Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาหลักการสื่อสาร

วิชาหลักการสื่อสาร

Published by qacavalry, 2021-01-14 11:15:18

Description: วิชาหลักการสื่อสาร
รหัสวิชา ๐๑๐๒๐๓๐๕๐๑
หลักสูตร ปฐมนิเทศนายทหารใหม่ ศึกษาผ่านสื่อฯ
แผนกวิชาสื่อสาร กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

โรงเรียนทหารมา้ วิชา หลกั การสอื่ สาร รหัสวิชา ๐๑๐๒๐๓๐๕๐๑ หลักสตู ร ปฐมนิเทศนายทหารใหม่ ศกึ ษาผ่านส่ือฯ แผนกวิชาส่ือสาร กศ.รร.ม.ศม. ปรชั ญา รร.ม.ศม. “ฝึกอบรมวชิ าการทหาร วิทยาการทันสมยั ธารงไว้ซ่งึ คณุ ธรรม”

ปรัชญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหนึ่งในกองทัพบก ท่ีใช้ม้าหรือสิ่งกาเนิดความเร็วอื่น ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าท่ีมีความสาคัญ และจาเป็นเหล่าหน่ึง สาหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอ่ืน ๆ โดยมีคุณลักษณะ ที่มีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนท่ี อานาจการยิงรุนแรง และอานาจในการทาลายและข่มขวัญ อนั เปน็ คณุ ลกั ษณะทสี่ าคญั และจาเปน็ ของเหลา่ โรงเรียนทหารม้า ศนู ย์การทหารม้า มีปรชั ญาดงั น้ี “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทนั สมัย ธารงไว้ซ่ึงคุณธรรม” ปณธิ าน “ โรงเรยี นทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารม้า มุ่งพัฒนาการฝึกศึกษา วิชาการ และงานวิจัยเพื่อให้กาลังพลเป็นผู้มีความรู้ทาง วิชาการของเหล่า รวมทั้งเทคโนโลยีที่ทันสมัย ผลิตผู้นาทางทหารท่ีดีมีคุณธรรม มีความรับผิดชอบ และสามารถนา ความรู้ไปใช้ในการปฏบิ ัติหนา้ ทไ่ี ด้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ” วิสัยทศั น์ “ มคี วามเปน็ เลิศในการจัดการเรียนการสอน การบริการการศึกษา และงานวิจัยผลิตกาลังพลของเหล่าทหารม้า เพื่อ เป็นกาลงั หลักของกองทัพบก ” อัตลักษณ์ “เขม้ แข็ง มวี ินยั ใฝ่ความรู้ เชิดชูคณุ ธรรม นอ้ มนาพระราชดารสั ปฏิบตั ิตามนโยบาย” เอกลักษณ์ “โรงเรียนทหารมา้ มุ่งศึกษา องค์ความรู้ บูรณาการการรบทหารมา้ ร่วมพัฒนาชาติ เพ่ิมอานาจกาลงั รบของกองทัพบก” พันธกิจ ๑. พัฒนาคุณภาพครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ๒. จดั การฝึกศกึ ษาใหก้ ับกาลงั พลเหล่าทหารม้า และเหลา่ อ่นื ๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓. ผลิตนายทหารชั้นประทวนของเหลา่ ทหารมา้ ตามทไี่ ด้รับมอบหมาย ๔. วจิ ัยและพัฒนาระบบการศึกษา ๕. ปกครองบังคับบัญชากาลังพลของหนว่ ย และผู้เขา้ รับการศกึ ษาหลกั สตู รตา่ งๆ ๖. พฒั นาสอ่ื การเรียนการสอน เอกสาร ตาราของโรงเรยี นทหารมา้ ๗. ทานบุ ารุงศลิ ปวัฒนธรรม วตั ถุประสงค์ ๑. เพ่ือพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับ ผเู้ ข้ารบั การศึกษาไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๒. เพ่ือพฒั นาระบบการศึกษา และจดั การเรยี นการสอนผ่านสือ่ อเิ ลก็ ทรอนิกส์ ใหม้ ีคณุ ภาพอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๓. เพ่ือดาเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารชั้นประทวน ท่ีโรงเรียนทหารม้าผลิต และกาลังพลท่ีเข้ารับการศึกษา ให้มี ความรู้ความสามารถตามท่หี น่วย และกองทัพบกตอ้ งการ

๔. เพื่อพฒั นาระบบการบริหาร และการจดั การทรพั ยากรสนับสนนุ การเรยี นรู้ ให้เกิดประโยชน์สงู สุด ๕. เพ่ือพฒั นาปรบั ปรงุ สือการเรยี นการสอน เอกสาร ตารา ให้มีความทนั สมยั ในการฝึกศกึ ษาอยา่ งต่อเนอื่ ง ๖. เพ่ือพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการ กบั สถาบันการศกึ ษา หน่วยงานอน่ื ๆ รวมท้ังการทานุบารงุ ศิลปวฒั ธรรม

คำนำ เอกสารตาราวิชาสื่อสารทหารมา้ เล่มน้ี ใชเ้ ป็ นคู่มือประกอบการเรียนสาหรับนายทหาร นกั เรียนหลกั สูตร ช้นั นายพนั เหล่าทหารมา้ ซ่ึงประกอบดว้ ยเน้ือหาสาระท้งั หมด 12 บทเรียน และจะมี ขอบเขตครอบคลุมในเรื่องหลกั การสื่อสาร และการแนะนาเคร่ืองมือสื่อสารประเภทวทิ ยแุ ละทางสาย ที่มีใชใ้ นหน่วยทหารมา้ ซ่ึงประเภทวิทยนุ ้ันจะมีท้งั ระบบ FM และ AM แต่เน้ือหารายละเอียดของ เครื่องสื่อสาร จะกล่าวเฉพาะส่วนประกอบชุดและคุณลักษณะทางเทคนิคเท่าน้ัน ท้ังน้ีเพ่ือให้ นายทหารนักเรียนใช้เป็ นแนวทางในการวางแผนการใชง้ านทางยุทธวิธี และใช้กากับดูแลการ ปฏบิ ตั ิงานของเจา้ หนา้ ทีท่ ีเ่ กี่ยวขอ้ งกบั เครื่องมือสื่อสารของหน่วยอยา่ งมีประสิทธิภาพ เอกสารตาราเล่มน้ีไดร้ วบรวมจากหนังสือของทางราชการ ไดแ้ ก่ คู่มือราชการสนาม(รส.) ทบ.ไทยท่เี กี่ยวขอ้ ง รวมท้งั การแปลและเรียบเรียงจากคู่มือราชการสนาม (FM) ของ ทบ.สหรฐั อเมริกา และ คูม่ ือทางเทคนิค (TM) ของเคร่ืองสื่อสารแตล่ ะชนิด ซ่ึงในแต่ละทา้ ยบทจะระบหุ ลกั ฐานอา้ งอิงไว้ เพอื่ การศึกษาและ คน้ ควา้ เพม่ิ เติมต่อไป หากผรู้ ับการศึกษาและ/หรือท่านใดก็ตามที่พบขอ้ บกพร่อง หรือมีขอ้ เสนอแนะ กรุณาแจง้ โดยตรงท่ี แผนกวชิ าสื่อสาร กศ.รร.ม.ศม. เพอื่ จะไดด้ าเนินการแกไ้ ขและ ปรับปรุงต่อไป แผนกวชิ าส่ือสาร กองการศึกษา โรงเรียนทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารมา้ คา่ ยอดิศร สระบุรี

สำรบัญ หนา้ 1 -9 เรื่อง 10 - 31 บทที่ 1 การส่ือสารทว่ั ไป 32 - 38 บทที่ 2 การสื่อสารในกองร้อย และกองพนั ทหารมา้ 39 - 49 บทที่ 3 ระบบการสื่อสารในที่บงั คบั การ 50 - 72 บทที่ 4 การส่ือสารทางยทุ ธวิธี บทที่ 5 คาส่งั บนั ทึก และรายงานการส่ือสาร …………………………

1 บทที่ 1 การส่ือสารทว่ั ไป (COMMUNICATION) 1. ความสาคญั ในการส่ือสาร ความเจริญของอาวธุ ยทุ โธปกรณ์ในยคุ ปัจจุบนั บงั คบั ใหพ้ ้ืนที่ปฏิบตั ิการของหน่วยทหารตอ้ งมี ความกวา้ งขวางยง่ิ ข้ึนท้งั ทางกวา้ งและทางลึก ท้งั น้ีเพื่อลดอนั ตรายจากอานาจการยงิ ของอาวธุ ในเขตพ้ืนท่ี ปฏบิ ตั ิการที่เป็นป่ าและภูเขามีความยากลาบากในการบงั คบั บญั ชาและควบคุมสงั่ การเป็ นอยา่ งมาก การท่ีจะ บงั คบั บญั ชาและควบคุมหน่วย จึงจาเป็ นตอ้ งมีเคร่ืองมือสาหรับใช้ในการบงั คบั บัญชาและสั่งการท่ีมี เทคโนโลยที นั สมยั และมีประสิทธิภาพสูง ซ่ึงเคร่ืองมือน้นั กค็ อื “ เคร่ืองมือส่ือสาร ” นนั่ เอง 2. เครื่องมือสื่อสาร เคร่ืองมือส่ือสาร มีความมุ่งหมายเพอ่ื ใชใ้ นการรับ – ส่งข่าว แมว้ า่ เราจะอยหู่ ่างไกลเกินกวา่ เสียงของ มนุษยจ์ ะไดย้ นิ แต่เรากส็ ามารถส่งข่าวถึงกนั ไดโ้ ดยการใชต้ วั แทน หรือสญั ญาณตวั แทน อาจจะเป็ นพลนา สาร, การไปรษณีย์ หรือสตั วน์ าสารกไ็ ด้ สญั ญาณอาจจะเป็นเสียงสญั ญาณ, ทศั นสญั ญาณ หรือไฟฟ้า ก็ได้ เครื่องมือส่ือสารทใี่ ชส้ ญั ญาณ เรียกวา่ การโทรคมนาคม เครื่องมือสื่อสารแบ่งตามการใชท้ างทหารออกเป็ น 4 ชนิด คอื 1) การนาสาร ( Messenger ) 2) การไปรษณีย์ ( Mail ) 3) สตั วน์ าสาร ( Trained Animal ) 4) การโทรคมนาคม ( Telecommunication ) - ทศั นสญั ญาณ - เสียงสญั ญาณ - ทางสาย - วทิ ยุ ความสบั สนทเี่ กิดข้นึ บอ่ ยๆ เก่ียวกบั เครื่องมือสื่อสารอยทู่ ี่วิธีการส่งข่าวดว้ ยเครื่องมือแต่ละชนิดท่ี มีคุณลกั ษณะแตกต่างกนั หน่วยทหารขนาดเล็กในแนวหน้าอาจใชว้ ทิ ยขุ นาดเล็ก ( Handy Talkie ) หรือ โทรศพั ทส์ นาม ในหน่วยทหารขนาดใหญ่ หรือสาหรับผบู้ งั คบั บญั ชาช้นั สูง อาจใชเ้ ครื่องอุปกรณ์ สื่อสารท่ี มีความสลบั ซับซ้อน เช่นการสื่อสารดว้ ยระบบดาวเทียม โทรพิมพ์ โทรสาร เพือ่ รับสัญญาณโทรทศั น์จาก สถานีส่งท่ีอยู่ในอากาศ เพอ่ื ส่งภาพถ่ายทางอากาศ และแผนท่ี รับส่งข่าวทางโทรพิมพ์ วธิ ีการส่งดังกล่าว ท้งั หมดน้ี ใชเ้ ครื่องมือประเภทไฟฟ้าซ่ึงไดแ้ ก่ ทางสาย หรือวิทยุ แมว้ ่าวธิ ีการส่งข่าวจะแตกต่างกนั แต่ เครื่องมือสื่อสารท่ีหน่วยทหารขนาดเล็กและหน่วยทหารขนาดใหญ่ใช้น้ัน จะได้ผลลพั ธ์เช่นเดียวกัน แตกต่างกนั ท่เี วลาเทา่ น้นั ภายในศูนยก์ ารสื่อสารน้นั ข่าวสารส่วนมากอาจส่งโดยพลนาสาร และเคร่ืองมือ ส่ือสารประเภทไฟฟ้า พลนาสารน้นั อาจเป็นพลนาสารทางบก, ทางน้า, ทางอากาศ วิธีการส่งข่าวซ่ึงใชไ้ ดท้ ้งั วงจรวทิ ยุ และทางสายน้นั ไดแ้ ก่โทรเลขเคาะดว้ ยมือ, โทรพมิ พ,์ โทรศพั ท,์ โทรสาเนา, โทรทศั น์ และการส่ง

2 ขอ้ มูลเพอ่ื ใหก้ ารส่งข่าวดาเนินไปโดยรวดเร็วศูนยก์ ารส่ือสารจะตอ้ งทราบวา่ เคร่ืองมือส่ือสารแต่ละชนิดใช้ งานไดห้ รือไม่อยา่ งไร เนื่องจากศูนยข์ ่าวซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของศนู ยก์ ารส่ือสาร มีหนา้ ท่ีในการเลือกเคร่ืองมือ ในการส่งขา่ ว ศูนยข์ ่าวจงึ ตอ้ งมี ตารางเครื่องมือส่ือสาร ( Means Chart ) ซ่ึงแสดงสถานภาพของอุปกรณ์การ ส่งขา่ วที่มีอยใู่ นศูนยก์ ารส่ือสาร ตารางน้ีเองที่ช่วยให้เจา้ หน้าท่ีในศูนยข์ ่าวสามารถเลือกเครื่องมือ สื่อสารที่ เหมาะสมที่สุดที่จะใชส้ ่งข่าว เนื่องจากศูนยก์ ารสื่อสารรับผดิ ชอบในการประสานการใชเ้ คร่ืองมือสื่อสาร ดังน้ันนายทหารฝ่ ายการสื่อสารและนายทหารเหล่าทหารส่ือสารทุกคน ควรจะได้มีความรู้ในเร่ืองขีด ความสามารถ และขีดจากดั ของเคร่ืองมือชนิดต่าง ๆ โดยละเอียด การท่ีจะใช้เคร่ืองมือส่ือสารให้ได้ ประสิทธิผลกวา้ งขวางเพียงใด อาจถูกจากดั ดว้ ยสถานการณ์ของการรบ, ลมฟ้าอากาศ, ภูมิประเทศ,ภารกิจ ของหน่วย,ขอ้ พจิ ารณาทว่ั ๆ ไป 3. การนาสาร 3.1 พลนาสาร หรือลูกวงิ่ ( Runner ) เป็ นวิธีส่งข่าวที่เก่าท่ีสุด แมว้ า่ ในปัจจุบนั เทคโนโลยสี มยั ใหม่จะ เขา้ มามีบทบาทในระบบการสื่อสารก็ตาม แต่บริการพลนาสารก็ยงั ใช้กันอยู่อย่างแพร่หลาย และเป็ น เครื่องมือสื่อสารทีเ่ ชื่อถือได้ และปลอดภยั มากท่ีสุด ตามปกติจะใชพ้ ลนาสารเมื่อเห็นว่าการส่งข่าวดว้ ยพล นาสารน้นั เสียเวลานอ้ ยกวา่ การส่งข่าวดว้ ยเครื่องมือชนิดอื่น เร่ืองน้ีเป็ นความจริงสาหรับการส่งแผนท่ี และ คาสง่ั เป็ นจานวนมาก ๆ และการส่งข่าวที่มีความเร่งด่วนต่า เช่น ใบเบิกของ และรายงานธุรการ หรือข่าวท่ี กาหนดช้นั ความลบั ซ่ึงจะตอ้ งเขา้ การอักษรลบั ก่อนส่งดว้ ยเครื่องมือส่ือสารประเภทไฟฟ้า และถอดการ อกั ษรลบั หลงั จากรบั ขา่ วมาแลว้ พลนาสารเป็นมชั ฌมิ ที่ดีท่ีสุด สาหรับการส่งข่าวยาว ๆ ในระยะทางใกล้ ๆ เมื่อเปรียบเทยี บกบั มชั ฌิมอ่ืน ๆ แลว้ การส่งข่าวดว้ ยพลนาสารน้นั คอ่ นขา้ งชา้ และอาจเสี่ยงอนั ตรายจากการ กระทาของขา้ ศกึ ในพน้ื ทีข่ า้ งหนา้ ดว้ ย 3.2 ระบบของพลนาสาร 3.2.1 ระบบพลนาสารภายใน จดั ข้ึนเพอื่ นาส่งข่าวภายในท่ตี ้งั หน่วย 3.2.1.1 การนาส่งข่าวถึงผรู้ ับภายใน บก.หน่วย และจาก บก.หน่วยไปยงั ศูนยก์ ารสื่อสาร ใชเ้ จา้ หนา้ ทขี่ อง บก.น้นั เป็นพลนาสาร 3.2.1.2 การนาขา่ วจากศูนยก์ ารสื่อสารไปยงั บก.หน่วย ซ่ึงศูนยก์ ารสื่อสารน้นั จดั ประจา อยใู่ ชเ้ จา้ หนา้ ท่ขี องศูนยก์ ารส่ือสาร เป็นพลนาสาร 3.2.2 ระบบพลนาสารภายนอก จดั ข้ึนเพอ่ื นาส่งข่าวระหวา่ ง บก.หน่วย หรือระหวา่ งศูนยก์ าร สื่อสาร ใชเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องศนู ยก์ ารส่ือสาร เป็นพลนาสาร 3.3 ชนิดของพลนาสาร 3.3.1 พลนาสารตามชนิดของงาน 3.3.1.1 พลนาสารตามกาหนดเวลา จะออกปฏิบตั ิงาน และกลบั ตามเวลาที่กาหนดไว้ และจะหยดุ ณ จุดต่าง ๆ ตามท่ีกาหนดไวใ้ นเส้นทางซ่ึงไดพ้ ิจารณาไวก้ ่อนแลว้ ตามปกติจะเดินทางเป็ น วงกลมไปยงั ศูนยก์ ารสื่อสาร หรือหน่วยต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ข่าวน้นั ๆ

3 3.3.1.2 พลนาสารไม่กาหนดเวลา จะออกปฏิบตั ิงานโดยไม่มีกาหนดเวลาท่ีแน่นอนตามปกติ จะใช้เม่ือยงั ไม่ได้จดั พลนาสารตามกาหนดเวลาข้ึน หรือจัดข้ึนเพ่ือเสริมพลนาสารตามกาหนดเวลา เมื่อจาเป็ นก็ได้ 3.3.1.3 พลนาสารพเิ ศษ หรือผนู้ าสารพิเศษ เป็ นพลนาสารที่จดั ข้ึนเพอื่ นาส่งข่าวท่ีตอ้ งมี การรกั ษาความปลอดภยั เป็นพเิ ศษ หรือดว้ ยเหตุผลพเิ ศษอ่ืน ตามความตอ้ งการของผบู้ งั คบั บญั ชา ในกรณี ท่ขี า่ วน้นั เป็นข่าวลบั ทส่ี ุด จะตอ้ งจดั นายทหารช้นั สญั ญาบตั รเป็ นผนู้ าสารพเิ ศษ นาส่งข่าวน้นั เสมอ 3.3.2 พลนาสารตามชนิดของการขนส่ง 3.3.2.1 พลนาสารทางบก ไดแ้ ก่ พลนาสารเดินเทา้ , พลนาสารจกั รยาน,พลนาสารขี่มา้ , พลนาสารจกั รยานยนต,์ พลนาสารยานยนต์ และพลนาสารทางรถไฟ 3.3.2.2 พลนาสารทางอากาศ ท้งั เคร่ืองบนิ ปี กตดิ ลาตวั และปี กหมุน 3.3.2.3 พลนาสารทางน้า เรือพาย, เรือแจว, เรือยนต์ แพ 3.4 ขอ้ พจิ ารณาการใชก้ ารนาสาร 3.4.1 ขอ้ พจิ ารณาเก่ียวกบั บคุ คลท่ที าหนา้ ทเ่ี ป็ นพลนาสาร 3.4.1.1 ควรเป็นผทู้ ี่มีความกลา้ หาญ, ฉลาดรอบคอบและสามารถแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า ได้ เพราะพลนาสารเป็นเคร่ืองมือสื่อสารทจี่ ดั อยใู่ นเกณฑป์ ลอดภยั มากท่สี ุด 3.4.1.2 เป็นบุคคลทีม่ ีสุขภาพดี อดทน ไม่ยอ่ ทอ้ ตอ่ อุปสรรคอนั ตรายที่จะเกิดข้นึ 3.4.1.3 ไดร้ บั การฝึกอบรมมาเป็ นอยา่ งดี มีความซื่อสตั ย์จงรักภกั ดี มีวนิ ยั 3.4.1.4 มีความคุน้ เคยกบั ภูมิประเทศ และสภาพลมฟ้าอากาศทจ่ี ะตอ้ งนาสารไปเป็ นอยา่ งดี 3.4.1.5 เป็นผทู้ ไี่ ดร้ ับการพสิ ูจน์แลว้ วา่ เป็นผเู้ขา้ ถึงช้นั ความลบั ได้ 3.4.2 ขอ้ พจิ ารณาในการปฏิบตั ิ 3.4.2.1 มีขีดจากัด คือ ช้า และล่อแหลมจากการตรวจพบของขา้ ศึกในพ้ืนท่ีปฏิบตั ิการ โดยเฉพาะในแนวหนา้ 3.4.2.2 ไม่อานวยใหม้ ีการสนทนาระหวา่ งผสู้ ่งกบั ผรู้ บั 3.4.3 การฝึกพเิ ศษสาหรบั พลนาสาร 3.4.3.1 การอ่าน การใชแ้ ผนที่ และเขม็ ทิศ 3.1.3.2 การขบั รถในเวลากลางคนื โดยไม่ใชไ้ ฟ 3.4.3.3 กฎเกณฑเ์ ก่ียวกบั การพทิ กั ษข์ ่าวสาร 3.4.3.4 อาวธุ ประจากาย 3.4.3.5 การใชย้ านพาหนะ รวมท้งั การซ่อมดว้ ย 3.4.3.6 การจดั หน่วยทหาร และเครื่องหมายหน่วย 3.4.3.7 การใชว้ ตั ถุทาลาย 3.4.3.8 หนา้ ทข่ี องหวั หนา้ พลนาสาร

4 4. การไปรษณยี ์ การสื่อสารทางไปรษณียน์ ้ัน เป็ นการส่งข่าวโดยการจดั ต้งั ระบบการไปรษณียข์ ้ึน ตามปกตขิ ่าวที่ส่งทางไปรษณียม์ กั จะไม่ผา่ นศูนยก์ ารสื่อสาร เม่ือจะส่งข่าวทางไปรษณียพ์ งึ ระมดั ระวงั การ ฝ่ าฝืน ระเบียบการรักษาความปลอดภยั ทใี่ ชบ้ งั คบั สาหรับการส่งขา่ วสารท่กี าหนดช้นั ความลบั 4.1 มกั มีบ่อย ๆ ท่เี จา้ ของข่าวตอ้ งการใหส้ ่งขา่ วดว้ ยเคร่ืองมือที่รวดเร็วไปยงั ผูร้ ับบางคน ส่วนผูร้ ับคน อ่ืน ๆ น้นั การส่งทางไปรษณียก์ ็พอแลว้ ในกรณีเช่นน้ีผใู้ ห้ข่าวยอ่ มไดร้ ับอนุมตั ิ และไดร้ ับการสนับสนุน ใหใ้ ชก้ ารไปรษณียไ์ ด้ เม่ือจะส่งขา่ วใหผ้ รู้ ับทางไปรษณีย์ จะตอ้ งแสดงชนิดของบริการส่งข่าวทางไปรษณีย์ ( ไปรษณียธ์ รรมดา, ไปรษณียอ์ ากาศ, ไปรษณียล์ งทะเบียน หรือ การส่งพิเศษ ) ต่อจากนามผูร้ ับ ท้งั น้ีเพื่อ แสดงให้ศูนยก์ ารสื่อสารทราบว่า ผูร้ ับส่วนหน่ึงจะได้รับข่าวทางเคร่ืองมือตามที่ได้ บ่งไว้ เจา้ หน้าท่ี ผรู้ บั ผดิ ชอบทีส่ ่งข่าวทางไปรษณีย์ จะตอ้ งเซ็นนามยอ่ ไวข้ า้ งบน หรือทบั คาท่ีแสดงชนิดของบริการส่งข่าว ทางไปรษณีย์ ( ไปรษณียธ์ รรมดา, ไปรษณียอ์ ากาศ, ไปรษณียล์ งทะเบยี น หรือ การส่งพเิ ศษ ) 4.2 ตอ้ งไม่ส่งข่าวที่มีความเร่งด่วนข้นั ด่วน หรือสูงกว่าทางไปรษณีย์ ข่าวใดก็ตามที่มีความสาคญั เพยี งพอซ่ึงทาใหผ้ เู้ขยี นข่าวกาหนดความเร่งด่วนสูงดงั กล่าวขา้ งตน้ จะตอ้ งส่งข่าวน้ันดว้ ยเคร่ืองมือส่ือสาร ประเภทไฟฟ้า หรือประเภทอื่น ทใี่ หค้ วามรวดเร็วเวน้ แตไ่ ม่อาจส่งไดด้ ว้ ยเครื่องมือดงั กล่าว 5. สัตว์นาสาร 5.1 นกพิราบนาสาร ได้รับการฝึ กให้นาหลอดข่าวจากตาบลปล่อยใด ๆ ก็ได้กลับไปยงั กรงเล้ียง ดงั น้นั จึงใชน้ กพริ าบในการส่งขา่ วจากขา้ งหนา้ ไปยงั ขา้ งหลงั นกพริ าบมีน้าหนกั เบานาไปสะดวก เช่ือถือได้ มีความรวดเร็วในการบนิ ส่งข่าว ประมาณ 35 ไมลต์ อ่ ชว่ั โมงและใชไ้ ดไ้ กลถึง 250 ไมล์ อยา่ งไรก็ดีการใช้ นกพริ าบตามปกติ คงใชแ้ ต่ในเวลากลางวนั เมื่ออากาศปลอดโปร่งเท่าน้นั แต่นกพิราบมกั เป็ นอนั ตรายจาก นกที่เป็ นศตั รูบางชนิด จากขา้ ศึกและการปฏิบตั ิต่อนกท่ีขาดความระมัดระวงั ตามปกติจะเล้ียงนกพริ าบ เหล่าน้ีไวใ้ นกรงนกเคลื่อนท่ี ณ ส่วนหลงั ของพ้นื ที่ทาการรบ และจ่ายให้แก่หน่วยรบ โดยมีท่ีใส่นกพริ าบ ในกรณีฉุกเฉิน อาจทิ้งนกพริ าบพรอ้ มกรงพเิ ศษจากทางอากาศใหแ้ ก่หน่วยท่ีอยโู่ ดดเดี่ยว กรงนกพริ าบใน พ้นื ท่ีส่วนหนา้ น้ัน ต้งั อยใู่ กลศ้ ูนยก์ ารสื่อสาร เพอ่ื ให้สะดวกในการรับข่าว และส่งต่อไปโดยเคร่ืองมือน้ี หน่วยส่งทางอากาศ และหน่วยท่ีอยู่โดดเดี่ยวมกั ใชน้ กพริ าบนาสารเป็ นการส่ือสารหลกั ในระหว่างการ ระงบั วทิ ยุ พวกลาดตระเวนใชน้ กพริ าบนาสารเพอ่ื ส่งรายงาน และแผน่ บริวาร นอกจากน้นั กใ็ ชน้ กพริ าบ นาสาร เพอื่ เป็นการประหยดั และเพมิ่ เตมิ การใชพ้ ลนาสาร 5.2 สุนัขนาสาร หน่วยทหารราบใชส้ ุนขั นาสารระหว่างหน่วยที่อยูใ่ นแนวหน้า และระหว่าง พลลาดตระเวนกบั หน่วยของตน การใชส้ ุนขั นาสารน้นั เป็ นการใชพ้ เิ ศษไม่เกี่ยวขอ้ งกบั ศนู ยก์ ารส่ือสาร 6. การโทรคมนาคม คาว่าโทรคมนาคมน้ัน ประกอบดว้ ยคาว่า โทร ซ่ึงแปลวา่ ไกล ห่างไกล หรือแปลกวา้ ง ๆ ว่า การ ปฏิบตั ใิ นระยะไกล ส่วนคาวา่ คมนาคม น้นั หมายความวา่ การไปมาหาสู่กนั หรือการส่งข่าวถึงกนั ฉะน้ัน คาว่า โทรคมนาคม จึงมีความหมายว่า การส่งข่าวถึงกันในระยะไกล โดยอาศัยสัญญาณเป็ นตวั แทน ขอ้ ความของข่าว ไดแ้ ก่ โทรเลข, โทรศพั ท์ เป็นตน้ คาวา่ โทรคมนาคมน้นั มิได้ หมายถึง เคร่ืองมือสื่อสาร

5 ประเภทไฟฟ้าอยา่ งเดียวเทา่ น้นั เสียงสญั ญาณ และทศั นสญั ญาณ ซ่ึงใชร้ ับส่งข่าวในระยะใกลก้ วา่ ก็จดั เป็ น พวกโทรคมนาคมดว้ ย เครื่องมือสื่อสารประเภทเสียง และทศั นสญั ญาณน้นั ใช้ ภายในบริเวณท่ีต้งั และมกั จะ ไม่รวมอยใู่ นจาพวกเคร่ืองรบั และส่งขา่ วของศนู ยก์ ารสื่อสาร 6.1 สญั ญาณโทรคมนาคม ไดแ้ ก่ 6.1.1 สญั ญาณคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า คอื คลน่ื วทิ ยุ ซ่ึงถูกผสมดว้ ยสญั ญาณตวั แทนของข่าวสาร แลว้ ปล่อยกระจายออกจากสายอากาศเครื่องส่ง ไปยงั สายอากาศของเครื่องรบั ซ่ึงเครื่องรบั จะแปลงสญั ญาณ แม่เหล็กไฟฟ้าน้ี กลบั เป็นสญั ญาณขา่ วสารอีกคร้งั การกระจายคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าน้ีไม่ตอ้ งอาศยั ตวั นาไฟฟ้า 6.1.2 สญั ญาณไฟฟ้า คอื ขา่ วสาร ซ่ึงถูกแปลงเป็ นสญั ญาณทางไฟฟ้า เพอ่ื ส่งไปยงั เคร่ืองรับ โดยอาศยั ทางเดิน คือ ตวั นาไฟฟ้า เช่น สายโทรศพั ท,์ สายโทรเลข 6.1.3 สญั ญาณเสียง คือ ขา่ วสาร ซ่ึงถูกแปลงเป็นเสียง ซ่ึงเราสามารถฟังไดย้ นิ และแปล ความหมายออกไดเ้ ป็นข่าวสาร การใชส้ ญั ญาณเสียง จะตอ้ งมีการตกลงกาหนดความหมายของสญั ญาณกนั ไวก้ ่อนเสมอ 6.1.4 สญั ญาณแสง มีการใช้ 2 ลกั ษณะ คือ 6.1.4.1 โดยอาศยั การมองเห็นของมนุษย์ มีลกั ษณะการใชเ้ ช่นเดียวกบั สญั ญาณเสียง คือ ตอ้ งตกลงกาหนดความหมายของสญั ญาณกนั ไวก้ ่อน เช่นในการใชพ้ ลุส่องแสง, สญั ญาณธง, สญั ญาณมือ, แผน่ ผา้ สญั ญาณ, โคมสญั ญาณ เป็นตน้ 6.1.4.2 โดยไม่อาศยั การมองเห็นของมนุษย์ ในกรณีข่าวสารจะถูกแปลงเป็ นสญั ญาณแสง โดยเคร่ืองสญั ญาณแลว้ ส่งไปยงั เคร่ืองรับโดยตรง หรือผา่ นไปตามใยแกว้ นาแสงก็ได้ ซ่ึงเคร่ืองรับจะแปลง สญั ญาณแสงกลบั เป็นสญั ญาณข่าวสารอีกคร้ังหน่ึง 6.2 เครื่องมือส่ือสารทางโทรคมนาคม มี 4 ประเภท คอื 6.2.1 ทศั นสญั ญาณ เป็นวธิ ีการรบั ส่งขา่ วที่มองเห็นไดด้ ว้ ยตา การสื่อสารประเภททศั นสัญญาณ อาจใชโ้ คมสญั ญาณ, ธงสัญญาณ, พลุสญั ญาณ, แผ่นผา้ สญั ญาณ, ไฟฉาย และอ่ืนๆ สาหรับกองทพั บกใช้ แผน่ ผา้ สญั ญาณในการพสิ ูจนฝ์ ่าย และการสื่อสารระหวา่ งอากาศพ้นื ดิน ทศั นสญั ญาณเหมาะสาหรับข่าวที่ ไดเ้ ตรียมการและตกลงไวล้ ่วงหนา้ และสามารถใชไ้ ดอ้ ยา่ งรวดเร็วในระยะใกล้ ข้อควรระวัง ในการใชท้ ศั นสัญญาณอาจถูกขา้ ศึกทาการลวง โดยการกระทาอย่างเดียวกนั ทาใหเ้ กิดการ เขา้ ใจผดิ ได้ จึงไม่ควรใชใ้ นขณะทม่ี ีทศั นวสิ ยั เลวหรือมองไม่เห็นทต่ี ้งั ซ่ึงอยใู่ นเสน้ ระดบั สายตาของกนั และ กนั และการใชต้ อ้ งไม่ขดั กบั การรักษาความปลอดภยั ทางการส่ือสาร 6.2.2 เสียงสญั ญาณ ไดแ้ ก่การใชค้ ล่ืนเสียง เช่น นกหวดี , ไซเรน, ระฆงั , แตรเดี่ยว และอ่ืน ๆ ใช้ สาหรับการส่งข่าวส้ัน ๆ เช่นสัญญาณนัดหมายล่วงหน้า ตามปกติมักเป็ นสัญญาณแจ้งเตือน หรือ เตรียมพร้อม และใชส้ าหรับการสื่อสารในกรณีฉุกเฉิน ข้อควรระวัง การใชจ้ ะตอ้ งไม่ขดั กบั การรักษาความปลอดภยั ทางการสื่อสาร

6 6.2.3 การส่ือสารทางสาย 6.2.3.1 ระบบทางสายเป็ นเครื่องมือสื่อสารประเภทไฟฟ้า ซ่ึงใช้ตวั นาไฟฟ้าเช่ือมโยง ระหวา่ ง สถานีส่งและสถานีรับ สามารถใชใ้ นภมู ิประเทศและสถานการณ์ทางยทุ ธวธิ ีไดเ้ กือบทกุ รูปแบบ 6.2.3.2 การส่งข่าวด้วยระบบทางสาย ให้ความปลอดภยั มากกว่าการส่งข่าวทางวิทยุ อยา่ งไรก็ตามมิไดห้ มายความว่า ระบบทางสายสามารถประกนั ความปลอดภยั ของข่าวที่กาหนดช้นั ความลบั ได้ ในการส่งขา่ วดว้ ยวงจรทางสายเป็ นขอ้ ความธรรมดา อาจถูกดกั ฟังโดยการพว่ งวงจร 6.2.3.3 การตกลงใจทจี่ ะวางการติดต่อส่ือสารทางสายยอ่ มข้ึนอยกู่ บั ความจาเป็ น, เวลาที่มี อย,ู่ การส่งกาลงั เพม่ิ เตมิ และความตอ้ งการในอนาคต 6.2.4 การส่ือสารทางวทิ ยุ 6.2.4.1 วทิ ยุเป็ นเคร่ืองมือส่ือสารที่ใชค้ ล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าในการส่งข่าวและรับข่าว ใน การติดต้งั ชุดวทิ ยใุ ชง้ านจะส้ินเปลืองเวลานอ้ ยกวา่ การส่ือสารประเภททางสาย เม่ือชุดวทิ ยตุ ดิ ต้งั บนยาน ยนตแ์ ลว้ สามารถตดิ ต่อส่ือสารในขณะเคลื่อนที่ได้ วิทยมุ ีความคล่องตวั สูงกวา่ ทางสาย ชุดวทิ ยสุ ่วน ใหญ่ท่ีมีใช้ปัจจุบนั น้ี ใช้สัญญาณการรับส่งด้วยคาพูด ทาให้สะดวกในการติดต่อสื่อสารในทุกๆ สถานท่ี 6.2.4.2 การสื่อสารประเภทวิทยุ จะล่อแหลมต่อการยิงของขา้ ศึกน้อยกว่าการสื่อสาร ประเภททางสาย แตก่ ารส่ือสารประเภทวทิ ยมุ ีจุดอ่อนคือ จะถูกรบกวนจากคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้าไดง้ ่าย 6.2.4.3 การสื่อสารประเภทวิทยุ เป็ นเครื่องมือส่ือสารที่ให้ความปลอดภยั นอ้ ยท่ีสุด ใน การใชง้ านตอ้ งระลึกอยเู่ สมอวา่ ขา้ ศึกกาลงั รับฟังการส่งข่าวอยตู่ ลอดเวลา ดงั น้นั เมื่อใชก้ ารสื่อสารประเภท วทิ ยจุ ึงตอ้ งพจิ ารณาในเรื่องการรักษาความปลอดภยั ทางการส่ือสารเสมอ เม่ือขา้ ศึกดกั รับฟังข่าวสารทาง วทิ ยไุ ด้ กส็ ามารถจะนาไปวเิ คราะห์ในเรื่องต่างๆ เช่นจานวนเครื่องวทิ ยทุ ี่กาลงั ใชง้ านอย,ู่ จานวนข่าวสารที่ รบั ส่งกนั , ทต่ี ้งั ของสถานีวทิ ยุ ซ่ึงสิ่งเหล่าน้ีจะเป็ นขา่ วกรองอนั มีค่าอยา่ งเพยี งพอของขา้ ศึก 7. เคร่ืองมือส่ือสารประเภทสื่อไฟฟ้า 7.1 โทรศพั ท์ ใชไ้ ด้ท้งั วงจรทางสายและทางวทิ ยุ โทรศพั ทใ์ ห้ความรวดเร็วในการสื่อสารระหว่าง บคุ คลตอ่ บคุ คลและใชส้ ่งข่าวส้นั ๆ ในการตอบโต้ แต่ไม่ใชส้ าหรับรายงานหรือคาสง่ั ยาว ๆ ถา้ สามารถใช้ เครื่องมือสื่อสารประเภทอ่ืนไดผ้ ลดีกวา่ 7.2 โทรเลข ใช้ส่งขอ้ ความด้วยประมวลเลขสัญญาณ โทรเลขแบบคนั เคาะด้วยมือเป็ นการส่งท่ี ลา้ สมยั หน่วยไม่นิยมใชแ้ ลว้ วิทยโุ ทรเลขใหค้ วามเชื่อถือมากที่สุดในการส่งข่าวทางวทิ ยใุ นระยะไกล ๆ แตต่ อ้ งใชพ้ นกั งานวทิ ยทุ ีม่ ีความชานาญจริง ๆ วทิ ยโุ ทรเลขใชเ้ ป็ นเคร่ืองมือส่ือสารหลกั ของหน่วยเคล่ือนท่ี และใชแ้ ทนโทรพมิ พใ์ นยามฉุกเฉินอีกดว้ ย 7.3 โทรพมิ พ์ ใชไ้ ดท้ ้งั วงจรทางสายและทางวิทยุ โทรพิมพเ์ ป็ นเคร่ืองที่ใชแ้ ป้นตวั อกั ษรคลา้ ย ๆ กบั เครื่องพมิ พด์ ีด และส่งข่าวตามแบบพมิ พ์ ( เป็ นแผน่ หรือกระดาษแถบ ) การส่งขา่ วอาจส่งโดยเป็ นตวั อกั ษร โดยตรง หรือโดยแถบปรุ โทรพมิ พส์ ามารถรับส่งขา่ วไดเ้ ป็นจานวนมาก ๆ

7 7.4 โทรสาเนา ใชส้ ่งภาพลายเสน้ หรือวสั ดุเก่ียวกบั ภาพ เช่น แผนที่, แผนภาพ และแผนผงั การดาเนิน กรรมวธิ ีในการส่งค่อนขา้ งชา้ ถา้ เปรียบเทียบกบั เคร่ืองมือสื่อสารประเภทอื่น 7.5 โทรทศั น์ เป็นวธิ ีการส่ือสารประเภทไฟฟ้าชนิดหน่ึง ซ่ึงจะใหภ้ าพชวั่ ขณะจากของจริง หรือภาพ จากฟิ ลม์ ท่อี ยใู่ นระยะไกล 7.6 การส่งขอ้ มูล ในปัจจุบนั น้ี ไดม้ ีการใชร้ ะบบท่ีทนั สมยั ระบบหน่ึงเรียกว่า ระบบกรรมวิธีขอ้ มูล อตั โนมตั ิ ระบบน้ีใชเ้ ครื่องจกั รซ่ึงเรียกวา่ สมองอิเล็กทรอนิกส์ เป็ นส่วนประกอบท่ีสาคญั โดยใชร้ ่วมกบั ระบบการส่ือสาร บรรดาข่าวสารตา่ ง ๆ จะถูกแปลงเป็ นภาษาอิเล็กทรอนิกส์ แลว้ ส่งไปยงั ปลายทางการส่ง ข่าวสารที่เป็ นขอ้ มูลตวั เลข และ/หรือตวั อักษร อาจทาเป็ นบตั รปรุแถบแม่เหล็ก หรือกระดาษแถบก็ได้ ซ่ึงการส่งขอ้ มูลน้ีสามารถส่งไดเ้ ร็วประมาณ 240 ถึง 9000 ตวั อักษรต่อนาที ระบบน้ี คือ คอมพิวเตอร์ ( Computer ) นน่ั เอง 7.7 การสื่อสารดาวเทียม ดาวเทียมสื่อสารก็ คือ สถานีทวนสญั ญาณ ( Repeater ) ไมโครเวฟนัน่ เอง ดาวเทียมจะรับสญั ญาณขาข้ึน ( Up Link ) จากโลกทาการขยายใหม้ ีความแรงมากข้ึนแลว้ ส่งสญั ญาณขาลง ( Down Link ) กลบั มายงั โลก ความถี่ขาข้นึ กบั ความถ่ีขาลงจะไม่เท่ากนั เน่ืองจากตาแหน่งของดาวเทียมอยู่ สูงจากโลกมาก ทาใหส้ ามารถครอบคลุมพ้นื ที่ไดก้ วา้ ง ปริมาณข่าวสารทีส่ ่งผา่ นดาวเทยี มดวงหน่ึง คิดเป็ น จานวนช่องโทรศพั ทไ์ ดน้ บั แสนช่อง 8. ความรับผดิ ชอบต่อการสื่อสาร 8.1 ผูบ้ งั คบั บญั ชาตอ้ งรับผดิ ชอบในเร่ืองของการติดต้งั ( Installation ), การปฏิบตั ิงาน ( Operation ) และการซ่อมบารุง ( Maintenance ) 8.2 ผบู้ งั คบั บญั ชาหน่วยรองทกุ คนตอ้ งรับผดิ ชอบและควบคุมระบบการส่ือสารภายในหน่วยของตน ท้งั ในทางยทุ ธวธิ ีและทางเทคนิค การควบคุมในทางยทุ ธวธิ ีจะตอ้ งประกนั ไดว้ า่ ระบบการสื่อสารไดม้ ีการ วาง และดารงไวอ้ ย่างถูกตอ้ ง มีความแน่นอน เพ่ือให้ตรงกับเป้าประสงค์ท่ีมีความสอดคล้องกับ สถานการณ์ทางยุทธวิธี ส่วนการควบคุมทางเทคนิคน้ัน หมายถึง การกากบั ดูแลการติดต้งั , การ ปฏบิ ตั งิ านและการซ่อมบารุงการส่งกาลงั ของเคร่ืองมือสื่อสารท่ีใชเ้ หล่าน้นั ดว้ ย 9. กฎเกณฑ์ในการวางและการซ่อมบารุงการส่ือสารระหว่างหน่วย ความรับผดิ ชอบต่อการส่ือสารตอ้ งกระทาในทกุ ระดบั ของการบงั คบั บญั ชาและตอ้ งดารงไวซ้ ่ึง ความเหมาะสม โดยอาศยั หลกั การดงั น้ี 9.1 หน่วยเหนือวางการติดต่อส่ือสารไปยงั หน่วยรองและหน่วยข้นึ สมทบ 9.2 หน่วยสนบั สนุนวางการตดิ ต่อสื่อสารไปยงั หน่วยรบั การสนบั สนุน 9.3 หน่วยเพมิ่ เติมกาลงั วางการตดิ ต่อส่ือสารไปยงั หน่วยรับการเพมิ่ เติมกาลงั 9.4 หน่วยเคล่ือนทผ่ี า่ นวางการติดต่อส่ือสารไปยงั หน่วยอยกู่ บั ที่ ( เมื่อมีการผา่ นแนวในพน้ื ทสี่ ่วนหนา้ ) 9.5 หน่วยอยกู่ บั ท่ีวางการติดตอ่ ส่ือสารไปยงั หน่วยเคล่ือนที่ผ่าน ( เมื่อมีการผา่ นแนวในพน้ื ท่ีส่วนหลงั )

8 9.6 การวางการติดต่อส่ือสารระหวา่ งหน่วยขา้ งเคียง ผูบ้ งั คบั บญั ชาระดบั สูงข้ึนไปเป็ นผกู้ าหนดข้ึน และ/หรืออาจถูกกาหนดไวใ้ นระเบียบปฏิบตั ิประจา (รปจ.) ของหน่วยก็ได้ แต่ถา้ ไม่มีการสง่ั การและ/ หรือกาหนดไว้ ใหย้ ดึ ถือหลกั วา่ หน่วยทางซ้ายตอ้ งวางการติดต่อสื่อสารไปใหห้ น่วยท่ีอยทู่ างขวา (ซา้ ย ไปขวา) และหน่วยขา้ งหลงั ตอ้ งวางการติดต่อสื่อสารไปใหห้ น่วยทอ่ี ยขู่ า้ งหนา้ (หลงั ไปหนา้ ) 9.7 ในกรณีที่การติดต่อส่ือสารระหว่างหน่วยเกิดขาดหาย ใหท้ ุกหน่วยปฏิบตั ิการแกไ้ ขเพ่อื ใหก้ าร ตดิ ตอ่ สื่อสารกลบั คืนสู่สภาพการใชง้ านปกติในทนั ที โดยไม่ตอ้ งคานึงวา่ ความรับผิดชอบน้ันจะเป็ นของ หน่วยใด 10. วิธีการสื่อสาร 10.1 การส่ือสาร (Communication) หมายถึงวิธีการส่งข่าวใดๆ ท่ีส่งเป็ นขอ้ ความธรรมดาหรือการส่ง อกั ษรลบั ซ่ึงมิไดเ้ ป็นการสนทนากนั โดยตรง วธิ ีการส่ือสาร (Means of communication) หมายถึง การใช้ เครื่องมือสื่อสารชนิดใดชนิดหน่ึงเพอื่ ส่งขา่ วจากบุคคลหน่ึงไปยงั อีกบุคคลหน่ึง หรือจากตาบลหน่ึงไปยงั อีก ตาบลหน่ึง 10.2 วธิ ีการส่ือสารของเหล่าทหารมา้ แบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ 1) ประเภทเสียงสญั ญาณ ( Sound ) 2) ประเภททศั นสญั ญาณ ( Visual ) 3) ประเภทการนาสาร ( Messenger ) 4) ประเภทการสื่อสารทางสาย ( Wire ) 5) ประเภทวทิ ยุ ( Radio ) 10.3 ขีดความสามารถและ ขดี จากดั ของประเภทการส่ือสาร วิธีการส่ือสารแต่ละประเภท ยอ่ มมีขีดความสามารถและขีดจากัดต่างกนั การใชก้ ็ควร ใช้ให้ สามารถสนับสนุนซ่ึงกันและกนั ได้ แต่ไม่ควรใชว้ ิธีการส่ือสารประเภทหน่ึงประเภทใดเพียงอยา่ งเดียว ระบบสื่อสารจะแน่นอนยง่ิ ข้นึ ถา้ ไดใ้ ชว้ ธิ ีการส่ือสารทกุ ประเภทท่ีสามารถอานวยใหใ้ ชไ้ ด้ 10.3.1 การจดั เคร่ืองมือส่ือสารให้แต่ละหน่วย ยอ่ มมีขีดจากดั อยทู่ ี่เจา้ หน้าที่ (Men),ยทุ ธภณั ฑ์ (Equipment) และการขนส่ง (Transportation) ซ่ึงหน่วยน้ันจะไดร้ ับตามอตั ราของหน่วยและท่ีจะไดร้ ับ จากหน่วยเหนือ 10.3.2 ในการเลือกวธิ ีการสื่อสารที่จะใชใ้ นสถานการณ์หน่ึง ๆ น้ัน ควรจะไดพ้ จิ ารณาในเรื่อง คุณสมบตั ิทางการสื่อสารท่สี าคญั ๆ ดงั ตอ่ ไปน้ี 10.3.2.1 ความเชื่อถือได้ (Reliability) หรือความแน่นอน (Certainty) คือความแน่นอน ทจ่ี ะทาการรบั -ส่งขา่ วไดต้ ามเวลาที่กาหนด 10.3.2.2 ความอ่อนตัว (Flexibility) คือความง่ายในการปรับตัวเองให้เข้ากับ สิ่งแวดลอ้ มและสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป โดยไม่เสียคุณลกั ษณะของตวั เอง

9 10.3.2.3 ความปลอดภยั หรือปกปิ ดเป็ นความลับ (Security) คือคุณภาพในการรักษา ความลบั ของขา่ วมิใหล้ ่วงรูไ้ ปถึงขา้ ศึกหรือบุคคลทไี่ ม่มีหนา้ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 10.3.2.4 ความรวดเร็วและสิ้นเปลืองวสั ดุและแรงงานน้อยที่สุด (Speed with a mini- mum of effort and material) คือระยะเวลาท่ีใชใ้ นการปฏบิ ตั กิ ารรบั -ส่งขา่ ว 10.3.3 ตารางเปรียบเทียบคุณสมบตั ทิ างการสื่อสารของวธิ ีการส่ือสาร วธิ ี ความอ่อนตัว ความเชื่อถือ ความรวดเร็ว ความปลอดภัย เสียงสญั ญาณ พอใช้ พอใช้ พอใช้ พอใช้ ทศั นสญั ญาณ พอใช้ พอใช้ พอใช้ พอใช้ การนาสาร พอใช้ ดีมาก พอใช้ ดีมาก ประเภททางสาย พอใช้ ดี ดี ดี ประเภทวทิ ยุ ดีมาก พอใช้ ดีมาก พอใช้ ********************************** หลกั ฐานอ้างองิ : 1. รส. 24-5 การส่ือสาร พ.ศ.2535 2. นส. 24-5 การส่ือสาร พ.ศ.2536

10 บทที่ 2 การสื่อสารในกองร้อยและกองพันทหารม้า (COMMUNICATIONS IN CAVALRY UNIT) 1. กล่าวท่วั ไป ทหารมา้ เป็นทหารเหล่าหน่ึงในกองทพั บกไทย ปัจจบุ นั การจดั หน่วยทหารมา้ มีการจดั ตามลกั ษณะ การจดั ดงั น้ี เป็ นหน่วยระดบั กองพลเรียกวา่ “กองพลทหารมา้ ” เป็ นหน่วยระดบั กรมเรียกว่า “กรมทหาร มา้ ” เป็ นหน่วยระดบั กองพนั เรียกว่า “กองพนั ทหารมา้ ” เป็ นหน่วยระดบั กองร้อยอิสระเรียกว่า “กองร้อย ทหารมา้ ลาดตระเวนกองพลทหารราบ” ส่วนการบงั คบั บญั ชา หน่วยทหารมา้ ไดแ้ ยกประเภทตามการ บงั คบั บญั ชาเป็น 2 ประเภทคือ ทหารมา้ ในอตั ราการจดั ของกองพลทหารมา้ และทหารมา้ ในอตั ราการจดั ของหน่วยที่อยนู่ อกกองพลทหารมา้ การแบ่งประเภทของทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารมา้ ไดก้ าหนดหลกั นิยม และรูปแบบการจดั หน่วยทหารมา้ ให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ปัจจุบนั โดยแบ่งประเภทของทหารมา้ เป็ น 3 ประเภทคือ ทหารมา้ ลาดตระเวน, ทหารมา้ รถถงั และ ทหารม้าบรรทุกยานเกราะ ทหารมา้ ท้งั 3 ประเภท ปัจจุบนั ไดจ้ ดั ต้งั ข้ึนแลว้ ประกอบดว้ ย 2 กองพลทหารมา้ , 6 กรมทหารมา้ , 30 กองพนั ทหารมา้ , 5 กองร้อยอิสระ และ 1 กองร้อยทหารมา้ อากาศ จากท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ ทาให้ทหารมา้ แต่ละประเภทมีอตั รา การจดั เครื่องมือส่ือสารที่แตกตา่ งกนั สาหรบั ในบทน้ี จะขอกล่าวเฉพาะหน่วยทหารมา้ ระดบั กองพนั และกองรอ้ ย 2. เคร่ืองมือสื่อสารของกองพันทหารม้าและกองร้อยทหารม้า จะไดร้ ับแบ่งมอบตามอตั ราการจดั (อจย.) ของหน่วย ทหารมา้ ท้งั 3 ประเภท มีหมายเลข อจย. ท่ีไม่เหมือนกนั แต่ละ อจย. ในส่วนของสายสื่อสารจะ ไดร้ ับเคร่ืองมือส่ือสารชนิดต่าง ๆ ตามภารกิจและความจาเป็ นของหน่วย สาหรับในบทน้ี จะนาเฉพาะ เคร่ืองมือส่ือสารประเภทวิทยทุ ี่มีใน อจย. ของแต่ละกองพนั และกองร้อย รวมถึงชุดวทิ ยทุ ี่หน่วยได้รับ ทดแทนและ/หรือจดั หาเองมาบรรจุไวใ้ นบทเรียนเพอ่ื ใชป้ ระกอบการจดั ข่ายวทิ ยขุ องแต่ละหน่วย อยา่ งไร ก็ตาม หลกั การใชเ้ คร่ืองมือสื่อสารของทหารมา้ จะตอ้ งจดั ใหม้ ีเครื่องมือสื่อสารทุกประเภทไวใ้ ชเ้ สริมซ่ึงกนั และกนั จะไม่จดั เพยี งประเภทใดประเภทหน่ึงเท่าน้นั 2.1 ชุดวทิ ยทุ ี่มีในกองพนั ทหารมา้ (รถถงั ) อจย. 17-15 หน่วยในกองพลทหารม้า ชุดวทิ ยใุ น อจย. ชุดวิทยุนอก อจย.  ม.พนั .5 รอ. < ม.4 รอ. พล.ม.2 > **/*** AN/PRC-77 VRC-745 **  ม.พนั .6 < ม.6 ทภ.2 > * AN/GRC-160 VRC-750 **  ม.พนั .17 รอ. < ม.1 รอ. พล.ม.2 > ** AN/VRC-12 BDR-510 ***  ม.พนั .20 รอ. < ม.5 รอ. พล.ม.2 > ** AN/VRC-46 AN/VRC-43 *  ม.พนั .26 < พล.ม.1> AN/VRC-47 หน่วยนอกกองพลทหารม้า AN/VRC-49  ม.พนั .2 < พล.ร.2 รอ. > */*** AN/GRC-106  ม.พนั .4 รอ. < พล.1 รอ. >  ม.พนั .8 < พล.ร.3 >

11  ม.พนั .9 < พล.ร.4 >  ม.พนั .16 < พล.ร.5 >  ม.พนั .21 < พล.ร.6 > 2.2 ชุดวทิ ยทุ ี่มีในกองพนั ทหารมา้ (บรรทุกยานเกราะ) อจย.17-25 พ. หน่วย ชุดวทิ ยใุ น อจย. ชุดวิทยุนอก อจย. UK/VRQ-301  ม.พนั .1 รอ. < ม.1 รอ. พล.ม.2 > * AN/PRC-77 VRC-745 * GRC-1600 *  ม.พนั .3 รอ. < ม.1 รอ. พล.ม.2 > * AN/VRC-64 TRA-906 ** (RACAL 5 W)  ม.พนั .11 รอ. < ม.4 รอ. พล.ม.2 > */** AN/GRC-160 VRC-950 *  ม.พนั .25 รอ. < ม.4 รอ. พล.ม.2 > * AN/VRC-46 ชุดวทิ ยนุ อก อจย.  ม.พนั .13 < ม.3 พล.ม.1 > AN/VRC-47 TRA-906* (RACAL 5W)  ม.พนั .18 < ม.3 พล.ม.1 > ** AN/VRC-49 PRC-624  ม.พนั .15 < ม.3 พล.ม.1 > AN/GRC-106 ชุดวทิ ยุนอก อจย. PRC-624  ม.พนั .14 < ม.6 พล.ม.1> PRC-624 AN/VRC-64 * VRC-745 **  ม.พนั .23 รอ. < ม.5 รอ. พล.ม.2 > * GRC-1600 ** UK/VRQ-301  ม.พนั .24 รอ. < ม.5 รอ. พล.ม.2 > * TRA-931 X 2.3 ชุดวทิ ยทุ ีม่ ีในกองพนั ทหารมา้ (ลาดตระเวน) อจย.17-55 ก. หน่วย ชุดวทิ ยุใน อจย.  ม.พนั .7 < ม.2 พล.ม.1 > AN/PRC-77  ม.พนั .10 < ม.2 พล.ม.1 > * AN/VRC-46  ม.พนั .12 < ม.2 พล.ม.1 > * AN/VRC-49 AN/GRC-160 AN/GRC-106 PRC-1099 2.4 ชุดวทิ ยทุ ีม่ ีในกองพนั ทหารมา้ (ลาดตระเวน) อจย.17-55 พ. หน่วยในกองพลทหารม้า ชุดวทิ ยใุ น อจย.  ม.พนั .27 < พล.ม.2 > ** AN/PRC-77  ม.พนั .28 < พล.ม.1 > *** AN/VRC-46 หน่วยนอกกองพลทหารม้า AN/VRC-47  ม.พนั .19 < พล.ร.9 > * AN/VRC-49  ม.พนั .30 < พล.ร.2 รอ. > AN/GRC-160 AN/GRC-106

12 AN/ARC-131*** TRA-906 ** (RACAL 5 W) VRC-950 ** VRC-6020 ** 2.5ชุดวทิ ยทุ ่มี ีในกองร้อยทหารมา้ (ลาดตระเวน) อจย.17-57 พ. หน่วย ชุดวทิ ยุใน อจย. ชุดวทิ ยุนอก อจย.  รอ้ ย ลว.ท่ี 1 < พล.1 รอ. > */** AN/PRC-77 PRC-624  รอ้ ย ลว.ที่ 3 < พล.ร.3 > AN/VRC-12 VRC-745 *  รอ้ ย ลว.ที่ 4 < พล.ร.4 > ** AN/VRC-46 GRC-1600 *  รอ้ ย ลว.ท่ี 5 < พล.ร.5 > AN/GRC-160 UK/VRQ-301  ร้อย ลว.ที่ 6 < พล.ร.6 > AN/GRC-106 TRA-931 X PRC-730 * VRC-2100 ** 2..6 ชุดวทิ ยทุ มี่ ีในกองรอ้ ยเครื่องยงิ ลูกระเบิด อจย.17-24 หน่วย ชุดวิทยใุ น อจย. ชุดวิทยุนอก อจย.  ร้อย ค.ม.1 รอ. AN/PRC-77 PRC-624  ร้อย ค. ม.2 AN/VRC-46 GRC-1600 *  ร้อย ค. ม.3 ** AN/GRC-160 AN/VRC-47 **  ร้อย ค. ม.4 รอ. *  ร้อย ค. ม.5 รอ. หมายเหตุ ขอ้ มูลชุดวทิ ยตุ ามขอ้ 2.1-2.6 สารวจเมื่อ พ.ค.44 3. ความรับผิดชอบต่อการส่ือสาร 3.1 ภารกิจของหน่วยจะสาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดีน้นั ผบู้ งั คบั บญั ชาทกุ ระดบั ช้นั จะตอ้ งมีมาตรการในการบงั คบั บญั ชา (Command) และการควบคุม (Control) โดยใชก้ ารตดิ ตอ่ ส่ือสาร (Communication) เป็นเครื่องมือ ใน การนาขอ้ มูลข่าวสารไปยงั หน่วยและ/หรือบุคคลท่ีเกี่ยวขอ้ งไดร้ ับและปฏิบตั ิไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและ ทนั ต่อ เหตุการณ์ ดังน้ัน การบังคับบัญชา(Command), การควบคุม (Control) และการติดต่อส่ือสาร (Communication) หรือเรียกวา่ C 3 จึงจาเป็ นตอ้ งมีใชค้ วบคู่กนั ไปเสมอ ในส่วนของการติดต่อส่ือสารน้นั ก็ จาเป็นตอ้ งมีเคร่ืองมือส่ือสารเป็ นองค์ประกอบ ซ่ึงเหล่าทหารมา้ จดั เคร่ืองมือส่ือสารออกเป็ น 5 ประเภทคือ ประเภทวทิ ย,ุ ประเภททางสาย, ประเภทการนาสาร, ประเภททศั นสัญญาณ และประเภทเสียงสัญญาณ ท้งั 5 ประเภทน้ี ถือว่ามีความสาคญั เท่าเทียมกัน ดังน้ันการวางแผนการใชง้ านจะตอ้ งจดั เตรียมไวท้ ุกประเภท

13 เพราะโอกาสการใชง้ านยอ่ มข้ึนอยกู่ บั เวลาและสถานการณ์ การใชเ้ ครื่องมือส่ือสารเพยี งประเภทเดียวจะเป็ น อนั ตรายต่อการบงั คบั บญั ชาและการควบคุม 3.2 ความรบั ผดิ ชอบในการวางการสื่อสาร ตอ้ งกระทาในทุกระดบั ของการบงั คบั บญั ชา และตอ้ งดารง ไวซ้ ่ึงความเหมาะสม โดยอาศยั หลกั การดงั น้ี 3.2.1 หน่วยเหนือวางการตดิ ต่อสื่อสารไปยงั หน่วยรองและหน่วยข้นึ สมทบ 3.2.2 หน่วยสนบั สนุนวางการติดต่อสื่อสารไปยงั หน่วยรับการสนบั สนุน 3.2.3 หน่วยเพมิ่ เตมิ กาลงั วางการตดิ ตอ่ ส่ือสารไปยงั หน่วยรบั การเพม่ิ เตมิ กาลงั 3.2.4 หน่วยเคลื่อนที่ผ่านวางการติดต่อสื่อสารไปยงั หน่วยอยกู่ บั ท่ี (เมื่อมีการผ่านแนวในพ้ืนที่ ส่วนหนา้ ) 3.2.5 หน่วยอยกู่ ับที่วางการติดต่อส่ือสารไปยงั หน่วยเคล่ือนที่ผา่ น (เม่ือมีการผ่านแนวในพ้นื ที่ ส่วนหลงั ) 3.2.6 การวางการตดิ ต่อสื่อสารระหวา่ งหน่วยขา้ งเคียง ผบู้ งั คบั บญั ชาระดบั สูงข้นึ ไปเป็ นผกู้ าหนด ข้นึ และ/หรืออาจถูกกาหนดไวใ้ นระเบียบปฏิบตั ิประจา (รปจ.) ของหน่วยก็ได้ แต่ถา้ ไม่มีการ สั่งการและ/ หรือกาหนดไว้ ให้ยดึ ถือหลกั วา่ หน่วยทางซา้ ยตอ้ งวางการติดต่อส่ือสารไปใหห้ น่วยที่อยทู่ างขวา(ซา้ ยไป ขวา) และหน่วยขา้ งหลงั ตอ้ งวางการติดตอ่ ส่ือสารไปใหห้ น่วยท่ีอยขู่ า้ งหนา้ (หลงั ไปหนา้ ) 3.2.7 ในกรณีท่กี ารติดตอ่ สื่อสารระหวา่ งหน่วยเกิดขาดหาย ใหท้ ุกหน่วยปฏิบตั ิการแกไ้ ขเพ่อื ให้ การตดิ ตอ่ สื่อสารกลบั คืนสู่สภาพการใชง้ านปกตใิ นทนั ที โดยไม่ตอ้ งคานึงวา่ ความรับผิดชอบน้ันจะเป็ นของ หน่วยใด 3.3 นายทหารฝ่ายการสื่อสาร (ฝสส.) และ/หรือ ผบู้ งั คบั หมวดสื่อสาร (ผบ.มว.ส.) ของกองพนั จดั ต้งั การ ถ่ายทอดการส่ือสารตามคาสง่ั /นโยบายของผบู้ งั คบั กองพนั 3.4 ผบู้ งั คบั กองร้อยตอ้ งรบั ผดิ ชอบต่อเคร่ืองมือสื่อสารท่มี ีอยใู่ นอตั ราของกองร้อยใหอ้ ยใู่ นสภาพพร้อม รบเสมอ ซ่ึงสภาพความพร้อมรบของหน่วยจะข้ืนอยกู่ บั ความชานาญเฉพาะบุคคลของกาลงั พล,ความพร้อม ของยทุ โธปกรณ์และความเอาใจใส่ดูแลอยา่ งจริงจงั ของผูบ้ งั คบั หน่วย ในเรื่องความชานาญเกี่ยวกบั การใช้ เครื่องมือสื่อสารและการตดิ ต่อสื่อสารส่วนใหญ่จะข้ึนอยกู่ บั ระเบยี บปฏิบตั ปิ ระจา (รปจ.) ของหน่วย และแต่ ละหน่วยไดท้ าการฝึกตาม รปจ.ไดด้ ีเพยี งใด 3.5 ผูบ้ งั คบั หมวดเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการวางแผน, การซ่อมบารุง, การฝึ กและการใช้ระบบการ ติดต่อสื่อสารภายในหมวด นอกจากน้ีผบู้ งั คบั หมวดยงั ตอ้ งรบั ผดิ ชอบการใชง้ านระบบการติดต่อส่ือสารภายใน กองรอ้ ยอีกดว้ ย 4. ข้อพจิ ารณาการใช้เคร่ืองมือส่ือสาร 4.1 เครื่องมือสื่อสารในเหล่าทหารมา้ แบ่งออกเป็ น 5 ประเภท คือ ประเภทวิทยุ, ประเภททางสาย, ประเภท การนาสาร, ประเภททศั นสญั ญาณ และประเภทเสียงสัญญาณ ซ่ึงท้งั 5 ประเภทน้ีจะถูกใชเ้ ป็ น เคร่ืองมือสาหรับการติดต่อส่ือสารของผูบ้ งั คบั บญั ชาในการบงั คบั บญั ชาและควบคุมหน่วย โดยทว่ั ไปจะ ทราบกนั ดีในรูปของ C3 (Command, Control, and Communication) ดงั น้นั ในสายการบงั คบั บญั ชา (Chain of

14 Command) และลาดบั การบงั คบั บญั ชา (Succession of Command) จึงมีความจาเป็ นตอ้ งทราบการจดั หน่วย โดยตลอด และตอ้ งมีการเปิ ดช่องทางการสื่อสารเช่ือมโยงท้ังหน่วยเหนือ, หน่วยรอง และหน่วยขา้ งเคียง ผบู้ งั คบั บญั ชาทกุ ระดบั หน่วยควรพจิ ารณาในเร่ืองการใชเ้ ครื่องมือสื่อสารดงั น้ี  จดั หาเครื่องมือส่ือสารไวท้ ุกประเภทเพอ่ื ใชเ้ สริมซ่ึงกนั และกนั  จดั เตรียมมาตรการการต่อตา้ นการรบกวน โดยระบุการปฏิบตั ิไวใ้ น รปจ. ของหน่วย เพอ่ื ให้หน่วยรอง ไดท้ ราบและปฏบิ ตั ไิ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งในกรณีทถ่ี ูกรบกวน  หลีกเล่ียงการใชร้ ะบบการติดต่อสื่อสารที่มากเกินไป ควรใชเ้ ม่ือจาเป็ นเทา่ น้นั  พยายามใชว้ ทิ ยใุ หน้ อ้ ยท่สี ุด และตอ้ งฝึกใหพ้ นกั งานวทิ ยมุ ีวนิ ยั ในการใชว้ ทิ ยอุ ยา่ งเคร่งครดั  ใหค้ วามสนใจเป็ นพเิ ศษในเร่ืองการดารงไวซ้ ่ึงการติดตอ่ สื่อสารทางขา้ งอยา่ งมีประสิทธิภาพ 4.2 วนิ ยั ในการรกั ษาความปลอดภยั ทางการส่ือสาร การรักษาความปลอดภยั ทางการสื่อสาร คือ กระบวนการหน่ึงท่ีมีความมุ่งหมายเพือ่ ปฏิเสธหรือ หน่วงเหนี่ยวมิใหบ้ ุคคลท่ีมิไดเ้ ก่ียวขอ้ ง หรือไดร้ ับอนุมตั ิไดร้ ับข่าวสารขอ้ มูลอนั มีค่าของ ฝ่ ายเราไป ผบ. หน่วย จะประสบผลสาเร็จในการรกั ษาความปลอดภยั ทางการสื่อสารได้ โดยการนาการรับรองฝ่ ายมาบงั คบั ใชภ้ ายในข่ายวิทยุ ท้งั น้ีเพ่อื ใหม้ น่ั ใจว่า สถานีซ่ึงไดร้ ับอนุมตั ิแลว้ เท่าน้ันที่อยใู่ นข่ายของหน่วยตนและอีก หนทางปฏิบตั หิ น่ึงก็คอื การจากดั การใชเ้ ครื่องส่งวทิ ยเุ มื่อไม่มีการปะทะเกิดข้ึนแต่จะมีผลบงั คบั เฉพาะการ ใชง้ านทางธุรการเท่าน้นั โดยปกติวิทยทุ ุกเคร่ือง ยกเวน้ ของ ผบ.หน่วย ควรอยใู่ นสถานการณ์ เงียบ-รับฟัง และจะเลิกใช้ สถานการณ์ เงยี บ - รบั ฟัง เม่ือเกิดการปะทะข้นึ หรือเม่ือ ผบู้ งั คบั บญั ชาสง่ั การ เจา้ หนา้ ทสี่ ื่อสารทุกคนตอ้ ง ทาความเขา้ ใจอยา่ งกระจ่างชดั ในเรื่องการควบคุมวนิ ยั , การลดเวลาการส่งวทิ ย,ุ การใชข้ ่ายวทิ ยุ และการใช้ ลกั ษณะภูมิประเทศเป็ นท่ีต้งั เสาอากาศระหวา่ งที่ต้งั หน่วยฝ่ ายเรา และหน่วยขา้ ศึก สาหรับการใช้ทางสาย และ/หรือการนาสาร ควรนามาใชง้ านทุกโอกาส เม่ือสถานการณ์อานวย 4.3 4.3.1 การพสิ ูจน์ทราบ พนกั งานวทิ ยตุ อ้ งใชค้ วามพยายามในการพิสูจนท์ ราบถึงสาเหตุท่ีมาของ การรบกวน อยา่ ด่วนสรุปลงไปว่าเป็ นเทคนิคการรบกวนที่ขา้ ศึกกาลงั ใช้อยู่ เพราะอาการท่ีเกิดข้ึน อาจ เหมือนกบั อาการรบกวนทเ่ี กิดข้นึ จากเครื่องวทิ ยเุ องกไ็ ด้ การพสิ ูจน์ทราบกระทาไดโ้ ดยการถอดสายอากาศ เคร่ืองรับวทิ ยอุ อก ถา้ เสียงรบกวนลดลงแสดงวา่ การรบกวนน้นั เกิดจากภายนอกเครื่องวทิ ยุ และ/หรืออาจถูก ขา้ ศกึ รบกวน 4.3.2 ดารงการปฏิบตั ิต่อไป หลงั จากทราบว่าเป็ นการรบกวนจากขา้ ศึก ให้พนกั งานวทิ ยดุ ารงการ ปฏิบตั ิงานต่อไปตามปกติ การกระทาดงั กล่าวน้ีอาจทาใหข้ า้ ศึกหลงเขา้ ใจผดิ คิดวา่ การรบกวนน้นั ไม่ประสบ ผล พนกั งานวทิ ยปุ ฏิบตั ิงานต่อไปตามปกติจนกวา่ จะไดร้ บั คาสง่ั เปล่ียนแปลง

15 4.3.3 การรายงาน พนักงานวทิ ยทุ ุกคนตอ้ งรายงานการถูกรบกวนไปให้หน่วยเหนือทราบ โดยใช้ เครื่องมือส่ือสารประเภทอื่น เช่น ทางสาย,พลนาสาร หรือ วทิ ยเุ ขา้ รหสั 4.3.4 การใชก้ าลงั ส่งต่า จะช่วยลดโอกาสจากการถูกขา้ ศึกตรวจพบสญั ญาณวทิ ยไุ ด้ 4.3.5 การซ่อนที่ต้งั เสาอากาศ วธิ ีเอาชนะเคร่ืองคน้ หาทิศทางวทิ ยแุ บบง่ายๆ ก็คอื การเลือกท่ีต้งั สายอากาศให้อยู่ด้านหลังส่ิงกาบงั ในภูมิประเทศ เช่น หน้าผา,ภูเขา,อาคารสูงๆ เป็ นตน้ การ แพร่กระจายของคล่ืนวทิ ยจุ ะถูกหกั เหและสะทอ้ น เม่ือเกิดเหตกุ ารณ์เช่นน้ีก็จะเป็ นการยากต่อการคน้ หาที่มา ของคลื่น แต่ในเวลาเดียวกนั ความแรงของสัญญาณก็จะมีผลนอ้ ยมาก พนักงานวิทยตุ ิดต้งั สายอากาศใหอ้ ยู่ ในระดบั ต่าเท่าท่ีจะเป็ นไปได้ และยงั คงดารงการติดต่อสื่อสารให้เพียงพอกบั หน่วยรอง,หน่วยเหนือ และ หน่วยขา้ งเคียง 4.3.6 การใช้ระบบบอกพวก พนกั งานวิทยุและ ผบ.หน่วย พึงระวงั ในเรื่องการลวงเลียนไวเ้ สมอ เพราะขา้ ศึกมกั จะนามาใชใ้ นการขยายเวลาการติดต่อสื่อสารให้นานออกไป พนักงานวทิ ยุตอ้ งมนั่ ใจและ จดจาเสียงของพนักงานวิทยคุ ู่สถานีได้ ถา้ เกิดความสงสยั คู่สถานีภายในข่าย ควรใช้ระบบการบอกพวก ในทนั ที หรือใชว้ ธิ ีส่งขา่ วแบบเขา้ รหสั เพอื่ ช่วยลดการลวงเลียน 4.3.7 การตอ่ ตา้ นการรบกวน ระเบียบปฏบิ ตั ิประจา (รปจ.) ของหน่วยจะกาหนดระเบยี บปฏิบตั ิการ ตอ่ ตา้ นการถูกรบกวนไว้ เมื่อขา่ ยวทิ ยกุ องร้อยถูกรบกวน ผบ.ร้อย.หรือ รอง ผบ.ร้อย. ซ่ึงทาการแทนในกรณี ท่ี ผบ.ร้อย.ไม่อยู่ จะเป็นผตู้ กลงใจในการเปล่ียนไปใชค้ วามถี่อ่ืน เมื่อมีการเปล่ียนแปลงความถี่ใชง้ าน ควรใช้ วทิ ยุ 1 เครื่องเปิ ดและต้งั ความถี่ของขา่ ยเดิมไวช้ วั่ คราว เพอื่ เป็ นการตรวจสอบมิใหส้ ถานีใดๆ หลงอยใู่ นข่าย เดิม แตต่ อ้ งระวงั การร้องขอความถ่ีใหม่โดยไม่ยอมแจง้ นามสถานีในข่ายเดิมน้ีดว้ ย ความถ่ีท่ีเปลี่ยนไปใชใ้ น ข่ายวทิ ยใุ หม่ตอ้ งรายงานใหห้ น่วยเหนือทราบโดยเร็วทสี่ ุดเท่าที่จะเป็นไปได้ 5. การใช้เคร่ืองมือส่ือสาร การติดต่อส่ือสารในกองร้อยและกองพนั ทหารมา้ ท้งั 3 ประเภท ไดแ้ ก่ ทหารมา้ รถถงั , ทหารม้า บรรทุกยานเกราะ และทหารมา้ ลาดตระเวน ซ่ึงท้งั 3 ประเภทไดร้ บั มอบภารกิจท่ีแตกต่างกนั ไป แต่สิ่งสาคญั ทีท่ หารมา้ ท้งั 3 ประเภท ตอ้ งปฏิบตั ิเหมือนกนั น้นั ก็คือ การบรรลุภารกิจทีไ่ ดร้ ับมอบ ในระดบั กองร้อย และ กองพนั น้ี ผบ.ร้อย.และ ผบ.พนั .เป็ นผูท้ ่ีมีบทบาทสาคญั จึงตอ้ งมีความเขา้ ใจ และรู้จกั ใชอ้ านาจกาลงั รบให้ เหมาะสมกบั สถานการณ์ในรูปแบบของสงครามสมยั ใหม่ ปัจจยั สาคญั ประการหน่ึงท่ี ผบ.ร้อย.และ ผบ.พนั . ตอ้ งใชเ้ พอ่ื สร้างความ มนั่ ใจใหก้ บั ความสาเร็จในภารกิจของหน่วยก็คือ การติดต่อส่ือสาร (Communication) ซ่ึงถือวา่ เป็นปัจจยั หน่ึงของมาตรการการบงั คบั บญั ชา (Command) (Control) หรือท่ีเรียกวา่ C3 การติดต่อส่ือสารของหน่วยทหารมา้ ปัจจุบนั มีอยดู่ ว้ ยกนั หลายวธิ ี แต่ละวิธีประกอบไปดว้ ยเครื่องมือ ส่ือสารชนิดต่างๆ ซ่ึงไดพ้ ฒั นาให้เหมาะสมกบั สถานการณ์ปัจจุบนั ผบู้ งั คบั หน่วยในระดบั กองพนั ต้งั แต่ ผบ.พนั . จนถึง ผบ.มว. ตอ้ งมีความรูใ้ นเร่ืองการสื่อสารอยา่ งถูกตอ้ ง เพราะการติดต่อส่ือสารเป็ นปัจจยั หน่ึงที่ จะทาให้การบงั คบั บญั ชาและการควบคุมไดผ้ ลสมบูรณ์ ภารกิจท่ีไดร้ ับมอบก็จะสาเร็จลุล่วง จากการแบ่ง ประเภททหารมา้ ซ่ึงอาศยั ปัจจยั ภารกิจเป็ นสาคญั ทาให้หน่วยทหารม้าในปัจจุบนั มีภารกิจ 2 ประการ คือ

16 ภารกิจในการลาดตระเวน ไดแ้ ก่ หน่วยทหารมา้ ลาดตระเวน และภารกิจในการดาเนินกลยทุ ธ ไดแ้ ก่ หน่วย ทหารมา้ รถถงั และหน่วยทหารมา้ บรรทุกยานเกราะ ดงั น้นั การใชเ้ ครื่องมือสื่อสารของกองร้อยและกองพนั ทหารมา้ จงึ มีความแตกตา่ งกนั ตามภารกิจของทหารมา้ แตล่ ะประเภท ซ่ึงจะกล่าวใหท้ ราบต่อไป 6. กองร้อยรถถังและกองร้อยทหารม้า ( บรรทุกยานเกราะ ) 6.1 ประเภทวทิ ยุ จดั เป็ นเครื่องมือสื่อสารหลกั ใชใ้ นโอกาสเม่ือเกิดการปะทะขา้ ศึก ถึงแมว้ ่าวิทยจุ ะ เป็นเคร่ืองมือสื่อสารทใี่ หค้ วามรวดเร็วและอ่อนตวั สูง แต่ในเวลาเดียวกนั ก็มีความปลอดภยั น้อยท่ีสุด เพราะ เป็ นเครื่องมือส่ือสารท่ีล่อแหลมต่อการดักฟังและตรวจพบ เพ่ือหลีกเล่ียงการตรวจค้นจากเครื่องมือ หาทศิ ทางของขา้ ศึก กองร้อยตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือส่ือสารประเภทอ่ืนที่มีอยทู่ ้งั หมดดารง การสื่อสารไว้ และจะ ใชว้ ิทยเุ ม่ือมีความจาเป็ นเท่าน้นั การใชว้ ทิ ยอุ ยา่ งระมดั ระวงั และเป็ นหว้ งส้นั ๆ เป็ นส่ิงสาคญั ในการลดการ ปฏิบตั กิ ารสงครามอิเล็กทรอนิกส์ การจดั ข่ายและความถี่ของกองรอ้ ย มีความมุ่งหมายเพอื่ การบงั คบั บญั ชา, การควบคุม,การประสาน การปฏิบตั ิงานท้งั ทางยุทธวิธีและทางธุรการ,การส่งกาลังบารุงและอ่ืนๆผบ.ร้อย.แต่ละกองร้อยเป็ นผู้ กาหนดการจดั ขา่ ยวทิ ยขุ องกองรอ้ ย โดยการพจิ ารณาหลกั การใชห้ น่วยและนาจานวนความถี่ที่ไดร้ ับอนุมตั ิ ตามคาแนะนาปฏบิ ตั กิ ารสื่อสารและอิเล็กทรอนิกส์ (นปสอ.) ของหน่วยเหนือมาใชใ้ นการประกอบข่าย โดย ปกติสถานีบงั คบั ข่าย ( สบข. ) ไดแ้ ก่ รถของ ผบ.ร้อย สถานีอ่ืนๆ ภายในขา่ ยเป็ น สถานีรอง แต่ ผบ.ร้อย. อาจ มอบหมายใหร้ ถคนั ใดคนั หน่ึงในกองบงั คบั การเป็น สบข. ก็ได้ เพราะหน้าท่ีของ สบข. ก็คือ การรักษาวนิ ยั การใชว้ ทิ ยุ และดารงการตดิ ต่อส่ือสารแทน ผบ.หน่วย สบข. จะไม่มีหนา้ ที่ใชว้ ทิ ยสุ งั่ การทางยทุ ธวธิ ี ดว้ ย เหตุผลน้ีจึงทาให้ ผบ.รอ้ ย. มีเสรีในการปฏบิ ตั ิมากข้นึ สามารถ สง่ั การทางวทิ ยจุ ากรถคนั ใดคนั หน่ึงภายใน ขา่ ยกองรอ้ ยไดท้ กุ เวลาเมื่อตอ้ งการโดยปกติในการปฏบิ ตั ิ ผบ.ร้อย. จะมอบหมายให้รถ ทก.ร้อย. เป็ น สบข. ในเรื่องความถ่ีของกองร้อย ( ดูผงั แสดงการจดั ความถ่ี ร้อย.ถ. ) ผบ.ร้อย.เป็ นผปู้ ระกอบข่ายบงั คบั บญั ชา กองร้อย โดยนาความถ่ีทไี่ ดร้ ับอนุมตั ติ าม นปสอ. มาแบ่งมอบใหก้ บั นขต. กองร้อย ( บก.ร้อย. และหมวด ) ตามปกติข่ายบงั คบั บญั ชากองร้อย ประกอบดว้ ยความถี่ 2 ประเภท คือ ความถ่ีคล่ืนแยก และ ความถี่คลื่นร่วม ความถี่แต่ละประเภทมีความมุ่งหมายการ ใชท้ ่ีแตกต่างกนั กล่าวคือ ความถ่ีคลื่นแยกเป็ น ความถี่ทใ่ี ชต้ ดิ ตอ่ กบั นขต. กองร้อย จะแบ่งเป็ นความถี่หลกั ( ก. ) และความถ่ีรอง ( ข. ) ท้งั น้ีเพือ่ เป็ นการ สารองช่องการสื่อสารไวใ้ นกรณีท่ีถูกขา้ ศึกรบกวน (Jamming ) ส่วนความถ่ีคล่ืนร่วม ( ค. ) เป็ นความถ่ี เพม่ิ เติมทีก่ องรอ้ ยอาจไดร้ ับหรือไม่ไดร้ บั อนุมตั ิกไ็ ด้ ในกรณีท่ีไม่ไดร้ ับอนุมตั ิ ผบ.ร้อย.อาจดดั แปลงความถ่ี คลื่นแยกใชเ้ ป็นความถ่ีคล่ืนร่วมตามความจาเป็ น โอกาสในการใชค้ วามถี่คล่ืนร่วม ไดแ้ ก่ ในกรณีที่ ผบ.ร้อย. ตอ้ งการรวบอานาจการบงั คบั บญั ชาท้งั กองร้อย (ต้งั แต่ ทก.ร้อย.จนถึงรถลูกแถวทุกคนั ) เพอื่ ผลในดา้ นการ ปฏิบตั ิรวมการ เช่น การรวมอานาจการยงิ หรือการควบคุมรูปขบวนเดินทาง เป็ นตน้ ความถี่ข่ายบงั คบั บญั ชา กองร้อยท้งั 2 ประเภท โดยปกติจะใชง้ านท้งั ทางยทุ ธวธิ ีและทางธุรการ แต่ความถ่ีคลื่นร่วมในทางปฏิบตั ิ จะไม่นิยมใชท้ างยทุ ธวธิ ี เพราะจะเกิดขอ้ เสียมากกว่าขอ้ ดี เพื่อให้ ผบ.ร้อย. มีเสรีภาพในการปฏิบตั ิการรบ รอง ผบ.ร้อย. จะทาหนา้ ที่ ช่วยเหลือ ผบ.ร้อย. โดยการติดตามรับฟังข่ายบงั คบั บญั ชากองพนั และถ่ายทอด

17 ข่าวสารสาคญั ๆ ใหก้ บั ผบ.ร้อย.ไดร้ ับทราบเท่าท่จี าเป็ น นอกจากน้ี รอง ผบ.รอ้ ย. ยงั ตอ้ งทา หนา้ ที่เป็นผู้ ประสานงานหรือ แนะนาและสนับสนุนการเคล่ือนยา้ ยในส่วนที่ ผบ.ร้อย. ไม่สามารถควบคุมไดใ้ นขณะท่ี กาลงั สงั่ การส่วนหนา้ ในระหว่างการรบ การติดต่อสื่อสารทางขา้ งระหวา่ ง ผบ.มว. และ ผบ.ร้อย. เป็ นสิ่ง สาคญั ยงิ่ ผบ.มว. ทุกคนตอ้ งส่งขา่ วใหท้ ราบซ่ึงกนั และกนั ตลอดการรบ ท้งั น้ีเพ่ือดารงการรายงานเหตุการณ์เกี่ยวกบั การรบท่ีกาลังเกิดข้ึน และควรแจง้ ข่าวสารเก่ียวกับ สถานการณ์ทางขา้ งหรือทางหลงั ของแต่ละหมวดใหท้ ราบซ่ึงกนั และกนั ดว้ ย เช่น การปฏิบตั ิของขา้ ศึก, การ ปฏิบตั ิของแต่ละหมวดที่กระทาต่อขา้ ศึกไปแลว้ และ/หรือมีแผนจะปฏิบตั ิอย่างไรต่อไป รวมท้งั การให้ คาแนะนาแก่ ผบ.มว. คนอ่ืนๆ และ ผบ.ร้อย. เมื่อ ผบ.ร้อย. รับทราบสถานการณ์ในพ้ืนท่ีรับผดิ ชอบของ ตนจากการติดตามการติดต่อสื่อสารทางขา้ ง ก็จะส่ังการปฏิบตั ิไปยงั หมวดต่างๆ โดยใชข้ ่ายบงั คบั บญั ชา กองรอ้ ย

18

19 6.2 ประเภททางสาย จดั เป็นเครื่องมือส่ือสารรอง โอกาสในการใชม้ ีนอ้ ยแตจ่ ะกลายเป็ นเครื่องมือ ส่ือสารหลกั สาหรบั การรบดว้ ยวธิ ีรับ เช่น ใชใ้ นที่มนั่ รบ, จดุ ตา้ นทานแขง็ แรง, ที่ตรวจการณ์หรือฟังการณ์, ขบวนสมั ภาระรบ และพ้นื ทีร่ วมพล 6.3 ประเภทการนาสาร เมื่อหน่วยเขา้ วางกาลงั ในพน้ื ทีร่ วมพล หรือในทีม่ น่ั รบหรือเสริมความ มน่ั คง บนที่หมาย การนาสารจะถูกพจิ ารณานามาใชใ้ หเ้ หมาะสมกบั สถานการณ์ เพราะเป็ นเคร่ืองมือ ส่ือสารท่ีให้ ความคล่องตวั ,ปลอดภยั ดีท่ีสุดและเช่ือถือได้ดีกว่าเคร่ืองมือสื่อสารประเภทอื่นๆ แต่การ นาสารก็มี จุดอ่อนและขีดจากดั กล่าวคือ ตอ้ งใชค้ นทาหนา้ ท่ีเป็ นพลนาสาร จึงมีขีดจากดั ในเร่ืองความรวดเร็วและมี จุดอ่อนในเร่ืองความล่อแหลมตอ่ อนั ตรายทีอ่ าจจะถูกยงิ หรือตรวจพบจากขา้ ศกึ ไดเ้ ม่ือปฏิบตั ิการในแนวหนา้ เมื่อเปรียบเทียบกบั เครื่องมือสื่อสารประเภทอ่ืน การนาสารควรพิจารณาในเร่ืองความปลอดภยั ,เวลา,ชนิด และปริมาณของขา่ ว ในการใชพ้ ลนาสารน้ันถา้ เป็ นไปไดค้ วรมีการฝึ กวธิ ีการนาและรักษาเอกสารประกอบ กบั การใชเ้ สน้ ทางนาสารท้งั กลางวนั และกลางคืน (การใชพ้ ลนาสารน้ีควรเขียนรายละเอียดไวใ้ น รปจ. ของ กองรอ้ ยดว้ ย ) สาหรับการนาสารของกองร้อยรถถงั จะพจิ ารณาใช้ นายสิบติดต่อซ่ึงทาหนา้ ที่พลขบั รถ 1/4 ตนั ของ รอง ผบ.ร้อย. ปฏิบตั ิหนา้ ท่ีพลนาสารของกองร้อย เพราะไม่มีอตั ราพลนาสาร การเดินเอกสาร ภายในใชพ้ ลทหารประจากองบงั คบั การ ถา้ เป็ นข่าวสาคญั ใชน้ ายทหารสญั ญาบตั รเป็ นพลนาสาร 6.4 ประเภททศั นสญั ญาณ จดั เป็นเครื่องมือส่ือสารเพม่ิ เติมเพอ่ื ใชเ้ สริมเคร่ืองมือส่ือสารประเภทอื่น การ ใชท้ ศั นสญั ญาณยอ่ มข้ึนอยกู่ บั ชนิดของการรบ, ความใกลไ้ กลของขา้ ศึก, ภมู ิประเทศและลมฟ้าอากาศ ความ มุ่งหมายในการใชก้ เ็ พอ่ื ใชเ้ ป็นเครื่องมือส่งข่าวส้ันๆ ที่ไดเ้ ตรียมไวล้ ่วงหนา้ ในระยะใกลๆ้ ไดร้ วดเร็ว แต่จะ ไม่ใชเ้ พื่อทาใหเ้ ป็ นการแสดงท่ีต้งั แก่ขา้ ศึก หรือทาให้เกิดอนั ตรายแก่ทหารฝ่ ายเดียวกนั ทศั นสญั ญาณที่ใช้ ไดแ้ ก่ แสงไฟ, ธงสญั ญาณ, มือและแขนสญั ญาณ, พลุสญั ญาณ, แผน่ ผา้ สญั ญาณ ส่วนความหมายของทศั น สญั ญาณรวมท้งั วธิ ีการใชจ้ ะถูกกาหนดไวใ้ นคาแนะนาปฏิบตั ิการส่ือสารและอิเล็กทรอนิกส์ ( นปสอ. ) ของ หน่วยเหนือ หรือในระเบยี บปฏิบตั ปิ ระจา ( รปจ. ) ของ กองร้อย 6.5 ประเภทเสียงสัญญาณ จดั เป็ นเคร่ืองมือสื่อสารเพ่มิ เติมอีกประเภทหน่ึงท่ีมีไว้ เพื่อเสริมเครื่องมือ สื่อสารประเภทอ่ืน เช่นเดียวกบั ประเภททศั นสญั ญาณ ความหมาย, วธิ ีการใชแ้ ละเวลาที่จะใชต้ อ้ งตกลงกนั ไว้ ล่วงหนา้ โดยจะถูกกาหนดไวใ้ นคาแนะนาปฏิบตั ิการส่ือสารและอิเลก็ ทรอนิกส์ ( นปสอ. ) ของหน่วยเหนือ หรือในระเบยี บปฏิบตั ิประจา ( รปจ. )ของกองรอ้ ย 7. กองร้อยทหารม้า ( ลาดตระเวน ) การติดต่อส่ือสารเป็ นสิ่งจาเป็ นต่อการปฏิบตั ิงานของทหารม้าลาดตระเวน เพราะการรายงานขอ้ มูล ขา่ วสารการรบ คือ พน้ื ฐานหนา้ ทีข่ องการลาดตระเวนและระวงั ป้องกนั ขา่ วสารที่ไดม้ าตอ้ งเชื่อถือไดแ้ ละถูก ส่งอยา่ งรวดเร็ว ทหารมา้ ลาดตระเวนตอ้ งออกไปปฏิบตั ิภารกิจในพน้ื ท่หี ่างไกลมากๆ จาก บก.ควบคุม รัศมี รับผิดชอบท้งั ด้านหน้าและดา้ นขา้ งตอ้ งกวา้ งไกลและลึกมากท่ีสุดเท่าท่ีจะเป็ นได้ ท้งั น้ีเพื่อให้ไดม้ าซ่ึง ขา่ วสารอนั เป็นประโยชนต์ ่อหน่วยดาเนินกลยทุ ธ รวมท้งั ฝ่ ายอานวยการของหน่วยเหนืออีกดว้ ย การไดม้ า ซ่ึงข่าวสารน้ันอาจใชว้ ธิ ีการดกั ฟังหรือวธิ ีอื่นๆ ก็ได้ ดงั น้ันการติดต่อส่ือสารระหว่างหน่วยลาดตระเวนกับ

20 บก.ควบคุม จึงตอ้ งใชเ้ คร่ืองมือส่ือสารที่ทันสมยั และมีขีดความสามารถในการส่งระยะไกลได้อยา่ งมี ประสิทธิภาพ ขอ้ พจิ ารณาการใชเ้ ครื่องมือสื่อสารของทหารมา้ ลาดตระเวนมีดงั น้ี.- 7.1 ประเภทวทิ ยุ จดั เป็ นเครื่องมือส่ือสารหลกั ในการติดต่อส่ือสาร โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในระหว่าง ปฏิบัติภารกิจลาดตระเวนและระวังป้องกัน อย่างไรก็ตามหน่วยลาดตระเวนก็ยงั คงต้องใช้เครื่องมือ สื่อสารทุกประเภทเพ่ือเสริมและทดแทนวิทยุ อีกท้งั ยงั เป็ นการหลีกเล่ียงมิให้ขา้ ศึกตรวจพบจากการใช้ อุปกรณ์คน้ หาทิศทางได้อีกดว้ ย โดยปกติหน่วยทหารมา้ ท่ีมีภารกิจในการดาเนินกลยุทธจะใชว้ ิทยรุ ะบบ VHF./FM. เท่าน้นั แต่หน่วยทหารมา้ ลาดตระเวนจะใชท้ ้งั ระบบ VHF./FM. และ HF./AM. เสริมซ่ึงกนั และ กัน สาหรับการจัดข่ายและความถี่ของกองร้อยลาดตระเวน [ ดูแบบอย่างข่ายวิทยุกองพันทหารม้า ( ลาดตระเวน ) ] การจดั ข่ายแบ่งออกเป็ น 2 ข่าย ไดแ้ ก่ ข่ายบงั คบั บญั ชากองร้อย FM. และข่ายบงั คบั บญั ชา กองร้อย AM./SSB. ผบ.ร้อย. จะไดร้ ับแบ่งมอบความถ่ีจากคาแนะนาปฏิบตั ิการส่ือสารและอิเล็กทรอนิกส์ ( นปสอ. ) ของหน่วยเหนือ เพ่อื นามาประกอบข่ายวิทยใุ ห้กบั นขต. กองร้อย ( บก.ร้อย. และหมวด ) การ แบ่งมอบหนา้ ทคี่ วามรับผดิ ชอบภายในข่ายกองร้อย มีลกั ษณะคลา้ ยคลึงกบั กองร้อยรถถงั และกองร้อยทหาร มา้ บรรทกุ ยานเกราะ ผบ.ร้อย. ตอ้ งดดั แปลงใหเ้ หมาะสมกบั ภารกิจและเครื่องมื สื่อสารท่มี ีอยู่ 7.2 ประเภททางสาย ตามปกติจะถูกนามาใชส้ าหรับการติดต่อส่ือสารภายในที่บงั คบั การ และท่ีรวม พลหรือในโอกาสใดก็ตามท่ีสถานการณ์อานวย 7.3 ประเภทการนาสาร จะใชร้ ะหวา่ งทบ่ี งั คบั การ, ขบวนสมั ภาระ, บก.หน่วยเหนือ และหน่วยรอง ถึงแมว้ ่าการนาสารจะเป็ นเคร่ืองมือส่ือสารที่ชา้ กว่าเคร่ืองมือส่ือสารทุกประเภทก็ตาม แต่ก็มีความปลอดภยั และเช่ือถือไดด้ ีทีส่ ุด สาหรับหน่วยลาดตระเวนโดยเฉพาะทหารมา้ อากาศ จะมีขีดความสามารถในการใชก้ าร นาสารมายงั พ้นื ทส่ี ่วนหลงั ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ, รวดเร็ว และทุกโอกาส ถึงแมว้ ่าหน่วยจะอยรู่ ะหวา่ งการ ปะทะ และ/หรือ การติดต่อสื่อสารทางวทิ ยจุ ะถูกขดั ขวางหรือถูกรบกวนก็ตาม 7.4 ประเภทเสียงและทศั นสญั ญาณ โดยปกติจะถูกกาหนดไวใ้ นคาแนะนาปฏิบตั ิการส่ือสาร และอิเลก็ ทรอนิกส์ ( นปสอ. ) ของหน่วยเหนือ ถา้ ไม่มีใน นปสอ. กองร้อยตอ้ งกาหนดข้ึนไวใ้ น รปจ. ของ หน่วย ผูบ้ งั คบั หน่วยและฝ่ ายอานวยการตอ้ งวางแผนและตกลงใจอย่างรอบคอบเก่ียวกบั การใชเ้ สียงและ ทศั นสญั ญาณ 7.5 ประเภททางสายทอ้ งถ่ิน ( Local Telephones )ได้แก่ โทรศพั ท์, โทรสารที่มีอยู่ทวั่ ไปตาม ทอ้ งถ่ินแต่การทีจ่ ะนามาใชต้ อ้ งไดร้ ับอนุมตั จิ าก บก.หน่วยเหนือก่อน ในบางโอกาสหน่วยลาดตระเวนจะ พบว่าวิทยไุ ม่สามารถใชเ้ ป็ นเครื่องมือในการส่งข่าวหรือถ่ายทอดขอ้ มูลข่าวสารได้ เพราะอยใู่ นพ้ืนที่ท่ี ห่างไกลมากหรือพ้นื ท่ีในการรับ-ส่งไม่อานวย หรืออุปกรณ์ของหน่วยขดั ขอ้ ง ประเภทของเครื่องมือ ส่ือสารที่จะนามาใชน้ อกเหนือจากพลนาสารก็คือ ระบบทางสายทอ้ งถิ่น ดงั น้นั หน่วยลาดตระเวนจึงควร วางแผนและ/หรือเตรียมการไวล้ ่วงหน้าด้วย เช่น ควรรู้หมายเลขโทรศพั ทข์ องหน่วยเหนือ ศึกษาและ ทาความคุน้ เคยกบั ระบบทางสายทอ้ งถ่ินและรู้หมายเลขโทรศพั ทฉ์ ุกเฉินที่จาเป็ น การใชร้ ะบบโทรศพั ท์

21 ทอ้ งถิ่นน้ีมกั ถูกมองขา้ มไปท้งั ๆ ที่เป็ นเคร่ืองมือสื่อสารท่ีมีประโยชน์มาก เพราะให้ความรวดเร็ว, ใช้ ทดแทนวิทยไุ ด้ อยา่ งไรก็ตามทางสายทอ้ งถ่ินไม่ใช่เครื่องมือส่ือสารท่ีปลอดภยั และไม่ควรยดึ ถือเป็ น เครื่องมือสื่อสารหลกั แตส่ ามารถใชใ้ หเ้ กิดประโยชนอ์ ยา่ งสูงไดเ้ มื่อโอกาสอานวย 8. การจดั การสื่อสารของกองพนั ทหารม้า 8.1 กองพนั ทหารมา้ (รถถงั ) อจย. 17-15 8.1.1 การส่ือสารของกองบงั คบั การกองพนั แบง่ เป็ น 8.1.1.1 การส่ือสารทางการบงั คบั บญั ชา (Command Communications) ในระหว่าง ปฏิบตั กิ ารยทุ ธ กองบงั คบั การกองพนั รถถงั จะแบง่ ออกเป็น ๒ ส่วน ไดแ้ ก่ ทีบ่ งั คบั การกองพนั (ทก.พนั .) และ ขบวนสมั ภาระของกองพนั การส่ือสารของทบี่ งั คบั การ (Command Post Communications) จะมีศูนยก์ ลางใน การบงั คบั บญั ชาและการควบคุมของกองพนั อยทู่ ่ี ทก. ซ่ึงจะจดั ใหม้ ีสิ่งอานวยความสะดวกในการสื่อสาร อยา่ งเพยี งพอ ส่ิงอานวยความสะดวกและยทุ โธปกรณ์สายสื่อสารทจี่ าเป็ น ไดแ้ ก่ สถานีบงั คบั ขา่ ย ( สบข.) ใช้ สาหรบั ข่ายบงั คบั บญั ชาและส่งกาลงั บารุง, ชุดวทิ ยแุ บบ AM. ใชส้ าหรับติดต่อกบั บก.หน่วยเหนือ, บริการ ทางสาย, และเครื่องสลบั สาย, บริการนาสารและศูนยข์ ่าว สาหรับการส่ือสารของขบวนสัมภาระ ( Trains Communications ) โดยปกติขบวนสมั ภาระของกองพนั จะแบ่งออกเป็ น ขบวนสมั ภาระรบ ( Combat Trains ) และขบวนสมั ภาระพกั ( Field Trains ) ขบวนสัมภาระรบ มกั จะอยบู่ ริเวณใกล้เคียงกบั ทก.พนั . ซ่ึงจะ ประกอบดว้ ยยานพาหนะ, ยทุ โธปกรณ์ และกาลงั พลทีจ่ ะใชส้ นบั สนุนการปฏบิ ตั กิ ารรบไดท้ นั ที ส่วนขบวน สมั ภาระพกั จะอยใู่ นพน้ื ท่ีขบวนสมั ภาระของ กรม. ซ่ึงประกอบดว้ ย ยานพาหนะ, ยทุ โธปกรณ์ และกาลงั พลท่ี ไม่จาเป็ นในการสนบั สนุนทางการช่วยรบโดยทนั ที ในการติดต่อระหวา่ งขบวนสมั ภาระ เจา้ หนา้ ที่ส่งกาลัง บารุงจะใชช้ ุดวทิ ยุ แบบ FM. ติดต่อในข่ายธุรการและส่งกาลงั บารุงกองพนั FM. สาหรับการติดต่อดา้ นการ ส่งกาลงั กบั หน่วยเหนือ คงใชช้ ุดวทิ ยแุ บบ FM. 8.1.1.2 การส่ือสารในการสนับสนุนการรบ (Combat Support Communications) เม่ือกองพนั รถถงั จดั กาลงั เพอ่ื ทาการรบอาจประกอบดว้ ย หน่วยสนบั สนุนการรบ ไดแ้ ก่ ทหารปื นใหญ่และ ทหารช่าง หน่วยสนบั สนุนการรบเหล่าน้ี เมื่ออยใู่ นสถานะสนบั สนุนจะเขา้ มาติดต่อในข่ายบงั คบั บญั ชากอง พนั และยงั คงดารงการติดตอ่ ในขา่ ยของหน่วยเดิมตอ่ ไป แต่ถา้ อยใู่ นสถานะข้ึนสมทบจะเขา้ มาติดต่อในข่าย ตา่ งๆ ของกองพนั โดยไม่จาเป็นตอ้ งตดิ ตอ่ กบั หน่วยแม่ของตนตอ่ ไป 8.1.1.3 การส่ือสารทางธุรการ (Administrative Communications) การควบคุมการ สนบั สนุนทางดา้ นการส่งกาลงั บารุงและธุรการ จะรวมศูนยอ์ ยทู่ ่ีรถของ ฝอ.1 และ ฝอ.4 ซ่ึงโดยปกติจะจอด อยทู่ ีข่ บวนสมั ภาระของกองพนั 8.1.2 การส่ือสารกบั บก.หน่วยเหนือ ( Communications to Higher HQ ) 8.1.2.1 ข่ายวทิ ยกุ องทพั อากาศ ( Air Force Radio Nets ) ชุดควบคุมอากาศยานทาง ยทุ ธวธิ ี (ชคอย.) จากกองทพั อากาศทป่ี ระจาอยกู่ บั กองพนั จะดารงการตดิ ตอ่ ในข่ายคาขอทางอากาศ

22 (Air Request Net ) และข่ายนาทางอากาศยานทางยทุ ธวิธี ( Tactical Air Direction Net ) และมีชุดวิทยแุ บบ FM. ที่จะตดิ ตอ่ ในข่ายบงั คบั บญั ชากองพนั 8.1.2.2 ข่ายวทิ ยขุ องกรม ( Regiment Radio Nets ) กองพนั ดารงการติดต่อในข่าย วทิ ยขุ องกรม เพ่ือรับคาส่ังและข่าวสารจาก กรม รวมท้งั รายงานต่างๆ ท้งั ทางดา้ นยทุ ธการและทาง ธุรการ ไดแ้ ก่ข่ายตา่ งๆ ดงั น้ี.- 1) ข่ายบังคับบัญชากรม FM. (บช.กรม FM.) ข่ายน้ีช่วยให้ บก.พนั . สามารถติดตอ่ กบั บก.กรม ไดด้ ว้ ยสญั ญาณแบบคาพดู ขา่ ยน้ีจะใชใ้ นการส่งขา่ วทางยทุ ธวธิ ีเป็ นหลกั 2) ข่ายบงั คบั บญั ชากรม AM./ SSB.(บช.กรม AM./ SSB.) เป็ นข่ายท่ีกอง พนั ใชร้ ับคาสงั่ และขา่ วสารต่างๆ จากกรม และใชส้ ่งรายงานต่างๆ ขา่ ยน้ีจะใชแ้ ทนข่ายบงั คบั บญั ชากรม FM. เมื่อกองพนั ตอ้ งปฏบิ ตั ิการห่างไกลจากกรมจนไม่สามารถตดิ ต่อดว้ ยชุดวทิ ยแุ บบ FM. ได้ 3) ข่ายยทุ ธการ–การขา่ ว กรม AM./ SSB. ( ยก.- ขว.กรม AM./ SSB.) ตอนยทุ ธการและการขา่ วของกองพนั จะดารงการตดิ ต่อในขา่ ยน้ีเพอื่ รบั คาสง่ั และขา่ วสารจากกรม และ รายงานดา้ นยทุ ธการและการข่าวไปยงั กรม รวมท้งั การประสานงานระหวา่ ง ฝอ.2 และ ฝอ.3 ของกองพนั และของหน่วยขา้ งเคียง 4) ข่ายธุรการ–ส่งกาลงั บารุงกรม. FM. ( ธก.–กบ. กรม FM.) ข่ายน้ีจดั ไว้ เพอื่ ใหส้ ่วนตา่ งๆ ของกองพนั สามารถติดต่อกบั ส่วนสนบั สนุนต่างๆ ทีอ่ ยใู่ นพน้ื ที่ของขบวนสมั ภาระของ กรม และช่วยให้ ตอน ฝอ.1/ฝอ.4 ของกองพนั ไดป้ ระสานกบั ตอน ฝอ.1/ฝอ.4 ของกรม เกี่ยวกบั ส่วน สนบั สนุนทางการช่วยรบของกองพล และขา่ ยน้ีจะใช้ ในระหวา่ งการเคลื่อนยา้ ยขบวนสมั ภาระของกรม และ ช่วย ฝอ.4 กรม เก่ียวกบั การควบคุมและระวงั ป้องกนั พ้นื ท่ีของขบวนสมั ภาระ 5) ข่ายการข่าว กรม FM. (ขว.กรม FM.) กรม อาจจดั ต้งั ข่ายน้ีเพ่ือใช้ สาหรับแลกเปลี่ยนขอ้ มูลทางการขา่ วกรองระหวา่ งนายทหารฝ่ ายการข่าวของกรม และกองพนั 6) ขา่ ยอานวยการยงิ ป. FM. 8.1.2.3 การส่ือสารทางสาย (Wire Communications) เมื่อสถานการณ์ทาง ยทุ ธวิธี เอ้ืออานวย หมวดส่ือสารของกรมจะวางการสื่อสารไปยงั ที่บงั คบั การของกองพนั ดาเนินกลยทุ ธซ่ึงจะทาให้ กองพนั สามารถต่อเขา้ กบั ระบบการส่ือสารของกองพลไดโ้ ดยผา่ นตสู้ ลบั สายของ กรม 8.1.3 การส่ือสารภายในกองพนั ( Internal Battalion Communications ) ประกอบดว้ ย 8.1.3.1 ขา่ ยวทิ ยุ ( Radio Nets ) แบ่งเป็ น 1) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองพนั FM. ( บช.พนั .FM.) เป็ นขา่ ยทีใ่ ชส้ ญั ญาณการ รับส่งแบบคาพดู ที่ใหค้ วามรวดเร็วในการติดตอ่ แก่ ผบ.พนั ., ฝอ., และหน่วยรอง, หน่วยข้ึนสมทบ และหน่วย สนับสนุน ชุดวิทยุมีใช้ท้ังแบบติดต้ังบนยานยนต์และแบบประจากายซ่ึงจะช่วยให้มีความอ่อนตวั และ สนองตอบต่อความตอ้ งการในการบงั คบั บญั ชา ข่าวที่ติดต่อในข่ายน้ีไดแ้ ก่ การส่ังการทางยทุ ธวิธี, การ

23 ประสานงานและข่าวกรอง สถานีบงั คบั ข่าย ไดแ้ ก่ รถของ ทก.พนั ซ่ึงจะมีสายอากาศแบบ Ground Plane เพอื่ เพม่ิ ระยะตดิ ต่อไดไ้ กลข้ึน 2) ข่ายธุรการ–ส่งกาลงั บารุงกองพนั FM. ( ธก. – กบ. พนั . FM.) ข่ายน้ีใช้ ตดิ ตอ่ เก่ียวกบั การสนบั สนุนทางการช่วยรบต่างๆ โดยมีรถของ ฝอ.4 ของกองพนั เป็ นสถานีบงั คบั ข่าย ส่วน ต่างๆ ที่เกี่ยวขอ้ งในการรายงานใหด้ ารงการติดต่อในข่ายน้ี และเป็ นข่ายท่ี ฝอ.4 ของกองพนั ใชต้ ิดต่อกบั ขบวนสัมภาระพกั ของกองพนั ซ่ึงประจาอยใู่ นพ้นื ท่ีขบวนสัมภาระของ กรม.อีกดว้ ย ถา้ ระยะทางไม่ไกล เกินไป 3) ข่ายบงั คบั บญั ชากองร้อย FM. (บช. ร้อย.FM. ) เป็ นข่ายวทิ ยหุ ลกั ท่ีใช้ ในการบงั คบั บญั ชา และควบคุมทางยทุ ธวิธีแก่หน่วยรอง, หน่วยข้ึนสมทบ และหน่วยสนับสนุน และยงั ใช้ เป็นขา่ ยทางดา้ นธุรการและส่งกาลงั บารุงของกองรอ้ ยรถถงั ดว้ ย สถานีบงั คบั ขา่ ยไดแ้ ก่ รถ ทก.ร้อย. 4) ข่ายบงั คบั บญั ชาหมวด FM. ( บช.มว. FM.) เป็ นข่ายสาหรับควบคุม การปฏิบตั ทิ างยทุ ธวธิ ีของหมวดรถถงั โดยมีรถของ ผบ.มว. เป็ นสถานีบงั คบั ขา่ ย 8.1.3.2 ระบบทางสาย (Wire System) ถึงแม้ว่าวิทยุจะเป็ นวิธีการส่ือสารที่ กองพนั ทหารมา้ (รถถงั ) ใชม้ ากที่สุด แต่เมื่อสถานการณ์ทางยทุ ธวิธีเอ้ืออานวยหรือเม่ือเป็ นความประสงค์ ของผบู้ งั คบั บญั ชา ก็อาจจดั สร้างระบบทางสายข้ึน ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ความจาเป็ น, เวลาท่ีมีอย,ู่ การส่งกาลงั บารุง ทางสาย, และความตอ้ งการระบบทางสายในอนาคต 8.1.3.3 การนาสาร (Messenger) กองบงั คบั การกองพนั อาจจดั การนาสารพิเศษ เพื่อดารงการติดต่อกับ บก.หน่วยเหนือตามตอ้ งการ แต่ปกติการนาสารตามกาหนดเวลาจาก บก.กรม. จะมา รับ–ส่งให้ถึงศูนยข์ ่าวของกองพนั ซ่ึงจะส่งต่อไปยงั กองร้อยโดยการนาสารตามกาหนดเวลาหรือไม่ กาหนดเวลาก็ได้ 8.2 กองพนั ทหารมา้ (บรรทุกยานเกราะ) อจย.17-25 พ. 8.2.1 การสื่อสารกบั บก. หน่วยเหนือ ( Communications to Higher HQ ) 8.2.1.1 ข่ายวทิ ยขุ องกรม ( Regiment Radio Nets ) แบง่ เป็ น 1) ข่ายบงั คบั บญั ชากรม FM (บช.กรม FM) 2) ข่ายบงั คบั บญั ชากรม AM./ SSB.(บช.กรม. AM./ SSB) 3) ข่ายธุรการ – ส่งกาลงั บารุงกรม. FM. ( ธก. – กบ. กรม. FM.) 4) ขา่ ยธุรการ – ส่งกาลงั บารุงกรม. AM. ( ธก. – กบ. กรม. AM.) 5) ขา่ ยการขา่ วกรองกรม FM (ขว. กรม FM.) **เมื่อตอ้ งการ** 8.2.1.2 การส่ือสารทางสาย (Wire Communication) 8.2.2 การส่ือสารภายในกองพนั ( Internal Battalion Communications ) ประกอบดว้ ย 8.2.2.1 ขา่ ยวทิ ยุ (Radio Nets) แบ่งเป็ น 1) ข่ายบงั คบั บญั ชากองพนั FM. ( บช.พนั .FM.)

24 2) ข่ายธุรการ – ส่งกาลงั บารุงกองพนั FM. ( ธก. – กบ. พนั . FM.) 3) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองร้อย FM. ( บช.รอ้ ย.FM.) 4) ขา่ ยบงั คบั บญั ชาหมวด FM. ( บช.มว.FM.) 5) ขา่ ยบงั คบั บญั ชาหมวดลาดตระเวน FM. ( บช.มว.ลว.FM.) 6) ข่ายบงั คบั บญั ชาหมวดต่อสูร้ ถถงั FM. ( บช.มว.ตถ.FM.) 7) ขา่ ยบงั คบั บญั ชาหมวดเคร่ืองยงิ ลูกระเบดิ FM. ( บช.มว.ค.FM.) 8.2.2.2 ระบบทางสาย (Wire System) 8.2.2.3 การนาสาร (Messenger) 8.3 กองพนั ทหารมา้ (ลาดตระเวน) อจย. 17-55 ก. 8.3.1 การสื่อสารกบั บก. หน่วยเหนือ ( Communications to Higher HQ ) 8.3.1.1 ข่ายวทิ ยขุ องกรม ( Regiment Radio Nets ) แบง่ เป็ น 1) ข่ายบงั คบั บญั ชากรม FM. (บช.กรม FM) 2) ขา่ ยยทุ ธการและการข่าวกรม AM./ SSB.(ยก.-ขว.กรม AM./ SSB.) 3) ข่ายธุรการ – ส่งกาลงั บารุงกรม FM. ( ธก.– กบ. กรม FM.) 8.3.1.2 การส่ือสารทางสาย (Wire Communication) 8.3.2 การสื่อสารภายในกองพนั (Internal Squadron Communications) ประกอบดว้ ย 8.3.2.1 ขา่ ยวทิ ยุ (Radio Nets) แบ่งเป็ น 1) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองพนั FM. ( บช.พนั .FM.) 2) ข่ายบงั คบั บญั ชากองพนั AM./SSB. ( บช.พนั .AM./SSB.) 3) ข่ายธุรการ – ส่งกาลงั บารุงกองพนั FM. ( ธก. – กบ. พนั . FM.) 4) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองรอ้ ย FM. ( บช.ร้อย.FM.) 5) ขา่ ยบงั คบั บญั ชาหมวด FM. ( บช.มว.FM.) 8.3.2.2 ระบบทางสาย (Wire System) 8.3.2.3 การนาสาร (Messenger) 8.4 กองพนั ทหารมา้ (ลาดตระเวน) อจย. 17-55 พ. 8.4.1 การสื่อสารกบั บก. หน่วยเหนือ ( Communications to Higher HQ ) 8.4.1.1 ขา่ ยวทิ ยขุ องกองพล ( Division Radio Nets ) แบ่งเป็ น 1) ข่ายบงั คบั บญั ชากองพล FM (บช.พล. FM.) 2) ขา่ ยศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการทางยทุ ธวธิ ีกองพล AM/SSB (ศปย.พล.AM/ SSB) 3) ข่ายคาขอทางอากาศ AM./SSB. 4) ขา่ ยนาทางอากาศยาน UHF/AM. 5) ข่ายเตือนภยั กองพล AM./SSB

25 6) ข่าย ธก./กบ. พล. AM/SSB 8.4.1.2 การสื่อสารทางสาย (Wire Communication) 8.4.2 การส่ือสารภายในกองพนั ( Internal Squadron Communications ) ประกอบดว้ ย 8.4.2.1 ขา่ ยวทิ ยุ (Radio Nets) แบ่งเป็ น 1) ข่ายบงั คบั บญั ชากองพนั FM. ( บช.พนั .FM.) 2) ข่ายบงั คบั บญั ชากองพนั AM./SSB ( บช.พนั .AM./SSB.) 3) ขา่ ยธุรการ – ส่งกาลงั บารุงกองพนั FM. ( ธก–กบ. พนั . FM.) 4) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองรอ้ ย FM. ( บช.ร้อย.FM.) 5) ข่ายบงั คบั บญั ชากองร้อย AM./SSB. ( บช.ร้อย.AM./SSB.) 6) ขา่ ยบงั คบั บญั ชาหมวด FM. ( บช.มว.FM.) 8.4.2.2 ระบบทางสาย (Wire System) 8.4.2.3 การนาสาร (Messenger) 9. การจัดการส่ือสารของกองร้อยทหารม้า (ลาดตระเวน) กองพลทหารราบ อจย.17-57 พ. ดว้ ย ร้อย ( ม. ) ลว. เป็ นกองร้อยลาดตระเวน ที่ข้ึนตรงกบั กองพลทหารราบ จึงจดั เป็ นกองร้อย ทหารมา้ อิสระ ท่มี ีการจดั การสื่อสารท่ีแตกต่างไปจากกองร้อยทหารมา้ แต่ละประเภท อยา่ งไรก็ตาม อจย.ท่ี ใช้ก็ยงั คงใช้ อจย. 17-57 พ. เช่นเดียวกับกองร้อยทหารม้า (ลาดตระเวน) ของกองพนั ทหารม้า (ลาดตระเวน) อจย.17-55 พ. กองร้อยทหารมา้ (ลาดตระเวน) กองพลทหารราบ มีอยดู่ ว้ ยกนั 5 กองร้อย ไดแ้ ก่  ร้อย ม.( ลว. ) ที่ 1 พล.1 รอ.  รอ้ ย ม.( ลว. ) ท่ี 3 พล.ร 3  รอ้ ย ม.( ลว. ) ที่ 4 พล.ร.4  รอ้ ย ม.( ลว. ) ที่ 5 พล.ร.5  ร้อย ม.( ลว. ) ท่ี 6 พล.ร.6 การจดั การสื่อสารของกองร้อยทหารมา้ (ลาดตระเวน) กองพลทหารราบ มีดงั น้ี 9.1 การส่ือสารกบั บก.หน่วยเหนือ ( Communication to Higher HQ ) 9.1.1 ขา่ ยวทิ ยขุ องกองพล ( Division Radio Net ) แบง่ เป็ น 1) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองพล FM. ( บช.พล. FM. ) 2) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองพล AM./SSB. ( บช.พล.AM./SSB.) 3) ขา่ ยคาขอทางอากาศกองพล AM./SSB. 4) ข่ายการขา่ วกรองกองพล AM./SSB. 9.1.2 การส่ือสารภายในกองร้อย ( Internal Troop Communications ) ประกอบดว้ ย

26 9.1.2.1 ข่ายวทิ ยุ ( Radio nets ) แบ่งเป็ น 1) ข่ายบงั คบั บญั ชากองรอ้ ย FM. ( บช.ร้อย.FM.) 2) ขา่ ยบงั คบั บญั ชากองรอ้ ย AM./SSB. ( บช.ร้อย.AM./SSB.) 3) ขา่ ยบงั คบั บญั ชาหมวด FM. ( บช.มว.FM. ) 9.1.2.2 ระบบทางสาย ( Wire System ) 9.1.2.3 การนาสาร (messenger) ร้อย ม.( ลว.) พล.ร. ใชน้ ายสิบติดต่อซ่ึง ปฏบิ ตั หิ นา้ ทเี่ ป็ นพลขบั รยบ.¼ ตนั ของ ผบ.ร้อย. ทาหนา้ ที่เป็ นพลนาสาร แต่การนาสาร พเิ ศษจะใชน้ ายทหารติดตอ่ ส่วนการแลกเปล่ียนขา่ วสารในเขตหนา้ กบั หน่วยอ่ืน เช่น มว.ลว. และการขา่ วของ กรม ร. เจา้ หนา้ ที่ ตอนคอยเหตุจะแลกเปล่ียนข่าวสารโดยตรง 9.1.2.4 ทศั นสญั ญาณ และเสียงสญั ญาณ ปฏบิ ตั ิเช่นเดียวกบั ร้อย.ถ. ………………………………… หลกั ฐานอ้างองิ : 1. FM. 17 – 1 TANK & MECHANIZED INFANTRY COMPANY TEAM, 22 NOVEMBER 1988 (หน้า 2-28, - 2-32) 2. FM. 17 – 2 TANK & MECHANIZED INFANTRY BATTALION TASK FORCE, 17 AUGUST 1994 (หน้า 2-29, - 2-32) 3. FM. 17 – 15 TANK PLATOON, 7 OCTOBER 1987 (หน้า 2-21, 2-22) 4. FM. 17 - 95 CAVALRY OPERATIONS, 19 SEPTEMBER 1991 (หน้า 2-37, - 2-39) 5. FM. 17 – 98SCOUT PLATOON, 9 SEPTEMBER 1994 (หน้า 2-37, 2-38) 6. นส. 17-11-6 (รร.ม.ศม.)

27

28

29

30

31

32 บทท่ี 3 ระบบการส่ือสารในทบี่ งั คบั การ (COMMAND POST COMMUNICATION SYSTEM) 1. กล่าวทวั่ ไป ส่วนของ “กองบงั คบั การ” และ/หรือ “กองบญั ชาการ” ทีอ่ อกไปปฏิบตั ิราชการสนาม หรือปฏิบตั ิ การรบ เรียกวา่ “ท่บี งั คบั การ” และ/หรือ “ท่ีบญั ชาการ” ท้งั น้ีข้นึ อยกู่ บั ขนาดของหน่วย ถา้ เป็ นหน่วยต้งั แต่ ระดบั กองพลข้ึนไป เรียกวา่ “ท่ีบญั ชาการ” และหน่วยระดบั ต่ากว่ากองพลลงมา เรียกวา่ “ที่บงั คบั การ” ท้งั ที่บงั คบั การ/ที่บญั ชาการ จะเขียนยอ่ ว่า “ทก.” ไม่ว่าจะเป็ นหน่วยระดับใดก็ตาม ความมุ่งหมายของ ทก. ก็คือ การสนบั สนุนผทู้ ่เี ก่ียวขอ้ งกบั การแสวงขอ้ ตกลงใจดว้ ยการจดั โครงสร้างอยา่ งมีระเบียบ เพ่อื ทา หนา้ ทีอ่ านวยความสะดวกหรือเก้ือกลู ตอ่ การแสวงขอ้ ตกลงใจ ซ่ึงในหน่วยระดบั กองทพั นอ้ ยและกองพล เป็นเร่ืองสาคญั เพราะมีการปฏิบตั ิการทซ่ี บั ซอ้ นยงุ่ ยากมากมาย 2. โครงสร้างของทีบ่ ังคบั การ/ท่ีบัญชาการ (ทก.) 2.1 โดยทวั่ ไป แบบของ ทก. ไดแ้ ก่ ทก.ยทุ ธวธิ ี, ทก.หลกั , ทก.สารอง และทก.หลงั ทก.ดงั กล่าวน้ี ลว้ นจดั ข้ึนเพื่อช่วยเหลือแบ่งเบาภาระหน้าที่ของผูบ้ งั คบั บญั ชาในการบงั คบั บญั ชาและการควบคุมการ ปฏิบตั ิการรบ ฝอ. และ ฝสธ. ท่ีถูกจดั ข้ึนใน ทก. จะทาหน้าที่จดั หา, รวบรวม และประสานงานเกี่ยวกบั ข่าวสารทีผ่ บู้ งั คบั บญั ชาตอ้ งการ เพอื่ การบงั คบั บญั ชา และการควบคุมการปฏิบตั ิการรบ 2.2 ภาระหนา้ ที่อนั สาคญั ที่สุดของ ฝอ. และ ฝสธ. . ซ่ึงจะตอ้ งเป็ นข่าวท่ี ทนั เวลา, ถูกตอ้ งแม่นยา และเป็นข่าวท่ีสาคญั จริงๆ การดาเนินงานของ ฝอ. และ ฝสธ. ต่างๆ ท่ีสอดคลอ้ ง ซ่ึงกนั และกนั จะทาให้ผบู้ งั คบั บญั ชาสามารถผสมผสานอานาจกาลงั รบ ณ ตาบล และเวลาท่ีตอ้ งการได้ อยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมตลอดช่วงการปฏิบตั ิการรบ 2.3 โดยปกติแล้ว ทก.ทุกระดับหน่วยจะทาหน้าท่ีในการบงั คบั บญั ชาและควบคุมไดต้ ลอดพ้ืนท่ี ปฏิบตั ิการ ซ่ึงไดแ้ ก่ พ้นื ที่ในทางลึกหรือพ้นื ที่แนวหลงั ของฝ่ ายตรงขา้ ม, พ้ืนที่การรบระยะใกล,้ พ้นื ที่ การรบหลกั และพน้ื ทสี่ ่วนหลงั ฝ่ายเรา 3. การจดั ทก.ของหน่วยทหารระดับต่าง ๆ 3.1 กองทพั นอ้ ย จดั ต้งั ทก.ยทุ ธวธิ ี, ทก.หลกั และ ทก.หลงั 3.2 กองพลจดั ต้งั ทก.ยทุ ธวธิ ี, ทก.หลกั และกาหนดใหม้ ี ทก.สารอง ตามปกตจิ ะเป็น บก.ป.พล. หรือ บก.กรม สาหรับพ้ืนที่ส่วนหลงั คือพ้ืนที่สนับสนุนของกองพล จะบงั คบั บญั ชาโดยผูบ้ งั คบั การกรม สนบั สนุน และจะดาเนินการสนบั สนุนการปฏิบตั ิการรบ ส่วนการปฏิบตั ิการรบในพ้ืนท่ีส่วนหลงั อาจมี ความตอ้ งการการจดั ต้งั ทก. สาหรับพ้ืนท่ีส่วนหลงั ก็ได้ และหากจดั ต้งั ข้ึนก็อาจจะบงั คบั บญั ชาโดยรอง ผบ.พล. ฝ่ายสนบั สนุน 3.3 กรม จดั ต้งั ทก.ยทุ ธวธิ ี, ทก.หลกั และอาจกาหนด ทก.สารอง ไวด้ ว้ ย พ้นื ทส่ี ่วนหลงั ของกรมจะ สนบั สนุนการปฏิบตั ิการรบขา้ งหนา้

33 3.4 กองพนั จดั ต้งั ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารทางยทุ ธวธิ ี (ศปย.) ซ่ึงจะทาหนา้ ทเี่ สมือน ทก.หลกั และหากจาเป็น กองพนั อาจจดั กลุ่มการบงั คบั บญั ชาข้ึนเพอ่ื ทาหน้าที่เหมือนกบั ทก.ยทุ ธวิธีก็ได้ ส่วน ทก.สารอง อาจจะ กาหนดดว้ ยก็ไดเ้ ช่นกนั 4. ท่ีบงั คบั การกองพนั และขบวนสัมภาระกองพัน 4.1 ทบ่ี งั คบั การกองพนั (ทก.พนั ) เป็นที่ปฏิบตั งิ านของผบู้ งั คบั กองพนั และฝ่ ายอานวยการ เพอ่ื ควบคุม และบญั ชาการรบ ทก.พนั จึงเป็นศนู ยค์ วบคุมการบงั คบั บญั ชา, รวบรวมและกระจายข่าว, ส่งคาส่ังไปยงั หน่วยรอง ตลอดจนดารงการติดต่อกบั หน่วยเหนือ, หน่วยขา้ งเคียง หน่วยสมทบและหน่วยสนบั สนุน ทบี่ งั คบั การระดบั กองพนั จะแบ่งเป็ น 2 ส่วน เรียกว่า ที่บงั คบั การส่วนหน้า (ทก.หนา้ ) และ ที่บงั คบั การ ส่วนหลงั (ทก.หลงั ) 4.1.1 ท่บี งั คบั การส่วนหนา้ (ทก.หนา้ ) เป็นทบ่ี งั คบั การทางยทุ ธวธิ ี ดารงการตดิ ต่อกบั หน่วยเหนือ, หน่วยรอง และหน่วยอื่นโดยตรง ในกรณีท่ีผูบ้ งั คบั บญั ชา, ฝ่ ายอานวยการและเจา้ หนา้ ที่ฝ่ ายกิจการพเิ ศษ ออกไปอานวยการรบขา้ งหนา้ ทบ่ี งั คบั การ เรียกวา่ พวกบงั คบั บญั ชา หรือ ทก.ยทุ ธวธิ ี 4.1.2 ที่บงั คบั การส่วนหลงั (ทก.หลงั ) เป็ นท่ีบงั คบั การทางธุรการ เก่ียวกบั การส่งกาลงั บารุง และควบคุมขบวนสมั ภาระ ไม่มีหนา้ ท่ตี ดิ ตอ่ สื่อสารทางยทุ ธวธิ ีโดยตรง 4.2 ขบวนสมั ภาระของกองพนั แบ่งออกเป็น ขบวนสมั ภาระรบ และขบวนสมั ภาระพกั 4.2.1 ขบวนสมั ภาระรบ มกั จะอยบู่ ริเวณใกลเ้ คียงกบั ทก.พนั จะประกอบดว้ ย กาลงั พล, ยานพาหนะ และยทุ โธปกรณ์ ซ่ึงจะสามารถใชส้ นบั สนุนการรบไดท้ นั ที 4.2.2 ขบวนสมั ภาระพกั จะอยใู่ นพน้ื ท่ีขบวนสมั ภาระของกรม จะประกอบดว้ ย กาลงั พล, ยานพาหนะและยทุ โธปกรณ์ทีไ่ ม่จาเป็นในการสนบั สนุนการรบโดยทนั ที 5. เส้นหลกั การเคลอื่ นย้ายและเส้นหลกั การสื่อสาร 5.1 เสน้ หลกั การเคลื่อนยา้ ย คือ เสน้ ทางการเคลื่อนที่ของท่บี งั คบั การในอนาคต ซ่ึงคาดวา่ จะไปต้งั เป็นหว้ ง ๆ ณ ตาบลและเสน้ ทางท่ีกาหนด จะระบหุ รือไม่ระบไุ วใ้ นขอ้ 5 ของคาสง่ั ยทุ ธการก็ได้ 5.2 เสน้ หลกั การส่ือสาร ในขณะท่ีหน่วยทหารเคลื่อนทไ่ี ปขา้ งหนา้ หรือถอยลงมาขา้ งหลงั กต็ าม มีความ จาเป็นตอ้ งเคลื่อนยา้ ยหรือเปล่ียนทต่ี ้งั ทบ่ี งั คบั การและ/หรือท่ีบญั ชาการดว้ ย ในการท่ีจะใหก้ ารบญั ชาการ และการสื่อสารระหวา่ งการเคลื่อนยา้ ยดาเนินไปโดยต่อเนื่อง จึงจาเป็ นตอ้ งเลือกที่บงั คบั การและ/หรือ ที่บญั ชาการไวล้ ่วงหน้าตามลาดบั เส้นสมมุติซ่ึงลากเช่ือมต่อที่ต้งั ที่เลือกไวก้ ่อนล่วงหนา้ เรียกว่า เส้น หลกั การสื่อสาร แมว้ า่ ท่บี งั คบั การและ/หรือท่บี ญั ชาการจะไม่ไดต้ ้งั ณ ทต่ี ้งั ทีไ่ ดเ้ ลือกไวแ้ ต่ละแห่งกต็ ามท่ี บงั คบั การและ/หรือท่ีบญั ชาการ ก็ยงั คงเคล่ือนยา้ ยตามเสน้ ทางหรือเสน้ หลกั ดงั กล่าวน้ี 6. การเลอื กที่ต้งั ที่บังคบั การ ผบู้ งั คบั หมวดส่ือสารหรือนายทหารฝ่ ายการสื่อสาร เสนอแนะและร่วมในการจดั ต้งั ที่บงั คบั การ โดยอาศยั ปัจจยั และขอ้ พจิ ารณาเพ่อื เป็ นมูลฐานในการเลือกท่ีบงั คบั การให้เหมาะสมกบั กิจการทางการ สื่อสารโดยไม่ขดั กบั ภารกิจทางยทุ ธวธิ ี การเลือกทต่ี ้งั ท่บี งั คบั การควรพจิ ารณาในเรื่องตอ่ ไปน้ี

34 6.1 ในระหวา่ งการเดิน ทบี่ งั คบั การจะยา้ ยเป็นหว้ งๆ ตามเสน้ ทางทีก่ าหนด และจะอยคู่ อ่ นไปขา้ งหนา้ ของขบวน 6.2 การรบดว้ ยวิธีรุก ทก. จะต้งั ล้าไปข้างหน้า เพ่ือสะดวกต่อการควบคุมและหลีกเลี่ยงการเคล่ือน ยา้ ยบอ่ ย 6.3 การรบด้วยวิธีรับ ทก. จะต้ังค่อนไปขา้ งหลัง อาจต้งั อยใู่ กล้กบั กองหนุน เพ่ือจะไดร้ ับการระวงั ป้องกนั แมข้ า้ ศึกจะเจาะแนวเขา้ มาเฉพาะตาบล 6.4 การปฏิบตั กิ ารยทุ ธชนิดอ่ืน ทก. จะต้งั อยู่ ณ ตาบลท่ีผูบ้ งั คบั บญั ชาสามารถควบคุมและอานวยการ รบไดผ้ ลดีที่สุด การต้งั ท่ีบงั คบั การห่างไกลยอ่ มเป็ นการเพ่มิ ภาระแก่ระบบการสื่อสารโดยไม่จาเป็ น ท่ีบงั คบั การของหน่วยเหนือและหน่วยรองที่ปฏิบตั ิการเขา้ ตีหลกั ตอ้ งระบุถึงความตอ้ งการท่ีต้งั ที่บงั คบั การของ หน่วยไวด้ ว้ ย สาหรบั หน่วยขนาดเลก็ มีความตอ้ งการท่ตี รวจการณ์/ท่ีฟังการณ์ใกลท้ ่ีบงั คบั การเพ่ิมเติมข้ึน ดว้ ย ท่บี งั คบั การส่วนหนา้ และท่ีบงั คบั การส่วนหลงั ควรจะอยใู่ กลก้ นั เท่าท่ีสถานการณ์จะอานวยให้ 6.5 ตอ้ งคานึงถึงผลของระยะทางและภูมิประเทศ, เสน้ ทางจราจรทม่ี ีไปขา้ งหนา้ และขา้ งหลงั ระหวา่ ง หน่วยเหนือกบั หน่วยรอง (มีสองเสน้ ทางยง่ิ ดี) ใหผ้ ลดีแก่การวางสาย การนาสาร และไม่เป็ นอุปสรรคต่อ การติดต่อส่ือสารทางวทิ ยุ มีการกาบงั และซ่อนพราง มองไม่เห็นจากถนนหลกั และทางอากาศ ที่ต้งั ควร ห่างกนั ประมาณ 50 เมตร ทบี่ งั คบั การจะไม่ต้งั ณ ทห่ี มายเด่นหรือภมู ิประเทศท่ดี ึงดูดความสนใจให้ขา้ ศึก ทาการยงิ หรือตรวจพบ แต่จะอยใู่ นภูมิประเทศท่ีมีท่ีหมายซ่ึงฝ่ ายเดียวกันสามารถสังเกตุรู้ไดง้ ่ายท้งั ใน แผนทแี่ ละในภมู ิประเทศ เช่น หมู่บา้ น หรือทางแยก ถนนสะดวกแก่การเขา้ ตดิ ตอ่ มีการจดั คนนาทางหรือ ทาเคร่ืองหมายขนาดใหญใ่ หม้ องเห็นไดช้ ดั ขณะรถวง่ิ เร็ว 6.6 สะดวกตอ่ การวางสายไปขา้ งหนา้ และขา้ งหลงั 6.7 ผลของสายไฟฟ้าแรงสูง, สถานีไฟฟ้า, เนินเขา, ป่ าทึบ, สะพานเหล็ก และตึกสูง 6.8 ใกลก้ บั ภูมิประเทศที่เหมาะสม จะใชเ้ ป็ นสนามบินเบาหรือสนาม ฮ. หรืออยา่ งน้อยก็ให้ใกลก้ บั พ้นื ที่โล่งแจง้ เพอื่ ใชใ้ นการท้ิงขา่ วและตกข่าวและการปูแผน่ ผา้ สญั ญาณ 6.9 เสน้ ทางคมนาคมและสภาพการจราจร มีเสน้ ทางคมนาคมทสี่ ะดวกสามารถใชไ้ ดท้ ุกฤดูกาล ไม่เป็ น อุปสรรคและเกิดความยงุ่ ยากในการควบคุมทางยทุ ธวธิ ี ไม่เป็ นหล่มโคลนหรือช่องทางท่ีจากดั 6.10 ความจาเป็นสาหรับท่ตี ้งั ที่มีแนวเสน้ สายตาไปยงั หน่วยทหารฝ่ ายเดียวกนั สาหรบั การสื่อสารดว้ ย ทศั นสญั ญาณ 6.11 การปฏิบตั ิการเลือกท่ีต้งั ที่บงั คบั การ ฝอ.3 เป็ นผูเ้ ลือกที่ต้ังท่ีบงั คับการอย่างกวา้ งๆ ฝสส.จะ พจิ ารณาเลือกในเร่ืองการตดิ ตอ่ สื่อสาร ฝอ.1 เลือกที่ต้งั ทีเ่ ป็นไปไดข้ องฝ่ ายอานวยการและส่วนสนบั สนุน อื่นๆ ทตี่ ้งั ทก.ทีแ่ น่นอนจะถูกกาหนดโดย ฝอ.1 ร่วมกบั ฝสส. โดยไดร้ ับอนุมตั จิ ากผบู้ งั คบั กองพนั

35 7. เจ้าหน้าทส่ี ่ือสาร 8. เจา้ หนา้ ทสี่ ่ือสารของ ทก. จดั จากตอนสื่อสารหรือหมวดสื่อสารของกองพนั อานวยการส่ือสารโดย ผบ.มว.ส. หรือ ฝสส. ภายใตก้ ารกากบั ดูแลของ ฝอ.3 เพื่อใหร้ ะบบการส่ือสารสนองความตอ้ งการ ทางยทุ ธวธิ ีไดท้ ุกชนิดการรบโดยฉบั พลนั และทนั ท่วงที 9. การสารองเคร่ืองส่ือสาร พจิ ารณาใชเ้ ครื่องสื่อสารใหเ้ หมาะสมกบั ความตอ้ งการทางยทุ ธวิธี หลีกเลี่ยงการร้องขอความ ช่วยเหลือจากหน่วยเหนือ โดยปกติจานวนเครื่องส่ือสารของแต่ละหน่วยจะจดั ไวพ้ อดีแก่การควบคุม หน่วย (ไม่มีอะไหล่) อยา่ งไรกต็ ามจะตอ้ งหาวธิ ีสงวนเครื่องส่ือสารจากบุคคลที่มีความสาคญั อนั ดบั รอง ลงไปเพอื่ สารองไวแ้ กป้ ัญหาเม่ือเคร่ืองสื่อสารจากส่วนกาลงั รบเกิดการชารุด เพือ่ จะไดจ้ ดั ส่งไปทดแทน ไดท้ นั ท่วงทีและหมุนเวยี นส่งซ่อมได้ การหวงั พ่งึ การสนับสนุนเครื่องส่ือสารจากหน่วยเหนือกระทาได้ ยากเพราะตา่ งก็มีเคร่ืองสื่อสารจากดั ตามอตั รา 10.เครื่องส่ือสารในที่บังคบั การกองพนั (ทก.พนั .) เครื่องส่ือสารของ ทก.พนั . จะประกอบดว้ ย วิทยุ, โทรศพั ท,์ นาสาร ส่วนเสียงสญั ญาณและแสง สญั ญาณจะใชน้ อ้ ยมาก ใน ทก.พนั มีวธิ ีการจดั และการใชเ้ คร่ืองส่ือสารแตล่ ะชนิดดงั น้ี 10.1 แสงสญั ญาณ จดั ให้มีใชใ้ นลักษณะพรางอย่างจากดั เพ่อื พสิ ูจน์ฝ่ ายระหวา่ งผูท้ ่ีจะเขา้ มายงั ท่ีบงั คบั การหรือระหวา่ งหมู่ระวงั ป้องกนั ทบ่ี งั คบั การหรือหมู่ตรวจหรือส่งข่าวส้นั ๆ 10.2 เสียงสญั ญาณ ระฆงั จดั ไวข้ า้ งประตูทางเขา้ ทก. เพอ่ื ใหย้ ามรกั ษาการณ์ทีบ่ งั คบั การตีระฆงั แจง้ เหตุอนั ตราย สาหรบั สญั ญาณไซเรน จะติดต้งั สวติ ชอ์ ยใู่ นทบ่ี งั คบั การ 10.3 การนาสาร เสมียนศูนยข์ ่าวมีหน้าท่ีรับข่าว จดั ระเบียบข่าวและแยกข่าวให้ตอนเครื่องมือ ไม่มี หน้าที่สาเนาข่าว และยงั ทาหน้าท่ีนาสารระหว่างศูนยข์ ่าวกบั ศูนยข์ ่าวหรือศูนยข์ ่าวกบั ศูนยร์ ับ-ส่ง ไม่มี หนา้ ที่รับส่งข่าวระหวา่ งบคุ คล การรบั -ส่งขา่ วเป็นส่วนบคุ คลหรือการส่งข่าวภายในหน่วยเป็ นหนา้ ที่ของ เจา้ หนา้ ท่รี บั -ส่งของศูนยร์ ับ-ส่ง ซ่ึงจดั จาก ฝอ.1 และการรับ-ส่งไปรษณียเ์ ป็นหนา้ ท่ีของนายสิบไปรษณีย์ ของ ฝอ.1 เช่นเดียวกนั 10.4 การสื่อสารทางสาย ตอนสื่อสารและ/หรือหมวดสื่อสารติดต้งั ตสู้ ลบั สายในทบี่ งั คบั การหรือใกล้ ทีบ่ งั คบั การ และควรห่างจากทีป่ ฏบิ ตั งิ านของผบู้ งั คบั บญั ชาเพอ่ื ไม่เป็ นทีส่ ่งเสียงรบกวน ทางสาย 1 คู่สาย จะไดร้ ับการวางมาจากหน่วยเหนือ เพือ่ เช่ือมต่อเป็ นระบบส่ือสารส่วนใหญ่ของหน่วยเหนือ ในทานอง เดียวกันตอนสื่อสารหรือหมวดสื่อสารของกองพนั จะวางสายไปยงั ตูส้ ลับสายของกองร้อย ทางสาย ระหว่างตูส้ ลบั สายน้ีเรียกวา่ ทางสายหลกั (Trunk Line) นอกจากน้ี จะวางสายไปยงั ส่วนระวงั ป้องกนั , หมู่ซ่อม, หมวดเสนารักษ,์ ร้อย บก. และส่วนบริการอ่ืนๆ ภายใน ทก. จะติดต้งั โทรศพั ทใ์ ห้กบั ผบ.พนั ., รอง ผบ.พนั ., ฝอ.2,3, ฝอ.1,4,5 และเจา้ หนา้ ที่รับ-ส่งของ ฝอ.1 ทางสายชนิดน้ีเรียกว่า ทางสายภายใน (Local Line) ทางสายอีกชนิดหน่ึงเรียกวา่ ทางสายตรง (Hot Line) มีความมุ่งหมายเพอื่ ใชค้ วบคุมการยงิ

36 และควบคุมการปฏิบตั ิทางยทุ ธวธิ ีโดยใกลช้ ิด เป็ นทางสายระหวา่ งเคร่ืองโทรศพั ทต์ ่อเคร่ืองโทรศพั ทโ์ ดย ไม่ผา่ นตสู้ ลบั สาย สามารถเรียกรับข่าวและส่งข่าวไดร้ วดเร็ว ไดแ้ ก่ทางสายจาก บก.ป.พล., บก.ฉก.หรือ ป. ท่ีสนบั สนุนโดยตรง ผใู้ ชไ้ ดแ้ ก่ ผบ.พนั ., รอง ผบ.พนั ., ฝอ.2-3 และพลวทิ ยปุ ระจา ทก. การติดต้งั โทรศพั ท์ ภายใน ทก. ติดต้งั เท่าท่ีจาเป็ นและเพียงพอต่อการใชง้ าน ลาดับความเร่งด่วนในการติดต้งั โทรศพั ท์เป็ นไป ตามท่กี าหนดไวใ้ น รปจ. 10.5 การส่ือสารทางวทิ ยุ สถานีวทิ ยุ ณ ทก.พนั จะทาหนา้ ที่เป็ นสถานีบงั คบั ขา่ ย (สบข.) เพอ่ื ควบคุม ข่ายบงั คบั บญั ชา, ข่ายธุรการและส่งกาลงั บารุง และข่ายอ่ืนๆ ตามความจาเป็ น ปกติสถานีวิทยจุ ะต้งั ห่างจาก ทก. ประมาณ 200 เมตร เพอ่ื หลีกเลี่ยงการถูกทาลายดว้ ยกระสุนปื นใหญ่นดั เดียวกนั กรณีน้ีตอ้ งจดั ชุดควบคุม วทิ ยหุ ่างจากตวั เคร่ือง (Remote Control) ไวท้ ่ี ทก. เพ่อื ให้ ผบ.พนั , รอง ผบ.พนั และ ฝอ. 2-3 ใชค้ วบคุม อานวยการรบ ถา้ เป็น ทก.ที่มีบงั เกอร์แขง็ แรง จะต้งั สถานีวทิ ยไุ วใ้ น ทก. ก็ไดท้ าใหส้ ะดวกแก่การใชข้ อง ผบู้ งั คบั บญั ชาไม่ตอ้ งใช้ ชุดควบคุมวทิ ยหุ ่างจากตวั เครื่อง (Remote Control) โทรศพั ทส์ ายตรง (Hot Line) จะต้งั ไวใ้ กลก้ บั สถานีวิทยเุ พอื่ พนักงานวิทยจุ ะใชไ้ ดส้ ะดวก สายอากาศแบบ Ground Plane มีไวส้ าหรับ ติดต่อกับหน่วยที่ออกปฏิบตั ิการในระยะไกล การจดั ข่ายวิทยพุ ิจารณาหน่วยท่ีปฏิบตั ิภารกิจเดียวกัน ใชค้ วามถ่ีเดียวกนั หน่วยท่ีปฏิบตั ิต่างภารกิจใหใ้ ชค้ วามถ่ีอื่น ท้งั น้ีเพื่อป้องกันการสับสนและลดความ คบั คง่ั ของข่าว โดยเฉพาะกรณีที่มีการปะทะกบั ขา้ ศึกพร้อมกนั ฉะน้ัน ณ ทก. อาจมีสถานีบงั คบั ข่าย 2 หรือ 3 สถานีก็ได้ พนกั งานวทิ ยผุ ลดั หน่ึง ๆ ควรจดั 2 นายเพอ่ื ช่วยเหลือซ่ึงกนั และกนั ปฏิบตั ิหน้าท่ีตลอด 24 ชว่ั โมง เพอ่ื สามารถติดตามสถานการณ์ไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง 10.6 ศูนยข์ ่าว มกั จะต้งั อยบู่ ริเวณทางเขา้ ที่บงั คบั การ สถานีพลนาสารจะอยใู่ กลก้ บั ศูนยข์ ่าว รถยนต์ นา สาร จะจอดใกลเ้ คยี งกบั ศนู ยข์ ่าวและสถานีพลนาสาร แหล่งรวมรถจะอยใู่ นท่กี าบงั ซ่อนพรางห่างจาก ทก. พอสมควรและเป็นตาบลทเ่ี ม่ือถูกตรวจการณ์ทางอากาศพบจะไม่เป็ นทเี่ ปิ ดเผย ทก.ดว้ ย 10.7 ลาดบั ความเร่งด่วนในการตดิ ต้งั โทรศพั ทใ์ น ทก. โดยปกตมิ กั จะตดิ ต้งั ใหก้ บั ตอนศนู ยข์ า่ ว, ฝ่าย ยทุ ธการ (ฝอ.3), ผบ.พนั ., รอง ผบ.พนั , ฝ่ ายข่าวกรอง (ฝอ.2), ฝ่ ายส่งกาลงั (ฝอ.4), ฝ่ ายสื่อสาร (ฝสส.), ฝ่ ายกาลงั พล (ฝอ.1) และส่วนอ่ืนๆ 11.การจัดภายในทบี่ ังคบั การ ฝอ.1 รบั ผดิ ชอบการจดั ภายในทบ่ี งั คบั การ และเป็ นผเู้ ลือกท่ตี ้งั ของส่วนต่างๆ ยกเวน้ ที่ต้งั ทางการ สื่อสาร ผบู้ งั คบั บญั ชาและฝ่ายอานวยการจะอยู่ ณ ที่ซ่ึงสามารถปฏบิ ตั ิงานไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ฝสส. จะเลือกท่ีต้งั ทางการส่ือสาร โดยพจิ ารณาคุณลกั ษณะของวธิ ีการส่ือสารแบบตา่ งๆ เพอ่ื ใหบ้ ริการตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชาและฝ่ายอานวยการไดอ้ ยา่ งดีทสี่ ุด .,

37 1) . .- 2) . . . . . ่่าว–ส่งขา่ วไดอ้ ยา่ ง รวดเร็วมีประสิทธิภาพและทนั เวลา ข่าวเขา้ ท้งั หมดจะส่งเขา้ มาที่ศูนยข์ ่าว (ยกเวน้ ขา่ วท่สี ่งมาทาง ไปรษณีย)์ ขา่ วออกจะมีการดาเนินกรรมวธิ ีจดั ประเภทและเลือกวธิ ีการส่งข่าวทเี่ หมาะสม ยานพาหนะท่ี ผา่ นเขา้ –ออก ทก. จะตอ้ งกวดขนั อยา่ งเขม้ งวดมีการกาหนดจุดลงรถและสถานทจ่ี อดรถ 12. การศึกษาสถานการณ์ ผบู้ งั คบั บญั ชา, ฝอ. และเจา้ หนา้ ทรี่ วมท้งั พนกั งานวทิ ยจุ ะศกึ ษาสถานการณ์ไดจ้ าก สมุดบนั ทึกข่าว, สรุปผลการปฏบิ ตั ปิ ระจาวนั , ข่าวความเคล่ือนไหวของขา้ ศกึ , ขา่ วพยากรณ์อากาศ, สญั ญาณผา่ นประจาวนั , ขา่ วธุรการและส่งกาลงั บารุง, แผนท่สี ถานการณ์ และคาสงั่ อ่ืนๆ ทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 14. การจัดห้องปฏบิ ัตงิ านวทิ ยุ 14.1 จัดต้ังสถานีวิทยุให้พอเพียงสาหรับเป็ นสถานีบังคับข่าย เพิ่มเติมด้วยเครื่องรับช่วยไวเ้ ปิ ดฟัง สถานการณ์ 14.2 สายอากาศแบบแส้ (Whip) และแบบสองทศิ ทาง (Long Wire) จดั ใหเ้ พยี งพอกบั เครื่องรับ-ส่งวิทยุ เพม่ิ เตมิ ดว้ ยสายอากาศแบบ Ground Plane ไวท้ ุกยา่ นความถี่ หรือจดั ต้งั เฉพาะความถ่ีท่ีไดร้ ับอนุมตั ิตาม ความเหมาะสม 14.3 แผงประมวลลบั ยทุ ธการ ประมวลลบั ตวั เลข ประมวลลับบุคคลสาคญั ( เท่าท่ีจาเป็ น ) ติดไว้ ดา้ นหนา้ พนกั งานวทิ ยเุ พอ่ื ใหส้ ามารถมองเห็นไดง้ ่าย 14.4 แผนทีส่ ถานการณ์สื่อสาร ตดิ ต้งั ไวด้ า้ นหนา้ หรือดา้ นขา้ งเพอื่ สะดวกแก่การทาเคร่ืองหมาย (Plot) บนแผนท่ี 14.5 สรุปสถานการณ์ประจาวนั แผนการปฏิบตั ิการประจาวนั ของ ฝอ.3 พยากรณ์อากาศของ ฝอ.2 คาสงั่ ที่เก่ียวขอ้ งอื่นๆ ข่ายวทิ ยุ และนาฬิกา ติดต้งั ไวด้ า้ นหนา้ ดา้ นขา้ งหรือดา้ นหลงั 14.6 นปสอ., นสอป., สมุดบนั ทึกขา่ ว, กระดาษเขยี นขา่ ว, กระดาษเปล่า, ปากกา, ดินสอเขยี นแผนที่, วางไวบ้ นโตะ๊ ดา้ นหนา้ พนกั งาน

38 15.การเคล่ือนย้ายทบี่ งั คบั การ การยา้ ยที่บงั คบั การบอ่ ยจะเป็ นการขดั ขวางต่อการปฏิบตั ภิ ารกิจ แต่เมื่อจาเป็ นตอ้ งกระทาจะตอ้ ง ดาเนินการใหแ้ ลว้ เสร็จโดยเร็ว มีอุปสรรคน้อยท่ีสุด และสามารถดารงการติดต่อส่ือสารได้ตลอดเวลา โดยผบู้ งั คบั บญั ชาจะไปต้งั ท่ีบงั คบั การทางยทุ ธวิธีเป็ นอนั ดบั แรกและค่อยๆ เพ่ิมเติมจนเป็ นที่บงั คบั การ อยา่ งสมบูรณ์ วธิ ีน้ีใชเ้ ฉพาะเมื่อมีการปฏิบตั ิของขา้ ศึกหรือมีขอ้ จากดั ในเร่ืองการขนส่ง เมื่อไดว้ างการ ตดิ ต่อส่ือสาร ณ ทก. แห่งใหม่แลว้ เสร็จ ทก. ใหม่และ ทก. เก่าจะทาการเปิ ดและปิ ด ทก.พร้อมกนั ฝอ.3 จะแจง้ ให้หน่วยเหนือ, หน่วยรอง, หน่วยขา้ งเคียงทราบที่ต้งั ทก. ผบ. มว.ส. หรือ ฝสส.จะตอ้ ง ไดร้ ับทราบแผนการเคลื่อนยา้ ย ทก.ล่วงหน้าแต่เน่ินๆ และวางแผนไม่ให้การติดต่อส่ือสารขาดตอนเป็ น อนั ขาด การยา้ ย ทก. อาจมีเหตุผลเพ่ือความปลอดภยั ของ ทก., หรือเพ่อื ใหส้ อดคลอ้ งกบั สถานการณ์ หรือเพอื่ ใหเ้ หมาะสมกบั ภูมิประเทศ การยา้ ยท่ีบงั คบั การควรพจิ ารณาในเร่ืองต่อไปน้ี 15.1 จะตอ้ งมีการประสานเพอ่ื มิใหก้ ารส่ือสารขาดตอนและเสียการควบคุม ก่อนการเปล่ียนแปลงที่ ต้งั ทบ่ี งั คบั การ 15.2 ฝอ.3 จะประสานกบั ผบ.หมวดสื่อสารหรือ ฝสส.และ ฝอ.1 ก่อนท่ีจะมีการเสนอแนะที่ต้งั ทก. แห่งใหม่, กาหนดเวลาในการเคล่ือนยา้ ย ทก. และลาดบั การเคลื่อนยา้ ย ทก. ตอ่ ผบู้ งั คบั บญั ชา 15.3 ฝอ. 1 จะประสาน ฝอ. ต่างๆ ดงั น้ี 1) ประสาน ฝอ.2 ในเร่ืองสถานการณ์ขา้ ศึก, สภาพภมู ิประเทศและสภาพลมฟ้าอากาศ 2) ประสาน ฝอ.4 ในเร่ืองการขนส่งและการส่งกาลงั บารุง 3) ประสานกบั ฝอ.5 ในเรื่องขอ้ พจิ ารณาเกี่ยวกบั ดา้ นกิจการพลเรือน 4) ประสานกบั ฝสส. ในเรื่องการตดิ ต่อส่ือสาร, การติดต้งั สถานีวทิ ยแุ ละการส่ือสารวธิ ีอื่นๆ 5) ประสานกบั หน.บก. ในเร่ืองการเคล่ือนยา้ ย ทก., การระวงั ป้องกนั , การนาทาง และการแจง้ เวลาการเคล่ือนยา้ ย 15.4 การต้งั ทก. และการเคลื่อนยา้ ย ทก. จะตอ้ งมีการฝึกการปฏบิ ตั ิของเจา้ หนา้ ทอี่ ยา่ งสม่าเสมอ เพอ่ื ให้เกิดความคล่องตวั ในการปฏิบตั ิท้งั ในเวลากลางวนั และเวลากลางคืนโดยปกติแผนผงั แสดงท่ีต้งั ต่างๆ ของ ทก. จะเขียนไวใ้ น รปจ. ของหน่วย สามารถนา รปจ. น้ีมาใชเ้ ป็ นแนวทางปฏิบตั ิโดยปรับแก้ หรือเปลี่ยนแปลงใหเ้ หมาะสมกบั สภาพภูมิประเทศและสถานการณ์ทางยทุ ธวธิ ี ………………………………… หลักฐานอ้างองิ : 1. นส. 101 – 5 (รร.สธ.ทบ.) 2. นส. 17 - 11 – 6 (รร.ม.ศม.)

39 บทที่ 4 การสื่อสารทางยุทธวธิ ี (TACTICAL COMMUNICATIONS) 1. กล่าวท่ัวไป ความตอ้ งการเบ้ืองตน้ ของระบบการสื่อสารทางยุทธวิธี จะตอ้ งจดั ใหม้ ีความรวดเร็ว, ความ เช่ือถือได้ และความปลอดภยั ในการส่งขา่ วการรบ และส่งขอ้ ตกลงใจของผบู้ งั คบั บญั ชาท้งั ภายใน และระหว่าง กองบญั ชาการหน่วยรบต่างๆ ระบบการสื่อสารดังกล่าวน้ันจะตอ้ งสามารถเปล่ียนเส้นทาง (RE-ROUTE) ส่งข่าวใหม่ได้ ท้งั น้ีเพอื่ หลีกเลี่ยงการถูกทาลาย, เพอ่ื ลดความคบั คง่ั ของข่าว, และเพ่ือเป็ นการจดั เส้นทางเขา้ ระบบเสียใหม่ใหเ้ พยี งพอสาหรับหน่วยรบ อาวธุ ยทุ โธปกรณ์ท่ีไดผ้ ลดั เปลี่ยนเขา้ มาสู่พ้นื ทนี่ ้นั อยตู่ ลอดเวลา การใช้เครื่องสื่อสารอยา่ งถูกตอ้ งและเหมาะสมหมายถึง การใช้แต่เพียงเท่าที่ตอ้ งการและเท่าท่ีหน่วยจะ สามารถให้การสนบั สนุนได้ จะทาใหเ้ กิดการเชื่อมโยงในการบงั คบั บญั ชาและการควบคุมตามท่ีตอ้ งการ โดยมีความส้ินเปลืองน้อยท่ีสุด ดังน้ันจะตอ้ งออกแบบสร้างและใช้ระบบการสื่อสารทางยุทธวิธีให้ เหมาะสมกับขีดความสามารถของกาลังคน (MANPOWER) และตรงตามความรับผิดชอบต่อภารกิจทาง ยทุ ธวธิ ีของหน่วย ผูบ้ งั คบั หน่วย, และฝ่ ายอานวยการที่ให้การสนบั สนุน จะตอ้ งไม่ร้องขอหรือจะตอ้ งไม่ หวงั พ่งึ พาระบบการสื่อสารท่ีนอกเหนือไปจากความมุ่งหมายหลกั ของหน่วย ยงิ่ กว่าน้ันระบบการส่ือสาร ควรจะจากดั การใชเ้ ฉพาะข่าวที่สาคญั เท่าน้ัน เพราะระบบการส่ือสารทางยทุ ธวิธี ถา้ ใชส้ ่งข่าวท่ีไม่สาคญั ภายในข่ายมากเกินไปจะทาใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาไดร้ ับขา่ วท่สี าคญั ๆ นอ้ ยลงหรืออีกนยั หน่ึงคือ ไม่ควรจดั ระบบ การส่ือสารให้มีลักษณะที่จะให้มีการส่งข่าวกันอย่างฟ่ ุมเฟ่ื อย เพราะการกระทาเช่นน้ันจะทาให้ ประสิทธิภาพในการบงั คบั บญั ชาและการควบคุมทางการรบเสียไป ประการสุดทา้ ยควรจะใชว้ นิ ัยในการ บงั คบั บญั ชาให้เกิดประโยชน์ในการควบคุมระบบการส่ือสารทางยทุ ธวธิ ี เช่นเดียวกบั ท่ีใชค้ วบคุมอาวธุ , กระสุน, และยทุ โธปกรณ์อื่นๆ 2. การสื่อสารทางยทุ ธวิธีของหน่วยระดบั ต่าง ๆ 2.1 การส่ือสารทางยุทธวธิ ีระดับกองร้อย ณ ระดบั กองร้อย ใชพ้ ูดโตต้ อบกันส้นั ๆ ระยะใกล้ และ โดยทว่ั ไปไม่ตอ้ งบนั ทึกการสื่อสารน้นั ไว้ ( เช่น แผน่ สาเนาโทรพมิ พ์ ) ระบบการส่ือสารระดบั น้ีก็เพยี งพอ กบั ความตอ้ งการเบ้ืองตน้ ในการควบคุมตอนร่วม ( Joint Section Control ) การควบคุมบงั คบั บญั ชาหมวด และการควบคุมบงั คบั บญั ชากองร้อยต่างๆ ในกองทพั สนาม กองทพั นอ้ ยและกองพลน้นั ตามปกติจะมี เคร่ืองมือประจาหน่วยเพยี งพอท่ีจะจดั การส่ือสารเพอ่ื บงั คบั บญั ชาและควบคุมภายในหน่วยของตน การติดต่อ ระยะต่างๆ น้ี คงใชว้ ทิ ยขุ ่ายบงั คบั บญั ชาแบบ FM ชนิดสะพายหลงั และติดต้งั บนยานยนต์ สาหรับข่าย โทรศพั ทส์ นามของกองร้อยทหารมา้ และ/หรือของกองร้อยทหารราบ เม่ือเทียบกันแลว้ ไม่ยุ่งยากเหมือน หน่วยทหารปื นใหญ่ซ่ึงใชใ้ นข่ายบงั คบั บญั ชาและควบคุมการยงิ ในสภาวการณ์ที่เคร่ืองมือประจาหน่วย ไม่อาจสนองตอบความตอ้ งการได้ หน่วยเหนือจะตอ้ งช่วยเหลือใหก้ ารสื่อสารเพมิ่ เตมิ

40 2.2 การสื่อสารทางยทุ ธวธิ ีระดบั กองพนั ในระดบั กองพนั ความตอ้ งการในการส่ือสารมีกวา้ งขวางข้ึน แตอ่ ยา่ งไรก็ตามคงลกั ษณะเดียวกบั กองร้อย กล่าวคือเครื่องสื่อสารหลกั ไดแ้ ก่วิทยุ และในระดบั กองพนั น้ี ระยะการตดิ ตอ่ ตอ้ งเพม่ิ มากข้นึ และมีความตอ้ งการเก่ียวกบั การสื่อสารท่ีมีการบนั ทึกท้งั ข่าวชนิดที่กาหนด ช้นั ความลบั และไม่กาหนดช้นั ความลบั ระบบการส่ือสารของกองพนั จดั ต้งั เครื่องมือภายในกองบงั คบั การ กองพนั ไปยงั กองร้อยต่างๆ ส่วนต่างๆ ของกองบงั คบั การและหน่วยสมทบ สาหรับหน่วยสมทบน้ัน ตามปกติจะมีเจา้ หนา้ ทีแ่ ละอุปกรณ์สาหรับติดต้งั เครื่องปลายทางหรือขยายการสื่อสารออกไปได้ กองพนั ใช้ วิทยชุ นิด VHF/FM ในข่ายบงั คบั บญั ชาและส่งกาลังบารุง และใช้วทิ ยโุ ทรพิมพค์ วามถี่สูง (HF./RATT.) หรือวทิ ยุ HF./SSB ในข่ายของหน่วยเหนือ ในระดบั กองพนั ยงั มีความตอ้ งการอยา่ งท่ีสุดท่ีจะจดั ต้งั ทางสาย หลกั (Trunk Line)ไปยงั หน่วยรองตา่ งๆ เพอื่ เพม่ิ เสริม (Back Up) ระบบวทิ ยขุ องกองพนั นอกจากน้ีกองพนั ยงั จดั ให้มีการนาสารข้ึนใช้ในระยะที่ไม่ไกลเกินไป เพ่ือใชส้ ่งมอบข่าวท่ีมีจานวนมากๆ ซ่ึงเป็ นข่าวที่ ตอ้ งการความปลอดภยั และใหค้ วามแน่นอนอยา่ งสูง การสื่อสารประเภททศั นสญั ญาณและเสียงสัญญาณมี ประโยชน์อยา่ งยง่ิ ในการใชใ้ นระดบั กองพนั และระดบั ที่ต่ากว่า เพ่อื ใชใ้ นระบบเตรียมพร้อมและเตือนภยั ภายในกองพนั การบอกฝ่ายระหวา่ งอากาศกบั พน้ื ดิน ควบคุมหน่วยและการปฏบิ ตั กิ ารเช่ือมตอ่ 2.3 การสื่อสารทางยทุ ธวธิ ีระดบั กรม 2.3.1 ระบบการสื่อสารของกองพลเป็ นส่วนหน่ึงทส่ี นธิเขา้ กบั ระบบการสื่อสารของกรมท้งั หมด และทาหนา้ ทเ่ี ป็นส่วนปลายทาง ทางดา้ นหนา้ กองพนั ทหารสื่อสารกองพลจะเชื่อมตอ่ บก.กรม ตา่ งๆ เขา้ กบั ทก.พล.หลกั และ บก.พล. ส่วนหลงั ดว้ ยวทิ ยถุ ่ายทอดชนิดหลายช่องการส่ือสารและ/หรือเคเบิล 2.3.2 ระบบการสื่อสารของกรมจดั ใหม้ ีลกั ษณะดงั น้ี 1) การนาสารทางพ้นื ดินและทางอากาศ ใชเ้ มื่อมีขา่ วที่ตอ้ งส่งมอบเป็ นจานวนมาก และ ในกรณีทีต่ อ้ งการส่งมอบอยา่ งเร็ว 2) เคร่ืองสื่อสารประเภททศั นสัญญาณและเสียงสัญญาณจากดั การใชเ้ ฉพาะในระบบ เตรียมพรอ้ มและเตอื นภยั ภายในที่ต้งั ของกองบงั คบั การเทา่ น้นั 3) วิทยเุ ป็ นเคร่ืองสื่อสารหลกั ภายในกรม มีการใชท้ ้งั วิทยชุ นิด VHF./FM. และ วทิ ยุโทรพิมพค์ วามถี่สูง (HF/RATT) หรือวทิ ยุ HF./SSB. ข่ายวทิ ยขุ องกรมน้ันปกติประกอบดว้ ยข่าย บงั คบั บญั ชา และข่ายธุรการ/ส่งกาลงั บารุง มีหลายสถานีทใี่ ชง้ านอยใู่ นขา่ ยวทิ ยขุ องกรม 4) การส่ือสารประเภทสายใชเ้ ป็ นหลกั ระหวา่ งหน่วยตา่ งๆ ในกองบงั คบั การ และสาหรบั ใชค้ วบคุมวทิ ยจุ ากท่ีไกล เน่ืองจากระยะทางระหวา่ ง ทก. และหน่วยรอง, สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลง อยา่ งรวดเร็ว, ความจากดั ของอุปกรณ์ และเจา้ หน้าท่ีทาใหไ้ ม่อาจจดั ต้งั ระบบทางสายหลกั (Trunk Line) อยา่ งประณีตได้ 3. การส่ือสารตามสถานการณ์ต่างๆ ของการปฏบิ ตั ิการทางยุทธวธิ ี 3.1 การส่ือสารในพน้ื ที่รวมพล

41 3.1.1 พ้ืนที่รวมพลคือ พ้ืนท่ีซ่ึงหน่วยต่างๆ มารวมกนั เพ่อื เตรียมการปฏิบตั ิทางยทุ ธวิธีต่อไป ในสถานการณ์น้ีส่วนต่างๆ ท้งั หมดยอ่ มไดร้ ับข่าวสารที่เกี่ยวกบั การปฏิบตั ิที่ตอ้ งกระทา การทาแผนและ แกไ้ ขขอ้ บกพร่องเก่ียวกบั การซ่อมบารุงและส่งกาลงั เป็นคร้งั สุดทา้ ย 3.1.2 กิจกรรมการส่ือสารในพ้นื ทีร่ วมพล เพอื่ ป้องกนั การตรวจพบ (Detection) ของขา้ ศกึ การรักษาความปลอดภยั ทางการส่ือสารจะตอ้ งกระทาตลอดทุกข้นั ตอนเกี่ยวกบั การเลือกและการใช้ เครื่องส่ือสาร 3.1.2 การสื่อสารทต่ี อ้ งจดั ใหม้ ีข้ึนในท่รี วมพล ไดแ้ ก่ 1) ทก.ท่สี าคญั ๆ จะตอ้ งจดั ต้งั ศูนยก์ ารสญั ญาณข้นึ และมีการปฏิบตั งิ าน ศูนยอ์ ่ืน ๆ อาจ จดั ต้งั ข้ึนตามความจาเป็ น เช่น ทสี่ นามบนิ ตาบลข้นึ บก ตาบลลงรถ และอ่ืนๆ 2) ทุกศูนยก์ ารสัญญาณหรือศูนยก์ ารสื่อสารท่ีจดั ต้งั ข้ึนในการนาสารสาหรับเหตุผล เกี่ยวกบั การรกั ษาความปลอดภยั แลว้ ตามปกตยิ อ่ มถือวา่ การนาสารมีความเช่ือถือไดอ้ ยา่ งสูง 3) ในพน้ื ท่ีรวมพลหา้ มใชท้ ศั นสญั ญาณ และเสียงสญั ญาณ ท้งั น้ีเพอื่ ป้องกนั การสืบ คน้ หาของขา้ ศกึ ตอ่ การรวมพลของฝ่ายเรา 4) ในข้นั การรวมพล ตามปกตกิ ารส่ือสารดว้ ยวทิ ยจุ ะถูกจากดั การใช้ ชุดวทิ ยถุ ่ายทอด อาจตอ้ งกระจายออกไวท้ ้งั พ้นื ท่ีรวมพล แต่ไม่ตอ้ งเปิ ดใชง้ านยกเวน้ ในกรณีการกระจายเสียงเตือนภยั และ การส่งข่าวจากส่วนลาดตระเวนที่เกาะอยกู่ ับขา้ ศึก ชุดวิทยุท้งั หมดจะตอ้ งใช้งานและทดลองใชช้ ่องการ สื่อสารท่กี าหนดไวต้ าม นปสอ. และ นสอป. ทีใ่ ชอ้ ยู่ 5) การส่ือสารทางสายในพ้นื ท่รี วมพลเป็ นไปอยา่ งจากดั เพอ่ื อานวยความสะดวกอาจใช้ ทางสายทอ้ งถ่ินท่ีมีอยใู่ นพ้นื ทีก่ ็ได้ แต่ตอ้ งไดร้ ับอนุมตั ิจากผบู้ งั คบั บญั ชาก่อน ในการสร้างทางสายเพม่ิ เติม จะตอ้ งทาใหน้ อ้ ยทส่ี ุดเทา่ ทจี่ าเป็น โดยเฉพาะสาหรับการบงั คบั บญั ชาและการควบคุมเทา่ น้นั 6) เม่ือมีหน่วยสมทบและ/หรือหน่วยสนบั สนุนอยใู่ นพน้ื ทร่ี วมพลดว้ ย ควรปฏิบตั ดิ งั น้ี 6.1) ตรวจสอบความถี่และนามเรียกขานของหน่วยสมทบและ/หรืหน่วยสนบั สนุน ถา้ จาเป็นตอ้ งเปลี่ยนแปลงรายการ เพอ่ื ป้องกนั การรบกวนกนั เอง ตอ้ งแจง้ ใหฝ้ ่ ายการสื่อสารประสานงาน กบั หน่วยเหนือ 6.2) ทาและแจกจ่าย นปสอ. รายการทเี่ กี่ยวขอ้ ง (เช่นประมวลลบั ท่ีเตรียมไว้ สาหรบั ขา่ วและนามเรียกขาน ฯลฯ) นอกจากน้นั ใหส้ รุปไวใ้ น รปจ. ของหน่วย ว่าดว้ ยการสื่อสารเพือ่ ใหเั จา้ หนา้ ทตี่ า่ ง ๆ ไดร้ ับทราบและปฏิบตั ดิ ว้ ย 6.3) ตรวจสอบสถานภาพของเคร่ืองส่ือสารและเจา้ หนา้ ท่ีสื่อสาร 6.4) ดาเนินการฝึกอยา่ งตอ่ เนื่องและเนน้ หนกั ถึงการปฏบิ ตั ทิ กี่ าลงั จะมาถึง 6.5) จา่ ยคาแนะนาการสื่อสารพเิ ศษสาหรบั การปฏบิ ตั ิท่ไี ดว้ างแผนไว้ 3.2 การสื่อสารระหวา่ งการเคลื่อนยา้ ยและการพกั

42 3.2.1 การเคลื่อนยา้ ยแบ่งออกเป็ นทางยทุ ธวธิ ีและทางธุรการ และอาจทาไดเ้ ป็ นข้นั ตอนเดียว หรือหลายข้นั ตอน, รูปขบวนเดียวหรือหลายรูปขบวน และใช้เส้นทางเดียวหรือหลายเส้นทางก็ได้ การสื่อสารจะถูกใชส้ าหรับการควบคุมรูปขบวน สาหรับติดต่อกบั ส่วนลาดตระเวนและระวงั ป้องกนั และใชส้ าหรับติดต่อกบั หน่วยสนบั สนุนและหน่วยเหนือ เพื่อใหม้ ีการวางการสื่อสารที่จาเป็ นและน้อย ท่ีสุดในระหวา่ งการเคลื่อนยา้ ยและการพกั ฝ่ ายการส่ือสารจะตอ้ งไดร้ ับคาช้ีแจงล่วงหนา้ เกี่ยวกบั แผนการ เคล่ือนยา้ ย ถา้ สามารถทาไดฝ้ ่ายการสื่อสารควรจะทาการลาดตระเวนเสน้ ทางท่จี ะเคล่ือนยา้ ย เพื่อพจิ ารณา วา่ สถานีวทิ ยุถ่ายทอดหรือสถานีส่งต่อจะตอ้ งใชห้ รือไม่ในการที่จะดารงการสื่อสารใหม้ ีอยา่ งต่อเนื่อง โดยตลอด 3.2.2 ถา้ มีอากาศยานสาหรับควบคุมขบวน เครื่องสื่อสารทจ่ี ะตดิ ต่อกบั อากาศยานควรจะ กระจายอยใู่ นขบวน ระหวา่ งทีจ่ ากดั การใชว้ ทิ ยใุ หใ้ ชท้ ศั นสญั ญาณซ่ึงไดม้ ีการนดั หมายไวล้ ่วงหนา้ ทาการ ส่ือสารระหวา่ งอากาศยานกบั ยานพาหนะบนพน้ื ดิน 3.2.3 คาแนะนาการสื่อสารน้นั มีอยใู่ น รปจ. ของหน่วย อาจไม่จาเป็ นตอ้ งนามากล่าวอีก แต่ เพอ่ื ที่จะใหค้ าแนะนาน้ีสมบรู ณ์ ตามปกตคิ าสง่ั การเคลื่อนยา้ ยจะบอกท่ีต้งั ทก. ควบคุมขบวนเดินทางไว้ 3.2.4 การส่ือสารในการเคล่ือนยา้ ยทางยทุ ธวธิ ี 1) ทก. ที่จดั ข้ึนเพื่อควบคุมขบวนจะจัดต้งั ศูนยก์ ารสัญญาณหรือศูนยก์ ารสื่อสาร เคลื่อนที่ข้ึนตามตอ้ งการ ศูนยเ์ หล่าน้ีอยใู่ นรถนาขบวนคนั ใดคนั หน่ึงซ่ึงใกลก้ บั ทก. ขบวนเดินทางนน่ั เอง 2) ในระหวา่ งการเคล่ือนยา้ ย ทกุ หน่วยใชก้ ารนาสาร พลนาสารเดินเทา้ และยานยนตจ์ ะ ใชจ้ ากขา้ งหน้าไปขา้ งหลงั และระหว่างขบวนขา้ งเคียง พลนาสารยานยนตป์ ฏิบตั ิงานจากศูนยก์ ารสื่อสาร เคลื่อนทีซ่ ่ึงอยใู่ กลๆ้ กบั ทก.ขบวนเดินทาง พลนาสารจะไดร้ ับมอบหนา้ ท่ีให้ติดตามผบู้ งั คบั หน่วย และรถ เจา้ หนา้ ท่ีท่สี าคญั บางคนั และถา้ มีอากาศยานจะใชพ้ ลนาสารทางอากาศดว้ ย 3) การส่ือสารประเภททศั นสญั ญาณ จะใชเ้ ป็นหลกั อยา่ งกวา้ งขวาง รวมท้งั แผน่ ผา้ สญั ญาณ มือสญั ญาณและพลุสัญญาณ วธิ ีการและเคร่ืองมือทศั นสญั ญาณเหล่าน้ีซ่ึงตอ้ งอาศยั สญั ญาณท่ี ไดน้ ดั หมายกนั ไวล้ ่วงหนา้ น้นั ใชใ้ นการเตือนภยั เก่ียวกบั การโจมตีของขา้ ศึกที่กาลงั จะเกิดข้ึน, การพสิ ูจน์ ทราบขบวนเดินทางฝ่ายเดียวกนั , ยานพาหนะพเิ ศษบางคนั , ทก.ขบวนเดินทาง และตาบลตกข่าว/ท้ิงข่าว 4) เม่ือการส่ือสารดว้ ยวิทยุได้รับอนุญาตใหใ้ ชไ้ ด้ จะเป็ นเครื่องมือที่ถูกใชใ้ นการ ควบคุมการเคล่ือนยา้ ยที่รวดเร็วและไดผ้ ลดีท่ีสุด อยา่ งไรก็ตาม การใชว้ ทิ ยอุ าจจะถูกหา้ มใชด้ ว้ ยเหตุผล เพอื่ การรักษาความปลอดภยั ทางการส่ือสารและหวงั ผลในการจู่โจม 5) วทิ ยถุ ่ายทอดอาจใชร้ ะหวา่ งการเคล่ือนยา้ ยได้ ถา้ ไม่เป็ นอนั ตรายตอ่ การรักษา ความปลอดภยั และถ่วงความเร็วในการเคล่ือนท่ี ตามปกติในระหว่างการเคลื่อนยา้ ยน้ัน การใช้วิทยุ ถ่ายทอดจะใชต้ ามแนวเดียวซ่ึงไปตามเส้นทางการเคล่ือนยา้ ย ในการจดั ต้งั การส่ือสารดว้ ยวิทยุถ่ายทอด สถานีหลกั ควรจะต้งั ณ ทีม่ ีการบงั คบั บญั ชามากทสี่ ุด สถานีดงั กล่าวควรช่วยตวั เองได้ 6) ปกติในระหวา่ งการเคล่ือนยา้ ย ไม่มีการสร้างทางสาย เวน้ แตท่ างสายทหารและ

43 พลเรือนทม่ี ีอยเู่ ดิมแลว้ จะใชไ้ ด้ 3.2.5 การเคล่ือนยา้ ยทางธุรการ การเคลื่อนยา้ ยแบบน้ีกระทาเมื่อคาดวา่ จะไม่มีการรบกวน จากขา้ ศึกทางพ้ืนดิน ดงั น้นั วิทยแุ ละเจา้ หนา้ ท่ีนาสารที่ใชพ้ าหนะจึงเป็ นเครื่องมือหลักในการส่ือสาร การรกั ษาความปลอดภยั ทางวทิ ยจุ ะตอ้ งนามาใช้ เพอื่ ลดหรือป้องกนั ข่าวมิใหข้ า้ ศกึ ทราบ ถา้ สามารถทาได้ ก็ใหจ้ ดั วางทางสายข้นึ ณ ทก. แห่งใหม่ เพอื่ ปฏิบตั งิ านไดเ้ มื่อไปถึง 3.2.6 การส่ือสารระหวา่ งการหยดุ พกั ระหวา่ งการหยดุ พกั ชวั่ คราวการสื่อสารใหใ้ ชเ้ ช่นเดียว กบั ระหว่างเวลาเดิน ระหวา่ งการหยดุ พกั นานให้ใชก้ ารนาสาร ส่วนวิทยยุ งั คงใชไ้ ด้ ยกเวน้ ในกรณีถูก หา้ มใชด้ ว้ ยเหตุผลในการรกั ษาความปลอดภยั ถา้ มีส่วนล่วงหนา้ อยดู่ า้ นหนา้ ขบวนเดินควรจะมีเจา้ หนา้ ที่ สื่อสารร่วมอยดู่ ว้ ยเพอื่ ทาการตดิ ต้งั การส่ือสารในพน้ื ท่พี กั แรมซ่ึงอาจจะตอ้ งจดั วางทางสายข้ึน แต่จะมาก นอ้ ยเพยี งใดน้นั ข้นึ อยกู่ บั ความตอ้ งการในการใชโ้ ทรศพั ทป์ ริมาณสายที่มีอยู่ และหว้ งเวลาในการหยดุ พกั 3.3 การสื่อสารระหวา่ งการเคลื่อนท่ีเขา้ ปะทะ 3.3.1 ชนิดของหน่วย (ยานเกราะ, ยานยนตห์ รือทหารราบ) จะบง่ ใหท้ ราบถึงปริมาณในการ ประสานงานท่ีจาเป็ นก่อนทีห่ น่วยจะไปถึงฐานออกตี เนื่องจากบางหน่วย เช่นยานเกราะหรือยานยนตซ์ ่ึง ยึดหรือผ่านฐานออกตีชั่วระยะเวลาส้ันๆ อาจไม่มีเวลาพอที่จะประสานงานเกี่ยวกับการส่ือสารคร้ัง สุดทา้ ยได้ ถา้ จะมีการจดั ขบวนรบผา่ นแนวออกตจี ะตอ้ งจดั นตต.ระหวา่ งหน่วยและตอ้ งมีเจา้ หน้าท่ีช้ีทาง ในฐานออกตดี ว้ ย 3.3.2 การใชว้ ทิ ยุ ควรจะมีแผนเพอื่ ใชค้ วบคุมการสื่อสารทางวทิ ยจุ นกวา่ จะถึงเวลาเขา้ ตี การ เปลี่ยนแปลงปริมาณข่าวจากปกติจะเป็นการแสดงออกใหท้ ราบถึงการรบที่ใกลจ้ ะเกิดข้ึน ดงั น้ันเพื่อเป็ น การป้องกนั การดกั ฟังของขา้ ศึก การส่งข่าวตอ้ งใช้ข่าวลวงเพื่อรักษาปริมาณข่าวให้คงระดับเดิมไว้ ในระหวา่ งทม่ี ีการเร่ิมจดั รูปขบวนรบน้ี วทิ ยถุ ่ายทอดจะไม่มีการใชง้ าน แต่ชุดวทิ ยอุ ่ืนๆ คงประจาอยู่ ณ ตาบลท่ีสนบั สนุนการปฏิบตั กิ ารยทุ ธท่ีจะเกิดข้นึ 3.3.3 เคร่ืองส่ือสารที่ใชเ้ สริม ไดแ้ ก่ การนาสารและทศั นสญั ญาณจะถูกนามาใชอ้ ยา่ งกวา้ งขวาง ในหว้ งเวลาทเ่ี กิดทศั นวสิ ยั ไม่ดีหรืออากาศปิ ดท้งั พลนาสารและเจา้ หนา้ ที่นาทางควรจะมีเครื่องกรองแสง เพอื่ ลดมิให้ขา้ ศึกสังเกตุเห็นไดง้ ่าย การส่ือสารประเภทสายมีความตอ้ งการนอ้ ยมากในฐานออกตี หรือ ระหวา่ งเคลื่อนที่เขา้ ปะทะ 3.4 การส่ือสารในระหวา่ งการรบดว้ ยวธิ ีรุก 3.4.1 มาตรฐานของการรบดว้ ยวธิ ีรุกคือ การเขา้ ตีตรงหน้าและเขา้ ตีโอบ การขยายผลเป็ นการ ปฏิบตั ิการรบด้วยวิธีรุกอยา่ งเดียวซ่ึงกระทาหลงั จากการเขา้ ตีตรงหนา้ หรือการเขา้ ตีโอบสาเร็จลงแลว้ การไล่ตดิ ตามเป็นการปฏิบตั ิต่อจากการขยายผลไดเ้ สร็จส้ินลง ความสามารถของผูบ้ งั คบั บญั ชาในการ บงั คบั บญั ชาและควบคุมหน่วยต่างๆ ของตนไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเป็ นปัจจยั สาคญั ในการจะนาไปสู่ความสาเร็จ ของการปฏิบตั ิการรบด้วยวิธีรุก การส่ือสารท่ีเหมาะสมและเชื่อถือไดเ้ ป็ นสิ่งสาคญั ที่สุดในการเขา้ ตี

44 การสื่อสารยงั ช่วยใหผ้ บู้ งั คบั บญั ชาสามารถสง่ั การรวบรวมกาลงั ทีก่ ระจดั กระจายกนั อยู่ และใชป้ ระโยชน์ ของความคล่องตวั ทางยทุ ธวธิ ีไดอ้ ยา่ งเตม็ ทใ่ี นอนั ทจี่ ะดารงความมุ่งหมายของภารกิจที่ไดร้ บั มอบไว้ 3.4.2 แผนและคาสง่ั การสื่อสาร แผนการส่ือสารซ่ึงสนบั สนุนการเขา้ ตีจะตอ้ งประสาน สอดคลอ้ งกับแผนยทุ ธการ และข้ึนอยกู่ บั ภารกิจและการประกอบกาลังรบโดยตรง แผนจะตอ้ งมีความ อ่อนตวั เพียงพอที่จะจดั การส่ือสารให้กับกองหนุนที่จดั ต้งั ข้ึนได้ดว้ ย ฝ่ ายการส่ือสารจะตอ้ งประสาน แผนการส่ือสารกบั หน่วยที่ข้นึ สมทบและหน่วยใหก้ ารสนบั สนุนต่างๆ ถา้ หากมีเวลาเพยี งพอ ควรให้ฝ่ าย อานวยการรบั รองแผนเสียก่อน แต่อยา่ งไรก็ตาม การเร่ิมตน้ ปฏิบตั ิจริงๆ น้ันไม่ควรเสียเวลารับรองแผน เม่ือไม่มีคาแนะนาโดยละเอียดกใ็ หใ้ ชค้ าสงั่ เป็ นส่วน หรือ รปจ. ของหน่วยไม่วา่ เป็ นลายลกั ษณ์อกั ษรหรือ ดว้ ยวาจาก็ได้ คาแนะนาการส่ือสารสาหรบั หน่วยรองควรจะกล่าวถึงการใชก้ ารนาสาร วทิ ยุ วทิ ยถุ ่ายทอด และระบบทางสาย ตลอดจนเรื่องทจ่ี ะตอ้ งประสานงานอื่นๆ ซ่ึงมิไดก้ ล่าวไวใ้ น รปจ. ของหน่วย 3.4.3 การส่ือสารระหวา่ งการเขา้ ตตี รงหน้าในการเขา้ ตีน้นั เวลาที่มีในการเตรียมการจะบงั คบั ขอบเขตและชนิดของเครื่องสื่อสารทจี่ ะใช้ ลกั ษณะของการสื่อสารทีใ่ ชม้ ีดงั น้ี 1) ศนู ยก์ ารสญั ญาณหรือศนู ยก์ ารสื่อสาร แตล่ ะ ทก.หลกั ของหน่วยทที่ าการเขา้ ตี จะ จดั ต้งั ศูนยก์ ารสัญญาณหรือศูนยก์ ารสื่อสารข้ึนตามความเหมาะสมเพ่ือใช้ในการดาเนินงาน ศูนยก์ าร สญั ญาณและ/หรือศูนยก์ ารส่ือสาร ที่จดั ต้งั ข้ึนน้ันตอ้ งให้อยใู่ นลกั ษณะท่ีสามารถสนบั สนุนการปฏิบตั ิ การรุกในข้นั ต่อๆ ไปไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยให้มีการเคล่ือนยา้ ยน้อยท่ีสุด ถา้ มีการเคลื่อนยา้ ยศูนย์ เหล่าน้ันให้ปฏิบตั ิด้วยความรวดเร็ว โดยให้พิจารณาแหล่งการส่ือสารท่ีมีอยูก่ ่อนแล้ว รวมถึงเครื่อง สื่อสารสารองหรือทใี่ ชง้ านนอ้ ย 2) การนาสารใชไ้ ดผ้ ลดีเป็นอยา่ งมากระหวา่ งการเขา้ ตี การนาสารท่ใี ชอ้ ยา่ งกวา้ ง ขวางน้นั ไดแ้ ก่ พลนาสารพิเศษเดินเทา้ ยานยนตแ์ ละอากาศยาน ท้งั น้ีเพราะวา่ ลกั ษณะที่อ่อนตวั ไดต้ าม สถานการณ์ในการเขา้ ตีเป็ นส่วนมาก อยา่ งไรก็ดีความเร็วเป็ นส่ิงสาคญั ที่สุด และเป็ นส่วนหน่ึงสาหรับ ลกั ษณะของขา่ วที่จะส่งดว้ ยการนาสารดงั กล่าวน้ี 3) การสื่อสารประเภททศั นสญั ญาณและเสียงสญั ญาณ ใชใ้ นระหวา่ งการเขา้ ตี เพอ่ื ส่งข่าวทนี่ ดั หมายกนั ไวล้ ่วงหนา้ ตามท่ีระบุไวใ้ น นปสอ. 4) การสื่อสารประเภทวทิ ยุ โดยปกติจะจากดั การใชว้ ทิ ยกุ ่อนการปะทะกบั ขา้ ศึก ท้งั น้ี เพอื่ ผลการจูโ่ จม หลงั จากการเขา้ ตหี รือปะทะกบั ขา้ ศกึ แลว้ จึงเร่ิมใชว้ ทิ ยไุ ด้ ขอ้ จากดั พิเศษต่างๆ สาหรับ การใชง้ านของวทิ ยถุ ่ายทอดจะยกเลิกไปและจะกลายเป็นเคร่ืองส่ือสารหลกั ทนั ที อยา่ งไรก็ตามการรักษา ความปลอดภยั ทางวิทยจุ ะตอ้ งดารงไว้ เน่ืองจากวิทยนุ ้ันเป็ นแหล่งข่าวกรองท่ีดียิง่ สาหรับขา้ ศึก สถานี วทิ ยตุ ่างๆ ควรจะรักษาปริมาณของขา่ วไวต้ ามปกติ เพอื่ เป็ นการลวงมิใหข้ า้ ศึกทราบถึงการเปลี่ยนแปลง ใหม่ๆ หรือท่ีจะเกิดข้ึนตามแผนการเขา้ ตี

45 5) การสื่อสารประเภทสาย ในระยะของการเขา้ ตีจดั เป็นเครื่องสื่อสารรองจากวทิ ยุ ในข้นั แรกจะจดั ต้งั วงจรที่สาคญั ให้น้อยที่สุดเท่าที่จาเป็ น และจากน้ันระบบทางสายจะขยายออกอยา่ ง รวดเร็วเท่าที่จะทาได้จนเพียงพอแก่ความต้องการ ปัจจัยเวลาท่ีมีอยู่และสถานการณ์ทางยุทธวิธีท่ี เปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเร็ว รวมถึงอุปกรณ์ประเภทสายและเจา้ หน้าที่ท่ีมีอยจู่ ะเป็ นปัจจยั จากดั เกี่ยวกบั การ ขยายการตดิ ต้งั ระบบทางสาย 3.4.4 การสื่อสารในการเขา้ ตโี อบ ในการเขา้ ตโี อบน้นั กาลงั ส่วนเขา้ ตีจะหลีกเลี่ยงจากบริเวณ ตา้ นทานหลักของขา้ ศึกและอ้อมไปยงั ที่หมายในพ้ืนท่ีด้านหลังโดยผ่านด้านปี กของข้าศึก ดังน้ัน การสื่อสารท่ีใชจ้ งึ เหมือนกบั การเขา้ ตีตรงหน้า แต่ก็มีขอ้ แตกต่างกนั บา้ งเน่ืองจากระยะทางการสื่อสารที่ ไกลข้ึน และความตอ้ งการเกี่ยวกบั ความเร็วในการปฏิบตั ิทางยทุ ธวธิ ีและการจู่โจมจะเพ่ิมข้ึน ระยะเวลา ในการจากดั การใชว้ ทิ ยอุ าจจะนานข้นึ 3.4.5 การส่ือสารระหวา่ งการขยายผล การปฏิบตั กิ ารระหวา่ งการขยายผลของการรบดว้ ย วธิ ีรุกตอ้ งทาในลกั ษณะห้าวหาญ ใชอ้ านาจจากการยงิ เท่าท่ีมีอยอู่ ยา่ งฉับพลบั ใชก้ องหนุนอยา่ งรวดเร็ว และไม่ลงั เล หน่วยตา่ งๆ ทเ่ี กาะอยกู่ บั ขา้ ศกึ ทกี่ าลงั ถอยหนี ใชก้ ารส่ือสารเช่นเดียวกบั การเขา้ ตีตรงหน้า การเคลื่อนยา้ ย ทก. ระหว่างการขยายผลจะตอ้ งรวดเร็วและบ่อยคร้ัง แต่อยา่ งไรก็ตามศูนยก์ ารสัญญาณ กย็ งั ตอ้ งปฏิบตั งิ านอยา่ งต่อเนื่องเสมอ ในการปฏิบตั กิ ารเขา้ ตเี พอ่ื ขยายผลน้ีมีการใชเ้ คร่ืองส่ือสารดงั น้ี 1) การนาสาร พลนาสารยานยนตท์ ้งั หมดเท่าท่มี ีอยจู่ ะถูกนามาใชท้ ศ่ี ูนยก์ ารสญั ญาณ หรือศูนยก์ ารส่ือสาร เพราะระยะทางระหวา่ ง ทก. และหน่วยต่างๆ ทไี่ กลเกินไปสาหรับพลนาสารเดินเทา้ และอาจจะตอ้ งต้งั ตาบลช่วงต่อพลนาสารข้ึนมารองรับ นอกจากน้ันจะตอ้ งเพ่ิมการใชพ้ ลนาสารทาง อากาศใหม้ ากข้ึน 2) การส่ือสารประเภททศั นสญั ญาณ กาลงั ทหารฝ่ายเดียวกนั ทปี่ ิ ดลอ้ มขา้ ศึกอยู่ จะ ตดิ ต่อส่ือสารกบั เคร่ืองบนิ ฝ่ายเดียวกนั โดยการใชแ้ ผน่ ผา้ สญั ญาณปูแสดงเพื่อบอกฝ่ ายใหก้ บั เครื่องบินที่ ทาการสนบั สนุนตน พลุสญั ญาณชนิดต่างๆ ใหน้ ามาใชไ้ ดด้ ว้ ย 3) การส่ือสารประเภทวทิ ยุ อตั ราการเคล่ือนท่ไี ปขา้ งหนา้ อยา่ งรวดเร็วทาใหว้ ทิ ยเุ ป็ น เครื่องส่ือสารที่เหมาะสมท่ีสุดในการเขา้ ตีเพื่อการขยายผล ระยะทางระหวา่ งหน่วยต่างๆ และศูนยก์ าร สัญญาณอาจมีความตอ้ งการใชว้ ิทยตุ ิดต่อในระยะไกล การใชว้ ทิ ยถุ ่ายทอดระหว่างการขยายผลมกั ถูก จากดั เสมอเนื่องจากความเร็วในการรุกไปขา้ งหนา้ ถา้ ทาไดร้ ะบบวทิ ยถุ ่ายทอดจะถูกติดต้งั ข้ึนโดยใชแ้ ผน เดียวกนั กบั การเคล่ือนยา้ ยทางยทุ ธวธิ ี 4) การสื่อสารประเภททางสาย การปฏิบตั ิการขยายผลอนั รวดเร็ว ทาใหไ้ ม่สามารถ จดั สรา้ งทางสายข้ึนได้ ทางสายทอ้ งถ่ินท่ีมีอยแู่ ลว้ ตามเสน้ ทางอาจจะใชไ้ ดถ้ า้ มีโอกาส 3.5 การส่ือสารระหวา่ งการต้งั รับ 3.5.1 ระบบการส่ือสารในสถานการณ์ต้งั รบั จะตอ้ งพจิ ารณาอยา่ งกวา้ งขวางในเรื่องปัจจยั เวลา ทม่ี ีอย,ู่ การวางแผนล่วงหนา้ ในการใชเ้ ครื่องส่ือสาร และการลาดตระเวนของเจา้ หน้าท่ีสื่อสารซ่ึงนับว่า


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook