ห น้ า | 96 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารม้า ค่ายอดิศร สระบุรี ----------------------------------- เอกสารนา การกากับดแู ล และปญั หาของผบู้ ังคบั บญั ชาในการซ่อมบารงุ 1. ความมงุ่ หมาย วชิ านมี้ คี วามม่งุ หมายเพ่ือให้ นายทหารนักเรียน มีความรู้เกยี่ วกับ 1.1 การตรวจการปฏิบัติ และการใช้คู่มือเทคนคิ ในการปรนนิบัตบิ ารงุ และเอกสารแบบพมิ พท์ ีใ่ ช้ ในการซ่อมบารุง เอกสารการสง่ กาลงั ในระดบั หนว่ ย 1.2 การตรวจการปฏิบตั ิการใช้แบบพมิ พ์ ท่ใี ช้ในการปรนนิบัติบารงุ 1.3 การตรวจการใชแ้ บบพมิ พท์ ่ใี ชใ้ นการส่งกาลงั ระดับหนว่ ย 2. ขอบเขตการศกึ ษา 2.1 การตรวจเอกสารหรอื คู่มือเทคนคิ ในการปรนนิบตั ิบารงุ ขั้นท่ี 2 2.2 การตรวจเอกสารหรือขอ้ มูลทางเทคนคิ ในการสง่ กาลงั ระดบั หนว่ ย 2.3 การตรวจการปฏบิ ัติ การใช้แบบพมิ พท์ ีใ่ ช้ในการซอ่ มบารุง ขน้ั ท่ี 2 2.4 การกากับการและความรู้ทางเทคนคิ 2.5 ความพอเพียงของเจ้าหน้าที่ 2.6 การจัดโรงงาน และความเปน็ ระเบียบเรยี บรอ้ ย 2.7 วธิ นี ายุทธภัณฑ์ส่งซ่อม 3. ระยะเวลาในการศกึ ษา 1 ช่วั โมง 4. หลกั ฐาน 4.1 คาสงั่ ทบ.เกยี่ วกบั การใช้แบบพมิ พ์ (ทบ.400/2507) ลง 9 พ.ย.07 4.2 เอกสารแจกจา่ ยในสายงานกิจการการส่งกาลงั (เลม่ 4-1) ของกรมสารบรรณทหารบก 5. งานมอบ ให้ นายทหารนักเรียนอ่านเอกสารนา และเอกสารเพ่ิมเติม วิชาการกากับดูแล และปัญหา ของผู้บังคับบญั ชา ในการซ่อมบารงุ 6. เอกสารจา่ ยประกอบเอกสารนา - เอกสารเพิม่ เติม -----------------------------------
ห น้ า | 97 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศนู ย์การทหารม้า ค่ายอดิศร สระบรุ ี ----------------------------------- เอกสารเพมิ่ เตมิ การกากับดแู ล และปัญหาของผ้บู ังคบั บญั ชาในการซอ่ มบารุง 1. กล่าวทั่วไป 1.1 เหตุผล เพ่ือให้ผบู้ ังคับบัญชาและฝา่ ยอานวยการ หรือผู้มีหน้าท่ีกากับดูแลการซ่อมบารุง มี ความร้ใู นการพิจารณาถึงสิ่งชี้สอบสาหรับตรวจสภาพ สถิตกิ ารซ่อมบารุง การส่งกาลัง และการปฏิบัติของ เจ้าหน้าท่ี ตลอดจนปัญหาต่างๆ ของผู้บังคับบัญชาในกิจการซ่อมบารุงและสามารถนาข้อบกพร่องมา วิเคราะห์หาสาเหตุ เพื่อแก้ปัญหาการซ่อมบารุงให้สาเร็จลุล่วงตามโครงการซ่อมบารุงของหน่วย (ระดับ กองพัน,กรม) และเปน็ แนวความคดิ ท่ีจะนาไปพฒั นาการซอ่ มบารุงของหน่วยใหก้ ้าวหนา้ ตอ่ ไป 1.2 มาตรฐานทตี่ อ้ งการ 1.2.1 เพ่ือให้ นทน. ซ่ึงจะทาหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการสามารถ ดาเนินการตรวจและกากบั ดแู ลการซอ่ มบารงุ และการสง่ กาลัง 1.2.2 เพอื่ ให้ นทน.ไดท้ ราบถงึ ก. การตรวจการปฏิบัติและการใช้คู่มือเทคนิคในการปรนนิบัติบารุงและการส่ง กาลังของหนว่ ยซ่อมบารงุ ข้ันท่ี 2 ข. การตรวจการปฏิบตั กิ ารใช้แบบพิมพท์ ใ่ี ชใ้ นการปรนนิบัติบารงุ ขน้ั ท่ี 2 ค. การตรวจการปฏบิ ตั ิการใช้แบบพิมพท์ ใ่ี ชใ้ นการสง่ กาลังของหน่วยซอ่ มบารุงขนั้ ท่ี 2 2. อธบิ าย 2.1 การตรวจเอกสาร หรือค่มู อื เทคนคิ ในการปรนนิบัติบารงุ ข้ันท่ี 2 2.1.1 เอกสารหรือคู่มือเทคนิค รวมทั้งคาสั่งแผนการหล่อลื่น และคาสั่งแผนการ เปล่ียนแปลงช้ินส่วนมีครบตามชนิดของยุทโธปกรณ์ท่ีหน่วยมีอยู่หรือไม่ และที่สาคัญคือต้องทันสมัยอยู่ ตลอดเวลา 2.1.2 เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบต้องนาเอกสารหรือคู่มือเทคนิคมาใช้ได้อย่างถูกต้อง และ ปฏบิ ัติตามคาสงั่ และระเบยี บอยา่ งเคร่งครดั 2.1.3 ผ้รู บั ผิดชอบในการปรนนบิ ตั ิบารุงขั้นท่ี 2 จะตอ้ งหาข่าวสารและรวบรวมข่าวสาร ท่ถี ูกต้องแน่นอนเกยี่ วกับการปรนนบิ ัตบิ ารุง การเปล่ียนแปลงแก้ไข การยกเลิก การปรับปรุงเพ่ิมเติมเพื่อ เป็นข้อมูลในการปฏิบัติการปรนนิบตั บิ ารุงเปน็ อยา่ งดี 2.2 การตรวจเอกสารหรอื คู่มอื เทคนิคในการส่งกาลงั บารงุ ระดบั หนว่ ย 2.2.1 เอกสารหรือคมู่ อื เทคนคิ ในการส่งกาลงั บารุงระดบั หนว่ ย จะตอ้ งมีครบตามชนิด ของยุทโธปกรณ์ท่หี น่วยมีอยู่ และตอ้ งทันสมยั
ห น้ า | 98 2.2.2 เจ้าหนา้ ท่ีสง่ กาลงั บารุงของหน่วยต้องนามาใช้ไดอ้ ย่างถูกต้อง และปฏบิ ัตติ าม ระเบียบคาสงั่ 2.2.3 ผู้รบั ผดิ ชอบในการสง่ กาลังบารุงของหนว่ ย ตอ้ งหาข่าวสารเกย่ี วกบั การเปลย่ี น แปลงแก้ไข การยกเลกิ การปรบั ปรุงเพมิ่ เตมิ อย่ตู ลอดเวลา 2.3 การตรวจการปฏิบตั ิ การใช้แบบพมิ พท์ ่ใี ช้ในการปรนนบิ ตั ิบารุงข้ันที่ 2 2.3.1 การตรวจแบบพมิ พ์ ทบ.468-360 ตารางกาหนดการปรนนิบตั ิบารุง - ทาตาราง ปบ.ตามวธิ ใี นค่มู ือเทคนคิ 37-2810 หรือไม่ - นาหมายเลขของรถทกุ คันกรอกลงในตารางตามลาดบั หมายเลขทะเบียนหรอื เปล่า - นารถพ่วงลงกาหนด ปบ.คู่กับรถยนต์ ซึ่งจัดไวค้ กู่ นั ตามปกติหรอื เปลา่ - รถทน่ี าส่งซ่อมยัง กอง สพ.ได้ทาเครื่องหมาย ชส.ไวใ้ นช่องกาหนด ปบ. หรือเปลา่ - ในตารางนั้น กาหนดการ ปบ.ประจาสปั ดาห์, ประจาเดือน หรอื 1,000 ไมล์ ประจา 6 เดอื น หรือ 6,000 ไมล์ แลว้ แตจ่ ะถงึ กาหนดไมล์ หรอื กาหนดเดอื น กอ่ นอย่างครบถ้วนหรอื ไม่) 2.3.2 การตรวจแบบพิมพ์ ทบ.468-361 และ 468-362 การ ปบ.ตามกาหนด 1 เดือน หรือเมื่อถึงกาหนดระยะทาง 1,000 ไมล์ - กรอกแบบพิมพ์ ทบ.468-362 ถกู ต้องตามวิธีในคู่มือ คท.37-2810 หรอื ไม่ - ชา่ งไดใ้ ช้แบบพิมพด์ งั กลา่ วใหเ้ กดิ ประโยชน์ในการตรวจและ ปบ.โดยแท้จริง มกี ารปฏบิ ตั กิ ารตรวจตามรายการต่างๆ จริงหรือไม่ (รอ่ งรอย) การใชแ้ บบ พมิ พแ์ สดงว่าได้ใช้จริง มใิ ชข่ ีดเขียนและแกล้งทารอยเปอ้ื นนา้ มันเพ่อื ลวงตา และชา่ งผตู้ รวจ ปบ.ได้ลงนามในแบบพิมพถ์ กู ตอ้ งหรือไม่ - ใชเ้ คร่อื งหมายต่างๆ เช่น X หรอื XX ในรายการท่ีมีการชารุดหรือบกพร่อง และเมอ่ื แก้ไขเสร็จแล้วไดว้ งรอบเคร่ืองหมายนัน้ ๆ พร้อมดว้ ยนามยอ่ ของช่าง ไวถ้ ูกต้อง - ชา่ งผู้ตรวจไดล้ งนามรับรองการตรวจไว้ในแบบพิมพด์ ว้ ยหรือเปลา่ 2.3.3 การตรวจแบบพิมพ์ ทบ.468-361 หรือ ทบ.468-362 การ ปบ.ตามกาหนด 6 เดือน หรือเม่อื ถงึ กาหนดระยะทาง 6,000 ไมล์ - กรอกรายการในแบบพมิ พ์ ทบ.468-361 หรือ ทบ.468-362 ตามวธิ ีการใน คท.37-2810 หรอื คมู่ ือประจายานยนต์น้ันๆ โดยถูกต้องทุกรายการ - ชา่ งไดใ้ ชแ้ บบพิมพ์ดงั กล่าวใหเ้ ป็นประโยชนใ์ นการตรวจ และ ปบ.โดยแท้ จงึ มีการปฏิบตั กิ ารตรวจตามรายการตา่ งๆ จรงิ หรอื ไม่ (ร่องรอยการใช้แบบ
ห น้ า | 99 พิมพแ์ สดงวา่ ใช้จริง มใิ ชข่ ดี เขียนและแกลง้ ทารอยเปือ้ นนา้ มนั เพ่ือลวงตา) - ใช้เคร่ืองหมายต่างๆ เช่น X หรือ XX ในรายการท่ีมีการชารุดหรือบกพร่อง และเมื่อแก้ไขเสรจ็ แลว้ ได้วงรอบเครอ่ื งหมายนน้ั ๆ พรอ้ มด้วยนามย่อของช่าง ไวถ้ ูกตอ้ ง - ใช้ช่องหมายเลขด้านหลงั แบบพิมพ์ในการอธบิ ายรายการบกพรอ่ งหรอื ชารดุ และเมื่อได้แก้ไขเสร็จแลว้ ได้ลงเครอื่ งหมาย กบั ลงนามชอ่ งลงชา่ งผปู้ ฏิบัติ โดยถูกตอ้ งหรือ - ชา่ งผูต้ รวจได้ลงนามรบั รองการตรวจไว้ในแบบพมิ พด์ ว้ ยหรือเปล่า 2.3.4 การตรวจแบบพิมพ์ ทบ.468-378 ซองประวตั ิยุทธภัณฑ์เจ้าหน้าที่ซ่อมบารุงประจาหน่วยต้องเปน็ ผู้เก็บรกั ษาไว้เสมอในเมื่อ มีการโอนสง่ คืน ส่งซอ่ มขน้ั เหนอื จะต้องสง่ ซองประวตั ิยุทธภณั ฑน์ ี้ไปพรอ้ ม กบั ยานยนตเ์ สมอ ชา่ งยานยนต์ ท่ีทาการซอ่ มแก้เปลี่ยนสว่ นประกอบขนาดใหญ่ หรอื ทาการดัดแปลงยานยนต์นน้ั ๆ - มีการบนั ทกึ ของเจา้ หนา้ ท่ผี ู้ทาการซ่อมบารงุ ของหน่วยสนับสนุนโดยตรงทุก คร้งั ท่หี นว่ ยทาการส่งซ่อม - เจ้าหนา้ ทผ่ี ูท้ าการซอ่ มบารุงหรือเปล่ียนชนิ้ สว่ นที่ประกอบสาคัญ จะตอ้ งลง นามย่อไวห้ ลงั จากทาการซ่อมเสรจ็ แล้วดว้ ย - จะต้องบนั ทกึ วัน เดือน ปี ชั่วโมงใชง้ าน หรอื จานวนไมลท์ ีว่ ิ่ง และชือ่ ของ สว่ นประกอบท่ีเปลีย่ นด้วย - ภายในซองของประวัตยิ ุทธภัณฑ์ จะต้องมแี บบพิมพ์ต่าง ๆ ทเี่ กี่ยวข้อง ทบ.468-310 (บตั รใชร้ ถ),ทบ.468-361 หรอื ทบ.468-362, แบบพิมพ์ ทบ.468-311 และ คาส่งั การหล่อล่นื LO - ซองประวัติยทุ ธภณั ฑ์ท่ีจะต้องเกบ็ รักษาไวท้ หี่ นว่ ยซอ่ มบารุงตลอดเวลา 2.3.5 การกากบั การ และความร้ทู างเทคนิค ก. เจา้ หน้าท่ีผ้กู ากับการพรอ้ มท่จี ะแกป้ ญั หาใดๆ ในทันทที ่ีเกดิ ขึ้นหรือไม่ ข. เจา้ หนา้ ทีผ่ ู้กากับการมคี วามรูค้ วามสามารถ และมีเชาวร์ ิเร่มิ ในกิจการของ ตนหรือไม่ ค. นายสบิ ยานยนตแ์ ละนายทหารยานยนต์ได้กากับการ ปบ.ถกู ต้องดีหรอื ไม่ ง. พลขบั และชา่ งไดร้ บั การมอบหมายงานตามขอบเขตแหง่ หน้าที่ กบั ความ สามารถและความชานิชานาญหรอื เปลา่ จ. พลทหารหรอื นายสบิ พลขบั และชา่ งทย่ี งั ไมม่ คี วามชานาญเพียงพอ ไดร้ บั การฝึกงาน โดยมกี ารฝกึ ใกลช้ ิดหรอื เปล่า ฉ. การตรวจ และ ปบ.การบรกิ าร และการซ่อมได้รบั การตรวจสอบจากเจ้า เจ้าหนา้ ท่ีผกู้ ากบั การโดยตอ่ เน่อื งทกุ ระยะหรอื ไม่ ช. เจ้าหน้าทผ่ี ูก้ ากับการได้จดั ดาเนินการให้สอดคล้อง และเป็นไปตามระบบ
ห น้ า | 100 การส่งกาลงั และการซ่อมบารงุ ของกองทพั บกหรือเปล่า ซ. ใช้คาสั่งการหลอ่ ลนื่ สาหรบั ยานยนต์แต่ละชนดิ ให้การหล่อลน่ื เปน็ ไปโดย ถกู ตอ้ งหรอื เปลา่ ฌ. เปลี่ยนน้ามันเครอื่ งตามกาหนดระยะทางทบ่ี ง่ ไวใ้ นคาสั่งการหลอ่ ลนื่ หรือ เปลา่ ญ. หลอ่ ลนื่ มากเกนิ กาหนดเกินไปหรือเปลา่ (ตรวจระดบั และรอยรัว่ ท่ีแหวน กันน้ามนั ) ฎ. พลขบั และชา่ งมีหนงั สือคูม่ ือเทคนคิ ทเี่ กย่ี วข้อง ใชเ้ พียงพอหรอื ไม่ ฏ. พลขบั และช่างใช้หนังสอื คูม่ ือเทคนคิ ในการทาการตรวจและปรนนบิ ตั บิ ารุง หรอื เปล่า (ตรวจดคู ่มู ือนนั้ ๆ วา่ มีร่องรอยการใชจ้ ริงๆ มใิ ช่แกล้งใช้ไข หรือ น้ามัน ป้ายใหเ้ ลอะลวงตา) ฐ. กอ่ นและหลังการปรนนบิ ัติบารงุ ประจา 1,000 ไมล์ และ 6,000 ไมล์ ได้ ทาการแลน่ ลองเครอ่ื งให้ถกู ต้องตามวธิ กี ารหรอื เปล่า ฑ. พลขบั และชา่ ง ช้ีแจงการใช้คมู่ ือเทคนิคประจารถหรอื คมู่ อื เทคนคิ 37-2810 ในการตรวจและปรนนบิ ัตบิ ารงุ ตามรายการในแบบพมิ พ์ ทบ.468-361 และ ทบ.468-362 โดยตลอดได้ถูกตอ้ งหรือไม่ ฒ. เมอื่ ตรวจสภาพยานยนตค์ นั ทหี่ นว่ ยเพิง่ ทาการปรนนบิ ตั บิ ารงุ เสรจ็ ลงใหมๆ่ โดยตรวจซ้าตามรายการในแบบพิมพ์ ทบ.468-361 หรอื ทบ.468-362 ทา่ นเห็นว่างานทหี่ นว่ ยปฏบิ ตั ิไปแลว้ นัน้ เป็นทพ่ี อใจหรอื ไม่ 2.3.6 ความเพยี งพอของเจา้ หน้าท่ี ก. คานวณจากแรงงานคดิ เปน็ คน ชวั่ โมงทีต่ อ้ งใช้ปฏบิ ัติงานตรวจ ปบ. ตาม ตารางที่กาหนดไว้ บวกด้วยงานซ่อมเลก็ ๆ น้อย ๆ ท่ัวไป หน่วยมีชา่ งและ พลขบั พอเพียงท่ีจะทางานใหเ้ สร็จตามตารางนน้ั หรอื ไม่ ข. แม้ว่าปจั จัยบางประการ เช่น เวลาทต่ี อ้ งการใชใ้ นการฝึก, ความตอ้ งการ ใชย้ านยนต์มีมาก, สถานการณ์รบ, การขาดแคลนเคร่ืองมือและช้นิ ส่วนซอ่ ม ฯลฯ จะเปน็ อปุ สรรคตอ่ การตรวจ ปบ.ตามระบบท่ใี ชอ้ ยใู่ น ทบ. เมือ่ เทยี บ กับแรงงานทม่ี อี ยู่ก็ตาม หนว่ ยไดพ้ ยายามทกุ ประการที่จะขจดั ข้อบกพรอ่ ง ตา่ งๆ ของการ ปบ.ของหน่วยให้เหลือนอ้ ยที่สดุ และพยายามทาการ ปบ. ให้เรียบร้อยสมบูรณ์ท่ีสดุ ในระยะเวลาอนั สมควรหรือเปล่า 2.3.7 การจดั โรงงานและความเป็นระเบียบเรยี บร้อย ก. รปู รา่ งและผงั การจดั โรงงาน (ทั้งในสนามหรือในท่ตี ง้ั ปกติ) แสดงวา่ จัดได้ เรียบรอ้ ย และแสดงใหเ้ ห็นว่าการจดั งานดาเนินไปไดด้ ีหรอื ไม่ ข. ได้วางกฎการรกั ษาความปลอดภยั ในโรงงานอนั เกี่ยวกับการใช้เครอื่ งมือ
ห น้ า | 101 เครอื่ งกล เคร่ืองเจียรนัย ฯลฯ ไวห้ รือเปลา่ และมกี ารปฏิบัติตาม กับมีการ กวดขันการปฏบิ ัตหิ รอื เปลา่ ค. เคร่อื งมอื ประจาตัวชา่ ง รวมท้ังเครื่องมือประจาหน่วย มีการรกั ษาความ สะอาดบารงุ รกั ษาและเกบ็ รักษาหลังจากการใช้งานถูกต้องเหมาะสมหรอื ไม่ ง. มคี าเตอื นในการรกั ษาความปลอดภยั ในโรงงาน ติดไว้ในทเ่ี หมาะสม และมี การปฏิบตั ติ ามหรอื ไม่ จ. มีอุปกรณ์การดับเพลิงเพียงพอหรอื ไม่ ฉ. วัสดไุ วเพลิงตา่ งๆ มีการเกบ็ รักษาถกู ตอ้ งเหมาะสมหรอื ไม่ 2.3.8 วธิ ีการนายทุ ธภณั ฑ์ส่งซอ่ ม ก. หน่วยปฏบิ ตั กิ ารตรวจและปรนนบิ ัตบิ ารงุ ยุทธภณั ฑต์ ามทกี่ าหนดไวใ้ น ตารางปบ.และไม่พยายามซ่อมเกินขนั้ การซอ่ มประจาหน่วยเลย หรอื ข. ในระหวา่ งการตรวจและปรนนบิ ัตบิ ารุงยทุ ธภณั ฑ์ตามทก่ี าหนดไวใ้ นตาราง ปบ.นนั้ หนว่ ยไดด้ าเนนิ การโดยถกู ตอ้ งในการวเิ คราะห์ค้นหาอาการบกพร่อง ทั้งจาพวกบกพรอ่ งและบกพร่องเลก็ นอ้ ย แลว้ ทาการแกไ้ ขอาการบกพร่อง เหล่านนั้ ภายในกรอบความสามารถของหนว่ ยโดยถกู ต้องหรอื ไม่ ค. เมอื่ ยานยนต์หรอื ยุทธภัณฑอ์ ่นื ๆ เกดิ การชารุดเกินขั้นการซ่อมบารงุ ประจา หน่วยขน้ึ แล้ว หน่วยได้นาส่งซ่อมยงั หน่วยสนบั สนนุ โดยทันทหี รอื เปล่า ง. หน่วยทราบวธิ ีกรอกใบสง่ั งานและสง่ ซ่อม (แบบพมิ พ์ ทบ.468-311) ใน การนายทุ ธภณั ฑส์ ง่ ซอ่ มยังหนว่ ยสนบั สนุนหรอื ไม่ จ. ของประวตั ิยุทธภัณฑ์ (แบบพิมพ์ ทบ.468-378) ประจายานยนตแ์ ตล่ ะคัน มอี ย่คู รบ หรอื มีการบันทกึ สภาพการดดั แปลงตามคาสัง่ การดดั แปลง และ การเปลย่ี นสว่ นประกอบใหญ่ให้ครบถว้ นหรือไม่ และเก็บหลักฐานการซ่อม บารงุ ยุทธภณั ฑ์น้นั ไวใ้ นซองประวตั ิโดยครบถ้วนหรือไม่ เมื่อนายานยนต์สง่ ซอ่ มยงั หนว่ ยสนบั สนุนนนั้ ไดส้ ่งซองประวตั ิยทุ ธภณั ฑ์ไปด้วยหรอื เปลา่ 2.3.9 กจิ การสง่ กาลงั ประจาหน่วย ก. ทาบตั รบญั ชีคมุ ชิน้ ส่วนซ่อมและส่งิ อปุ กรณ์ใชส้ นิ้ เปลือง ประจาชิ้นสว่ น ซอ่ มครบทุกชิน้ หรือไม่ ข. ลงระดับควบคมุ ในบัตรบญั ชคี ุมชิน้ ส่วนซ่อมและส่ิงอปุ กรณใ์ ชส้ นิ้ เปลอื ง หรือเปล่า คานวณความสิ้นเปลืองตามระยะเวลาหรอื เปล่า ค. เมอ่ื ยังไมม่ สี ถติ ิความสน้ิ เปลืองช้ินส่วนซ่อมยังหนว่ ยใช้ตัวเลขตามคู่มือการ ส่งกาลงั (20 P) หรือ บชอพ. ในการควบคมุ ช้นิ สว่ นซ่อมสาหรับอาวุธและ ยานยนตห์ รอื เปลา่ ง. ทาการตรวจสอบรายการในบัตรบัญชีคมุ ชน้ิ สว่ นซอ่ มและสงิ่ อุปกรณใ์ ชส้ ้ิน
ห น้ า | 102 เปลอื ง ตามระยะเวลาที่กาหนด เพื่อเบิกชน้ิ ส่วนซอ่ ม โดยถอื หลักเบิกให้ ยอดคงคลงั + คา้ งรบั = ยอดสูงสุด - ค้างจา่ ย จ. บันทึกรายการชน้ิ สว่ นทีใ่ ชร้ ว่ มกันไดไ้ ว้ในบัตรบญั ชคี มุ ชนิ้ ส่วนซอ่ มและส่ิง อุปกรณ์ใช้ส้นิ เปลือง หรือ เปล่า ฉ. บนั ทึกอตั ราคงคลังตามคมู่ ือสง่ กาลัง(20 P) หรอื บชอพ.ไวใ้ นบตั รบัญชคี ุม ชน้ิ ส่วนซ่อมและสง่ิ อปุ กรณ์ใช้สิ้นเปลอื ง เพ่ือประโยชนใ์ นการเปรียบเทียบ ความส้นิ เปลืองทีผ่ ิดแผกไปจากมาตรฐานหรอื ช. เมื่อช้ินสว่ นซอ่ มคงคลงั มจี านวนเกินระดบั สูงสดุ ทีต่ ง้ั ไว้ ไดน้ าช้นิ ส่วนซอ่ ม น้นั ส่งคืนหนว่ ยสนบั สนุนหรือเปลา่ ซ. เมอื่ มีเหตทุ ตี่ อ้ งนาช้ินส่วนซ่งึ ไม่ควรสะสมไวต้ ่อไป ส่งคืนหนว่ ยสนบั สนุน จนหมดแลว้ ได้แยกบัตรควบคมุ ไปเก็บรวมไว้ในซองหนึ่งต่างหากจนกว่า จะมกี ารใชบ้ ตั รนนั้ อีกหรอื เปลา่ ฌ. กอ่ นทาการเบิกทดแทน มีการตรวจสอบยอดของคงคลงั ให้ตรงกับยอดใน บตั รบัญชีคุมชนิ้ ส่วนซ่อมและสงิ่ อปุ กรณ์ใชส้ นิ้ เปลือง หรอื เปลา่ ญ. เมื่อได้รบั แจ้งการเปลี่ยนแปลงหมายเลขชิ้นส่วนจากหน่วยสนบั สนนุ หรอื มกี ารเปลย่ี นแปลงสายยทุ ธบรกิ ารทีส่ นับสนุนตามคาสัง่ ทบ.แล้วได้บนั ทกึ ลงใน (ก) บัตรบญั ชคี มุ ช้ินส่วนซอ่ มและสง่ิ อุปกรณ์ใชส้ ้ินเปลอื ง (ข) รายการในคมู่ ือสง่ กาลัง (20 P) หรือ บชอพ.และ (ค) ป้ายประจาทเี่ ก็บ และปา้ ยผกู ชน้ิ ส่วนหรือเปลา่ 3. สรปุ การกากับดูแล และปัญหาการซ่อมบารุงขั้นที่ 2 นี้ ผบู้ ังคับหน่วยจะต้องใช้หัวข้อในปัจจยั ของการ ซ่อมบารุงท้ัง 7 ประการมาพจิ ารณาประกอบกบั ปัญหาตา่ งๆ ท่ีเกิดขน้ึ แลว้ ทาการกากับดูแลการซอ่ มบารุง ตามตวั อย่างทใี่ หม้ า เพอ่ื ให้เกดิ ประสิทธิภาพในการซอ่ มบารงุ ท่ดี ียงิ่ ขนึ้ -----------------------------------
ห น้ า | 103 แผนกวิชายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนยก์ ารทหารม้า ค่ายอดศิ ร สระบรุ ี ----------------------------------- ผนวกประกอบวชิ า การกากบั ดแู ลและปญั หาของผบู้ งั คับบญั ชาในการซอ่ มบารงุ ขัน้ ท่ี 2 1. แบบพมิ พ์ท่ใี ชใ้ นการซอ่ มบารงุ ขั้นที่ 2 1.1 แบบพมิ พ์ ทบ.468-375 รายการจ่ายรถประจาวัน 1.2 แบบพมิ พ์ ทบ.468-368 รายงานการตรวจสภาพเฉพาะอย่างสาหรบั ยานยนตล์ อ้ 1.3 แบบพมิ พ์ ทบ.468-369 รายงานการตรวจสภาพเฉพาะอยา่ งสาหรับยานยนต์สายพาน 1.4 แบบพิมพ์ ทบ.468-360 กาหนดการปรนนิบตั บิ ารงุ ยุทธภณั ฑ์ 1.5 แบบพมิ พ์ ทบ.468-361 รายการปรนนบิ ัติบารงุ และตรวจสภาพทางเทคนิค สาหรับยานยนต์ลอ้ 1.6 แบบพมิ พ์ ทบ.468-362 รายการปรนนิบตั บิ ารุงและตรวจสภาพทางเทคนคิ สาหรบั ยานยนตส์ ายพาน 1.7 แบบพมิ พ์ ทบ.468-378 ซองประวัตยิ ุทธภัณฑป์ ระจาหนว่ ย 2. แบบพิมพท์ ใ่ี ช้ในการส่งกาลังการซ่อมบารุงขั้นที่ 2 2.1 แบบพมิ พ์ ทบ.400-006 ใบเบิก (หลายรายการ) 2.2 แบบพมิ พ์ ทบ.400-013 ใบสง่ คนื (หลายรายการ) 2.3 แบบพิมพ์ ทบ.400-007-1 ใบเบกิ และใบสง่ คืน (รายการเดยี ว) 2.4 แบบพิมพ์ ทบ.468-372 ทะเบียนใบเบิก (หรอื ทะเบยี นใบส่งคืน) 2.5 แบบพมิ พ์ ทบ.400-071 ใบตดิ ตามใบเบิก 2.6 แบบพมิ พ์ ทบ.400-006-1 ใบเบกิ ช้ินส่วน (ภายในหน่วย) 2.7 แบบพมิ พ์ ทบ.468-201 ใบเบิกช้นิ สว่ น (ภายในหม่ซู ่อม) 2.8 แบบพมิ พ์ ทบ.468-376 ใบของาน 2.9 แบบพิมพ์ ทบ.400-068 บตั รบญั ชีคมุ ช้นิ สว่ นซอ่ มและส่ิงอุปกรณ์ใชส้ ิ้นเปลอื ง 2.10 แบบพมิ พ์ ทบ.468-281 ป้ายแลกเปลยี่ นหรือป้ายชอ่ื ช้นิ สว่ น 2.11 แบบพมิ พ์ ทบ.468-311 ใบส่งซอ่ มและสัง่ งาน 2.12 แบบพมิ พ์ ทบ.400-007 ใบเบิก และสิง่ อปุ กรณ์ (ประเภทการขนสง่ ) 2.13 แบบพมิ พ์ ทบ.400-014 ใบส่งคืน และสิ่งอปุ กรณ์ (ประเภทการขนส่ง) -----------------------------------
ห น้ า | 104 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศนู ย์การทหารมา้ ค่ายอดิศร สระบุรี --------------------- เอกสารนา ความรบั ผิดชอบของผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการในการจัดงานการซอ่ มบารุง -------------------- ชนดิ การสอน - สช. จานวนชว่ั โมง - 2 ชม. หลกั สตู ร - ชั้นนายพัน เครื่องมืออุปกรณ์ - ภาพฉายโปรเจคเตอร์ เจ้าหนา้ ที่ - อจ.แผนกวิชายานยนตฯ์ หลักฐาน 1. คท.38-750 2. คาสัง่ ทบ.ที่ 200/9932 ตอนที่ 3 3. ระเบยี บ ทบ.ว่าด้วยการซ่อมบารุงยุทโธปกรณ์ 4. คมู่ อื ของผบู้ ังคับบัญชาในการปรนนบิ ัติบารงุ งานมอบ - ให้นักเรยี นอ่านเอกสารเพ่มิ เตมิ มากอ่ นเข้าหอ้ งเรยี น *********************
ห น้ า | 105 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศนู ย์การทหารมา้ คา่ ยอดศิ ร สระบุรี ----------------------------------- เอกสารเพ่ิมเตมิ ความรับผิดชอบของผู้บังคับบญั ชา และฝ่ายอานวยการในการจัดงานการซอ่ มบารุง ----------------- 1. กล่าวทวั่ ไป 1.1 การปรนนิบัติบารุงเป็นหน้าที่ และความรับผิดชอบของผู้บังคับบัญชา ประสิทธิผลของการ ปบ.ขน้ึ อยกู่ ับความสานกึ ในคณุ ค่าของเจ้าหน้าที่ทกุ คนทเ่ี กี่ยวข้อง 1.2 ผู้บงั คับบัญชาไม่ค่อยมีประสบการณ์ มักจะเกิดปัญหายงุ่ ยากและตอ่ เน่ืองในเรอ่ื งท่เี ก่ียวกับ การปรนนิบัติบารุงอยู่ตลอดเวลา 1.3 ยุทโธปกรณ์ส่วนใหญ่เป็นเคร่ืองกลที่สลับซับซ้อน การดาเนินงานและการใช้งาน ตลอดจน การซ่อมแกน้ ้ัน จะตอ้ งอาศัยการปฏิบัตติ ามหนงั สือคู่มือเทคนิค,ความชานาญ และต้องมจี ุดมุง่ หมาย 2. เหตุผล เน่ืองจาก นทน. ชั้นนายพันจะต้องไปทาหน้าที่เป็นผู้บังคับบัญชา หรือนายทหารฝ่ายอานวยการ จึงจาเป็นจะต้องมีความเข้าใจในหน้าที่และบทบาทของตนท่ีจะต้องมีความเก่ียวข้อง รับผิดชอบต่อการ ปรนนิบัตบิ ารุงยทุ โธปกรณภ์ ายในหน่วยของตนตามข้ันตอนอยา่ งละเอยี ด 3. ความมงุ่ หมาย 3.1 ความรบั ผิดชอบของผบู้ งั คับบญั ชาในการซ่อมบารงุ ยุทโธปกรณ์ 3.2 ความรบั ผิดชอบของฝ่ายอานวยการในการซอ่ มบารุงยุทโธปกรณ์ 3.3 ใชจ้ ิตวิทยาในการซอ่ มบารงุ หลายประการเข้าช่วยในการปรนนบิ ตั ิบารุงยุทโธปกรณ์ 4. ความรบั ผดิ ชอบของผู้บังคับบัญชาในการซอ่ มบารุงยุทโธปกรณ์ มีดังน้ี 4.1 ความรบั ผิดชอบของผู้บังคับบญั ชาทกุ ชัน้ จะตอ้ งสอดส่องดูแล และกวดขันจนเป็นท่แี น่ใจได้ว่า ยุทโธปกรณ์ซึ่งอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ใต้บังคับบัญชาได้มีการปรนนิบัติบารุง และซ่อมบารุงให้อยู่ใน สภาพการใช้งานได้ตลอดเวลา นอกจากน้ันจะต้องควบคุมดูแลใหก้ ารระวังรกั ษาและการใช้ยุทโธปกรณ์ไป ไปโดยถกู ตอ้ งอกี ด้วย 4.2 ความรบั ผิดชอบทางกากับการ ได้แก่ ความรบั ผิดชอบของผู้บงั คับหนว่ ยซงึ่ มีต่อยุทโธปกรณ์ท่ี อยู่ในความดูแลของตน 4.3 การปรนนิบัติบารุงผู้บังคับบัญ ชาทุกช้ันจะต้องรับผิดชอบในการควบคุมดูแลให้ ผู้ใต้บังคับบัญชาของตนปฏิบัติตามคาแนะนา และระเบียบปฏิบัติอันเก่ียวกับการปรนนิบัติบารุงโดย เคร่งครัด และจะต้องรับผิดชอบในการควบคุมกากับการให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของตน ซ่ึงทาหน้าท่ีเป็นผู้ใช้
ห น้ า | 106 หรอื พลประจายทุ โธปกรณต์ า่ งๆ ได้รับการฝึกจนสามารถปรนนบิ ัตบิ ารงุ ยทุ โธปกรณท์ ่ีรบั มอบได้โดยถกู ตอ้ ง เรยี บร้อย กบั ต้องรับผิดชอบในการกาหนดเวลาสาหรับทาการปรนนบิ ัตบิ ารุงใหเ้ พียงพอแก่ความจาเปน็ อีกดว้ ย - เม่ือการปรนนบิ ัติบารุงยทุ โธปกรณ์ไม่อาจกระทาได้โดยพลประจายุทโธปกรณ์นั้น ด้วยเหตใุ ดก็ดี ผู้บงั คับหน่วยจะต้องจัดเจ้าหน้าท่ีผูอ้ ่ืน หรอื ชุดอน่ื ให้ทาการปรนนบิ ัติบารุงตามความจาเป็น - ผบู้ งั คบั บญั ชาทุกชัน้ ต้องรับผิดชอบในการป้องกันมิใหม้ กี ารใชย้ ทุ โธปกรณ์ในทางท่ีผิดเม่ือปรากฏ หลักฐานซึ่งแสดงว่ามีการใช้ยุทโธปกรณ์ในทางที่ผิดข้ึน ต้องดาเนินการสอบสวน และแก้ไขทันที การใช้ ยุทโธปกรณ์ในทางท่ผี ดิ โดยท่วั ไปมีดงั น.ี้ 1) ใช้ไม่ถูกตอ้ งเหมาะสมกบั คุณลกั ษณะ หรือวธิ กี ารใชย้ ุทโธปกรณ์ไม่ระมัดระวงั หรือ ปฏิบัติการโดยประมาท 2) ขาดการหล่อลืน่ หรือหลอ่ ลื่นมากเกินไป หรือใช้วัสดหุ ลอ่ ลนื่ ท่ที างราชการไม่ได้ กาหนดใหใ้ ช้ กาหนดให้ใช้ ไมป่ ฏิบัติตามแผนการหลอ่ ลื่นนนั้ ๆ 3) ไมต่ รวจสภาพการซ่อมบารุงยทุ โธปกรณใ์ ห้พอเพียงแกค่ วามจาเป็น 4) บกพรอ่ งในการซอ่ มบารุง รวมทัง้ ขาดการบริการ และการปรับอยา่ งถูกตอ้ ง 5) ให้ผ้ปู ราศจากคุณวฒุ ทิ าการซอ่ มแกแ้ ละใชเ้ ครอื่ งมือและอปุ กรณใ์ นการซ่อมไม่ถกู ตอ้ ง และเหมาะสม 6) ไมม่ อบหมายความรบั ผิดชอบโดยตรงในการซ่อมยุทโธปกรณ์ 5. ความรับผิดชอบของนายทหารฝา่ ยอานวยการในการซ่อมบารุงยทุ โธปกรณ์ 5.1 รอง ผบ.พนั . สาหรบั หนว่ ยระดบั กองพัน รอง ผบ.พัน. ทาหนา้ ทข่ี องฝา่ ยอานวยการ และเป็นผบู้ ังคบั บัญชาคนท่ี 2 จะต้องรับผดิ ชอบ ประสานการปฏิบตั ิในการดาเนนิ งานของนายทหารฝ่ายอานวยการ 5.2 ฝอ.1 สาหรับหน่วยระดับกองพัน ฝอ.1 รับผิดชอบสาหรับจานวนเจ้าหน้าที่ เก่ียวกับในการ ซ่อมบารงุ ตาม ชกท.(ชั้น-ยศ,การสูญเสยี และการหามาเพม่ิ ) 5.3 ฝอ.2 รับผิดชอบในเรือ่ งมาตรการรกั ษาความปลอดภยั ให้กับเจา้ หนา้ ท่ซี อ่ มบารุง และผใู้ ช้ ยุทโธปกรณ์ และจะแจ้งให้ ฝอ.3 ทราบในเร่ือง สภาพลมฟ้าอากาศ,สภาพภูมิประเทศ ซ่ึงเป็นผลต่อการ ซ่อมบารงุ และส่งกาลงั บารงุ 5.4 ฝอ.3 มคี วามรับผิดชอบในการท่ีจะให้ ฝอ.4 และนายทหารยานยนต์ของกองพัน ทราบถึงแผน ในการปฏิบตั ิล่วงหน้า (ฝกึ -รบ) ของกองพนั
ห น้ า | 107 5.5 ฝอ.4 มีความรับผิดชอบในเรื่องแผนส่งกาลังบารุง โดยประสานการปฏิบัติกับนายทหารยาน ยนต์กองพัน 5.6 นายทหารยานยนต์กองพัน เป็นนายทหารฝา่ ยกิจการพิเศษของกองพนั ด้วย รับผดิ ชอบในฐานะนายทหารฝ่ายกิจการ พิเศษ 5.6.1 ให้ข่าวสารแก่ผู้บงั คบั กองพัน และ ฝอ.4 เก่ยี วกบั สภาพการซ่อมบารุง และการ สง่ กลบั ยุทโธปกรณ์ 5.6.2 เสนอแนะผู้บงั คบั กองพนั และประสานการปฏบิ ตั กิ ับ ฝอ.4 เร่ือง การจัดและการ ใชว้ ัสดซุ อ่ มบารงุ ภายในกองพัน 5.6.3 เตรียมแผนสง่ ยานยนตก์ ลับของกองพัน โดยใช้ขอ้ มูลจากสถานการณ์ทางยทุ ธวธิ ี และแผนของผู้บังคบั กองพนั ประสานการปฏบิ ตั กิ ับ ฝอ.4 เพือ่ เปน็ หลักประกนั วา่ แผนการเคลื่อนยา้ ย สอดคลอ้ งกับแผนการส่งกาลังบารงุ 5.6.4 รบั ผิดชอบในการดแู ลในส่ิงอานวยความสะดวกในการซอ่ มบารุงของกองพัน 5.6.5 ดารงการตดิ ต่อกับกองรอ้ ยตา่ งๆ ภายในกองพนั เพื่อเปน็ หลกั ประกนั ว่าการ ดาเนนิ การซอ่ มบารุงประสานกันตลอดเวลา 5.6.6 ประสานการปฏิบัติกบั หนว่ ยสนับสนุนโดยตรง 5.6.7 กากับดูแลการกู้ และการสง่ กลับ ของยานพาหนะในสนามรบ 5.6.8 ใหค้ าแนะนาในการฝึกทางยทุ ธวิธแี ก่เจ้าหน้าทีซ่ อ่ มบารงุ ของกองพนั 5.6.9 ใหค้ าแนะนาในการฝกึ ใชง้ านยานยนต์ และการปรนนบิ ตั บิ ารงุ ของพลขบั และ พลประจายทุ โธปกรณท์ ง้ั หมดในกองพัน 5.6.10 จดั หาชิ้นสว่ นซ่อม (เครอื่ งอะไหล)่ สาหรบั กองพัน 6. จติ วิทยาในการซอ่ มบารงุ มีหัวขอ้ ที่นา่ คดิ และนามาพิจารณาอยู่ 6 ประการ คอื 6.1 ความร้สู กึ คอื ใหร้ ้สู กึ ว่ายุทโธปกรณ์น้นั ๆ เปน็ ของเราแต่มีจติ สานึกทาใหค้ ดิ มาฉับพลันว่า “ไม่ใช่ของตนเอง” จงึ ทาใหเ้ กดิ บกพร่องต่อการซ่อมบารงุ 6.2 การปรนนิบัติบารุงต่างกบั งานซ่อมบารุง เพราะว่างานปรนนิบัติบารุงกระทาไปวนั ละเล็กละ น้อยทาให้ไม่เห็นผลงาน จึงทาให้ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความเบื่อหน่ายและมักจะแสวงหางานท่ีดีเด่นมาทา มากกว่า 6.3 ในยามปกติ ปญั หาเกดิ จากการเบื่อหนา่ ยในการ ปบ.จะเป็นเหตใุ ห้เกิดความยุ่งยากตา่ งๆ น้ัน ขยายกว้างออกไปอีก เพราะในยามสงบน้ันไม่ค่อยมีข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการรบมาเป็นบทเรียนให้เกิด ความรู้สกึ และยากที่จะให้ผู้ใต้บังคับบัญชาของท่านเกิดความรสู้ ึกว่าในอนาคตอันคาดไม่ใด้นี้ การ ปบ.จะ เป็นเคร่ืองแสดงถึงการมชี ีวิตอยู่หรอื ตายไป หรอื การพ่ายแพ้หรอื ได้ชยั ชนะในการรบ 6.4 การปัดความรับผดิ ชอบ ทุกๆ ทา่ นคงจะเคยได้ยินคานีด้ ีอยแู่ ล้ว ทศั นะคติที่มักจะเกดิ ขึ้นโดย
ห น้ า | 108 ทว่ั ไป ว่าเขามีเครือ่ งมอื ชา่ งซ่อม มีโรงงานซอ่ ม ในเม่ือเราทาเสียเขากจ็ ะซอ่ มให้ 6.5 การขาดการผูกพันทางใจ ซึ่งหมายความถึง ความผูกพันระหว่างคนกับยุทโธปกรณ์ ยกตัวอยา่ งเชน่ ทหารมา้ รักม้าของเขาราวกับเปน็ เพ่อื นคู่ชีวิต แตป่ ัจจบุ ันยานยนต์เป็นเพียงวตั ถุเหลก็ ซ่ึงไม่ มชี วี ิตจติ ใจท่ีสามารถก่อใหเ้ กดิ ความผูกพันทางใจกบั ผู้ใช้ใดแ้ ตถ่ า้ หากว่าเรายังขนื ใช้ยานยนต์ทชี่ ารุดต่อไปได้ ก็เพราะมันไม่แสดงอาการเจบ็ ปวดใหเ้ ราเห็น แต่ผู้ใช้ก็สามารถทราบไดจ้ ากเสียงผดิ ปกติ และอาการแสดง ผดิ ปกติไดเ้ ช่นกนั 6.6 การทางานแบบผักชีโรยหน้า เป็นวิธีการท่ีหลายๆ หน่วยชอบปฏิบัติ โดยการปกปิด ข้อบกพร่องในการปรนนิบัติบารุงด้วยการทาสีทับ หรือขัดล้าง แต่จะมีสักก่ีคันท่ี ผบ.หน่วย ไปตรวจพบ ข้อเท็จจริงหรือสะอาดตาดี จอดอยู่ในโรงรถเรียบร้อย ทุกสิ่งทุกอย่างในโรงซ่อมมีอุปกรณ์เคร่ืองมือครบ หนงั สอื ค่มู ือครบทุกชนดิ แต่เขาอาจหารไู้ ด้ไม่วา่ 50 % ใช้งานไมไ่ ดเ้ ลย “ ฉะน้นั ขอให้พึงระลึกอย่เู สมอวา่ การปรนนบิ ตั บิ ารุงนี้ เปน็ ส่งิ ทลี่ ะเลยได้งา่ ยท่ีสดุ แต่ก็เป็นสิ่ง ทท่ี าให้ผ้บู ังคบั บญั ชาเกดิ ขอ้ บกพร่องไดม้ ากที่สดุ เช่นกัน ” (คาขวญั ขอ้ เตอื นใจ “จงพยายามทางาน อย่าใหง้ านมาบังคับให้ทา่ นต้องทา”) 7. บทบาทของผบู้ ังคับบัญชา ในเร่ืองการปรนนบิ ัตบิ ารงุ ยทุ โธปกรณ์ 7.1 การปรนนิบัติบารงุ เป็นงานท่ีทหารทุกคนจะต้องกระทา แต่อย่างไรก็ดียงั มีหน้าทีแ่ ละความ รับผดิ ชอบแตกต่างกนั อยหู่ ลายๆ ระดับ และหลายแบบ ประสิทธผิ ลของการปรนนบิ ัตบิ ารุงข้นึ อยกู่ ับความ สานกึ ในคุณค่าของเจา้ หน้าท่ีของทุกๆ คน ท่ีเก่ียวข้องใน คาส่ัง ทบ.ที่ 200/9932 ตอนท่ี 3 ขอ้ ท่ี 8 ก.และ 9 ก. 7.2 ผู้บังคับบัญชาทุกช้ัน จะต้องสอดส่องดูแลวา่ ยุทโธปกรณ์ ซึ่งอยู่ในความรบั ผิดชอบของผู้ใต้ บังคับบัญชาได้รับการปรนนิบัติบารุงอยู่ตลอดเวลา และต้องรับผิดชอบในการป้องกันมิให้มีการใช้ ยุทโธปกรณ์ในทางที่ผิด เม่ือปรากฏหลักฐานซ่ึงแสดงว่ามีการใช้ยุทโธปกรณ์ในทางที่ผิดไปแล้ว จะต้อง ดาเนินการสอบสวน และทาการแกไ้ ขทันที 7.3 หลักความรบั ผิดชอบของผูบ้ งั คับบญั ชา ดังไดก้ ล่าวมาแล้วนย้ี ังปรากฏว่ามีการบกพร่องกันอยู่ เสมอๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระดบั ผู้บังคบั บัญชาชั้นผู้น้อย และจะเกิดข้นึ ในทุกระดบั ของการบงั คับบัญชา ต้ังแต่ ผู้บังคับบัญชาช้ันสูง,ผู้บังคับการกรม,ผู้บังคับกองพัน,ผู้บังคับกองร้อย จนถึงผู้บังคับหมวด,ผู้บังคับ ตอน และผู้บังคบั รถลงไป จนถงึ ผบู้ งั คับบัญชาช้นั ตา่ สุด ท่มี ีพลทหารอยใู่ นความปกครอง -----------------------------------
ห น้ า | 109 ตารางความรบั ผิดชอบของฝา่ ยอานวยการเก่ยี วกบั การซ่อมบารุง ปจั จัย ขอ้ พจิ ารณา ความรบั ผิดชอบของ ความรว่ มมือ (7) ฝา่ ยอานวยการขน้ั ต้น ผบู้ งั คับบญั ชา - วางแผน ฝอ.1, 2, 3, 4 และ นายทหาร ผู้บังคับหน่วยเหนือ และ - ส่งกาลงั ฝา่ ยกิจการพิเศษ หน่วยรอง - ตามคาสง่ั ของผูบ้ งั คบั บัญชา กาลงั พล - ความเพียงพอ - ฝอ.1 - ฝอ.4 - การบรรจุ - ฝอ.1 - ฝอ.4 - การฝึก - ฝอ.3 - ฝอ.4 เวลา - ความต้องการเวลา - ฝอ.4 - ฝอ.3 - การแบง่ มอบเวลา - ฝอ.3 - ฝอ.4 - การใช้เวลา - ฝอ.4 - ฝอ.3 ชิ้นสว่ นซอ่ ม - ระบบ - ฝอ.4 - ฝา่ ยกจิ การพิเศษ - ปริมาณ - ฝอ.4 - ฝา่ ยกิจการพิเศษ - การดูแลรักษา - ฝอ.4 - ฝา่ ยกจิ การพเิ ศษ เครือ่ งมือ และ - ปริมาณ - ฝอ.4 - ฝ่ายกิจการพิเศษ ยทุ โธปกรณ์ - การดแู ลรักษา - ฝอ.4 - ฝา่ ยกจิ การพเิ ศษ - การใช้ - ฝอ.4 - ฝา่ ยกจิ การพิเศษ เอกสาร - ความต้องการ - ฝอ.4 - ฝา่ ยกิจการพเิ ศษ - การจดั หา - ฝอ.1 - ฝอ.4 - การใช้ - ฝอ.4 - ฝ่ายกิจการพเิ ศษ ส่ิงอานวยความ - ความเพียงพอ - ฝอ.4 - ฝา่ ยกิจการพิเศษ สะดวก - ความตอ้ งการ - ฝอ.4 - ฝ่ายกิจการพิเศษ - การใช้ - ฝอ.4 - ฝา่ ยกิจการพเิ ศษ ************************
ห น้ า | 110 8. ขอ้ แนะนาในศกึ ษาปญั หาการซ่อมบารุง เพ่อื ให้นกั เรียนไดม้ ีความคนุ้ เคยกับรปู ปญั หา ซ่งึ ใหน้ กั เรียนไดด้ าเนินกิจกรรมด้วยความคดิ ของตนเอง เพอื่ หาคาตอบของผู้บงั คบั บญั ชา และฝ่ายอานวยการ ในปัญหาเรือ่ ง “การซ่อมบารงุ ” รวมทงั้ จะได้ศึกษา หน้าท่ีของผ้บู ังคับบัญชา และของฝ่ายอานวยการ ในการปรนนิบัติบารุงยุทโธปกรณ์ใหบ้ ังเกดิ ผลอย่างมี ประสทิ ธิภาพ และทบทวนอัตราการจัดกาลงั ของ พัน.ถ. และ กองร้อยลาดตระเวน ซึ่งเป็นผลต่อระบบ การซ่อมบารุง 9. หัวขอ้ ทสี่ าคญั ทีต่ ้องศึกษา 9.1 ให้ทราบถึงวิธีการซึ่งผู้บังคับบัญชาจะดาเนินการหาข่าวสาร จะเป็นรากฐานในการประมาณ สถานการณซ์ ่อมบารุง 9.2 ให้มีความสามารถแยกปญั หา ซงึ่ เป็นปจั จยั ในการซ่อมบารงุ ได้แก่ ปัจจัย 7 9.3 ให้ทราบถึงการวเิ คราะหส์ ิ่งท่ีสาคญั บางอยา่ งซ่ึงจะบงั เกิดผลตอ่ ปัจจยั ทุกปจั จัย 9.4 ให้ทราบถงึ การซ่อมบารงุ จะบังเกิดผลยอ่ มขน้ึ อยู่กบั ระบบการส่งกาลังบารุงทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพ 9.5 ให้รูจ้ ักหนา้ ท่ขี องผบู้ งั คบั บัญชา และฝ่ายอานวยการซ่งึ เกีย่ วข้องกับระบบการซอ่ มบารงุ 9.6 ใหท้ ราบถงึ ความต้องการสาหรบั การวางแผน การจดั และการควบคุมโครงการซ่อมของหน่วย -----------------------------------
ห น้ า | 111 แบบฝกึ หดั ตอนท่ี 1 สถานการณ์ ตอนที่ 1 กลา่ วทวั่ ไป ผู้บังคับบัญชาซึ่งมีปัญหาและความยุ่งยาก เก่ียวกับการปรนนิบัติบารุงยุทโธปกรณ์ซ่ึงอยู่ใน สถานการณ์มิได้ผลพึงพอใจ ปัญหาท่ีเกิดข้ึนและความยุ่งยากนี้ มิได้กล่าวโทษแก่ผู้บังคับบัญชาและฝ่าย อานวยการทีด่ าเนินการอย่กู อ่ นหรือปจั จุบนั นับวา่ มีความบกพรอ่ งในหนา้ ทีเ่ กีย่ วกับการซ่อมบารงุ และการ ปรนนบิ ตั ิบารุง แต่เพ่ือผลในการพิจารณา และดาเนินการซ่อมบารุงเท่านั้น พ.ต.ชาติ รกั ไทย ซึ่งสาเร็จการศึกษาจากหลกั สูตรช้ันนายพนั จากโรงเรยี นทหารม้า ตาแหน่งเดิม ทาหน้าท่เี ก่ยี วกับเป็นหัวหน้านายทหารฝา่ ยอานวยการ ของ พัน.ถ.101 เมื่อได้รับคาส่ังจาก ทบ.ให้ไปเป็น ผบ.พัน.108 ดกู ารประกอบกาลงั ของ พัน.ถ.108 พ.ต.ชาติ รักไทย เมื่อได้รบั คาส่ัง รู้สึกอดึ อดั ใจเป็นอันมากในการโยกย้ายไปรับหน้าที่ใหมค่ รัง้ น้ี เปน็ อยา่ งมาก ตาแหน่งซึ่งได้รับใหม่ให้เป็น ผบ.พัน.ถ.108 ซ่ึงเป็นส่ิงสาคัญของ พ.ต.ชาติ รักไทย ว่าจะ ดาเนินงานให้ก้าวหน้าในชีวิตราชการหรือไม่ ความเชี่ยวชาญ และประวัติรับราชการของ พ.ต.ชาติ รัก ไทย มดี ังน้ี ได้ดารงตาแหน่งต่างๆ โดยเป็น ผบ.มว.ถ., ผบ.มว.ลว., รอง ผบ.ร้อย.ถ.และ ผบ.ร้อย.ถ. ทางาน อยา่ งได้ผลคมุ้ คา่ และได้รบั บทเรยี นมามาก ถงึ แมจ้ ะไม่ดอี ยบู่ า้ งก็ตามแต่มไิ ดเ้ กดิ ผลเสยี หายแกท่ างราชการ ในระยะ 2 ปีหลัง พ.ต.ชาติ รักไทย ย้ายมาเป็นนายทหารฝา่ ยอานวยการของ พัน.ถ.101 โดย เปน็ นายทหารยุทธการและการฝึก เน่ืองจากไดห้ ่างหน่วยการปกครองนาน จึงทาให้ พ.ต.ชาติ รักไทย รู้สึก อดึ อัดของการยา้ ยไปทาหน้าที่ ผบ.พนั .108 เปน็ อย่างยง่ิ ขณะน้ี พ.ต.ชาติ รักไทย คอยรอรายงานตัวต่อ ผบ.กรม ในการรับตาแหน่งใหม่เป็น ผบ.พัน.ถ. 108 ขณะท่คี อยอยไู่ ดแ้ นวความคิด การดาเนินงานเก่ยี วกับการรับตาแหนง่ ใหม่โดยคิดว่า - จะเริ่มต้นอยา่ งไรดี - มอี ะไรบ้างทีต่ ้องแก้ไข - มขี ้อยุ่งยากอะไรบา้ ง เจ้าหน้าที่ บก.กรม ได้แจ้งให้ทราบว่า ท่านพร้อมแล้วท่ีจะรับรายงานตัว พ.ต.ชาติ รักไทย ได้ เดินเขา้ ไปรายงานตวั ในห้องของ ผบ.กรม หลังจากรายงานตวั เรียบรอ้ ยแลว้ คงยืนน่งิ อยู่ ผบ.กรม แสดงความยินดี ในการรับตาแหน่งใหม่ของ พ.ต.ชาติ รักไทย แล้วเชิญให้ พ.ต.ชาติ รัก ไทย นงั่ ผบ.กรม มีความโน้มเอยี งเสอ่ื มใสในตัวของ พ.ต.ชาติ รักไทย ต้งั แต่ เริ่มพบเห็นแล้ว กล่าวต่อไป ว่า “ปัญหาจานวนมากเกิดข้ึนในหน่วยท่ีคุณจะไปปกครองบังคับบัญชา” ข้าพเจ้าคิดว่าปัญหาทุกปัญหา คณุ คงสามารถแกไ้ ขใหด้ าเนนิ ลลุ ว่ งไปดว้ ยดี ขา่ วสารต่างๆ คณุ จะทราบได้จากฝา่ ยอานวยการของข้าพเจ้า
ห น้ า | 112 เมอื่ พ.ต.ชาติ รกั ไทย ขออนุญาตลากลับ ผบ.กรม แจ้งให้ทราบว่า จากการตรวจสภาพการซ่อม บารุงโดยผ้บู ังคับบัญชาเป็นทางการ พัน.ถ.108 มีข้อบกพร่องเป็นจานวนมาก อัตราเฉลี่ยของหนว่ ยคุณใน กรม ของ เราอยู่ในเกณฑ์ต่าท่านควรรีบแก้ไขโดยด่วน การจะทาให้ดีวิธีหน่ึงก็ “ยกระดับฐานะการซ่อม บารุงในหนว่ ยของคุณให้ดีทีส่ ุด” (บอกให้ผ้ใู ตบ้ ังคับบัญชาทางาน และตรวจการทางานใหด้ าเนินไปสคู่ วาม ม่งุ หมาย) พ.ต.ชาติ รักไทย ในฐานะเคยเป็นนายทหารฝา่ ยอานวยการ และมีความชานาญเป็นอย่างดี คิด วา่ คาพูดครง้ั สดุ ท้ายของ ผบ.กรม ท่ีแนะนาตนนน้ั ก็คอื ใหแ้ นวความคิดจะต้องดาเนนิ การ ยกระดับการซ่อม บารุงเสียก่อน เป็นอันดับแรก ดังน้ัน ข้าพเจ้าต้องรีบแก้ไขโดยทาการตรวจสภาพเป็นทางการ และ วางโครงการซ่อมบารุงในหน่วยเสยี ใหม่ เพ่อื ยกระดบั การซ่อมบารุงให้ดที ี่สดุ อกี 2 ชม.ตอ่ มา หลังจาก พ.ต.ชาติ รักไทย ไดพ้ บปะกับนายทหารฝา่ ยอานวยการและได้ข่าวสาร พอสมควรแล้ว เสธ.4 กรม กล่าวว่า ผมจะเฝ้าคอยการยกระดับการซ่อมบารุง พัน.ถ.108 ภายใต้การนาและการ ทางานอย่างมีประสิทธิภาพของท่านหวังว่าในอนาคตหน่วยของท่านคงเป็นหน่วยที่ดีท่ีสุดภายในกรมของ เราข้าพเจา้ จะสนบั สนนุ ทุกทาง และพยายามสนับสนุนสิ่งอานวยความสะดวกให้แกห่ นว่ ยท่าน พ.ต.ชาติ รกั ไทย ส่ังให้ รอง ผบ.พัน.ถ.108 เรยี กประชุมฝ่ายอานวยการทั้งหมดในวนั รุ่งข้นึ เวลา 0800 ณ ห้องประชมุ พนั .ถ.108 และให้เตรียมหลักฐานเกี่ยวกับการซอ่ มบารุงของ พัน.ถ.108 มาชี้แจงให้ ทราบถึงสถานการณ์โดยละเอยี ด ฝ่ายอานวยการเข้าประชุมพร้อมกัน ณ หอ้ งประชุม พัน.ถ.108 พร้อมท้ัง รอง ผบ.พัน.ถ.108 ด้วย พ.ต.ชาติ รกั ไทย นง่ั หวั โตะ๊ ฝ่ายอานวยการช้แี จงเรือ่ งตา่ งๆภายในหน่วยเก่ยี วกบั สภาพการฝกึ และการซ่อมบารุงตามสายงาน ทีเ่ จา้ หน้าทฝี่ า่ ยอานวยการเกี่ยวขอ้ ง 1. ฝอ.3 ชี้แจงสถานการณ์ท่ีตั้งของหน่วยต่างๆ และการประกอบกาลังตามอัตราการจัดหน่วย และระยะเวลาการฝึกเป็นหนว่ ยเบ้อื งต้น ปกติเราทาการตรวจเย่ียมหน่วยเป็นประจา 2. ฝอ.4 ชแ้ี จงสถานการณ์การซอ่ มบารุงวา่ - พนั .ถ.108 เกดิ ความย่งุ ยากเก่ียวกับเครอื่ งอะไหลเ่ สมอๆ เน่ืองจากระบบการส่งกาลงั ไม่ สะดวก ยานยนต์ประเภทล้อต้องนามาใช้กบั สวสั ดิการของหน่วย จึงชารุดทรุดโทรมผดิ ปกติ และหน่วยนี้ใช้ ยานยนตม์ าก จึงทาใหเ้ กิดอตั รารถเสยี มากขนึ้ อยา่ งผิดปกติ - รายงานน้ีไดร้ ับล่าสดุ เคร่ืองยนต์ และเครือ่ งดับเพลงิ ชารุด ฝอ.4 เสนอของให้เจ้าหนา้ ที่ ซ่อมบารงุ ของหนว่ ยประสานกับหนว่ ยสนบั สนนุ โดยตรงเรือ่ งเครอื่ งอะไหล่รถต่างๆ โดยดว่ น 3. ฝอ.1 ช้ีแจงสถานการณ์เรอ่ื งกาลังพลวา่ - ขณะน้ีหน่วยก็ยังขาดเจ้าหน้าที่ตาม ชกท.มาก หน่วยมีแผนที่จะปรับกาลังพลโยกย้าย การบรรจใุ หต้ รง ชกท.
ห น้ า | 113 - ขวญั ทวั่ ๆ ของหนว่ ยนต้ี ่าลง (เพราะสาเหตุจากการทางานไมก่ ้าวหน้า) 4. เจ้าหน้าที่ฝ่ายกิจการพิเศษ (นายทหารยานยนต์,นายทหารสื่อสาร) ชี้แจงสถานการณ์การซ่อม บารุงท่วั ๆ ไปว่า - ยนื ยันแก่ ผบ.พัน.ถ. วา่ เรามีปัญหาเก่ียวกับยุทโธปกรณ์เสมอๆ ดูเหมือนว่าหน่วยของ เราไม่ไดร้ บั เครื่องอะไหลเ่ พียงพอเลย ตลอดจนแบบฟอร์มต่างๆ - รายละเอียดการตรวจของผู้บงั คับบัญชา ใช้เอกสารการตรวจของ ทบ. และการสง่ กาลัง บารงุ ไมม่ ีประสิทธิภาพ 5. รอง ผบ.พนั .ถ.108 สรปุ เพิ่มเติมวา่ - ขอให้ พ.ต.ชาติ รักไทย ดาเนินการแก้ปัญหาการซ่อมบารุงภายในหน่วยของกองพัน ปัญหาการสนับสนุนจัดหาเครอ่ื งอะไหล่เพียงพอ โดยเฉพาะเรื่องการส่งกาลังบารุงของหน่วยสนับสนุนให้ ดาเนินไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 6. พ.ต.ชาติ รักไทย กลา่ ววา่ - ขอขอบคณุ ฝ่ายอานวยการทุกท่านทรี่ ่วมประชมุ และกลา่ วปิดประชุม ----------------------------------- 2. บ่งการ ให้นกั เรียนทกุ ท่านเป็น พ.ต.ชาติ รักไทย ท่านจะปฏิบัตอิ ยา่ งไรเกีย่ วกบั การดาเนินงานน้ี 3. นักเรยี นปฏิบตั ิ เฉลยแบบฝกึ หัด ตอนที่ 1 พ.ต.ชาติ รักไทย หลังจากเลิกประชุมแล้ว น่ังคิดอยใู่ นห้องทางานส่วนตัวเอง คิดว่าถ้าเราเชอ่ื ฝ่าย อานวยการของ พัน.ถ.108 เราต้องไปถามข่าวจาก กรม ม.จริงหรือไม่ หรือว่าจะคน้ หาข่าวสารว่า ทาไมจึง ต้องการเปล่ียนแปลงยุทโธปกรณ์ และตลอดจนการสบั เปลย่ี นโดยยา้ ยเจา้ หนา้ ท่ีซอ่ มบารงุ และเจา้ หน้าที่ สง่ กาลงั บารุง เราไมส่ ามารถทาไดเ้ พราะเรายังไมไ่ ด้ทราบข้อเทจ็ จรงิ อะไรเลย ทาไมจึงต้องกล่าวว่ายทุ โธปกรณ์ประเภทเก่าล้าสมัย และขอเปลีย่ นใหม่ หน่วยมกี ารระวังรักษา ถูกตอ้ งดหี รอื เจ้าหน้าทีส่ ่งกาลงั บารงุ ทางานเต็มความสามารถ และด้วยระบบถกู ตอ้ งเหมาะสมสถานการณ์ แลว้ หรอื ไม่ เปน็ กุญแจทจี่ ะไขให้ทราบสถานการณ์, ประวัติการซ่อมบารงุ เป็นอยา่ งไร ถ้าเป็นไปโดยการชักช้า เจา้ หนา้ ทฝ่ี า่ ยอานวยการควรจะวางแผนดาเนนิ งานไห้ก้าวหน้าต่อไป เท่าที่สงั เกตเหน็ การดาเนินงานในกองพัน เปน็ หน่วยรบั ทราบตรวจเพื่อหาข่าวสาร ฝ่ายอานวยการ ควรช่วยเหลอื หน่วยใต้บงั คบั บญั ชาเตม็ ที่หรอื เปล่า
ห น้ า | 114 การทางานของทุกฝา่ ย มีการติดตอ่ งานกันหรือเปล่า พ.ต.ชาติ รักไทย เกิดความสงสัยอย่างยิ่ง พ.ต.ชาติ รกั ไทย หลังจากทบทวนถามตนเองแล้ว และหาคาตอบตกลงใจวา่ “ปญั หาประการแรก เราต้องทราบความจรงิ ในสถานการณ์การซ่อมบารงุ ของหนว่ ยเสียกอ่ น” -118- - แหล่งข่าวสารที่ดีที่สุดเราควรจะหาจากฝ่ายอานวยการของ พัน.ถ.108 และมีบางอย่างต้อง กระทาด้วยตนเอง เพอื่ ให้ทราบสถานการณ์โดยถ่องแท้ย่ิงข้ึน อะไรบ้างที่ต้องกระทาโดยหาขา่ วสารโดยเร็ว ท่ีสุด ในเวลาอนั สนั้ สดุ - เราอาจได้ขา่ วทด่ี ี ถา้ ได้ผู้ชว่ ยของเรา (รอง ผบ.พนั .) ท่ดี ี เพราะอยูก่ องพนั น้มี า นาน และเปน็ หูเป็นตา ตลอดจนต้องเปน็ ผู้ควบคุม กากบั ดูแลงานซ่อมบารุงต่อไป - พ.ต.ชาติ รักไทย หวนคิดสู่ฝ่ายอานวยการของตนอีก ทาไม่เราไม่ใช้ฝ่ายอานวยการ ให้เร่ง ดาเนินการเกย่ี วกบั 1) การศึกษาในหน้าทฝ่ี ่ายอานวยการ 2) สงั่ การให้ฝ่ายอานวยการหาขอ้ เทจ็ จรงิ ให้ได้ และทาข้อเสนอแนะขน้ึ มา และแผนน้คี วร กาหนดความแน่นอนลงไปว่า เราตอ้ งการผลงานทีก่ า้ วหน้าเรอ่ื งอะไรบ้าง 3)ให้ฝ่ายอานวยการได้ศึกษาอย่างถ่องแท้ และดาเนินงานอย่างจริงจัง แล้วฝ่าย อานวยการกส็ ามารถ หาคาตอบที่ยุ่งยากในการซอ่ มบารุงได้ 4) ฝ่ายอานวยการไปดาเนินงานใหม่ จงหาเวลาใดไปทาการตรวจ และขอความร่วมมือ จาก ผบ.หนว่ ย ร้อย.ถ. 5) เราตอ้ งการเวลาให้ได้ขอ้ เท็จจรงิ เรว็ ที่สุด “เราควรจะทาการศกึ ษาด้วยตนเองดกี ว่า” พ.ต.ชาติรักไทย หวนคิดต่อไปว่า เราต้องการข่าวสารโดยเร็ว ถ้าเราใช้ฝ่ายอานวยการ วิธี ดาเนินงานของฝ่ายอานวยการไม่ก้าวหนา้ และการศึกษาในหน้าทีฝ่ ่ายอานวยการต้องใช้เวลามากพอจึงจะ ได้ขา่ วสารความเป็นจริงได้ แต่เราไมม่ เี วลาพอ มีรถชารุดมากกวา่ 3 เดือนมาแล้วหลายคนั เราตอ้ งการหา วธิ ีอย่างใดอย่างหนึ่งให้เร็วท่ีสุด เพื่อให้ไดม้ าซ่ึงขา่ วท่ีจะทาการประมาณสถานการณ์ อีกอย่างหน่ึงผลของ การประชมุ เจา้ หนา้ ที่ฝา่ ยอานวยการไม่ได้ความกระจา่ งอะไรเลยเกี่ยวกบั การซอ่ มบารุงภายในหนว่ ย ด้วยเหตุผลดังกล่าวแล้ว ข่าวสารที่ได้รับจากฝ่ายอานวยการไม่ถูกต้องอะไรนัก ผลงานท่ีได้จาก การศึกษาในหน้าที่ฝา่ ยอานวยการจึงไม่สามารถนามายืดถอื ได้ เราจะทาอย่างไร จึงจะดาเนินงานการซ่อม บารงุ ไปสู่เปา้ หมายสมบรู ณ์ได้ “เราควรจะจาไว้ว่า ถ้าเราไม่ทราบสถานการณ์อย่างเพียงพอด้วยตนเองแล้ว ก็ไม่สามารถจะ ประเมนิ ค่าการซ่อมบารุงไดด้ ีพอ” - พ.ต.ชาติ รักไทย คิดถึงบทกลับของความรับผิดชอบในการซ่อมบารุง นายทหารฝ่าย อานวยการของเรา ถ้าไม่สามารถทางานนี้ได้เราจะเป็นผบู้ ังคับบญั ชาอยา่ งไร เราต้องฝึกให้นายทหารฝ่าย อานวยการเปน็ งานใหไ้ ด้ อยา่ งให้กองพนั มสี ภาพเป็นหน่วยผา่ น
ห น้ า | 115 กองพันจะต้องเป็นหน่วยสนับสนุนกองร้อย งานต่างๆ ก็จะดีข้ึนเป็นเงาตามตวั หรอื เราจะนาเอา นายทหารฝ่ายอานวยการเข้าร่วมประชุมกับ ผบ.หน่วย ร้อย.ถ. และ ร้อย.บก.ด้วย ซ่ึงนายทหารระดับ กองร้อยมีความเช่ียวชาญมา พลขับบางทีอาจจะมีข้อเสนอแนะดีๆ ก็ได้ และจะเป็นโอกาสท่ีดีที่เราจะ ประกาศความรูส้ ึกเกี่ยวกับการซ่อมบารุงในหน่วยนี้ ว่ามีความรู้สึกเก่ียวกับการซอ่ มบารุงในหน่วยน้ี ว่ามี ความรู้สึกอยา่ งไรแลว้ จะแกป้ ญั หาอย่างไร เราจะดาเนินงานเรื่อยไปไมย่ อมแพ้ จนกว่าการซ่อมบารุงของหน่วยบรรลุถึงเป้าหมายถ้าเราต้อง เปิดประชุม ผบ.หน่วย และนายทหารฝ่ายอานวยการร่วมกัน เราอาจจะไม่ได้ข่าวสารอะไรท่ีแน่นอนเลย เพราะบางที่ ผบ.หน่วย ไม่ยอมเปดิ เผยสภาพการซ่อมบารงุ กไ็ ด้ ได้แตร่ ้องขอ หรือเสนอแนะในสิง่ ทเี่ ปน็ ไป ไมไ่ ด้ อีกอย่างหนึ่ง หน่วยขณะนี้ก็กาลังทาการฝึกหน่วยเบื้องต้นเพ่ือรับการตรวจสอบเป็นหน่วยตาม หน้าท่ี ผบ.หน่วย ตอ้ งออกทาการฝึกโดยเปน็ ผ้อู านวยการฝกึ อาจขาดการตรวจหนว่ ยและการประเมนิ คา่ เรายังสงสยั ว่าหนว่ ยใดจะกลา้ เอาความเลวของหนว่ ยออกมาตีแผ่ให้ฟังในที่ประชมุ ได้ดว้ ยสาเหตุนี้ เรายังไม่ควรเปิดประชุมร่วมระหว่าง ผบ.หน่วย และฝ่ายอานวยการ เพราะเป็นการเสียเวลา และจะได้ ขา่ วสารไม่ตา่ งกับความเปน็ จริงอะไรเลย - พ.ต.ชาติ รักไทย คิดต่อไปอีกว่า เราสามารถค้นหาคาตอบได้จาก “การทาการตรวจสภาพ ยทุ โธปกรณ์เป็นทางการ ซ่ึงอาจเป็นคาตอบที่ดีทสี่ ดุ ” ซ่ึงการตรวจน้ีมรี ายการตรวจทุกอย่างอาทิเช่น การ ตรวจช้ินส่วนซอ่ มตามอตั ราพิกดั ,การสง่ กาลังบารุง,การจัดระเบยี บแหลง่ รวมรถ และการปฏิบัตกิ ารภายใน แหล่งรวมรถ, การตรวจสภาพการฝึกของ ผบ.มว. และพลประจารถ, การตรวจยานยนต์ล้อ และยานยนต์ สายพาน, ซึ่งเราจะนามาประเมินค่าและหาข้อบกพร่อง แต่มีข้อเสียอยู่อย่างหนึ่งก็คือ การตรวจเป็น ทางการน้ี จะต้องแจ้งให้หน่วยทราบล่วงหน้า อาจจะไม่ได้เป็นข้อเท็จจริง และจะต้องขาดข่าวสารท่ี สาคญั ๆ เราต้องการทราบวา่ หนว่ ยมีระบบการซอ่ มบารงุ อยา่ งไร ถ้าเราตรวจสภาพเป็นทางการแล้วหน่วยอาจจะปกปิดข้อบกพรอ่ งเป็นจานวนมาก โดยทาการอา พราง เมื่อได้รบั รลู้ ว่ งหนา้ วา่ จะทาการตรวจสภาพยทุ โธปกรณเ์ ป็นทางการ เราต้องดูการปฏิบัติงานตามปกติ ดูการปรนนิบัติบารุงบริการยานพาหนะ ดูการส่งกาลังบารุง ดู การซอ่ มบารงุ และทา่ ทีของ ผบ.หน่วย ในเรือ่ งความสนใจในการดาเนนิ งานซอ่ มบารุง จากข้อคิดเห็นดงั กลา่ วแลว้ พ.ต.ชาติ รักไทย จึงสรุปหาทางท่ีจะดาเนนิ การปฏิบตั ิคอื - ทาการตรวจหน่วยดว้ ยตนเอง เพื่อนาข่าวสารข้อเท็จจริงมาประมาณสถานการณ์การดาเนินงาน ซอ่ มบารงุ ของหน่วย และเปน็ หนทางเดยี วทจี่ ะทราบสภาพการต่างๆ - เม่ือทราบขอ้ เทจ็ จรงิ แล้ว นามาดาเนนิ งานขจัดความยุ่งยากในปัญหาซอ่ มบารุงได้ - นา รอง ผบ.พัน.ไปตรวจรว่ มดว้ ย
ห น้ า | 116 - โดยใช้เวลาทาการตรวจเยย่ี มเพียง 2-3 วัน ทาการตรวจทกุ อย่างที่จาเปน็ เพอื่ นาข้อเท็จจริงมา ประมาณสถานการณ์ในการตรวจสภาพ - จากัดการตรวจให้แคบลง ทาการตรวจเฉพาะเรอ่ื งของทาการซ่อมบารุง -----------------------------------
ห น้ า | 117 แบบฝึกหัดแบบยอ่ ตอนที่ 1 นกั เรียนปฏิบัตเิ ปน็ พ.ต.ชาติ รกั ไทย มดี ังน้ี แบบฝึกหดั จงเติมปัญหาให้สมบูรณ์ 1. การติดต่อสอบถามเพ่ือหาข้อมลู จากฝา่ ยอานวยการของ กรม เก่ียวกบั …………………………… ...................................................................................………………………………………………........... ...................................................................................……………………………………………………....... 2. สอบถาม รอง ผบ.พัน.เกย่ี วกบั ความเป็นมาของหนว่ ยในการ......................………………...……… ...................................................................................………………………………………………..…….. ...................................................................................………………………………………………….…... 3. ศึกษางานในหนา้ ท่ขี องฝา่ ยอานวยการ ของ พนั .ถ.108 ให้.......................…………………………… ...................................................................................…………………………………………………....…. ...................................................................................……………………………………………....………. 4. ให้นโยบายแก่........................................................……………………………………………………......….. ...................................................................................………………………………………………….....…. 5. ผบ.พนั .ถ.และ รองฯ จะต้องหาเวลาว่าง...................................……………………………………………. ...................................................................................………………………………………………….....…. ...................................................................................……………………………………………………...... 6. ออกคาสั่งล่วงหน้าให้ทกุ หนว่ ย ร้อย.ถ.ทราบเพอ่ื ...............................…………………………………….. ...................................................................................…………………………………………………......…. 7. ทาการตรวจในเร่ือง 7.1 ................................................................ 7.2 ................................................................ 7.3 ................................................................ 7.4 ................................................................ 7.5 ................................................................ 7.6 ................................................................ -----------------------------------
ห น้ า | 118 เฉลยแบบฝกึ หดั แบบยอ่ ตอนท่ี 1 การปฏบิ ตั ิของ พ.ต.ชาติ รกั ไทย 1. การตดิ ตอ่ สอบถามเพ่อื หาขอ้ มลู จากฝ่ายอานวยการของ กรม เกี่ยวกับ เรอ่ื งสถานภาพความจริงในเรอ่ื ง การซอ่ มบารุงของ พนั .ถ.108 เป็นอนั ดบั แรก 2. สอบถาม รอง ผบ.พัน.เกี่ยวกับความเป็นมาของหน่วยในการเบิกรับยุทโธกรณ์ขั้นต้น และพิจารณา หลักฐานการรับ-ตลอดจนประวตั ิยทุ ธภัณฑ์ 3. ศึกษางานในหน้าทข่ี องฝ่ายอานวยการ ของ พัน.ถ.108 ให้ฝา่ ยอานวยการของกองพัน กับหาข้อเท็จจริง และเสนอแนะข้นึ มาให้ทราบ 4. ให้นโยบายแก่ ฝ่ายอานวยการ และฝ่ายกิจการพิเศษ และให้เสรีในการปฏิบัติงานแก่ฝ่ายอานวยการ และฝ่ายกจิ การพเิ ศษ 5. ผบ.พัน.ถ.และ รองฯ จะต้องหาเวลาว่าง ตรวจเย่ียมด้วยตนเอง อย่างน้อยเดือนละ 1 คร้ัง เพ่ือหา ขา่ วสาร และรายงานเปน็ แนวทางทีจ่ ะปฏบิ ัตติ ามนโยบายตอ่ ไป 6. ออกคาส่งั ลว่ งหน้าใหท้ กุ หน่วย ร้อย.ถ.ทราบเพื่อ เตรยี มการรบั ตรวจสภาพยทุ โธปกรณเ์ ป็นทางการ และ กาหนดวนั , เวลา และสถานทท่ี าการตรวจ 7. ทาการตรวจในเรอ่ื ง 7.1 อัตรายทุ โธปกรณต์ าม อจย.และหน่วยที่ไดร้ บั ยทุ โธปกรณ์ 7.2 สภาพยทุ โธปกรณ์ 7.3 การเก็บ และการระวงั รักษา 7.4 เจ้าหน้าท่ีผูร้ ับผดิ ชอบ 7.5 ช้นิ ส่วนซ่อมตามอตั ราพกิ ดั ตลอดจนโรงเก็บ 7.6 สง่ิ สาคญั ทสี่ ุดก็คอื ตรวจการปรนนิบัติบารุงประจาหน่วย ทงั้ น้เี พ่อื นาข้อมูลตา่ งๆ มาดาเนนิ การประมาณสถานการณ์ -----------------------------------
ห น้ า | 119 แบบฝกึ หดั ตอนที่ 2 1. สถานการณ์ หลังจาก พ.ต.ชาติ รักไทย ตกลงใจทาการตรวจหน่วยดว้ ยตนเอง เพื่อนาขา่ งสารข้อเท็จจรงิ มา ประมาณสถานการณ์ การดาเนนิ งานซ่อมบารุงของหนว่ ย และให้ รองฯ ไปทาการตรวจร่วมด้วย พ.ต.ชาติ รักไทย ส่ังให้ รองฯ ทารายการตรวจ โดยบอกแนวความคิดวา่ “จะไปทาการตรวจทุก อย่างท่ีจาเป็น” ในเรอื่ งการซ่อมบารุง เพื่อนาข้อเท็จจริงมาประมาณสถานการณ์เกีย่ วกับการดาเนินการ ซอ่ มบารงุ ของหน่วย พัน.ถ.108 รอง ผบ.พนั .ถ.108 ได้ทาหวั ขอ้ ในการตรวจ เสนอเป็น 2 แผน ดงั นค้ี ือ ก. แผนที่ 1 ควรทาการตรวจตอ่ ยุทโธปกรณ์ ดสู ภาพยุโธปกรณ์,การรกั ษา,ผู้รับผดิ ชอบตรวจเครื่อง อะไหล่ ส่ิงสาคญั ก็คือ การตรวจการปรนนบิ ัตบิ ารุง บริการของหนว่ ย ซึ่งเป็นปัจจัยใหญ่ในการดาเนินงาน ซอ่ มบารุง มีหวั ขอ้ พิจารณาดังนี้คอื 1) ยทุ โธปกรณ์ ตรวจในเรื่อง - ตรวจสภาพ - ตรวจการระวงั รกั ษา - ตรวจความรบั ผิดชอบ 2) เครอื่ งอะไหล่ - ตรวจโดยเพง่ เล็งถงึ การสนับสนุนเครือ่ งอะไหล่ 3) การปรนนบิ ัติบารงุ - ตรวจการดาเนินการซอ่ มบารุงอยา่ งไร - ตรวจเอกสารการซ่อมบารงุ 4) การฝึก - มีการฝึกเจา้ หน้าท่ีในการซอ่ มบารงุ (ชกท.) ข. แผนท่ี 2 ใช้กุญแจสาหรับไขปัญหาสาคัญๆ กุญแจน้ีนามาใช้กับหลักการตรวจสภาพการซ่อม บารงุ ดังนคี้ อื 1. ใคร (WHO) ใครเป็นผูด้ าเนนิ การ 2. อะไร (WHAT) มีการรักษายทุ โธปกรณ์ 3. ทไ่ี หน (WHERE) คน้ หาไดท้ ไี่ หน 4. อยา่ งไร (HOW) ดาเนินการอย่างไร 5. เมอื่ ไร (WEEN) กระทาเมือ่ ไร 6. ทาไม (WHY) พจิ ารณาหาคาตอบว่าทาไม
ห น้ า | 120 2. บง่ การ ให้ท่านเป็น พ.ต.ชาติ รักไทย ท่านจะพิจารณาหัวข้อการตรวจ ว่าเหมาะสมเพียงใด หรือจะ เพิม่ เตมิ อะไรบา้ ง 3. นกั เรียนปฏบิ ัติ ในฐานะเป็น พ.ต.ชาติ รกั ไทย ----------------------------------- เฉลยปญั หา แบบฝึกหดั ตอนท่ี 2 พ.ต.ชาติ รักไทย ใช้แผนที่ 2 ของ รอง ผบ.พัน.ถ.108 คือกุญแจสาหรับไขปัญหาอื่นๆ เป็นหลัก สาหรบั การค้นหาคาตอบ และใช้เอกสารเพ่ิมเติมเป็นแนวสาหรบั ทาการตรวจ คือ ใช้หัวข้อปัจจัยต่างๆ ซ่ึง เป็นผลกระทบกระเทอื นตอ่ การดาเนินการซอ่ มบารุงประจาหนว่ ย เม่อื เขียนเป็นแบบฟอรม์ แล้วดังน้ี ปัจจยั เป็นผลกระทบกระเทือนต่อการดาเนินงานซ่อมบารุง 1. การบังคับบัญชา 2. เจ้าหน้าที่ 3. เคร่อื งอะไหล่ 4. เวลา 5. เคร่ืองมือและยุทโธปกรณ์ 6. เอกสารสาหรับทาการซ่อมบารงุ 7. สง่ิ อานวยความสะดวก
ห น้ า | 121 แบบฝึกหดั ตอนท่ี 3 1. สถานการณ์ พ.ต.ชาติ รักไทย ได้นากุญแจสาหรับแก้ไขปัญหาต่างๆ เพ่ือเป็นหลักในการค้นหาคาตอบกับ แบบฟอรม์ ปัจจัยซงึ่ เป็นผลการกระทบกระเทอื นต่อการดาเนนิ งานซอ่ มบารงุ โดยไปทาการตรวจกับ รองฯ ในการไปดาเนินการตรวจเยีย่ มได้พิจารณาปัจจัย หัวข้อสาคัญต่างๆ ตามหัวข้ออย่างระมัดระวัง พร้อมกับ นาข้อมูลต่างๆ ท่ีจาเป็น (อจย.) ของกองร้อยต่างๆ และการบรรจุไปร่วมพิจารณาด้วย เพื่อพิจารณา สถานการณก์ ารซอ่ มบารงุ ของหน่วยนตี้ อ้ งอา่ น (ผนวก ก.) ประกอบแบบฝกึ ตอนท่ี 3 2. บง่ การ อ่านการตรวจเย่ียม ร้อย.ถ.เตรียมไตร่ตรองพิจารณาเก่ียวข้องกับปัจจัยต่างๆ ซ่ึงเป็นผล กระทบกระเทอื นต่อการดาเนนิ งานซ่อมบารุง โดยเขยี นลงในตารางข้างล่างน้ี 3. นักเรียนปฏิบตั ิ ให้นักเรียนเป็น พ.ต.ชาติ รักไทย บันทึกความคิดเห็นซ่ึงได้จากการตรวจเยี่ยม เพ่ือนามาเป็น ขา่ วสารข้อเทจ็ จริงในการประเมินสถานการณ์การซอ่ มบารุงหน่วย ปจั จยั หวั ขอ้ การพจิ ารณา 1. การบังคบั บญั ชา 2. เจา้ หน้าท่ี 3. เครือ่ งอะไหล่ 4. เวลา 5. เคร่อื งมอื และยุทโธปกรณ์ 6. เอกสารสาหรับทาการซ่อมบารงุ 7. สิ่งอานวยความสะดวก
ห น้ า | 122 ผนวก ก ประกอบแบบฝกึ หัด ตอนที่ 3 รอ้ ย.ถ.1 ม.พัน.108 1. พ.ต.ชาติ รักไทย และ รอง ผบ.พัน. ได้ทาการตรวจเยี่ยม ร้อย.ถ.1 ผบ.ร้อย.ถ. และ นายนายทหารยาน ยนต์รอรับการตรวจเย่ียมอยู่ ในการตรวจเย่ียม พ.ต.ชาติ รักไทย นาข้อมลู ต่างๆ ที่จาเป็น (อจย.และการ บรรจุกาลัง) ไปด้วย เพ่ือพิจารณาสถานการณ์การซ่อมบารุงของกองร้อยน้ี โดยนาเอกสารสถานภาพการ ซ่อมบารงุ รายงานสถานภาพยุทโธปกรณ์ บญั ชคี ุม ผบ.รอ้ ย.ชแ้ี จงว่า หน่วยนี้กาลังดาเนินการฝึกเป็นหน่วยเบื้องต้นอยู่ โดยนารถถัง 2 หมวด ออก ทาการฝึกนอกท่ีตั้ง และมีสภาพรถเสยี ดังน้ี - รถถังเสีย 5 % - รถลอ้ 8 % - รถท่เี ขา้ ตารางการปรนนิบัตบิ ารงุ คงปฏบิ ัตงิ านตามปกตทิ ี่หน่วย นอกจากพลประจารถออกฝกึ ทัง้ ส้นิ ในความอานวยการของ รอง ผบ.รอ้ ย. - อัตรากาลงั พลทบี่ รรจุ 80 % ขาดอตั ราประมาณ 15 % - เคร่อื งมอื เคร่ืองใช้ และยทุ โธปกรณ์เตม็ อตั รา 2. พ.ต.ชาติ รักไทย ถาม รอง ผบ.พัน.ซ่ึงไปรวมตรวจถงึ การจัดแหลง่ รวมรถกล่าว คือ แหลง่ รวมรถอยูใ่ น ความอานวยการของ ผบ.ร้อย. ภายในแหล่งรวมรถ มีโรงทีจ่ อดรถและหมู่ซอ่ ม เครื่องมือได้รับเต็มอัตรา รถถังเป็นรถถังแบบ........สว่ นยานยนตล์ ้ออื่นๆ ซ่ึงไดร้ ับหลายแบบ หลายประเภท พ.ต.ชาติ รกั ไทย สนใจ ในหอ้ งส่งกาลงั ของกองรอ้ ย และหอ้ งเก็บอาวุธ ถาม ผบ.ร้อย.ว่าอยู่ทีใ่ ด ผบ.รอ้ ย.ถ.1 พาไปตรวจเย่ียม ซง่ึ ภายในหอ้ งนัน้ มเี จ้าหน้าทป่ี ระจาอยู่ คอื นายสบิ สง่ กาลัง กบั นายสบิ ช่างอาวุธ ณ หอ้ งสง่ กาลัง - การจัดระเบียบอยภู่ ายในเกณฑ์เรียบรอ้ ย - ตลอดจนถงึ ความปลอดภยั ทั่วๆ ไปดว้ ย - ผบ.พัน.ถ.108 ไดถ้ ามนายสิบส่งกาลังว่า - หมูม่ หี น้าทดี่ าเนนิ งานการสง่ กาลงั บารุงใหแ้ ก่หน่วยมีอะไรบา้ ง - นายสิบส่งกาลังตอบว่า ผมนาหลักฐานส่งกาลังบารุงให้แก่หน่วยสาย พธ.ครับ ส่วนสาย สพ. ,สส.,วศ. ต่างสาขาเป็นผดู้ าเนินงานครับ ผบ.พัน.ถ.108 หยิบเคร่ืองสนามเครื่องหน่ึงออกมาคล่ีดูปรากฏว่าสกปรก ยังมิได้ซักทาความ สะอาด โดยเฉพาะผา้ เต้นท์ แล้วกาชับให้ทาความสะอาดหรอื ตรวจก่อนเข้าคลัง ทุกอย่างต้องสะอาด และ ครบจานวนกอ่ นเข้าเก็บ 3. ผบ.พนั .ถ.108 กับคณะไปทาการตรวจเยี่ยมหอ้ งอาวธุ
ห น้ า | 123 - สภาพโดยทว่ั ไปเกบ็ ไว้โดยเรียบรอ้ ย - เจา้ หน้าท่ชี า่ งอาวธุ ทางานท่คี ลงั - มีโต๊ะทางาน และทเ่ี ก็บเคร่อื งอะไหล่โดยเรยี บร้อย ผบ.พัน.ถ.108 หยบิ บตั รคุมของเคร่ืองอะไหล่ มาตรวจดู ปรากฏวา่ หลกั ฐานในบตั รคุมเกินจานวนของท่ีมีจริง ไดส้ อบถามเจ้าหนา้ ที่ - เจ้าหน้าท่ีตอบว่า ลืมตัดยอดเน่ืองจากเอาเครื่องอะไหล่ไปซ่อมอาวุธ และได้ดาเนินการเบิก เปลยี่ นไปแล้ว - ผบ.พัน.ฯ ให้เจ้าหน้าท่ียิบหนังสือคูม่ ือเทคนิคเกี่ยวกบั ปพ.86 ให้ดูปรากฏว่าไม่มีช่างอาวุธตอบ หน่วยขาดแคลนหนงั สือ แต่กระผมซอ่ มอาวุธประจากายได้ โดยอาศัยการศึกษาจาก รร.ม.ศม.และฝึกหา ความชานาญเอาเอง 4. พ.ต.ชาติ รักไทย บอกกบั ผบ.รอ้ ย. ผมสนใจโรงจอดรถ และหมซู่ ่อมบารงุ - ก่อนเข้าแหล่งรวมรถ มีรถ รยบ.2 1/2 ตัน 1 ตนั แล่นสวนออกมาบรรทุกน้าเต็มรถ และผา่ นที่ ปลอ่ ยรถ โดยมิได้หยดุ - จงึ บอกให้รถหยดุ และสอบถามพลประจารถถงึ ข้อความต่อไปนี้ 1) ท่านเปน็ พลขับคนั น้ีหรอื เปล่า พลขบั ตอบว่าเปลา่ ครบั ผมแทนเพอ่ื นเพราะวา่ เขาป่วย 2) ทาไมไมห่ ยดุ รถให้เจ้าหน้าท่ีปลอ่ ยรถตรวจ พลขบั ตอบว่า ไม่ต้องหยดุ เพราะวา่ รถคัน น้ี กองพันอนุมัตใิ หเ้ ข้าออกได้ เนอ่ื งจากรถคนั นท้ี าการบรกิ ารน้าให้แกค่ รอบครัวนายสิบภายในกองพนั -พ.ต.ชาติ รกั ไทยหันมาถาม รองฯ รองฯ ตอบว่า ใช่ครับ เป็นระเบียบปฏิบตั ปิ ระจาเกา่ ไดอ้ นมุ ัติ ให้ทาไวน้ านาแล้ว 3)ผบ.พัน.ถ.108 ขอดเู อกสารพลขับตอบว่า ไม่มีเอกสารเลย นอกจากแบบฟอรม์ รายงาน อบุ ตั ิเหตุ 5. พ.ต.ชาติ รักไทย เดนิ ไปที่จอดรถ - สภาพโรงรถโดยท่ัวไปเก่าและชารุด - พนื้ และทางขึน้ ไม่เรยี บร้อยขาดการบรู ณะ - ผบ.รอ้ ย.ถ.1 บอกว่า รถออกฝกึ ทกุ วัน วันสุดสปั ดาห์ทาการบูรณะ 1 คร้งั จงึ ให้โรงรถไม่นา่ ดูนกั - ผบ.พัน.ถ.ตอบรับ แล้วเดินไปดูรถถังท่ีจอดอยู่เพราะรอเครื่องอะไหล่เป็นเวลา 3 เดือนแล้ว เคร่ืองอะไหล่ที่รอมีอยู่ 3 รายการ รถอยู่ในสภาพสะอาด แต่อุปกรณ์หลายอย่างอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม เชน่ สายพาน, การทาสี, ยุทธภณั ฑบ์ ุบ และมรี อยขีดข่วนท่วั ไป - ผบ.ร้อย.ถ.1 ชี้แจงว่ารถคันน้ีออกทาการฝกึ ตลอดเวลา ยังไมม่ ีเวลาปรับปรงุ ครั้งใหญ่ ถ้าจบ การ ฝึกแลว้ กระผมจะทาสแี ละทาการปรนนบิ ัติบารุงตบแต่งให้ดีทสี่ ุด - กองร้อยนี้มตี ารางการ ปบ.ทุกเช้าวันละ 1 ชม.โดยพลประจารถ สาหรับรถท่ไี ม่ต้องทาการออก ฝึก และสง่ รถเข้า ปบ.ตามวงรอบ สพ.460 ทุกวนั พ.ต.ชาติ รักไทย ขน้ึ ไปตรวจดรู ถถงั คันหนึ่ง - ดูเรอื่ งความสะอาด ภายในรถอยู่ในเกณฑ์พอใช้
ห น้ า | 124 - ให้พลขับถอดหมอ้ กรองอากาศ และตรวจดู ปรากฏว่ามีใบไมแ้ ละตะกอนฝนุ่ มา - สายพานขา้ งหน่งึ หย่อนเกนิ กาหนด - ถามพลประจารถ ท่านตรวจดูทกุ วันหรอื ผบ.รถ ตอบว่า ครับ แต่รถคันน้ีกลบั จากการฝึกตอน เย็น จงึ ยงั ทาไม่เสร็จเรียบร้อย รบั คาส่ังให้รอรบั ตรวจ - ถามว่า มีหนังสือคู่มือประจารถหรือเปล่า ไม่มีครับ เพราะไม่มีมาตั้งแต่รับรถแล้วครับ ผมไม่ ทราบจะหาได้ทีไ่ หน ถ้าไดก้ เ็ ปน็ ภาษาอังกฤษ ผมอา่ นไมอ่ อกครบั ผมคดิ ว่าความชานาญดีกว่าหนังสอื 6. ผบ.ร้อย.ถ.1 พาไปโรงซ่อมบารงุ มรี ถถงั เข้า ปบ.ประจาเดือน 3 คัน, ประจา 3 เดอื น 1 คนั และ รยบ.2 1/2 ตัน ทาการ ปบ.ประจาเดอื น พ.ต.ชาติ รักไทยสนใจการ ปบ.รถล้อ และรถสายพานหน่วยนี้ สังเกตและสอบถามดูงาน ปบ. โดยทวั่ ไป พ.ต.ชาติ รักไทย ถามวา่ ก) รถเขา้ ปบ.กีคัน มีรถอะไรบ้าง และได้ตรวจสอบวงรอบการซอ่ มบารงุ สพ.460 ปรากฏ ว่าพลขบั รถล้อนารถมาหม่ซู อ่ มแล้วหายไป สอบถามไดค้ วามว่า ไดข้ ับรถคันอน่ื ออกไปทาการฝึก ข) ดูช่างซ่อมบารุงปบ.รถถังประจาเดือน ขณะทาการถ่ายน้ามันเครื่องอยู่ ไม่ปรากฏว่า ถอดหม้อกรองอากาศเบิกเปล่ียนไส้กรอง พ.ต.ชาติ รักไทย ถามว่า ทาไม่ไม่เปลี่ยนเจ้าหน้าท่ีช่างอึกอักๆ ผบ.ร้อย.ถ.1 บอกให้เปลี่ยน เจ้าหน้าท่ีช่างจึงดาเนินการเปล่ียน โดยให้เจ้าหน้าที่ช้ินส่วนหยบิ ให้เปล่ียน ใหม่ “พ.ต.ชาติ รกั ไทย จงึ คิดวา่ ทาไมหมู่จงึ ทาอยา่ งน้นั ” ค) สังเกตการทางานของเจ้าหน้าท่ีช่างในการปรนนิบัติบารุงบริการประจาเดือน ใช้ แบบฟอร์ม สพ.462 อย่างเดียวเทา่ นัน้ มเิ คยหยบิ ตารา และหนังสอื คู่มือมาช่วยในการปรนนบิ ตั บิ ารุงเลย ง) สรุปแล้วว่า การปรนนิบัติบารุงบริการ และทาตามความเคยชินตาม แบบฟอร์ม สพ. 462 เป็นหลักและเจ้าหน้าท่ีทางานเนือยๆ ขาดการกระตือรือล้น เจ้าหน้าที่ช่างประจาหน่วยบางคน ทางานค่กู บั เจา้ หนา้ ทผี่ ้ชู านาญ ผบ.ร้อย.ถ.1 เสนอวา่ บุคคลพวกนี้ โดยมากเตม็ ขัน้ ทางานไม่กา้ วหน้า เจ้าหนา้ ทซ่ี ่อมบารุง ซ่ึงต่างเรียนตามสายวิทยาการเพียง 5 นายเท่านั้น ส่วนอีก 3 นาย ยังมิได้ผ่าน นอกนั้นกาลังพลขาด อัตรา กาลงั บรรจุ เพราะตอ้ งนากาลงั พลไปบรรจหุ น่วยหมวดกอ่ นเพอ่ื ให้ทาการรบได้ ผบ.พัน.ถ.108 กล่าววา่ ส่วนท่ผี ่านจากโรงเรยี นน้ัน ตอ้ งการฝึกเพิ่มเติมให้มีความชานาญ การปฏิบตั งิ านอีก 7. ตรวจห้องช้ินส่วนอะไหล่ พ.ต.ชาติ รักไทย ถามนายสบิ ยานยนต์ เจา้ หนา้ ที่ชน้ิ ส่วนอะไหล่ไปไหน นาย สิบยานยนต์ตอบว่า “ไป สพ.ครับ” ผบ.พัน.ถ.ดูระบบการส่งกาลัง เจ้าหน้าที่ช้ินส่วนดาเนินงานการส่ง กาลังด้วย โดยทาหน้าท่ีเบิกเปล่ยี น จัดหา จงึ มิอยปู่ ระจาทางานเกยี่ วขอ้ งกบั เจา้ หนา้ ท่ีชา่ ง พ.ต.ชาติ รักไทย ตรวจดชู ้นั เก็บเครื่องอะไหล่ - การเกบ็ ถูกต้องตามระเบียบการเก็บชน้ิ สว่ น
ห น้ า | 125 - แต่การแจกจา่ ย เกบ็ รกั ษาไม่รดั กุมเท่าท่คี วร - ไม่มีประวตั ิการใช้ช้นิ ส่วนภายในหนว่ ยท่แี นน่ อน - ตรวจดเู อกสารสาหรับสง่ กาลังบารุงขาดแคลนอย่างยงิ่ ของยานยนตท์ กุ ชนดิ 8. ตรวจห้องเครื่องมอื พ.ต.ชาติ รักไทย ได้พบกับเจา้ หน้าท่ีของห้องเคร่อื งมือ ซึ่งเป็นพลทหารประจาอยู่ เป็นผเู้ บกิ จา่ ยเครือ่ งมอื - พ.ต.ชาติ รักไทย สงสยั เปน็ อย่างยิง่ จะมคี วามรบั ผดิ ชอบพอหรือ - การจ่ายการใช้เครอื่ งมือเปน็ หรือ - การตดิ ตามเก็บเครือ่ งมอื คืนทาอยา่ งไร - เพราะไมท่ ราบวา่ ทาอะไรเป็นบา้ ง พ.ต.ชาติ รกั ไทย หยบิ เครอ่ื งมอื สาหรับเจาะปะเก็นมา แล้วถามวา่ นี้เครื่องมอื สาหรับทาอะไร พลทหารตอบว่า ไม่ทราบ เป็นเคร่อื งมอื สาหรบั ทาอะไร พ.ต.ชาติ รกั ไทย หนั มาถาม ผบ.ร้อย.ถ.1 ให้ พลทหารเป็นเจ้าหน้าท่ีหรอื ผบ.ร้อย.ถ.1 ตอบว่า เปล่าครับ จัดไว้เป็นผู้ช่วยครับ ส่วนเคร่ืองมือมีการขาด หายตามสมควร และกาลังดาเนนิ การสอบสวนจัดหามาทดแทนอย่คู รบั พ.ต.ชาติ รักไทย ก่อนออกจากแหล่งรวมรถกลับไปยัง บก.ร้อย.ถ.1 ได้สอบถามนายสิบยานยนต์ วา่ - มกี ารฝึกซ่อมบารุงขน้ั ที่ 2 อยา่ งไร - นายสบิ ยานยนต์ ตอบว่า คอยคาสัง่ กองพัน นอกจากนัน้ ไมม่ คี รับ - สาหรับเจ้าหน้าท่ีบรรจุใหม่ 3 นาย คงช่วยสอนงานเฉพาะอย่างใหท้ า และคอยควบคมุ เท่านั้น เพื่อจะรอโรงเรยี นจากศนู ยก์ ารทหารมา้ เปดิ แล้ว จะสง่ เจ้าหนา้ ที่ศกึ ษา 9. พ.ต.ชาติ รักไทย ออกจากแหล่งรวมรถแล้วกลับมายัง บก.ร้อย.ถ.เมื่อมาถึงกองรอ้ ย คงได้รับปัญหา เสนอแนะจาก ผบ.รอ้ ย.ถ.1 เกยี่ วกบั การบรรจุกาลังพล - ควรจะทาการบรรจใุ ห้เต็มอตั รา - และมีเจ้าหนา้ ท่ีทางเทคนคิ อะไหล่ไว้สาหรบั ทดแทนผู้ทเี่ ลอื่ นยศ หรือย้าย - การฝกึ เจ้าหนา้ ทตี่ าม ชกท.ต้องใหเ้ กดิ ความชานาญจรงิ ๆ 10.พ.ต.ชาติ รักไทย น่ังคิดเม่ือเห็นสภาพของ ร้อย.ถ.1 แล้ว เป็นข่าวท่ียืนยันอย่างถูกต้องทีเดียวว่า จะต้องคิดเรื่องปัจจัยซ่ึงกระทบกระเทือนต่อการชารุด และจะต้องดาเนินการแก้ไขอย่างเร็วที่สุด โดย เปลี่ยนแปลงระบบงานบางอยา่ งใหถ้ ูกตอ้ ง เช่น - การจดั ระเบียบในทีจ่ อดรถ - อาวุธ และยทุ ธภัณฑ์ประจารถจะตอ้ งตดิ ตงั้ อยทู่ ่รี ถ - จัดตงั้ ระบบรวมรถ ในความควบคุมของกองพันใหเ้ รว็ ทีส่ ุด - จัดระบบควบคมุ ให้ถกู ตอ้ ง - และกาหนดความรับผดิ ชอบใหแ้ ก่ฝ่ายอานวยการ - การยกระดับการซอ่ มบารุงให้เรว็ ทีส่ ดุ ท่ีจะทาได้
ห น้ า | 126 - ต้องฝึกการซอ่ มบารงุ ขนั้ ท่ี 1 และ 2 โดยทาการฝึกปรนนบิ ตั บิ ารงุ และทาการฝกึ งานตามหนา้ ที่ - ต้องยกระดับท่ีต่าของเจ้าหน้าท่ีให้สูงข้ึน ต่อจากน้ัน ผบ.พัน.ถ.108 และคณะจึงอาลากลับ และ ขอขอบคุณ ผบ.ร้อย.ถ.1 ท่ีให้ความร่วมมือในการตรวจหน่วยเป็นอย่างดี และกล่าวว่า หวังว่าท่านคงให้ ความร่วมมือเป็นอย่างดี ในการยกระดับการซ่อมบารุงให้สูงขึน้ เพื่อ พัน.ถ. ของเรา เพราะเป็นหน่วยยาน เกราะ ถ้าการซอ่ มบารงุ ยุทโธปกรณไ์ มด่ ี ก็ไมส่ ามารถทาการปฏิบตั ภิ ารกจิ ในการรบอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพได้ ผมลาละครับ ขอบคณุ --------------------------- แบบฝึกหัด ตอนท่ี 4 1. สถานการณ์ ก. หลังจากได้ดาเนนิ การตรวจเยี่ยม ร้อย.ถ.1 มาแล้วก็วางแผนวา่ จะทาการตรวจเย่ียม ร้อย.ถ.2 ข. ร้อย.ถ.2 เป็นหน่วยท่ีได้รับ รถถังแบบ.......ทดแทนรถถงั .......เรียบร้อยแล้ว.....และรถล้อก็เป็น แบบเดียวกัน ร้อย.ถ.1 สภาพของยานพาหนะ และรถถังแบบ.........อย่ใู นสภาพทสี่ มบรู ณเ์ ชน่ เดียวกนั ค. หลังจากตรวจเย่ยี ม รอ้ ย.ถ.1 มาแล้ว ผบ.พัน.ถ.108 เขียนปัจจยั ซึ่งเป็นผลสะทอ้ นเกีย่ วกับการ ซอ่ มบารุง โดยยดึ หลัก - การบังคับบญั ชา - เจ้าหน้าท่ี - เวลา - เคร่อื งอะไหล่ - ส่ิงอานวยความสะดวก - เอกสารในการซ่อมบารุง - เคร่ืองมือ,ยทุ โธปกรณ์ นามาพจิ ารณาเลอื กสิ่งสาคญั มาพิจารณาร่วมกนั ทกุ ปัจจยั 2. บ่งการ ให้ท่านอ่าน การตรวจเยี่ยม ร้อย.ถ.2 (ผนวก ก.ตอนท่ี 4) เตรียมการพิจารณาเกี่ยวกับปัจจัย ตา่ งๆ ซง่ึ กาหนดหวั ข้อไวด้ ังต่อไปนี้
ห น้ า | 127 3. นกั เรยี นปฏบิ ตั ิ หัวขอ้ การพิจารณา ปัจจยั 1. การบงั คบั บญั ชา 2. เจา้ หน้าท่ี 3. เครื่องอะไหล่ 4. เวลา 5. เครอ่ื งมือและยทุ โธปกรณ์ 6. เอกสารสาหรบั ทาการซอ่ มบารงุ 7. สงิ่ อานวยความสะดวก ผนวก ก ประกอบ ตอนที่ 4 รอ้ ย.ถ.2 --------------------------------- 1. พ.ต.ชาติ รกั ไทย และ รองฯ เดินทางไปตรวจเยีย่ ม รอ้ ย.ถ.2 ถึง ร้อย.ถ.2 เวลา 0800 2. ผบ.ร้อย.ถ.2 รอต้อนรับท่ีหน้า บก.ร้อย.ถ.2 มี รอง ผบ.ร้อย.และนายทหารยานยนตม์ ารอรบั การตรวจ เยย่ี มรอง ผบ.รอ้ ย.ถ.2 ได้ชีแ้ จงสรุปสถานการณเ์ ก่ยี วกบั ร้อย.ถ.2 ใหฟ้ งั ดงั ตอ่ ไปนี้ - หลังจากท่ีเปลี่ยนรถถังเปน็ รถถังแบบ.....แล้ว และได้ทาการฝึกพลประจารถ และเจ้าหน้าท่ีซ่อม บารุง ประจาหน่วย โดยขอร้องให้ โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า จัดชุดฝึกสอน เค ล่ือนที่มา ดาเนินการเปดิ หลกั สตู รพลประจารถถงั แบบ.....ใหท้ หี่ น่วยแล้ว - อาวุธและอุปกรณ์ประจารถ อยู่ในสภาพสมบูรณ์ 100 % ตลอดจนเครื่องมือเครือ่ งใช้ได้รับครบ ตามอัตราแลว้ - พ.ต.ชาติ รกั ไทย ถามว่า ท่านไม่ขาดแคลนเจ้าหนา้ ท่ีตาม ชกท.บ้างหรอื - รองฯ ตอบวา่ ปญั หานไี้ มเ่ ป็นปัญหายุ่งยากอะไรมากนักในกองรอ้ ย
ห น้ า | 128 - ผบ.ร้อย.ถ.2 ตอบว่า หน่วยของผมขาดเจ้าหน้าท่ีตาม ชกท.ประมาณ 20 % (ขาดอัตราบรรจุ) โดยเฉพาะท่ีขาดน้ีคือ เจ้าหน้าท่ีช่างยานยนต์ประจาหน่วย และผ่านโรงเรียนเพียง 4 นาย เท่านั้น จาก จานวน 9 นาย ทเ่ี หลอื ได้รับการฝกึ สอนจากชุดฝกึ สอนเคลื่อนที่จาก รร.ม.ศม. - ผบ.พนั .ถ.ถามว่า ทา่ นเคยทาเรอ่ื งราวขอบรรจเุ จา้ หนา้ ที่ชา่ งตาม ชกท.หรือเปลา่ - ผบ.ร้อย.ถ.2 เคยทาเหมือนกันในเร่ืองการจัดหาเจ้าหน้าที่ตาม ชกท.เพราะกระผมตระหนักว่า หน่วยของเราเป็นหน่วยยานเกราะ ตอ้ งสามารถเคล่ือนท่ไี ด้ 100 % อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ถ้าขาดการซอ่ ม บารงุ แล้วประสทิ ธิภาพการรบจะไมม่ ีเลย และกองรอ้ ยของกระผมไม่มีนโยบายจะทาการโยกยา้ ยเจา้ หน้าที่ ซ่อมบารงุ ประจาหน่วย เพราะพวกเหล่าน้ีใหก้ ารสนับสนุนหน่วยเปน็ อย่างดีที่สดุ นอกจากจาเปน็ จริงๆ เพ่ือ ความก้าวหนา้ ของเจ้าหน้าท่เี หล่านี้ เพราะขณะนีเ้ ตม็ ขนั้ ไม่มีความก้าวหนา้ ในราชการ นอกจากจะสานกึ ใน หนา้ ทีอ่ นั มเี กยี รตเิ ทา่ นั้น 3. พ.ต.ชาติ รกั ไทย พดู กบั ผบ.ร้อย.ถ.2 วา่ “ยทุ โธปกรณ์ของท่านจะตอ้ งมสี ถานภาพดเี ป็นท่พี อใจนะ” - ผบ.ร้อย.ถ.2 ตอบยืนยันว่า ยุทโธปกรณ์อยู่ในสภาพดีครับ แต่ข้าพเจ้ามีช่างซ่อมบารุงประจา หน่วยทางานนอกเวลาเสมอครับ เพราะว่ายุทโธปกรณ์ของเราเป็นยุทโธปกรณ์ใหม่ และใช้ในการฝึกมาก นอกจากจะทาการฝกึ เชน่ หนว่ ยตามหนา้ ทีข่ องเราแลว้ โดยการฝกึ ในภาคฝกึ เบ้อื งต้นเฉพาะเหลา่ - แต่ปจั จบุ ันยทุ โธปกรณ์สายสอื่ สารลดลงมามาก เพราะเกิดความลา่ ชา้ ในการซ่อมบารุง เรามวี ิทยุ หลายชดุ แต่มชี ่างซ่อมบารุงวิทยปุ ระจาเพียง 1 นาย เท่าน้นั - พ.ต.ชาติ รักไทย ถามว่า ท่านไมม่ กี ารฝกึ ชา่ งวทิ ยุหรือ - ผบ.ร้อย.ถ.2 ตอบว่า ครับ เนื่องจากเรามี ผบ.รถ หรือเจ้าหน้าท่ีรับผิดชอบระวังชุดวิทยุอยู่ แล้ว รถถังบางคันเราขาดอตั ราพลประจารถ นน่ั หมายความว่าพลประจารถมหี น้าท่ที าการซ่อมบารุงมาอยู่ แล้ว ผมมีนายสิบสื่อสารบรรจุใหม่อยู่คนหน่ึง ได้กาหนดระเบียบปฏิบัติประจาเพื่อชว่ ยเจ้าหน้าท่ีเหล่านี้ จะต้องมเี จา้ หนา้ ท่ผี หู้ น่ึงรบั ผิดชอบต่อชดุ วิทยุทกุ ชดุ และใช้ใหท้ าการปรนนิบตั ิบารงุ ชุดวทิ ยุดว้ ย - พ.ต.ชาติ รักไทย ถามว่า “เดียวนี้นายสิบสื่อสารท่ีบรรจุใหม่อยู่ที่ไหน และกาลังทาอะไร” ผม อยากพูดกบั เขา - ผบ.ร้อย.ถ.2 บอกว่า วันน้ีเขาออกไปฝึกครับ กระผมคิดว่าจะให้คาช้ีแจงได้ตามสมควรตาม นโยบายของ ผบ.พนั .ถ.108 เขาควรทางานได้ดีกวา่ น้ี ถา้ เขาเขา้ ใจปัญหาของเราถูกต้อง - ผบ.พนั .ถ.108 พูดว่า “ผมคดิ ว่าคุณเรม่ิ ต้นถกู แลว้ ” 4. พ.ต.ชาติ รักไทย พรอ้ มคณะขอให้ ผบ.ร้อย.ถ.2 พาไปดูห้องสง่ กาลงั ของกองร้อย ผบ.รอ้ ย.ถ.2 ติดตาม การตรวจและตอบปญั หาต่างๆ ให้ พ.ต.ชาติ รักไทย กับคณะทีไ่ ปทาการตรวจที่ชา่ งซ่อมวิทยุ - ช่างซ่อมวิทยุชี้แจงกับ ผบ.พัน.ถ.108 ว่า การส่งกาลังบารุง เร่ืองหลอดวิทยุช้ามาก แต่ก็ พยายามหาวธิ ีพลิกแพลงวิธีใดวธิ ีหน่ึงให้มีอยู่ในคลัง เพ่ือจะได้สนับสนุนหน่วยใช้ไดเ้ พียงพอโดยกระผมขอ อนุมัติ ผบ.ร้อย.ให้ไปติดต่อกับหน่วยท่ีให้การสนับสนุนตลอดเวลา เพ่ือให้ได้มาซึ่งเครือ่ งอะไหล่จะตอ้ งส่ง ใบเบกิ และติดตามงานตลอดเวลา และกระผมต้องไปเอง ผบ.ร้อย. ก็อนุญาตจดั รถให้กระผม 1 คัน จงึ เป็น เหตุทตี่ อ้ งทาการซ่อมวิทยอุ ยไู่ ด้เปน็ บางวัน เพราะต้องไปติดตอ่ ราชการเสมอๆ
ห น้ า | 129 - พ.ต.ชาติ รักไทย พดู ว่า การกระทาเช่นน้ัน (หมายถงึ การขบั รถไปเอง) ไม่ถูกต้องนักท่านผ่าน การฝึกเป็นพลขับแลว้ หรือ ยานพาหนะทาการปรนนิบตั ิบารงุ ประจาวันทุกวันหรอื เปลา่ - ชา่ งวิทยุตอบวา่ กระผมรวมทาการ ปบ.ทุกวันในเวลาเชา้ กระผมต้องใชร้ ถออกไปในสนาม เพ่ือ ตรวจวิทยุให้หน่วยต่างๆ ท่ีทาการฝึก บางที่ต้องนาสารจาก ผบ.ร้อย.ไปยัง ผบ.มว.และ ติดตามเคร่ือง อะไหล่ - พ.ต.ชาติ รักไทย พูดว่า ทา่ นยังไมบ่ อกให้ขา้ พเจ้าทราบวา่ ทา่ นผ่านหลักสูตรการฝกึ เปน็ พลขับ หรือเปล่า - ช่างวิทยุ ตอบว่า ผมเป็นนักเรียนนายสิบ ผ่านการฝึกมาบ้างแล้ว แยกไปศึกษาทางสายบริการ ทางเทคนิค และทาการหาความชานาญดว้ ยตนเอง ซึง่ ขบั รถไดด้ พี อสมควร - พ.ต.ชาติ รกั ไทย กับคณะเดินทางไปตรวจเยย่ี มยงั ท่ีจอดรถ และยืนมองดูที่ ถ.แบบ..... คันหนึ่ง เข้าบันทกึ บางอยา่ งซึ่งบกพรอ่ งปรากฏอยูท่ ี่รถถังคนั น้ัน กล่าวคอื น๊อตยึดขอ้ ต่อสายพานหลุดหาย และผ้า คลุมปากกระบอกลากล้องปืนหายไป - ผบ.ร้อย.ถ.2 กองร้อยของข้าพเจ้าออกไปทาการฝึกและยิงปืนตามตารางการฝึกและเกิด ขอ้ บกพร่องขึน้ ดังกล่าวแล้ว พลประจารถนารถเข้าสนามฝึกก่อนอาทิตยข์ ึ้น สภาพของสนามยงิ ปนื เต็มไป ด้วยโคลนและลื่น เม่ือกลับเข้าที่รวมพลหลังจากหมดแสงตะวันแล้ว พลประจารถมีเวลา ในการเพิ่มเติม น้ามันและทาความสะอาดเลก็ น้อย ในวนั ศุกร์รถถงั จะไดร้ บั การทาความสะอาด และบริการอย่างดีทส่ี ุด - พ.ต.ชาติ รักไทย ทา่ นจะทาอยา่ งไรท่ีจะแก้ไขข้อบกพร่องทต่ี รวจพบนน้ั - ผบ.ร้อย.ถ.2 แนน่ อนครับทีจ่ ะตอ้ งแกไ้ ขขอ้ บกพร่องทตี่ รวจพบนั้น เพ่อื ใหก้ ารปฏิบัติงานซอ่ ม บารุงดีขึ้น เราควรจะมีเวลาประมาณวันละ 3 ช่ัวโมงทุกวัน ให้พลประจารถเพื่อทาการซ่อมบารุงให้ดีข้ึน แต่กาหนดการฝกึ จาก พล.ม.1 ให้ไวใ้ นการ ปบ.เพียง 1 ชม. - พ.ต.ชาติ รักไทย ผมเข้าใจเร่ืองกาหนดการฝึกท่ีกาหนดไว้ใช้เวลา ปบ.อยา่ งน้อย 1ชม.มใิ ชใ่ ช้ 1 ชม. พ.ต.ชาติ รักไทย ทราบตลอดเวลา เช่น การขาดน้ายาผสมกันแข็ง เนื่องจากหน้าหนาวทาง จว. เพชรบูรณ์ หนาวมาก รถต้องติดเคร่ืองยนต์เป็นเวลานานมาก หรอื ถ้าการฝึกกลางคืนต้องติดเคร่ืองยนต์อยู่ เรอ่ื ย ถา้ ไมใ่ ช้ยานพาหนะต้องถ่ายนา้ ออกทิ้งทุกคนื พ.ต.ชาติ รักไทย กล่าวว่าต้องเตรียมเบิกมาเก็บไว้ในรถถงั ให้พอเหมาะเป็นการชัว่ คราว เท่านั้น ในฤดูหนาวใหเ้ ปน็ หน้าท่ีของนายสิบสง่ กาลงั ทจ่ี ะดาเนนิ การนั้น 5. ณ ห้องสง่ กาลงั บารงุ พ.ต.ชาติ รักไทย ดูสภาพห้องเรยี บร้อยสะอาดตา แสดงวา่ มกี ารทางานอย่างสนใจ พ.ต.ชาติ รกั ไทย ทาการตรวจสอบฝาปดิ ถงั น้ามันเชือ้ เพลิง และตรวจอุปกรณ์ซง่ึ เป็นผ้าชนิดถัก (เชน่ เข็ม ขัด, เครื่องสนาม) เพียงเลก็ นอ้ ยมสี ายรัดผา้ ใบ 2-3 เสน้ ชารดุ นายสิบสง่ กาลังกลา่ วว่า ผมกาลังดาเนนิ การเบกิ เปลยี่ น ขณะน้กี าลงั ดาเนินการสอบสวนครับ พ.ต.ชาติ รักไทย ให้ยกหีบ ซ่ึงอยู่บนห้ิงหีบหนึ่งมาเปิดดู พบว่ามีตะแกรงกรองท่ออ่อนเต็มน้ามันอยู่เป็น จานวนมากไว้ทาอะไร, เก็บนานเท่าไร นายสิบส่งกาลัง ตอบว่า กระผมเห็นเก็บไว้นานแล้ว และไม่มี หมายเลขชน้ิ สว่ นท่ีจะสง่ คนื ได้ และกระผมเห็นวา่ ไดข้ าดตะแกรงกรองมานานแลว้
ห น้ า | 130 ผบ.รอ้ ย.ถ.2 และ รองฯ เงียบไม่ตอบ - พ.ต.ชาติ รักไทย ต้องการดูชดุ เคร่ืองมืออาวธุ นายสิบส่งกาลังพาไปดู และดึงลน้ิ ชักเครื่องมือให้ ดู เขาเรยี นตอ่ พ.ต.ชาติ รักไทย มเี คร่ืองมอื 2-3 ชิน้ ใหบ้ ุคคลอนื่ ยืมไป - พ.ต.ชาติ รักไทย ถามว่าให้ใครยืมไป และใครเป็นผ้รู ักษา นายสิบส่งกาลังบารงุ ตอบเจ้าหน้าท่ี ช่างปอ้ มของกองร้อยครบั เขาบอกจะยืมไปเพียงช่ัวครูเท่าน้ัน โดยเข้าทาการยืมไปตอนเช้าวันศุกร์ และจะ นาส่งหลงั จากใชง้ านเสรจ็ - พ.ต.ชาติ รักไทย ขอดูเคร่ืองอะไหล่ทีเ่ บิกมาไว้ใช้ นายสิบส่งกาลงั บอก เคร่อื งอะไหลต่ ามอัตรา ผมมิได้เก็บไว้ในที่นี้ ยกเว้นน้ามันทาปืนและน้ามันล้างลากล้องปืน ผมส่งไปเก็บไว้ท่ีหมู่ซ่อมของกองร้อย และมอบความรบั ผิดชอบให้ทางโนน้ ด้วยครับ - พ.ต.ชาติ รักไทย ท่านมีหลักฐานแสดงให้ทราบการใช้ส่ิงของต่างๆ หรือไม่ นายสิบส่งกาลัง กระผมไมใ่ ช้เพราะย่งุ ยากมาก นอกจากเม่ือออกสนามฝึกหรอื ยิงปืนผมจึงจะใช้หลักฐานสาหรบั การแจกจ่าย - พ.ต.ชาติ รกั ไทย ถามว่า คู่มือเกี่ยวกับการสง่ กาลังเกี่ยวกบั อาวธุ ประจากายอยทู่ ่ีไหน หลกั ฐาน อยู่ทผี่ มครับ โดยกล่าวว่าถ้าไม่สามารถควบคุมระบบการใชเ้ ครื่องมอื ท่ีดไี ดแ้ ล้ว จะไม่มีเคร่ืองมอื ที่ดไี ด้แล้ว จะไม่มีเครื่องมือเหลือเลย เจ้าหน้าท่ีช่างทุกคนมีแผ่นป้ายทองเหลือง 10 ป้าย ติดอยู่กับตัวช่างพร้อม กาหนดหมายเลข ถ้าต้องการเครื่องมือก็ไปบอกกับเจ้าหน้าที่เครื่องมือ และให้ป้ายประจาตัวกบั เจา้ หน้าที่ เมื่อรับเคร่ืองมือไปแล้วแขวนป้ายสีแดงบันทึกไว้ว่าใครเอาไป และสามารถติดตามได้โดยง่าย รวดเร็ว เจ้าหนา้ ที่ชา่ งยืมเครอ่ื งมือข้ามคนื ไปปฏบิ ัตงิ านส่วนตวั ไมม่ ีผใู้ ดอนุมัติ ให้ยืมได้เลย - พ.ต.ชาติ รักไทย บอกว่า เป็นระบบท่ีดีมาก ถ้า ขา้ ฯ จาไม่ผิด ตาม อจย.มิได้บรรจเุ จา้ หนา้ ที่ เครอ่ื งมือไว้ - นายสิบยานยนต์ กระผมกาหนดเจ้าหน้าที่รับผิดชอบในการรักษาเครื่องมือ ถึงแม้ว่าตาม อจย. จะไม่มีบรรจไุ วก้ ต็ าม เนือ่ งจากความสาคัญท่กี ระผมเรยี นมาใหท้ ราบแล้ว - พ.ต.ชาติ รักไทย ทา่ นควบคุมเครอื่ งมอื ประจาตัวช่างอยา่ งไร - นายทหารยานยนต์ ตอบว่า หีบเครื่องมือชุดช่างทั่วไป ช่างประจาหน่วยเป็นผู้เก็บ โดยเซ็นต์รับ ไปเปน็ หลักฐาน และส่งคืนคลังเมื่อเลิกงานทุกวัน ทุกบ่ายวันศุกร์จะมีการตรวจ และนับจานวน ถ้าเกิด การขาดหายหรอื รกั ษาไมอ่ ยู่สภาพซง่ึ เรียบร้อยแล้วจะทาการตรวจพบทุกสปั ดาห์ - พ.ต.ชาติ รักไทย สอบถามถึงเครื่องมือของช่างปืนใหญ่ซง่ึ ไม่พอ การทางานจึงไปยืมเคร่ืองของ เจา้ หนา้ ทช่ี ่างอาวธุ - พ.ต.ชาติ รักไทย นึกถึงการจัดเครื่องอะไหล่ของ ร้อย.ถ.1 แล้วถามตรวจด้วยวิธีการ อย่าง เดียวกัน ส่ิงแรกที่ตรวจพบเจ้าหน้าที่ชิ้นส่วนขาดการบันทึกและทางานส่งกาลังแทนนายสิบส่งกาลัง เชน่ เดยี วกัน ตามที่สังเกต นายสิบชนิ้ สว่ นมีความสนใจเพียงเล็กน้อยในการส่งกาลัง - พ.ต.ชาติ รักไทย ดูการเก็บอาวุธ ช้ินสว่ นอะไหล่ของอาวุธประจากาย ช้ินส่วนใหญ่ๆ ขนาด หีบ หรอื ชั้นเก็บ มสี ่ิงอานวยความสะดวกคือ โต๊ะทางานของเจ้าหน้าท่ีช่างอาวธุ และเจา้ หน้าท่ี อาวุธได้อธิบาย ระเบียบปฏบิ ตั ิประจาโดยทวั่ ไป
ห น้ า | 131 - เจ้าหน้าท่ชี า่ งอาวุธ สาหรับหน้าท่ขี องผมไปรบั เคร่ืองอะไหลท่ ุกวันจาก สพ. แล้วดาเนนิ งานซ่อม บารุงหรอื ทดแทนเคร่ืองอะไหลท่ ่ีใช้ไป พรอ้ มกับส่งใบเบิกและใบส่งคืนด้วย รวมทั้งชารุดตามสภาพ และ ตอ้ งสอบสวนรายงาน ข้าฯ ทางานหลักฐานในเวลากลางคนื งานลา่ ช้าในบางรายการ - รอง ผบ.ร้อย.ถ.2 เสริม และแสดงเคร่ืองอะไหลค่ า้ งจา่ ยให้ พ.ต.ชาติ รกั ไทย ดู - ผบ.ร้อย.ถ.2 ถูกแล้วครับ เหตุทผี่ มถือ 1 ชม. เพราะฝึกหลักการ ปบ.ที่กาหนดไว้ในตารางฝึก ผม คิดว่าเราต้องใช้ปัญหาการซ่อมบารุงลงไปในระหว่างการดาเนินการฝึก, ยิงปืนหรือฝึกรบ เพ่ือให้สนธิ ยุทโธปกรณ์ไดร้ บั การปรนนบิ ัติบารุงอย่างเต็มท่ี และควบคมุ การปฏบิ ัตงิ านซอ่ มบารุงให้มีประสทิ ธภิ าพ - พ.ต.ชาติ รักไทย พยักหน้า ตอบรับ 6. พ.ต.ชาติ รักไทย กับคณะเดนิ มาหยุดยืนข้างลาดสาหรบั ทาการอดั ฉดี รยบ.3/4 ตนั สังเกตเจา้ หน้าท่ี 2 คนทางานอยนู่ ายสบิ ยานยนตซ์ ่ึงเดนิ รับร่วมคณะดว้ ย - นายสบิ ยานยนต์ ผู้ทางานสองคนน้ี คือผชู้ ่วยชา่ งยานยนต์ประจาหนว่ ย และมไิ ด้อยกู่ ับหมวดเป็น เวลานานนัก เนอ่ื งจากสองคนนขี้ าดการกากับดแู ล - พ.ต.ชาติ รกั ไทย ถามวา่ เราจะทราบวา่ สองคนนีท้ างานได้โดยถูกตอ้ งอยา่ งไร - นายสบิ ยานยนต์ ดูจากบคุ คลทั้งสองใช้คู่มอื ประจารถหรอื ไม่ - ชา่ งคนหน่ึง ผมอาจจะทราบทางใดกไ็ ดค้ รบั ผมกระทาโดยมองหาหัวอดั ไขข้น - นายทหารยานยนต์ ตัดสินใจเพ่ือช่วยผู้บังคับบัญชา กล่าวว่า คู่มือ ทบ.มิได้กล่าวถึงการแนะนา (คู่มือเทคนคิ แบบใหม่) ในการหล่อล่นื เจา้ หน้าที่ชา่ งกระทางานหล่อลื่นประกอบการทางานหล่อล่ืน ตอ้ ง ใชค้ าส่งั การหลอ่ ล่ืนครับ - พ.ต.ชาติ รักไทย แลว้ ทาไมเจ้าหน้าทส่ี องคนน้ี ไม่ใชแ้ ผนการหล่อลื่นทางาน - รอง ผบ.ร้อย.ถ.2 คาส่ังการหล่อลื่นเบิกให้ไม่ทัน เนื่องจากชารุดเร็วเกินควร โดยเป้ือนน้ามัน และชารุด 7. ความตอ้ งการในเรื่องการฝึก ชา่ งยานยนตป์ ระจาหน่วย ความชานาญของชา่ งยานยนตป์ ระจาหน่วย - พ.ต.ชาติ รักไทย ทราบว่า ทางสายวิทยาการเพ่ิงจะเริ่มสอนเพียงรุ่นเดียว และผู้ท่ีผ่านมาแล้ว สาหรบั กองร้อยน้กี ็มเี พยี ง 4 นาย เทา่ น้ัน ทา่ นจะดาเนนิ งานอยา่ งไรเกยี่ วกับการซอ่ มบารงุ ถ.แบบ..... - นายสิบยานยนต์ ตอบว่า ชุดฝึกสอนเคล่ือนที่ของ รร.ม.ศม.ได้เคยสอนให้คร้ังหนึ่ง และ กองร้อยได้เอาเจ้าหน้าท่ีบางนายในอัตราพลขับหมซู่ ่อมเข้าศกึ ษาดว้ ย และได้เคยสง่ เจ้าหน้าทซี่ ่อมบารุงไป ศกึ ษาซา้ ในหลักสตู รท่ี รร.ม.ศม.เพิ่มอีก 2 นาย มีความชานาญเกี่ยวกบั รถถังแบบ..... สว่ นชา่ งท่ีเหลือกใ็ ห้ ฝกึ งานหาความชานาญตอ่ ไปครบั 8. พ.ต.ชาติ รกั ไทย ดกู ารซอ่ มบารุง รยบ.2 1/2 ตัน อยา่ งใกลช้ ิด เคร่อื งมือได้วางเรยี งไว้ในแผนข้างรถ - นายทหารยานยนต์ และนายสิบยานยนต์ อธิบายให้ทราบถงึ ระบบควบคมุ เก่ียวกับเครอ่ื งมอื ให้ ผบ.พนั .ถ.108 ทราบ 9. พ.ต.ชาติ รักไทย และคณะออกจากแหล่งรวมรถ กล่าวเพ่ิมเติมแก่ ผบ.ร้อย.ถ.2 เกี่ยวกับสิ่งอานวย ความสะดวก การซ่อมบารุง รยบ.2 1/2 ตัน และอืน่ ๆ อกี ในเวลาเดยี วกนั ช้ีแจงเรื่องการทางานของผูช้ ่วย
ห น้ า | 132 ช่างประจาหน่วย ถา้ ท่านขาดการกากับดูแลแล้ววธิ ดี าเนินการฝึกก็จะไมไ่ ด้ผล ถ้ากองพันไม่มแี ผนฝกึ ผูช้ ่วย ช่างบางทอี าจส่งเจ้าหน้าทเ่ี ปน็ ผชู้ ว่ ยช่างไปศกึ ษา ณ รร.ม.ศม.ได้ - พ.ต.ชาติ รักไทย ผมรู้สึกว่าได้รับคาตอบที่น่าพอใจอย่างยิ่งในการตรวจเย่ียมหน่วย ท่านที่รับ การตรวจเยย่ี มจากฝ่ายอานวยการกองพนั บ้าง - ผบ.รอ้ ย.ถ.2 ผมได้รบั การตรวจเยย่ี มจาก ฝอ.4 เทา่ นั้น 10. พ.ต.ชาติ รักไทย และ รองฯ ได้แสดงความขอบใจ ผบ.ร้อย.ถ.2 ทีไ่ ด้ข่าวสารการตรวจเย่ียมท่ีดที ่ีสุด เพ่ือไปดาเนนิ การตรวจเยีย่ ม รอ้ ย.ถ.3 ต่อไป -------------------------------- แบบฝกึ หดั ตอนท่ี 5 1. สถานการณ์ ก. หลังจาก ผบ.พัน.ถ.108 กับคณะเดินทางกลับจากการตรวจเย่ียม ร้อย.ถ.2 เพ่ือทาการตรวจ เยี่ยม ร้อย.ถ.3 ต่อไป ข. สถานการณ์ของ ร้อย.ถ.3 โดยทั่วไปเป็นหน่วยได้รับรถเปลี่ยนทดแทนเป็นรถถังแบบ..……. เรียบร้อยแล้ว สภาพของยานยนต์ประเภทล้อและประเภทสายพานอยู่ในสภาพท่ีสมบูรณ์ ตลอดจน ยุทธภัณฑ์ประจารถ, เอกสาร, อาวุธ, เคร่ืองมือสื่อสาร, เคร่ืองมือสาหรับทาการซ่อมบารุงอยู่ในสภาพ สมบูรณ์ 100 % ค. ผลการตรวจเย่ียมโดยทั่วไปของ ร้อย.ถ.3 ในด้านการฝึกและซ่อมบารุงซึ่ง ผบ.พัน.ถ.108 จะต้องดาเนินการแก้ไขตอ่ ไป และหลงั จากการตรวจเย่ียมแลว้ พ.ต.ชาติ รกั ไทย คิดว่าคงใชห้ ลักของการ บงั คับบัญชา, เจา้ หน้าที่, เวลา, เคร่ืองอะไหล,่ สิง่ อานวยความสะดวกในการซ่อมบารุง, เคร่ืองมือ, เอกสาร การซ่อมบารุง ซ่งึ เป็นปัจจัยกระทบกระเทอื นต่อการซ่อมบารงุ 2. บง่ การ พ.ต.ชาติ รักไทย สั่งให้ รอง ผบ.พัน.ถ.108 ซ่ึงไปตรวจเยี่ยมหน่วย ได้ประสบพบเห็น เหตุการณ์ตา่ งๆ และบันทกึ รายละเอียดไวโ้ ดยเรยี บร้อย ดาเนนิ งานดงั ตอ่ ไปน้ี 1) เสนอรายละเอียดปัจจัยในการพิจารณาปัญหากระทบกระเทือนต่อการซ่อมบารุงของหน่วย ตา่ งๆ ที่ตรวจพบ 2) กาหนดหน้าที่ให้ฝ่ายอานวยการต่างๆ ฝอ.1, ฝอ.2, ฝอ.3, ฝอ.4 และเจ้าหน้าท่ีฝ่ายกิจการ พเิ ศษ 3) นักเรยี นปฏิบัติ โดยสมมุตวิ า่ ทา่ นเป็น รอง ผบ.พนั .108
ห น้ า | 133 แบบฝึกหดั ตอนท่ี 6 เฉลยบง่ การตอนท่ี 5 การทารายละเอียดรายการปัจจัยพิจารณาปัญหาที่กระทบกระเทือนต่อการซ่อมบารุงของหน่วย ต่างๆ ภายใน พนั .ถ.108 เม่ือพจิ ารณาแล้วมหี วั ขอ้ รายละเอยี ดต่อไปนี้ 1. การบงั คบั บญั ชา ก. ผลดี ผู้บังคับบัญชาทุกหน่วยมีความคิดริเริ่มดี รู้จักความรับผิดชอบ ทางานก้าวหน้า เพอ่ื ให้หนว่ ยบรรลุถึงความมุ่งหมายของทางราชการไว้ ข. ผลดี ยังขาดความชานาญและเชยี่ วชาญในเรื่องการแก้ปัญหาในเรือ่ งซอ่ มบารุง โดยนา หลักการตา่ งๆ ในการศกึ ษาไปใช้ไม่ถูกต้องอย่างสมบูรณ์ ถ้าทาการแก้ไขเพ่ิมเติมความรู้ความสามารถให้ดี ยิ่งข้ึนแล้วก็จะทาให้การซ่อมบารุงบรรลุถึงเป้าหมายท่ีวางไว้ได้ อีกอย่างหน่ึง กองพัน ถ.26 ของเรายัง ขาดฝ่ายอานวยการที่เช่ียวชาญท่ีจะวางโครงการซ่อมบารุงให้ดีท่สี ุดเหมาะกับสถานการณ์ของหน่วย จึงไม่ สามารถท่ีจะชว่ ยเหลอื หนว่ ยรองไดต้ ามสมควร ข้อยุติ ควรจะกระตนุ้ ให้ผู้ใตบ้ ังคับบัญชาสานึกในหน้าท่ีของหน่วยยานเกราะว่า การฝึกรบและการซ่อม บารุงจะต้องดาเนินควบคู่กันไป แม้หน่วยรบเก่งมีประสิทธิภาพในการรบ อย่างสูงก็ตาม ถ้ายุทโธปกรณ์ มไิ ดร้ ับการซอ่ มบารุงให้อย่ใู นสภาพสามารถจะทางานได้ ตาม คาขวัญท่ีกล่าวว่า ต้องซ่อมบารุงให้รถสามารถยิงปืนได้ การติดต่อส่ือสารและเคล่ือนท่ีได้ถ้าทา ไม่ไดห้ นว่ ยยานเกราะของเรากไ็ ร้ค่า 2. เวลา ก. จานวนเวลาในการปรนนิบัติบารุง และฝึกการปรนนิบัติบารุงขั้นที่ 2 หน่วยมีเวลาใน การ ฝึกและปรนนิบัติบารุงข้ันท่ี 1 โดยกาหนดการปรนนิบัติบารุงไว้ในเวลาเช้าวันละ 1 ชม. แต่การ ดาเนินงานดาเนินไปไม่มีประสทิ ธิภาพนัก โดยสภาพจากการตรวจยังมรี ถสายพานหย่อนแป้นเกลียวหลวม และสกปรกอยู่บ้าง แต่ข้อเรียกร้องของ ผบ.หน่วย บางหน่วยว่าไม่พอในการปรนนิบัติบารุงขอเพ่ิมเวลา เข้าใจว่าใช้เวลาในการปรนนิบัติบารุงและการฝึกปรนนิบัติบารุงไมถ่ ูกตอ้ งนัก ตลอดจนงานกากับดูแลด้วย งานจึงไม่บรรลอุ ยา่ งเต็มท่ี ข. ไม่มีเวลาการฝึกปัญหาการซ่อมบารุงหรือปรนนิบัติบารุงเข้าในการฝึก การฝึกของ หน่วยโดยทวั่ ไปม่งุ ฝกึ เฉพาะงาน ซง่ึ ได้รับมอบหมายใหฝ้ กึ เร่อื งหน่ึงโดยเฉพาะผูอ้ านวยการฝึกมไิ ด้เหลยี วแล เรอ่ื งของการปรนนบิ ัตบิ ารุง ซ่ึงการฝกึ ตามตารางฝึก เราอาจฝึกการปรนนบิ ัตบิ ารุงบรกิ ารรวมเข้าไปได้โดย การสนธิ หรอื ฝึกร่วม ในเรื่องของการซ่อมบารงุ และการปรนนิบัติบารุงยานพาหนะท่ที าการฝึก และไดร้ ับ การปรนนิบัติบารุงตลอดเวลา ซึ่งจะเป็นผลให้มีอายุรับราชการยาวนาน ถึงแม้จะชารุดย่อมเป็นไปตาม สภาพของรถน้ัน ค. การฝึกปรนนิบตั ิบารุงบรกิ ารข้นั ที่ 2 หนว่ ยทุกหนว่ ยขาดการฝกึ ชนดิ น้ี ซึ่งการฝึกน้ีใน
ห น้ า | 134 ระดับหนว่ ยเลก็ การฝึกงานตามหน้าท่ีเปน็ ส่ิงสาคัญยิ่ง การดาเนนิ งานควรจะกาหนดการฝึกสอนเป็นตาราง ฝกึ ประจาให้แก่เจ้าหน้าท่ีตาม ชกท.เพราะนอกจากจะเป็นการเพ่ิมพูนความรแู้ ละวทิ ยาการให้แก้เจา้ หนา้ ที่ ซอ่ มบารุงตาม ชกท.อกี ด้วย ข้อเท็จจริงอีกอย่างหนึ่ง การจบการศึกษามาจากโรงเรียนตามสายวทิ ยาการที่ เปิด ถา้ มิไดม้ าฝกึ หาความชานาญเพ่ิมเติมแลว้ ก็ไม่สามารถจะปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ เนื่องจาก การศกึ ษาในโรงเรยี นน้ันมเี วลาจากดั และหลกั สตู รกวา้ งขวางมากมาย ข้อยตุ ิ ก. การฝึกการปรนนิบัติบารุงข้ันท่ี 1 มีเวลาเหมาะอยู่แล้ว แต่เพ็งเล็งให้หน่วยมีการกากับดูแล อย่างใกล้ชิด (กระทาโดยช่างยานยนต์ประจาหน่วย) ถ้าเกิดข้อบกพรอ่ ง การปรนนิบัติบารงุ เป็นส่วนรวมก็ ดาเนินการฝึกสอนประกอบการแสดงให้พลประจารถปฏิบัติให้ถูก เพราะผู้เชี่ยวชาญทางนี้ของหน่วยทุก หน่วยมีอยู่แล้วคือนายทหารยานยนต์ และเจ้าหนา้ ทช่ี ่างยานยนต์นัน้ การอานวยการควรจะเป็น รอบ ผบ. ร้อย. ข. ให้มีการฝึกปรนนบิ ตั ิบารงุ ขนั้ ที่ 1 และ 2 ร่วมกับการฝกึ ปกติ ใช้วิธีการฝึกโดยสนธิ หรอื ฝึกรว่ ม ค. หนว่ ยขณะนี้อาจไม่สามารถทาการฝึกตามหน้าที่ และการซ่อมบารุงได้ เพราะหน่วยขาดชา่ งผู้ ชานาญ กองพันภายใต้การอานวยการของนายทหารซ่อมบารุง ทาการฝกึ งานตามหน้าทใ่ี ห้หนว่ ยกองร้อย จว.เพชรบูรณ์ เน่ืองจากมีหน่วยลูกมือสูงกว่า กระทาในระยะเวลาส้ันๆ จนเกิดความชานาญส่งให้หน่วย ต่อไป ซ่งึ เปน็ ส่ิงสาคัญมาก เพราะหน่วยขาดเจา้ หนา้ ทตี่ าม ชกท.มากทุกหน่วย ถา้ ปล่อยไว้การซ่อมบารุง จะต่าลงตลอดเวลาเพราะช่างขาดสมรรถภาพ นอกจากน้ีจะต้องเร่งรัดหรือ ขอความร่วมมือจากหน่วย สนับสนุนโดยตรงฝึกอบรมให้ ก็เป็นวธิ ีทางหน่ึงทที่ าได้ ทางฝา่ ยอานวยการจัดขอเพ่ิมโควตา้ ตามสายบรกิ าร ให้อกี ทางหนึง่ 3. เจ้าหน้าที่ ก. การบรรจุ เจ้าหน้าท่ีซ่อมบารุงตาม ชกท. ดูจากอัตราการบรรจุ และผลการตรวจแล้ว ช่างยานยนต์ประจาหน่วยมีอตั ราการบรรจุอย่างสูง 80 % 30 % ฝึกงานโดยวธิ ีสอนจากผู้ชานาญงานโดย ใหท้ างานเลย 25 % ยังมไิ ด้ฝึกงานตามหน้าท่ีและอีก 25 % เปน็ หลกั ในการดาเนนิ งานของหนว่ ยแสดงว่า ช่างช่อมบารุงประจาหนว่ ยมปี ระสทิ ธภิ าพต่ามาก และผู้ชานาญก็ทางานหนกั มาก เชน่ เดียวกนั เป็นปญั หา ทีต่ อ้ งแก้อย่างรบี ดว่ นทสี่ ดุ มิฉะนน้ั ยอดอตั รารถเสียจะเพ่ิมข้ึนอย่างรวดเร็ว ขณะนก้ี ารฝึกของหน่วยยังนอ้ ย อยถู่ ้าใชย้ านพาหนะ ในการฝกึ และใช้งานเพ่ิมขนึ้ เปน็ ทีน่ ่าวติ กมาก ข. การฝึก การฝึกงานตามหน้าท่ี หน่วยมิได้ทา นอกจากทางานคู่กับช่างและงานก็ ดาเนินล่าช้า และผดิ พลาดมาก ค. จานวนช่างท่ีอาจหาเพ่ิมมาได้ ส่งบุคคลซึ่งจะให้ทาหน้าที่ซ่อมบารุงประจาหน่วยเข้า ดาเนิน
ห น้ า | 135 1) การฝึกสอนที่หน่วย พัน.ถ.108 โดยการฝึกงานตามหน้าท่ี ภายใต้การควบคุม ของนายทหารซ่อมบารุงของกองพนั 2) ขอโควต้าทน่ี ง่ั ในสายวิทยาการเพ่มิ มากข้นึ พร้อมดว้ ยเหตผุ ล 3) การร่วมมอื กบั หน่วยสนับสนนุ โดยตรงเปดิ โรงเรียนประจาหนว่ ยขนึ้ 4) สง่ ชุดเคล่ือนท่ีเข้าช่วยทาการฝึกสอนตามหน่วยต่างๆ ทกุ สาขางาน โดยเลือก เจา้ หน้าท่ชี านาญจากกองรอ้ ย และขอความรว่ มมอื จากหน่วยสนบั สนุนโดยตรง ข้อยตุ ิ ก. เร่งรดั ให้หนว่ ยต่างๆ บรรจเุ จ้าหนา้ ทตี่ าม ชกท.ใหเ้ ตม็ อัตรา ข. เร่งรัดการฝึกสอนโดยการปฏิบัตติ าม ข้อ ค. 4. เครือ่ งอะไหล่ เครื่องอะไหลต่ ามอัตรา จาก 20 P ทุกหน่วยไม่ประสบความยงุ่ ยากนัก ก. จานวน ทกุ หน่วยมอี ัตรา 100 % และเบกิ รับไปแลว้ ข. การเก็บระวังรักษา ดาเนินการโดยถูกต้อง กล่าวคือ มชี ้ันเกบ็ บัตรคมุ ของ รวมทง้ั การ ตัดยอด นอกจากการทางานและดาเนินงานของเจ้าหน้าที่เท่าน้ันท่ีเผลอไปบ้าง โดยไม่ได้ตัดยอดบ้าง รอ การเบิกเปล่ยี นบา้ ง ค. ระบบ การปฏบิ ัตงิ านของเจา้ หน้าทีช่ ้ินสว่ น ดาเนนิ การไมถ่ ูกต้อง ซ่งึ สามารถสรปุ ไดค้ อื 1) ไม่มีเอกสารการจ่ายเครื่องอะไหล่ตามอัตราภายในหน่วย (ปกติ ผบ.หน่วย ต้องอนุมัตจิ า่ ย) 2) การเบิกทดแทนล่าชา้ 3) สร้างระบบโดยตนเองเพ่ือความรวดเร็วในการปฏิบัติงาน ซึ่งก่อให้เกิดความ ยุ่งยากทห่ี ลงั เพราะไม่รัดกมุ อาจเกดิ การทจุ รติ ได้ 4) แบ่งงานของเจ้าหน้าท่ีส่งกาลังมาทา ทาให้งานการแจกจ่ายเครื่องอะไหล่ ภายในหน่วยของคนบกพร่อง ขอ้ ยุติ ก. เพอื่ การกากับดูแลในการรกั ษา การตัดยอด การควบคมุ ให้มากย่งิ ขน้ึ ข. จดั ระบบใหม่ โดยสง่ เจ้าหน้าทผ่ี ู้เชีย่ วชาญไปแนะนา หรือขอร้องให้หมวดซอ่ มยานยนต์ของหนว่ ย ซอ่ มแนะนาให้ในเร่อื งสาคัญคอื 1) การดาเนนิ งานเบกิ เปลีย่ น และแจกจา่ ยภายในหนว่ ย 2) การบนั ทึกประวัติและคาอนุมตั ิการใชเ้ ครือ่ งอะไหล่ 3) ความสัมพันธ์เกี่ยวข้องระหว่างเจ้าหน้าท่ีช่างเครื่องยนต์และนายสิบชิ้นส่วน (การใช้เอกสาร และหลกั ฐาน)
ห น้ า | 136 5. เครอ่ื งมอื และยทุ โธปกรณ์ ก. จานวน ทุกหน่วยได้รับเคร่ืองมือเต็มอัตรา 100 % สมรรถภาพของเคร่ืองคิดแล้ว 90 %เพราะเนื่องจากชารุดและหล่นหายบ้าง และกาลังดาเนินการเบิกเปลี่ยนทดแทนอยู่ ทาบัญชีคุมโดย เรยี บรอ้ ย ข. การระวงั รักษา ทุกหน่วยจัดระบบการระวงั รกั ษาอยใู่ นเกณฑ์เรียบรอ้ ยโดยจัดหอ้ ง เคร่ืองมือและกาหนดความรับผิดชอบ มีบางหน่วยเจ้าหน้าที่ละเลย และใช้ผู้ซ่ึงไม่มีความสามารถควบคุม โดยแน่นอน ค. การใช้และการควบคุม บางหน่วยมีการใช้และระบบการควบคุมดีมาก บางหน่วยก็ ละเลยในสง่ิ เหลา่ น้ี ปัญหาน้ีเปน็ สิง่ สาคัญมากถ้าปล่อยไว้เคร่อื งมือก็จะหายไปโดยไม่มผี ู้รบั ผิดชอบ ซึ่งจะ เป็นผลใหไ้ ม่สามารถปฏบิ ัติงานการซ่อมบารงุ ได้ ขอ้ ยตุ ิ ก. เร่งรัดเครอ่ื งมอื เบิกเปลยี่ น เนอื่ งจากการชารุดและขจดั เคร่ืองทีช่ ารุดซึ่งอยู่ในคลงั ออก ออกใหห้ มด ทาการจัดหาเครอื่ งมอื ทท่ี ดแทนเครอ่ื งมอื ท่หี ายไป ข. กากบั ดแู ลให้เจา้ หน้าท่ที ่มี ปี ระสทิ ธิภาพในการควบคุมเครอ่ื งมอื ค. ร่างระเบียบวิธีควบคุมระบบการใช้เคร่ืองมือให้เหมือนกับทุกหน่วย และให้ ผบ.หน่วย กากับ ดูแลการปฏบิ ัติให้มปี ระสิทธภิ าพ 6. เอกสารสาหรบั ซอ่ มบารงุ -สง่ กาลังบารงุ ก. จานวนเอกสาร สาหรับหน่วยใหม่ ถ.1 และ ถ.3 มีเอกสารประจายานพาหนะสมบูรณ์ เอกสารประจา ถ.แบบ........ หาได้ยาก นอกจากชารุดสูญหาย เอกสารซ่อมบารุง บางหน่วยกาลังเบิกอยู่ ส่วนมากขาดแคลน ข. ความต้องการเอกสาร ทุกหน่วยไม่เห็นความสาคัญ โดยเฉพาะเอกสารประจา ยานพาหนะ แตเ่ อกสารสง่ กาลังมีบ้างพอที่หนว่ ยจะดาเนนิ งานการสง่ กาลังได้ ค. การใช้ เจ้าหน้าทท่ี ุกสาขาไม่สนใจในการใช้เอกสารในทางซ่อมบารุงเลย อาจจะเป็น เพราะความยุ่งยากในการศึกษา ข้อยุติ ก. เร่งรัดทุกหน่วยให้มีเอกสารให้ครบ เพราะเอกสารทางเทคนิคได้บรรจุแนวทางปฏิบัติใน การ ซ่อมบารุง, การฝึก ไว้อย่างครบสมบูรณ์โดยจัดแบ่งเป็นภาค ๆ คือ ภาคท่ี 1 เร่ือง การปฏิบัติของพล ประจารถ, ภาคท่ี 2 ของช่างซ่อมบารุงประจาหน่วย เพราะไม่มีใครจะทาได้หมดทุกขั้นตอนในการใช้ ยานพาหนะ และการซอ่ มบารงุ ต้องใช้เอกสารทง้ั สน้ิ ข. สง่ หนงั สอื เวยี นใหห้ นว่ ยสง่ ความต้องการและใบเบิกทจ่ี าเป็น ดาเนินงานเรือ่ งเอกสารอย่างเร่งรีบ ค. การซ่อมบารุง การใช้งานให้เจ้าหน้าที่รู้จักการใช้เอกสารควบคู่กันไปโดยหน่วยจัดเจ้าหน้าที่ และแนะนาการใช้เอกสารได้ทุกสายงานเขา้ ใจ และเห็นความสาคัญของเอกสาร
ห น้ า | 137 ง. หาทางติดต่อสายวทิ ยาการเก่ยี วกบั เอกสาร ซ่ึงเป็นภาษาไทยนามาใหห้ น่วยใช้ เพอ่ื เปน็ การชว่ ย พลประจารถอีกทางหนง่ึ ดว้ ย 7. สิ่งอานวยความสะดวก ก. ความตอ้ งการ อาคารโรงเรือนพอใช้ แม้จะชารุดทรุดโทรมอยู่บ้าง ส่ิงอานวยความ สะดวกตามอัตรายงั ขาดแคลนอยู่บา้ ง อาทเิ ชน่ โตะ๊ ทางาน นา้ ยากนั แขง็ และหน่วยได้สรา้ งส่ิงอานวยความ สะดวกเพิ่มข้นึ หลายอย่าง ข. การใช้ ทุกหน่วยใช้ส่ิงอานวยความสะดวกในการซ่อมบารุงมากที่สุด เพ่ือให้การซ่อม บารุงบังเกิดผล แต่ขาดการทานุบารงุ ส่งิ ต่าง ๆ เท่าที่ควร จาเปน็ ที่จะต้องวางระเบียบ และปรบั ปรุงไมใ่ ห้ ปลอ่ ยปละละเลยจนดไู ม่งาม ขอ้ ยตุ ิ ก. ชว่ ยเรง่ รัดสงิ่ อานวยความสะดวกตามอตั ราซ่ึงจ่ายค้างอยู่ ข. กาซับให้หน่วยกากบั ดูแลกวดขันในการใช้ส่ิงอานวยความสะดวกตา่ งๆ ตลอดจนการทานบุ ารุง สิ่งอานวยความสะดวกเหล่านั้น กาหนดหน้าท่ีความรับผิดชอบให้ฝ่ายอานวยการ กาหนดโดยใช้ตาราง ดังตอ่ ไปน้ี คอื ปัจจัย การปฏบิ ัตขิ องเจา้ หนา้ ท่ี ตรวจ ผู้รับมอบหมาย การบังคับบญั ชา วางแผนส่งคาสั่ง ตาม ตรวจการดาเนินงามตาม หน้ าท่ี ตาม สายงาน ที่ เจ้าหนา้ ทีซ่ อ่ มบารุง คาสั่งของผบู้ ังคับบญั ชา คาส่งั ผบู้ ังคบั บญั ชา ไดร้ บั มอบหมาย การจดั หาเจา้ หนา้ ที่ การ วางแผน ฝอ.1 บรรจุ (ตาม ชกท.) ตรวจ ฝอ.1 การฝึก วางแผน นายทหารซ่อมบารุง ประสาน สบ.ฝอ.4 เวลาสาหรับการซอ่ มบารงุ จานวน วางแผน ฝอ.3 วางแผน ฝอ.4 เครอื่ งอะไหล่ จานวน ตรวจ ฝอ.4 ตรวจ ฝอ.4 การระวังรกั ษา วางแผน น ายท ห ารซ่ อม บ ารุง ตรวจ ประสาน ฝอ.4 การใช้ ตรวจ ”” วางแผน น ายท ห ารซ่ อม บ ารุง เครอ่ื งมือ และ จานวน ตรวจ ประสาน ฝอ.4 ตรวจ ”” ยทุ โธปกรณ์ การระวงั รกั ษา วางแผน ฝอ.4 ตรวจ ฝอ.4 การใช้ เอกสารการซอ่ มบารุง จานวน ความตอ้ งการ การใช้ สิ่งอานวยความสะดวก ความต้องการ การใช้
ห น้ า | 138 รายละเอียดการรับมอบความผดิ ชอบ และหนา้ ท่ีให้แกฝ่ ่ายอานวยการในการซ่อมบารงุ มดี ังนี้ ในฐานะที่ รอง ผบ.พนั .ทาหน้าท่ีฝา่ ยอานวยการพจิ ารณากาหนดความรบั ผิดชอบหลกั ให้นายทหาร ฝา่ ยอานวยการ โดยพิจารณาถงึ ปัจจยั ซึ่งเป็นผลสะท้อนเก่ียวกับการซ่อมบารุงของหนว่ ยมีรายละเอยี ดดงั ตอ่ ไปน้ี 1. การบังคับบัญชาความรับชอบของฝ่ายอานวยการ ก็คือ ทาการตรวจเสนอแนะช่วย ผู้บังคับบัญชากาหนดความรับผิดชอบหลักให้แก่ฝ่ายอานวยการ, ฝ่ายกิจการพิเศษ (ซ่ึงปกครองหน่วย สนับสนนุ ด้วย) ตลอดจนวางแผน เตรยี มคาสัง่ สง่ คาส่ัง กากบั ดแู ลให้เปน็ ไปตามคาส่งั ของผู้บงั คบั บัญชา 2. เจ้าหน้าที่ซ่อมบารุง ฝอ.1 วางแผนอย่างละเอียดในเร่ืองความต้องการและความสูญเสีย เจ้าหน้าที่ตาม ชกท.ของหน่วย รับผิดชอบเก่ียวกับฐานะการคาดคะเนสถานภาพของเจ้าหน้าท่ีตาม ชก ท.นายทหารซ่อมบารุงวางแผนการฝกึ ทาการชดเชยเจ้าหน้าท่ไี วล้ า่ งหน้า ทคี่ าดว่าจะต้องสญู เสีย เจ้าหนา้ ที่ ซึ่งมี ชกท., ฝอ.3 จัดหาโควต้าซึ่งจะต้องส่งเข้าศึกษาในโรงเรียนประจาหน่วยซึ่งหน่วยระดับกองพลเปิด และโรงเรียนตามสายวิทยาการของหน่วยท่ีจะทาการเปิด โดยประสานการปฏิบัติกับนายทหารซอ่ มบารุง และ ฝอ.4 อย่างใกลช้ ดิ 3. เวลาในการซอ่ มบารงุ ฝอ.3 จัดตารางการปฏิบัติงาน และการฝึกเก่ียวกับการซอ่ มบารุง การ ปรนนิบัติบารุง และการฝึกการปรนนิบัติบารุง การฝึกส่งกาลังบารุง จานวนเวลาท่ีต้องการขึ้นอยู่กับ ชิ้นส่วนของยุทโธปกรณ์ สภาวะลมฟ้าอากาศ และภูมิประเทศ ฝอ.4 นายทหารซ่อมบารุงและนายทหาร กจิ การพิเศษ (สส.) ดารงการตดิ ต่อให้ทราบอย่างตอ่ เนอ่ื งตลอดเวลาในเร่ืองความต้องการเวลาในการซ่อม บารงุ การปรนนิบตั ิบารุงยุทโธปกรณต์ อ่ ฝอ.3 4. เครื่องอะไหล่ ฝอ.4 เจ้าหน้าท่ีกิจการพิเศษ (นายทหารส่ือสาร) พิจารณาความต้องการเครื่อง อะไหล่ของกองพันให้อยู่ในสภาวะสมดุลย์ตามอัตรา โดยดาเนินงานพิจารณาและวางแผน ฝอ.4 จัดหา คาแนะนาช่วยผู้บังคับบัญชา ความมุ่งหมายของหน่วยต้องมีเครื่องอะไหล่ครบตามอัตราเสมอ ตรวจตรา การใช้และคาดคะเนสภาพ และต้องม่ันใจว่ามีเวลาสาหรับดาเนินการซ่อมบารุงอย่างต่อเน่ือง การเก็บ ระบบการใช้ถูกต้องและการส่งกาลงั บารุงตอ้ งประหยดั 5. เครื่องมือและยุทโธปกรณ์ การจัดหาเครื่องมือและยุทโธปกรณ์ ฝอ.4 ดาเนินงานอย่างมี ประสิทธิภาพแจกจ่ายให้หนว่ ย นายทหารซ่อมบารงุ พิจารณาวางแผนเก่ียวกบั การควบคุม ระวังรกั ษาและ ใช้เคร่ืองมืออย่างถูกต้อง ซ่ึงทารายการตรวจโดยย่อๆ เพื่อรักษาเคร่ืองมือให้ดารงอยู่ครบตามจานวน และใช้งานอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 6. เอกสารการซอ่ มบารงุ นายทหารซอ่ มบารุงกบั ฝอ.4 เสนอแนะให้ ฝอ.1 ทาการแจกจา่ ยเอกสาร ทางเทคนิค และสง่ กาลังขั้นตน้ และแจกจ่ายเพิ่มเตมิ ให้แก่หน่วย ทั้งน้ีรากฐานขึ้นอยูก่ ับความต้องการของ หน่วย สว่ นความต้องการและการใช้เป็นหนา้ ที่ของนายทหารซ่อมบารุง และ ฝอ.4 วางแผนจัดดาเนินงาน ให้หนว่ ยใช้เอกสารซง่ึ เปน็ ประโยชนม์ ากท่สี ดุ 7. สิ่งอานวยความสะดวก ฝอ.4 และนายทหารฝ่ายกิจการพิเศษ ที่เก่ียวข้องวางแผนจัดหาสนอง ความตอ้ งการ ตลอดจนสอดส่องดูแลเกี่ยวกับสิ่งอานวยความสะดวก ตรวจตราส่ิงของที่จะได้รบั ตามอัตรา
ห น้ า | 139 และสิ่งอานวยความสะดวกต่างๆ ในโรงทหาร โดยเพ่งเลง็ ส่ิงอานวยความสะดวกในการทางานและปอ้ งกัน ลมฟ้าอากาศ ควรจดั หาสนองความต้องการของหน่วยให้มากสุด ในสนามส่ิงอานวยความสะดวกที่จดั หา ให้ ต้องระลกึ ถึงความสะดวกและความคลอ่ งตัว และเคลือ่ นทสี่ งิ่ สาคัญที่สุด --------------------------------- แบบฝกึ หดั ตอนที่ 7 การบงั คบั บญั ชาและอานวยการจัดดาเนนิ งานการปรนนบิ ัติบารงุ ตอนสรุป 1. วันรุ่งขึ้น หลังจากกลับจากการตรวจเยี่ยม ร้อย.ถ.3 แล้ว รอง ผบ.พัน.ถ.108 เสนอสรุปการ รายงานรายละเอยี ดปัจจัยในการพจิ ารณาปญั หา ที่กระทบกระเทือนต่อการซอ่ มบารุงและพิจารณากาหนด หน้าที่ให้กับฝ่ายอานวยการ ให้ ผบ.พัน.ถ.108 ทราบ เม่ือ ผบ.พัน.ถ.108 ได้พิจารณารายละเอียดแล้วเห็น วา่ รายงานน้เี ป็นประโยชนอ์ ย่างมาก เรอ่ื งประชุมฝา่ ยอานวยการและดาเนินการดังน้ี 1.1 แจ้งรายละเอียดปจั จยั ซ่ึงเป็นผลกระทบกระเทือนตอ่ การซ่อมบารุง ใหฝ้ า่ ยอานวยการทราบ 1.2 กาหนดหนา้ ทใ่ี นการซ่อมบารุงให้แกฝ่ า่ ยอานวยการตา่ ง ๆ 1.3 ประชุมช้ีแจงถึงวิธีการขจัดอุปสรรคการซ่อมบารุง โดยแบ่งงานให้ฝ่ายอานวยการวางแผน และดาเนนิ งานเป็นขน้ั ๆ เรง่ รัดกากบั ดูแลโดยใกล้ชิดให้การดาเนินงานไปส่เู ปา้ หมาย 1.4 ให้ รอง ผบ.พัน.ถ.108 ในฐานะหัวหน้าฝ่ายอานวยการวางแผนร่าง รปจ.การซ่อมบารุงใหม่ สาหรบั พนั .ถ.108 โดยเร็วทส่ี ดุ 1.5 ส่ังให้เจ้าหน้าที่เก่ียวข้องเปลี่ยนแปลงวิธีการบางอย่างให้แก่หน่วย เพื่อให้การซ่อมบารุง เปน็ ไปอยา่ งถกู ต้อง 1.6 กาชับใหม้ กี ารกากบั ดแู ลให้ดาเนินงานไปสู่เปา้ หมายอย่างมีประสทิ ธิภาพ 2. การดาเนินการแกป้ ัญหาท่ีกล่าวมานี้ มิได้กลา่ วเฉพาะถึงหน่วยหนงึ่ หน่วยใดในประเทศไทยว่าเป็นอย่าง ปัญหาน้ี ช่ือนามหน่วยกาหนดขึ้นเองทั้งสิน้ แตเ่ ป็นบทเรยี น แยกแยะรายละเอียด วิธีการจัด งานซ่อมบารุง ของผู้บังคับบัญชาและฝ่ายอานวยการ ให้ยกระดับการซ่อมบารุงให้ดีขึ้นว่าเป็นวิธีการหาข่าว และ ประมาณสถานการณ์ของผู้บังคับบัญชา และฝ่ายอานวยการจะทาอย่างไร จึงจะสามารถทาการยกระดับ การซอ่ มบารุงของหน่วยใหด้ ขี น้ึ เท่านนั้ ------------------------------
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144