออก\" ผบ.รถ________ _________ ๓. แนใ่ จกระเดอ่ื งนริ ภัยอยู่ในตาแหนง่ พลบรรจ_ุ _____ _________ \"SAFE\" และลอ็ คป้อมปืน พลยิง ________ _________ ๔. หมุนป้อมปืนไปที่ทศิ ทาง ๖ น. เพ่ือเปิด ช่องทาง พลบรรจ_ุ _____ _________ ๕. ดบั เครือ่ งยนต์ ๖. ปลดลอ็ คฝาปดิ ชอ่ งทางพลขบั พลบรรจ_ุ _____ _________ ๗. ปลดลอ็ คป้อมปนื พลบรรจ_ุ _____ _________ ๘. หมนุ ปอ้ มปืนไปท่ีทศิ ทาง ๓ น. พลบรรจ_ุ _____ _________ ๙. ล็อคป้อมปืน พลบรรจ_ุ _____ _________ ๑๐. ออกจากปอ้ มปืนและเปดิ ฝาปิดชอ่ ง ผบ.รถ________ _________ ทางเข้า - ออก พลขบั จากดา้ นนอก ๑๑. ออกจากป้อมปืน พลบรรจ_ุ _____ _________
๑๒. อยูใ่ นตาแหน่งของ ผบ.รถ พลยงิ ________ _________ ๑๙๖ และตรวจการณ์พนื้ ท่ี ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๓. อยู่ท่ขี อบของช่องทาง เข้า - ออก ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ พลบรรจ_ุ _____ _________ ๑๔. จับพลขับนั่งยดื ตัวแลว้ จับแขนไขวไ้ ว้ ผบ.รถ________ _________ บนหน้าอก ๑๕. จบั ใต้รกั แร้ของพลขับ ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ พลบรรจ_ุ _____ _________ ขน้ั ตอนในการปฏิบัติ พลประจารถ คู่มือการฝึก กจิ เฉพาะหมายเลข ผ่าน ไม่ผา่ น ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๖. ยกและหมนุ ตวั พลขับเพื่อใหห้ น้า ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ของ พลบรรจ_ุ _____ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ พลขบั หันไปทางดา้ นหลัง ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๑๗. จับพลขับนัง่ ลงท่ีขอบช่องทางเขา้ – พลบรรจ_ุ _____ _________ ออกห้องพลขบั ผบ.รถ________ _________ ๑๘. พยงุ รา่ งพลขบั ไว้ขณะทพี่ ลบรรจลุ ง พลบรรจ_ุ _____ _________ จากรถ พลบรรจ_ุ _____ _________ ๑๙.ลงจากรถแล้วรบั ร่างพลขบั ไวโ้ ดย สอด แขนไว้ใตร้ กั แรแ้ ละพยุงไว้กบั อก ๒๐. ค่อย ๆ เล่ือนตัวพลขบั ลงทางลาด หนา้ รถแล้วพยุงไวจ้ นกระทง่ั ผบ. รถ ถงึ พื้นและเข้ามาช่วย
๑๙๗ ๒๑. ยกขาพลขบั ออกจากชอ่ งทางเข้า- ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ออก ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ ๒๒. ลงจากรถ ๒๓. ยกร่างพลขับลงจากรถแลว้ ผบ.รถ________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ วางนอนราบลงกบั พ้นื ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ พลบรรจ_ุ _____ _________ ๒๔. ปฐมพยาบาลขัน้ ตน้ ผบ.รถ________ _________ พลบรรจ_ุ _____ _________ ๒๕. รายงานสถานภาพของรถถังและ พลยิง_________ _________ ๑๗๑-๑๒๓-๑๐๗๗ พลประจารถให้ ผบ.มว. ทราบและ รอ้ งขอการสง่ กลบั ผบู้ าดเจบ็ ข้อสงั เกต: __________________________________________________________________________ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____ ________________________________________________________________________________ ____
หมายเลขกจิ เฉพาะ การเคลอื่ นยา้ ยพลขับท่บี าดเจ็บ ๑๙๘ ใช้ทาการฝึก กจิ เฉพาะ - เพ่อื - ทาการฝึกตอ่ เนื่อง หลักฐานท่ี ๑๗๑ - ๑๒๓ - ๑๐๔๙ ลกั ษณะของกจิ เฉพาะ ๑๗๑ - ๑๒๓ - ๑๐๗๗ การตดิ และดบั เครื่องยนตถ์ .M๔๘A๕ คท. ๙ - ๒๓๕๐ - ๒๕๓ –๑๐ หรือรถถังตระกลู M๖๐ รส. ๘ - ๓๕ การเคลอ่ื นย้ายพลประจารถถังท่ีบาดเจบ็ คท. ๙ - ๒๓๕๐ - ๒๕๓ -๑๐ ออกจากรถถัง M ๔๘ A ๕ หรอื รถถัง ตระกูล M๖๐
๑๙๙ การต่อตา้ นอาวธุ ยิงเลง็ จาลอง คาแนะนาในการฝึก กจิ เฉพาะท่ี ข-๗: การต่อต้านอาวุธยงิ เลง็ จาลอง (จาลอง) เง่อื นไข : ยานรบ : รถถังในสภาพพรอ้ มรบจอดอยู่ในพืน้ ทร่ี วมพลในแนวหน้า อปุ กรณร์ กั ษาความปลอดภยั ทุกชนิดอยูใ่ นตาแหน่ง การตรวจก่อนใชง้ านกระทาเรียบร้อยแลว้ สถานี ผบ.รถ : ฝาปิดปอ้ มปืนของ ผบ.รถ เปดิ อยใู่ นตาแหนง่ ขดั กลอน ผบ.รถ กาลงั ตรวจการณ์เขตรบั ผดิ ชอบ พลยงิ : กาลงั ตรวจการณเ์ ขตรบั ผดิ ชอบของรถถังอยู่ สถานีพลบรรจุ : ฝาปิดปอ้ มปนื ของพลบรรจุเปิดอยูใ่ นตาแหน่งขัดกลอน พลบรรจุกาลงั ตรวจการณเ์ ขตรบั ผดิ ชอบของตน สถานพี ลขับ : ฝาปิดปอ้ มของพลขบั ปดิ อยู่ในตาแหนง่ ขดั กลอน เคร่ืองยนตก์ าลงั เดินเบาอยู่ (๑,๐๐๐ - ๑,๒๐๐๐ รอบ / นาที ) พลขบั กาลังตรวจมาตรวดั ตา่ ง ๆ อยู่ เครือ่ งเปล่ยี นความเรว็ อยู่ในตาแหน่ง N หรอื P มาตรฐาน : ภายในเวลา ๒ นาที ๒๖ วินาที หลงั จากไดร้ บั คาเตอื นวา่ \"ปืนใหญ่ - กาลังยิงเข้ามา\" จะต้อง สน้ิ สุดการปฏบิ ตั กิ ารฝกึ ดงั น้ี : สวมหน้ากากภายใน ๑๕ วินาที และปรบั ตาแหนง่ เครอ่ื งปอ้ งกันภายใน ๖ วนิ าที ,ปิดฝาปอ้ มปนื , เปล่ียนปากพูดของหมวกพลประจารถภายใน ๓๐ วินาที (ถ้าม)ี , ต่อทอ่ กรองอากาศ บรสิ ุทธิ์กบั หนา้ กาก และเปดิ เครอ่ื งใช้งานกรองอากาศใน ๓๕ วินาที, เคลือ่ นรถถังไปอยูท่ ี่กาบงั ตัวรถภายใน เวลา ๑ นาที พลประจารถแตล่ ะนายจะต้องปฏิบตั หิ นา้ ที่ทง้ั หมดของตนตามขั้นตอน คาแนะนาในการฝึกของพลประจารถ : อ่านคาแนะนาตอ่ ไปนใ้ี ห้พลประจารถฟงั อยา่ งถกู ต้องตามทเ่ี ขียนไว้ \" ความม่งุ หมายในการฝึกน้ี เพ่อื ทดสอบขดี ความสามารถของพวกเราในการตอ่ ต้านอาวุธยงิ เลง็ จาลอง (จาลอง) โดยการป้องกนั ตนเองและกลอ้ งเลง็ ต่าง ๆ หลงั จากท่ีได้ยนิ คาส่งั เริ่มแรกวา่ \"ปืนใหญ่ - กาลังยิงเขา้ มา \" เราจะต้องสวมหน้ากาก, ภายในเวลา ๑๕ วนิ าที และปรบั ตาแหนง่ เคร่อื งป้องกันใน ๖ วินาที ,เปลีย่ นปากพดู หมวกพลประจารถ (ถา้ ม)ี , กลับคืนการตดิ ตอ่ สื่อสารภายใน, เปล่ยี นหมวกพล ประจารถและปดิ ป้อมปืนภายในเวลา ๓๐ วนิ าที เราจะต้องต่อท่อเคร่อื งทาอากาศบรสิ ุทธิแ์ ละเปดิ เครื่อง ใหใ้ ช้งาน ๓๕ วนิ าที สดุ ทา้ ยเราจะต้องเคลื่อนท่ีไปอยใู่ นทม่ี ัน่ กาบังตวั รถใน ๑ นาที ผมจะคอยสงั เกต
๒๐๐ การปฏบิ ัติของทุกท่านเพอ่ื ตรวจสอบการปฏิบตั ิท่ถี ูกตอ้ ง เมื่อจบการฝึกคร้งั นี้แล้ว ผมจะวิจารณ์การฝกึ ให้ ทราบ \" \" คุณมคี าถามใดท่เี กีย่ วกับการฝกึ ครั้งนี้หรอื ไม่ \" (ตอบคาถาม)\" พลประจารถ - เตรยี มเรมิ่ การฝึก \"
๒๐๑ การต่อต้านอาวุธยิงเล็งจาลอง คาแนะนาการดาเนินกรรมวธิ ี ผบ.รถ พลยิง พลบรรจุ พลขับ พลประจารถแจง้ เตอื น \"ปืนใหญ่ – กาลงั ยิงเข้ามา\" ๑. หลบเขา้ ไปในป้อมปนื ค้นหาเป้าหมาย หลบเข้าไปในปอ้ มปนื ดารงความเร็วของ เคร่ืองยนต์ ๒. ถอดหมวกพลประจารถ ถอดหมวกพลประจารถ ถอดหมวกพลประจารถ ถอดหมวกพลประจารถ ๓. ใส่หนา้ กากปรบั ใสห่ น้ากากปรับ ใสห่ นา้ กากปรบั ใส่หน้ากากปรบั ตาแหนง่ ตาแหน่ง ตาแหนง่ ตาแหนง่ ๔. ถอดปากพูดจากหมวก ถอดปากพดู จากหมวก ถอดปากพูดจากหมวก ถอดปากพดู จากหมวก ๕. ใสป่ ากพูดหนา้ กาก ใสป่ ากพูดหนา้ กาก ใส่ปากพูดหนา้ กาก ใส่ปากพูดหนา้ กาก ๖. สวมหมวกพลประจารถ สวมหมวกพลประจารถ สวมหมวกพลประจารถ สวมหมวกพลประจารถ ๗. ออกคาส่งั \"พลยงิ เรียบร้อย\" \"พลบรรจเุ รียบร้อย\" \"พลขบั เรียบรอ้ ย\" \"พลประจารถรายงาน\" เปิดเครอื่ งกรองอากาศ เปดิ เครือ่ งทาอากาศบรสิ ทุ ธิ์ ๘. ปิดและล็อคฝาปอ้ มปืน ปดิ และล็อคฝาปอ้ มปืน ๙. ปลดท่ออากาศบรสิ ทุ ธ์ิ ปลดทอ่ อากาศบรสิ ทุ ธิ์ ปลดท่ออากาศบรสิ ทุ ธ์ิ ปลดท่ออากาศบริสทุ ธิ์ จากทเี่ กบ็ ในรถ จากท่เี กบ็ ในรถ จากทีเ่ กบ็ ในรถ จากทเ่ี กบ็ ในรถ ๑๐. ตอ่ ทอ่ กบั หน้ากาก ต่อท่อกบั หน้ากาก ต่อทอ่ กับหน้ากาก ต่อท่อกบั หนา้ กาก ๑๑. ส่งั \" พลขบั - ถอยหลงั \" ตดิ กลอ้ งตรวจการณ์ ปฏบิ ัติตามคาส่งั ๑๒. นาพลขบั เขา้ ที่กาบงั ตัวรถ ๑๓. สงั่ พลขบั หยดุ รถ ๑๔. รายงานสถานภาพของ อาวธุ ยิงเลง็ จาลอง ,รถถัง และ พลประจารถให้ ผบ.มว.ทราบ ข้อสงั เกต : เพ่ือปอ้ งกนั อนั ตรายความเย็นตอ่ เนอ้ื เยอ่ื ของใบหน้าในอากาศที่เยน็ จดั เปิดเครอ่ื งทาความร้อนให้ แต่ละบุคคลประมาณ ๑๕-๒๐ นาที ก่อนทจี่ ะปฏิบัติในข้ันตอนที่ ๙ และ ๑๐ ในขณะทเ่ี คร่อื งทา ความรอ้ นกาลังใหค้ วามอบอ่นุ อยู่ ให้ใชเ้ คร่ืองปอ้ งกนั การหายใจของหม้อกรองอากาศจาก หน้ากาก การหายใจโดยใชอ้ ากาศจากหมอ้ กรองอากาศอาจทาให้การหายใจทาไดล้ าบากเลก็ น้อย หมายเหต:ุ สาหรบั การถอดและใสป่ ากพูดออกจากหมวกพลประจารถ (CVC) จะใช้ในกรณที ่หี น้ากาก ป้องกันนชค.มอี ปุ กรณ์ครบ การต่อตา้ นอาวุธยิงเล็งจาลอง รายการตรวจสอบการปฏิบัติ เวลา ______ / ______ (นาที / วนิ าที) การปฏิบตั ิเปน็ สว่ นรวม ผ่าน ไม่ผา่ น
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303