๕๑ ตัว เช่น การหันโดยขาหน้าเป็นหลักม้าจะทาได้ดีโดยใช้บังเหียนท่ี ๒ และใช้น่องบังคับให้ม้าปัดส่วนหลังมือไป เร็วขึ้น มา้ ก็หนั โดยขาหน้าหมนุ เป็นวงกลมอยู่กับท่ี หน้าท่ีของบังเหยี น ๑. บงั คบั (กระทาการ) คือ ให้ทาตามความประสงค์ ๒. ต้านทาน (กัน) คือ มใิ ห้ม้าไปทางตรงข้ามนง่ิ ไวเ้ ฉย ๆ ๓. อนุโลมตาม หรือผอ่ นตาม คือ ขา้ งหนงึ่ ทางานขา้ งหนงึ่ ทาตาม หรอื จะใช้ข้างใดข้างหน่ึง การถือบังเหียนปากออ่ นสายเดยี ว - สองมือ ผา่ นใตน้ ้วิ ก้อยข้ึนมาระหวา่ งน้ิวชี้กับน้ิวหวั แม่มอื ทเ่ี หลือปล่อยให้ตกไปทางคอมา้ ดา้ นขวา - มอื เดยี ว ถอื ด้วยมอื ซ้าย สายบังเหียนผ่านใต้นว้ิ ก้อย ผ่านอุ้งมือ สายขวาผา่ นใต้น้วิ นาง ข้ึนมาเช่นเดยี วกนั ปลายสายบังเหยี นปลอ่ ยใหต้ กลงไปข้างคอมา้ ดา้ นขวา การถือบงั เหียนปากอ่อน สองมอื สายซา้ ยปากอ่อนผ่านใต้นิว้ ขึ้นมาระหวา่ งนวิ้ ช้ีกบั น้วิ หัวแมม่ อื สายปากแข็งอยู่ระหวา่ ง นิว้ กอ้ ยกบั นิ้วนาง (เยอรมันใช้ผา่ นระหว่างน้วิ กลางกบั น้ิวนาง) - มือเดียว ปากออ่ นซ้ายผา่ นใต้นว้ิ ก้อยเขา้ อุ้งมือ ปาดแข็งเขา้ น้วิ กอ้ ยกบั น้วิ นาง ปากแข็งขวาเขา้ นิ้วกลางกับนว้ิ นาง ปากออ่ นขวาเข้านิ้วกลางกบั นวิ้ ชี้ ทุก ๆ สายมาออกทนี่ ิว้ ช้กี บั นิ้วหวั แม่มือปลายสายบงั เหยี น ปล่อยให้ตกไปทางด้านคอม้าทางขวา มือนิ่ง คาว่ามือนิ่งหมายความว่า เราจับไว้ให้คงท่ีท่ีเคยจับ แต่ว่ายอมผ่อนให้ม้าได้ตามความ ประสงค์ โดยอาจรูดเข้าออกหรือดึงเข้ามาก็ได้ เช่น ม้าบางทีอาจหันศรีษะไปทางขวาหรือทางซ้ายก็ได้ ถ้าม้า หนั ไปทางขวาเรากผ็ ่อนตามยนื่ มือให้ มอื เราคงจับบังเหยี นไวท้ ี่เดิมแต่เรายดื แขนให้ มือต่า ตามธรรมดาในเวลามา้ เดนิ ว่งิ เรียบ มา้ จะต้องยกคอข้ึน - ลง เป็นจังหวะเพ่ือช่วยในการเดิน สมมตวิ ่าเราใชจ้ ดุ ก. เป็นจดุ ศูนยก์ ลางสาหรับหวั ม้าจะไดก้ ระดกขึ้น ๆ ลง ๆ ตามจงั หวะเดนิ อย่างนี้เรียกว่ามือน่ิง ที่น้ีการจับบังเหียนถ้าเรายกจุด ก ให้สูงข้ึนไป เส้นท้ังสองจะไม่เท่ากันฉะน้ันถ้าเราลดเส้น ก. ลงมา้ เปน็ เส้นตรงจะทาใหเ้ สน้ ทัง้ สองเทา่ กนั เสอม เมื่อเท่ากันแล้วสายบังเหียนก็จะเท่ากันเวลาเดิน วิ่งเรียบ ก็ไม่ต้องร่นสายบังเหียนเข้าออก แต่อย่างไรก็ดีให้ต่าไว้เส้นรัศมีหรือเส้นสายบังเหียนจะยาวกว่ากันเล็กน้อยถ้าจุด ก. สงู สายบงั เหียนหรือเส้นท้ังสองยาวกวา่ กนั มาก การดึงม้า ให้ดึงจากล่างขึ้นบน การดึงม้าไปข้างหลังน้ันก็อาจให้ม้าหยุดได้เหมือนกัน เพราะเป็นการ เกบ็ คอเขา้ มาทาให้ม้าดงึ กลา้ มเน้ือท่ีไหล่ไว้ ม้าจะหยุดหรอื เบา การดึงม้าอาจเก็บคอได้สองลักษณะคือดึงเข้ามาคอ โค้งกับดึงเข้ามาคอไม่โค้งหน้าแหงน ม้าที่หยุดเป็นเพราะบางทีบังเหียนที่ทาให้หยุดได้ การดึงลงข้างล่างทาให้ม้า หยดุ ได้ เพราะบงั เหียนปากออ่ นจะรวมกันเปน็ มุมแหลม(ตรงมมุ ต่อ) กดปากม้าทาให้มา้ เจ็บถ้ามีปากแข็ง ๆ จะกด เหงอื กหรือฟนั มา้ ม้าก็หยุดได้เพราะความเจ็บ การดงึ ลงข้างล่างแลว้ ข้ึนข้างบน ทาให้กระดูกคอของม้าโค้งขึ้นข้างบนเหมือนกับดึงกระบี่ท่ีอ่อน ๆข้ึน ดันลงข้างล่างแล้วดึงขึ้นข้างบนจะทาให้กระบี่โค้ง ดังนั้นการดึงม้าในลักษณะน้ีก็จะเหมือนกับกระบี่เหมือนกัน การดึงแบบน้ีได้ประโยชน์ เพื่อบังเหียนเข้ามุมปากของม้าไม่มีการทาให้ม้าเจ็บ ทาให้กระดูกคอโค้งขึ้นได้ทางาน สัมพนั ธ์กบั กล้ามเนอ้ื ไหล่ เป็นการช่วยเหลือไหล่ม้าไม่ให้เจ็บเป็นการถนอมเอวด้วยในเวลาม้าหยุดเพ่ือให้ม้าเก็บ ท้ายเขา้ มา
๕๒ วิธีดงึ มา้ อาจสังเกตได้วา่ บังเหยี นพอดีหรือไม่ ม้าไมแ่ สดงอาการกระชากบงั เหยี น ๑. ดึงบงั เหยี นจากลา่ งข้นึ บน - เพราะต้องการให้มา้ เก็งคอได้ดี - กลา้ มเน้ือทไ่ี หลม่ ้าไมเ่ ป็นอนั ตราย - กระดกู คอของมา้ โคง้ เป็นส่วนสมั พันธ์กับศีรษะ ๒. ดึงตรง จะทาให้ - กระดกู คอของม้าแอ่น(เป็นวิธที ี่ผดิ ) - หน้าม้าจะเชดิ ข้นึ ๓. ดึงลงล่าง - ม้าจะได้รบั ความเจบ็ ท่ีปากอยา่ งเหลือทน วธิ พี สิ จู น์ ใหป้ ระโยชน์ ๔. ดงึ ตรงคอจะงอลงลา่ ง - ขยบั บังเหยี นเขา้ ที่เป็นการสะดวกแก่การบงั คบั ๕. ดึงจากลา่ งขึ้นบนปลายคางตา่ กลางสูง - เกบ็ น้าหนกั คอไปทางหลงั ม้าเบา ๆ คลอ่ ง แคลว่ ใน การเล้ยี ว เวลาหันไม่ทาใหม้ ้าเจ็บ วธิ ดี งึ แบง่ ออกเปน็ ๖ วธิ ี ๑. ดงึ ดว้ ยน้ิวมอื โดยยกน้วิ กอ้ ยลงแล้วกดไปข้างหน้า ๒. ดงึ ด้วยขอ้ มือ พรอ้ มกับยกมือขน้ึ ๓. ดึงดว้ ยแขน ยกมือท้ังสองแลว้ ดึงไปขา้ งหนา้ ๔. ดึงด้วยแขนและน้าหนกั ตัว คือ เมื่อดึงด้วยแขนทัง้ สองแลว้ ยงั ไมห่ ยุดใหห้ งายตัวไปข้างหลัง แล้วดงึ ๕. ดึงด้อยการเรอื่ ยปากมา้ ใช้มือดงึ ขา้ งละทอี ย่างน้เี รื่อยไปจนกวา่ ม้าจะหยดุ ๖. ดึงดว้ ยบงั เหียนขา้ งเดียว คือ ใช้มอื ขา้ งใดขา้ งหน่งึ ดึงบงั เหยี นเพ่ือใหม้ า้ เลยี้ วแล้วค่อย ๆ หยุดเอง นา้ หนักตัว น้าหนักของผ้ขู ี่และนา้ หนักของม้าเม่ือรวมกันแลว้ ส่วนท่ีจะรบั น้าหนกั น้ัน รบั นา้ หนัก ๒ ใน ๓ น้าหนกั ตวั น้าหนักตวั เป็นเคร่ืองมือธรรมชาติสาหรบั บังคบั ม้า ผทู้ ี่มีความรู้ในการใชน้ ้าหนกั บังคับมา้ ต้อง ทาให้ม้าเสยี ศูนย์ความหนกั เช่น ม้าเดินการท่จี ะเดนต้องอาศัยคอเป็นเคร่ืองช่วยย่ืนไปข้างหน้าการที่คอยื่นไป ขา้ งหนา้ นนั้ ศูนย์ความหนกั ของม้าถว่ งไปข้างหนา้ ทาให้เดนได้ ในเวลาคนขีก่ ท็ าให้ม้าเสียศนู ยค์ วามหนักโดยก้มตัว ไปขา้ งหนา้ เล็กนอ้ ย นา้ หนกั ตัวไปข้างหนา้ ความสาคญั ของนา้ หนกั ตวั ผทู้ รี่ กู้ ารใชน้ ้าหนกั ตัวดแี ล้ว ทาให้ม้าทรงตัวดี ทาอาการต่างๆเลีย้ ว หนั ได้คล่องแคล่ว อย่างนีเ้ รียกว่าม้าถ่ายน้าหนักตวั ถา้ ไมร่ ้จู ักการใช้น้าหนักตวั ม้าจะทรงตวั ไม่ดี วิ่งสั้นๆยาวๆ ตะกุกตะกักเจบ็ เอวและ ไหลไ่ ด้ง่าย (น้าหนกั ไมส่ ัมพันธ์กับม้า) และอาจลม้ งา่ ย ความสัมพันธ์ระหวา่ งการเคลือ่ นทก่ี บั นา้ หนักของตนขี่ข้นึ อยู่กบั ทิศทาง เช่นจะไปข้างหน้าน้าหนักตวั ไปข้างหน้าถา้ ม้าเล้ยี วไปทางไหน ตอ้ งใหศ้ ูนย์ความหนัก อยูค่ งทเ่ี สมอตามธรรมดาม้ายืนอยู่เฉยๆ เรานั่งตรงใหน้ ้าหนักตรงกลาง ถา้ มา้ วิ่งเร็วนา้ หนักกถ็ ่วงไปข้างหนา้ เพื่อให้ ม้าว่งิ เร็ว
๕๓ เครื่องมือบังคบั ม้าสารอง(พเิ ศษ) ประดษิ ฐ์ข้ึนเพอ่ื เปน็ เคร่ืองชว่ ยกาลงั และอานาจของผู้ขใ่ี นแต่ละส่วนของความจาเป็น เคร่ืองบังคบั ประดษิ ฐข์ ้นึ เพื่อเปน็ เคร่ืองช่วยน้ี แมแ้ ต่ในชนดิ เดียวกันกส็ รา้ งหลายแบบ แต่ละแบบก็ขึ้นอยู่กับผขู้ ส่ี ร้างขน้ึ ให้มี อานาจมากนอ้ ยเพียงใด ดงั น้ันผ้ขู ่หี รือผู้ใชจ้ าเปน็ ต้องมีความรูแ้ ละใช้พอสมควรกบั ความรูส้ กึ ตามลักษณะของม้าท่ี ตนข้ี จะบังคบั เหมือนกันทุกม้าไม่ได้ อนึ่งโดยเหตุที่บังคับมา้ พเิ ศษท่ีมีอานาจรนุ แรงเพิ่มจากเคร่ืองมือธรรมดา (หลกั ) ในบางโอกาสใช้เป็นเคร่อื งในการดดั นิสัยม้า หรอื อวยั วะบางสว่ นแก่มา้ ไดด้ ี เชน่ เดอื ย สาหรับชว่ ยกาลงั และอานาจของน่อง ใชบ้ งั คับแก่มา้ ใหอ้ อกกาลังเคล่ือนทตี่ ามความ ประสงค์ โดยค่อยๆหนบี ขา และหนีบน่อง และกดเดอื ยเบาๆแล้วแรงขึ้นทข่ี ้างมา้ บรเิ วณสายรดั ทึบ สาหรบั ทาโทษม้าหรือดัดนสิ ยั ม้าท่ีไม่อยากออกกาลงั เคลอื่ นท่ีไปข้างหน้า เฉพาะที จาเปน็ จรงิ ๆ คอื กระแทกแรงๆ แส้ เปน็ เคร่ืองมือช่วยน่องและเดอื ย เช่นทาให้มา้ ยอมหนั ทา้ ย จะเหน็ ได้จากการฝึกม้าใหม่ๆที่ ยงั ไมร่ ู้จกั น่องและเดือย หรือที่มา้ จกั กระจ้ี เมอื่ ถูกนอ่ งมา้ มกั จะเตะหรือตที ี่ท้ายม้า เพือ่ ชว่ ยใหว้ ่งิ เร็วขน้ึ ใชล้ งโทษ มา้ ทเ่ี กเร ขดั ขนื หรอื ต่อสูผ้ ้ฝู กึ ง่อง เป็นเคร่ืองอานาจของบังเหียน อย่างไรกด็ อี ย่าลมื ว่า เคร่ืองบงั คบั ม้าเหลา่ นเี้ ป็นเครื่องมือ ของผ้ทู ี่ใช้เป็น ถา้ ใช่ไม่ถกู ต้องแล้วมกั จะเป็นผลร้าย เหล็กบวั เหยี นปากแข็ง เพ่ือช่วยอานาจของมือ แก้ม้านิสัยเสีย ใช้กาลงั ทัง้ สิ้นต่อสูด้ งึ ดันไป ขา้ งหน้า หรือม้าทห่ี นา้ แหงน เคล่ือนท่ีไม่ตรงทางหรือไมด่ ูทาง เสยี ง เป็นส่ิงท่ชี ่วยในการบงั คบั ม้าใหท้ าตามประสงคเ์ พราะผู้ข่เี คยชนิ กนั อยู่ เมอื่ มา้ โกง และไม่ ปฏิบัติตามผูข้ กี่ ็จะใช้เสยี งดุ หรือตวาด ม้ากจ็ ะทาตาม จาปา เปน็ เครือ่ งมือชว่ ยในการบงั คับมา้ ที่ชอบแหกออกนอกทาง จะใชจ้ าปาใสเ่ พ่ือไม่ใหม้ ้าแหก
๕๔ ท่านัง่ ม้าและการถือบังเหียน กล่าวนา ท่านัง่ มา้ และการถือบังเหียน นับว่าเป็นส่ิงที่เป็นสิ่งสาคัญท่าหนึ่งของการขี่ม้า ถ้าผู้ข่ีม้า ถือบังเหียนไม่ถูกต้องแล้ว จะทาให้ผู้ขี่ม้าไม่เหนียวแน่นและไม่สามารถจะบังคับม้าได้ดีเท่าที่ควร ม้าก็จะเคล่ือนท่ี และทาอะไรไมค่ ลอ่ งแคลว่ ตามท่ผี ู้ท่ีข่ีม้า เพราะนา้ หนักของผู้ขี่จะไม่พอดีกับความต้องการของม้า ตลอดจนการใช้ เคร่ืองมอื บังคับม้าก็ไม่สามารถจะใชไ้ ดต้ ามความตอ้ งการของผู้ขี่ ทา่ น่ังม้าท่าตรง ๑. น่ังใหช้ ิดหัวอานมากที่สดุ เพราะศนู ยก์ ลางน้าหนกั ของตัวมา้ อยปู่ ระมาณรัดทบึ ม้า เม่ือเราน่ังชิดหัวอานน้าหนักตัวของผู้ขี่ก็จะลงตรงรัดทึบม้าพอดี จึงทาให้ม้าเคลื่อนท่ีได้คล่องแคล่วและเป็น จังหวะท่ีนมิ่ นวล การกระเทือนก็ย่อมมีน้อยซ่ึงจะทาให้ผู้ขี่นั่งม้าได้อย่างสบาย ตรงกันข้ามถ้าน่ังชิดท้ายอานจะทา ใหม้ ้าเคลอ่ื นทอี่ ืดอาด น้าหนกั ไปถว่ งขา้ งท้ายมา้ มาก ทาใหม้ า้ เคลอื่ นที่ไมเ่ ป็นจังหวะ ซ่ึงจะทาให้มีการกระแทก กระเทอื นมาก ผูข้ ย่ี อ่ มเหนด็ เหนือ่ ย และอาจทาให้ม้าพิการได้ ๒. เอวและสะโพกออ่ นไม่แข็งกระด้าง ทาเอวให้อ่อนไปตามจังหวะมา้ (ใสเอวและก้นให้ เขา้ กบั จงั หวะม้า) ทกุ อิรยิ บท เมื่อจงั หวะการเคล่ือนที่ของม้าและจงั หวะการใสตวั ของผ้ขู ส่ี มั พนั ธก์ ัน ก็ จะทาใหล้ ดการกระแทกกระเทือน ทาใหท้ ้ังมา้ และผู้ขเ่ี หน่ือยน้อยลง
๕๕ ๓. ตัง้ ตัวด่ิงบนอาน ไม่เอยี งซ้ายและเอียงขวาให้นา้ หนักตัวลงบนก่งึ กลางพอดี ๔. รา่ งกายส่วนบนปลอ่ ยตามสบาย ๕. ยกอก พรอ้ มกบั แบะไหล่ท้ังสองไปข้างหลงั ซ่ึงจะทาให้อวยั วะภายในตัว เช่น ปอด หวั ใจ ทางานไดส้ ะดวก ทาให้มีการหายใจคลอ่ งและเหน็ดเหนือ่ ยน้อยลง ๖.แขนท่อนบนปล่อยตามสบาย ขอ้ ศอกเสมอแนวหลังและชดิ ลาตัวเพื่อจะได้ให้ขอ้ ศอกเป็นดุม ในขณะใช้บังเหียนจะได้มแี รงดึงบังเหียนได้มากขน้ึ ๗. แขนท่อนล่างเปน็ แนวเดียวกับสายบังเหียนการถอื บงั เหยี นให้แขนเปน็ แนวเดยี วกัน เมอื่ ตอ้ งการดงึ บังเหียน เหล็กบังเหียนจะกดตรงเหงือกม้าเฉียงมาข้างหลังพอดีท่ีจะทาให้ม้าได้รับความรู้สึกถ้ายก มือสูงไป นอกจากจะทาให้ดูน่าเกลียดและไม่ถนัด ไม่มีแรงในการดึงแล้วยังทาให้เหล็กบังเหียนออกแรงไม่ตรง ตาบลที่ไวต่อความรู้สึกของมา้ ดว้ ย ถ้าถอื บงั เหียนต่าเกนิ ไป ทาให้ตดิ ขดั ในการดงึ ม้าและเสยี ความสง่างาม ๘. มอื ทั้งสองถือบังเหยี นหา่ งกันประมาณ 1 ฝุามือ หงายฝุามือทั้งสองขา้ งขน้ึ ขา้ งบน เลก็ น้อย เพื่อทาให้ข้อศอกชดิ ลาตวั ปลายสายบังเหียนตลบไปทางขวาของมา้ ๙. ศีรษะต้ังตรง ยดื คอ ตามองทีห่ มายเสอมสายตา เพอื่ ความสง่างานและการมองเห็น ไดไ้ กลท้ังทางลกึ และทางกวา้ ง ๑๐. ขาส่วนบนแนบกบั แผงอาน ปลอ่ ยใหต้ กลงตามสบาย ๑๑. หวั เขา่ เลก็ น้อย เพื่อทาให้ขาท่อนบนและท่อนล่างเป็นวงแนบกบั ตัวมา้ ตลอด หวั เขา่ ต่า ก้นถูกดันไปทางหัวอาน แต่ถ้าหัวเข่าสูงก้นจะดันไปข้างหลัง ใช้หวั เข่าและน่องหนีบม้า
๕๖ ๑๒. ขาสว่ นลา่ งพบั ไปข้างหลงั ใชน้ อ่ งมา้ เพื่อความเหนียวแน่น ๑๓. สน้ เทา้ ,เอว,ไหล่,ใบหู อยู่ในแนวเดียวกนั กดสน้ เท้าใหต้ า่ ลง ปดิ ฝาเท้าดา้ นน้ิวก้อยใหช้ ิด ข้ึนข้างบน เพ่อื ให้กล้ามเน้ือน่องเกร็งแข็ง บงั เกิดแรงในการหนบี มา้ ไดเ้ หนียวแน่น และมีแรงทีจ่ ะบงั คบั มา้ ให้ ปฏบิ ตั ติ ามไดแ้ นน่ อน และเบี่ยงเดอื ยไม่ใหท้ ่ิมท้องม้าอยู่ตลอดเวลาด้วย ๑๔. การสวมโกลน ใชส้ วมข้างนอกเขา้ ขา้ งใน และสวมลึกประมาณปลายนิว้ ก้อย ๑๕. ความยาวของโกลนพอดี คือเมื่อถอดโกลนห้อยเท้าตามสบายแล้วโกลนจะอยู่สงู กวา่ ส้นเท้าประมาณ ๒ ซม.
๕๗ การถอื บังเหียน - การรวมบงั เหยี นและการแยกบังเหียนสองสาย เมือ่ มคี าสัง่ วา่ “รวมบังเหียนมือซ้าย ทา” ใหน้ ามือข้างซ้ายมาอยกู่ ึ่งกลางคอม้า และนา บังเหยี นขวาส่งใหม้ ือซ้ายโดยสอดน้ิวกอ้ ยเข้าไปอยรู่ ะหวา่ งสายบงั เหียนท้ังสอง ตลบสายบงั เหียนทง้ั สองผา่ น ระหวา่ งนิ้วช้แี ละหัวแมม่ ือไปตกทางขวาของคอม้าแขนขวาหอ้ ยข้างลาตัว เมื่อมีคาส่ังว่า “แยกบังเหียน” ให้แยกบังเหียนไปอยู่ในมือละเส้น ให้สายบังเหียนผ่านให้ น้ิวก้อยขึ้นมาและให้ผ่านไประหว่างน้ิวช้ีและน้ิวหัวแม่มือ ปลายสายบังเหียนตลบไปทางขวาของคอม้า กามือท้ัง สองให้แนน่ ให้มือท้ังสองห่างกันประมาณ ๑ ฝุามือ หงายข้อมอื ขนึ้ เล็กนอ้ ย (เพื่อให้ขอ้ ศอกชดิ ลาตัว) เมอ่ื มีคาสงั่ ว่า “ปล่อยบังเหียน”ให้วางบงั เหยี นลงบนหวั อานหรอื บนคอมา้ แลว้ แต่ความยาวของ สายบงั เหยี น ปลอ่ ยมือทัง้ สองขา้ งไปขา้ งลาตัว เมื่อมีคาสงั่ วา่ “จับสายบงั เหียน”มอื ท้ังสองจบั บงั เหียนในทา่ นง่ั มา้ การรวมบังเหยี นและการแยกบงั เหยี น ๔ สาย เมอ่ื มคี าสัง่ “ รวมบงั เหียนในมือซ้าย ทา “ - ใหส้ ายบงั เหียนปากอ่อนข้างซ้ายอยใู่ ตน้ ิว้ กอ้ ย - ให้สายบงั เหยี นปากแขง็ ขา้ งซา้ ยอยู่ใต้น้วิ นาง - ให้สายบงั เหียนปากแข็งข้างขวาอยใู่ ต้น้วิ กลาง - ใหส้ ายบังเหียนปากอ่อนข้างขวาอยใู่ ตน้ ้วิ ช้ี และใหป้ ลายสายบังเหียนทั้ง ๔ สายผา่ นออกระหว่างนวิ้ หัวแมม่ อื กับนิว้ ช้ี ใชน้ ว้ิ หวั แม่มอื กดสายบงั เหยี นใหแ้ นน่ ตรงขอ้ ท่ี ๒ น้วิ ชี้ และเมือ่ ปลายสายบังเหยี นอยูใ่ นระเบยี บใหป้ ดั ลงมาอยู่ทางขวาของคอม้าทั้งหมด(มอื ซ้ายถือ บงั เหยี นอยู่ก่ึงกลางคอม้ามือขวาห้อยข้างลาตัว เม่อื มีคาส่ังว่า “ รวมบงั เหียนในมอื ขวา ทา “
๕๘ - ให้สายบังเหียนปากอ่อนขา้ งขวาอยรู่ ะหว่างน้วิ ก้อยกบั น้วิ นาง - ให้สายบงั เหียนปากอ่อนขา้ งขวาอยู่ระหวา่ งน้วิ กกลางกบั นิ้วนาง - ให้สายบังเหียนปากอ่อนขา้ งซา้ ยอย่รู ะหวา่ งน้ิวกลางกับน้ิวชี้ - ให้สายบงั เหยี นปากอ่อนขา้ งซา้ ยอยรู่ ะหว่างนิ้วชี้กับน้วิ หัวแม่มือ และให้ปลายสายบงั เหยี นผ่านออกทางใต้น้ิวก้อย และหอ้ ยลงมาทางขวาของคอมา้ (มอื ขวาถือบงั เหยี นอยกู่ ่งึ กลาง คอม้า มือซา้ ยห้อยข้างลาตวั เมอ่ื มีคาสงั่ วา่ “ แยกบังเหียน “ แบง่ บังเหยี นออกเป็นข้างละสองสาย โดย - ใหส้ ายบังเหยี นปากอ่อนขา้ งซ้ายอยู่ใตน้ วิ้ กอ้ ยมือซ้าย - ให้สายบังเหียนปากแขง็ ข้างซา้ ยอยรู่ ะหวา่ งนิ้วก้อยกบั น้ิวนางมือซา้ ย - ให้สายบงั เหยี นปากออ่ นข้างขวาอยูใ่ ต้นิว้ ก้อยมือขวา - ใหส้ ายบงั เหยี นปากแข็งขา้ งขวาอยู่ระหว่างนิ้วก้อยกบั น้วิ นางมือขวา และใหป้ ลายสายบังเหยี นสองสายในมือ ซา้ ยผา่ นไประหว่างน้ิวช้แี ละนิ้วหัวแมม่ ือตลบไปตกทางขวาของคอม้า และ ให้ปลายสายบังเหยี นสองสายในมือ ขวาผ่านไประหวา่ งน้วิ ชีแ้ ละนิ้วหวั แมม่ ือตลบไปตกทางขวาของคอมา้ เชน่ กัน การเคล่อื นที่ของม้า ๑. การเดิน การเดินเป็นการเคลื่อนท่ีที่ข้าท่ีสุดของม้า เป็นการจาเป็นท่ีจะต้องทาความ เข้าใจให้ถี่ถ้วนในช้ันน้ี ก่อนที่จะศึกษาถึงฝีเท้าอื่น ๆ ต่อไป นักศึกษาวิชาการข่ีม้าอาจจะเปรียบได้เสมือนกับ คนขับรถ ซึ่งจะต้องทาความเข้าใจกับเครื่องยนต์ให้ดีเสียก่อน ไม่ใช่สักแต่ว่าใส่เกียร์แล้วรถจะเคลื่อนที่ไปได้ เชน่ นจ้ี ะเรยี กวา่ เปน็ ผมู้ คี วามชานายไม่ได้ การศกึ ษาเรือ่ งฝีเทา้ การเคลื่อนท่ี ของม้าอาจะต้องเสียเวลามาก แต่ถ้ามี ความเขา้ ใจอยา่ งระเอยี ดแล้วจะทาใหก้ ารบงั คับม้าง่ายขึน้ อีก ม้าเดินมี ๔ จังหวะ จะก้าวขาไดก็ออกก่อนก็นับว่าเป็นจังหวะที่ ๑ ขาหน้าหรือขาหลังก็ตาม แล้วแต่การอัดน่องบังคับและน้าหนักตัวของผู้ข่ี ตัวอย่างเช่น ถ้าขาหน้าซ้ายเป็นจังหวะที่ ๑ ขาหลังขวาก็เป็น จงั หวะท่ี ๒ ขาหนา้ ขวาจะเป็นจังหวะที่ ๓ ขาหลังซ้ายจะเปน็ จังหวะท่ี ๔ แตว่ า่ ขาไมพ่ รอ้ มกนั การบงั คับม้าโดยใชเ้ คร่ืองมือบังคับ อัดน่องท้งั สองข้างพร้อมกัน ก้มตวั ไปข้างหนา้ เพื่อใหม้ ้า เสยี หลักหรือเสียการทรงตวั ม้ากจ็ ะกา้ วขาออกเดินจะเป็นขาใดขาหน่ึง ขาหน้าหรอื ขาหลังแล้วแตก่ ารให้นา้ หนัก ตวั และแรงนอ่ งของผขู้ ี่ การบังคับม้าใหห้ ยุด ใชบ้ งั เหียนหลังตรงคอื ดงึ บังเหียนท้ังสองขา้ งพร้อมกนั มาขา้ งหลงั โดยดึง จากเบามาหาหนักมา้ กจ็ ะหยุด การบังคบั มา้ ใหเ้ ลย้ี ว ใช้บงั เหียนเปิดข้างใดข้างหน่ึง เลย้ี วซา้ ยก็ใชบ้ งั เหียนซา้ ยเปดิ นา้ หนักตวั เอนมาทางซ้าย นอ่ งซา้ ยอัดบรเิ วณสายรัดทึบ จะเล้ียวแคบหรือกว้างอยู่ทผี่ ขู้ บี่ ังคับ ผูข้ จ่ี ะตอ้ งจัดทา่ นัง่ มา้ ให้ถูก และดีทีส่ ดุ การเดนิ หรือฝีเท้าเดิน ควรทาก่อนการฝึกเพ่ือเตือนกลา้ มเนอ้ื ของม้า ให้มา้ เกิดความรู้สกึ และ มักจะกระทาภายหลังจากการฝกึ เพื่อผ่อนคลายกล้ามเนื้อจากการบังคับ ฝีเดนิ มี ๓ อยา่ ง ๑. เดนิ ก้าวสน้ั รอยเทา้ มา้ จะไมท่ ับกัน ๒. เดนิ ก้าวธรรมดา รอยเท้าม้าทับกันหรือใกล้เคียงกนั ๓. เดินก้าวยาว รอยเท้าหลังจะเลยรอยเท้าหน้า คาบอก หนา้ เดิน . . . . เดิน , แถว . . . . หยดุ
๕๙ ๒. การวง่ิ เรยี บ มา้ ไทยกบั มา้ เทศว่ิงเรยี บไมเ่ หมือนกัน ม้าไทยวง่ิ ขาคู่เดยี วกันคอื ขาหน้า ซ้ายคู่ขาหลังซ้าย คือวง่ิ ข้างเดยี วกนั ทาให้ผู้ขีน่ ง่ั สบายการกระเทือนน้อย มา้ เทศวงิ่ ขาคู่ไขว้ คือ ขาหน้าซา้ ยขาหลงั ขวา และขาหนา้ ขวาขาหลังซา้ ย การกระเทือนมาก การวงิ่ เรียบมี ๒ จังหวะ เช่น ม้าไทยขาคู่ใดวงิ่ ออกไปแล้วนบั เปน็ จังหวะท่ี ๑ คู่ตรงข้าม เป็นจงั หวะที่ ๒ ม้าเทศจะเป็นคไู่ ขว้ ขาหนา้ ขวากบั ขาหลังซา้ ยเป็นจังหวะท่ี ๑ ขาหน้าซา้ ยกบั ขาหลังขวาเป็น จังหวะท่ี ๒ การบงั คบั มา้ ใหว้ ง่ิ เรียบ อัดน่องทง้ั สองข้างใหแ้ รงขนึ้ กว่าการบงั คบั มา้ ให้เดิน พร้อมกับนา้ หนกั ตัวของผขู้ ี่ไปข้างหน้า ทาบ่อย ๆ จนกวา่ ม้าจะออกวงิ่ เมือ่ ม้าวงิ่ ไปแลว้ ใหผ้ ขู้ จ่ี ดั ท่านั่งม้าใหถ้ ูกต้องและดีท่ีสดุ คาบอก วิ่งเรยี บ . . . . วง่ิ การลดฝเี ท้ามา้ ใชบ้ งั เหยี นหลงั ตรงทั้งสองข้างดงึ มาขา้ งหลัง ดึงให้ขนานกับพืน้ ดนิ ดึงจาก เบาไปหาหนัก มา้ จะชะลอจากฝีเทา้ วิ่งเรยี บมาเดนตามการบังคับ คาบอก ช้าลง . . . . . เดิน ๓. การวงิ่ โขยก เป็นฝเี ท้าท่ีมา้ ชอบว่งิ การกระเทือนน้อยกว่าการวิง่ เรยี บ วิง่ โขยกมี ๓ จังหวะ การวง่ิ โขยกแบ่งออกเป็น ๒ อยา่ ง ๑. การวิ่งเสียหลกั ม้ากระทาตอ้ งการวิ่งเรยี บ ๒. การวง่ิ ตง้ั หลกั ม้าออกจากจุดยนื การวง่ิ โขยก มขี าขวานาและขาซ้ายนา ถ้าเลี้ยวมาทางซา้ ยให้ขาหน้าซ้ายนาเพราะน้าหนกั ตวั จะเอียงมาทาง ทางซา้ ย เป็นไปตามธรรมชาติเหมือนการขี่จักรยาน ถา้ เลยี้ วขวาตอ้ งวงิ่ โขยกขาหนา้ ขวานา การบังคบั ม้าวงิ่ โขยก ใช้บังเหียนหลังตรง น่องอดั หลงั สายรดั ทบึ นา้ หนกั ตัวท้ิงไปทางท่ีจะใหข้ า หนา้ ข้างไหนออกนา จะใหข้ าหนา้ ซา้ ยนาก็ใชบ้ งั เหยี นดงึ ใหห้ นา้ ม้ามาทางขวาใหเ้ ห็นลกู ตามา้ นอ่ งขวาอดั บรเิ วณ หลังสายรดั ทึบ นา้ หนักตวั ของผู้ขที่ ิ้งไปทางกึง่ ซ้ายมา้ จะว่ิงโขยกขาหนา้ ซ้ายนา จะให้ขาหน้าขวานาก็ทาตรงกนั ข้าม เมอื่ ม้าออกวิง่ ผู้ข่ีจะต้องนง่ั ตวั ตรง จดั ท่าน่งั ม้า คาบอก เร็วข้นึ วงิ่ โขยก . . . . . . วงิ่ ขาหน้าซา้ ยนา จงั หวะที่ ๑ ขาหลงั จดพื้น จงั หวะที่ ๒ ขาหน้าขวาหลังซ้ายจดพน้ื พรอ้ มกนั จงั หวะท่ี ๓ ขาหน้าซ้ายจดพืน้ ขาหนา้ ขวานา จังหวะที่ ๑ ขาหลงั ซ้ายจดพน้ื จงั หวะที่ ๒ ขาหนา้ ซ้ายกับขาหลังขวาจดพ้ืน จงั หวะท่ี ๓ ขาหน้าขวาจดพืน้
๖๐ ๑. การว่งิ ห้อ คอื ม้าว่งิ โขยกน่ันเอง แต่จงั หวะการกา้ วขาของม้าเร็วข้นึ ยาวข้ึนดว้ ย เพราะฉะนัน้ จงั หวะของม้าจึงเพ่มิ ขน้ึ เปน็ ๔ จงั หวะ วิง่ ห้อมี ๔ จังหวะ จังหวะท่ี ๑ ขาหลังขวา จังหวะท่ี ๒ ขาหลังซ้าย จงั หวะที่ ๓ ขาหน้าขวา จังหวะท่ี ๔ ขาหนา้ ซ้าย การบงั คบั ม้า บังคับแรงกว่าการวิ่งโขยก ไม่จาเปน็ ตอ้ งให้ขาไหนนา นอกจากการแขง่ มา้ สนาม วงกลม จะต้องว่ิงวนทางซ้ายหรือทางขวา สว่ นมากนยิ มทางซา้ ย จะต้องใช้ขาหนา้ ซ้ายนา สะดวกต่อการเลย้ี ว ซา้ ย การฝึกจะใช้กาหนดระยะทางเอง เช่น การเลน่ กีฬาผาดโผนบนหลังม้าเป็นตน้ การขี่มา้ กระโดดขา้ มเครื่องกีดขวาง การทาเลือดม้า คอื การบงั คับมา้ ให้ออกกาลงั เรม่ิ ตน้ จากฝีเทา้ เดนิ วง่ิ เรยี บ และวง่ิ โขยกตามลาดับจากฝีเท้าเบาไปหาหนัก จนกระทัง่ มา้ มเี หงอื่ ซึมออกมาจากผิวหนงั ตามปกตแิ ลว้ เม่ือม้ามีเหง่ืไหล ซึมออกมาจากผวิ หนงั มา้ กจ็ ะมีอาการคึกคกั ซง่ึ ผขู้ ี่มา้ สามารถท่ีจะบังคบั ให้มา้ นนั้ กระโดดได้งา่ ยขึน้ และม้าก็ พรอ้ มทจ่ี ะปฏบิ ัตติ ามการบงั คับของผขู้ ่ีไดด้ ีขึน้ ดว้ ย ในขณะทท่ี าเลือดมา้ น้ัน ผฝู้ ึกควรให้นกั เรียน ทบทวนการ ทรงตวั บนโกลนตลอดเวลาทง้ั ๓ ฝเี ท้า ฝกึ การทรงตวั ในการกระโดดโดยใช้โกลน แบ่งการฝึกออกเป็น ๒ ตอน คือ ๑. การทรงตัวในการกระโดดโดยใช้โกลนและปลอกคอ การดาเนนิ การฝึก (การจดั เคร่ืองกระโดด) ตงั้ เครื่องกีดขวางดังรูป เครอ่ื งกีดขวางเป็นเคร่ืองบาเดยี่ ว มีความสงู ๓๐ ซม. ยาวประมาณ ๓ ม. ขาตัง้ ของเคร่อื งกระโดดดา้ นหนึ่งวางชดิ ฝาโรงฝกึ ส่วนขาตง้ั อีกด้าน หนึง่ นาไม้ก้ันเครื่องกดี ขวางมาวางให้ขนานกับฝาโรงฝกึ เป็นซอง ยาวประมาณ ๑๐ – ๑๕ ม. เครอ่ื งกดี ขวาง ผู้ฝึกยืนอยขู่ ้างหน้าเคร่ืองกีดขวาง (ด้านนอกไม้กนั้ เร่ืองขวาง) ประมาณ ๕ ม. เพ่ือคอยช่วยไล่ม้าทไ่ี ม่กระโดด
๖๑ ทีจ่ ุดเร่มิ ต้นใหป้ ฏิบตั ิดังนี้ - สวมโกลนใหส้ น้ั กวา่ ปกติ ๑ – ๒ รู และใหล้ กึ ประมาณปลายนว้ิ กอ้ ย ยืนโกลน - กดสั้นเทา้ ให้ตา่ ลง บิดสน้ เท้าเขา้ หาตัวมา้ และดึงมาข้างหลัง - น่องแนบชดิ กับท้องมา้ เพื่อความเหนียวแนน่ และบังคบั มา้ - หวั เขา่ เปิดและวางใหต้ ่า เพื่อดนั ใหก้ น้ ไปขา้ งหนา้ - ยกกน้ ให้พน้ จากแท่นอานตลอดเวลาและดนั ก้นไปข้างหนา้ - กม้ ตวั ไปขา้ งหน้าเลก็ นอ้ ย ตามองตรงไปขา้ งหนา้ ระดบั สายตา - เอาสายปลอกคอผูกทค่ี อม้า (ถา้ ไมม่ ีสายปลอกคอให้ใชส้ ายเข็มขดั แทน) ขมวดปลายสาย บังเหยี นพาดไวบ้ นคอมา้ - มือทัง้ สองจบั ทสี่ ายปลอกคอผกู ท่คี อม้า เพ่อื ชว่ ยในการทรงตัวไม่ใหต้ กม้าในขณะที่ ม้ากระโดดและปูองกันไม่ให้มือไปกระชากสายบงั เหียนและปากมา้ - ท่ีจุดเรมิ่ ตน้ นค้ี วรจะมีลูกมือสาหรับจบั คอมา้ ให้ยนื นิง่ และคอยปล่อยมา้ ให้กระโดด เมอ่ื ทุกส่ิงทุกอย่าง ณ จดุ เริ่มต้นพร้อมแล้ว ผู้ฝึกก็ส่งั ใหป้ ลอ่ ยม้าออกจากจุดเร่มิ ตน้ ม้าจะเคลื่อนท่ตี ามลาดบั ข้ัน คือ เดิน วงิ่ เรียบ และ ว่งิ โขยก มา้ จะกระโดดขา้ มเคร่ืองกีดขวางเอง โดยผู้ขีไ่ ม่ต้องใช้บังเหยี นบังคบั เพยี งแต่คอยจับปลอกคอและทรง ตัวให้ดีเท่าน้ัน ส่วนน่องน้ันใหแ้ นบชดิ กับท้องบริเวณหลังสายรดั ทึบ ท่านงั่ มา้ ก็คงปฏิบัตเิ ช่นท่จี ุดเร่มิ ตน้ ทุกอย่าง เมอ่ื มา้ กระโดดข้ามเคร่อื งกดี ขวางไปแลว้ ใหป้ ล่อยมือจากปลอกคอและมาถือบังเหยี นเพือ่ บงั คับใหม้ ้าหยดุ ณ จุดทผ่ี ูฝ้ ึกกาหนดให้มา้ หยดุ ข้อควรระวัง ๑. ก่อนกระโดด ในขณะกระโดด และภายหลังกระโดด จะต้องยกกน้ ขน้ึ ให้พน้ จากแท่น อานตลอดเวลา ๒. วางมอื ให้นง่ิ และทุกส่วนของรา่ งกายควรจะอย่นู ง่ิ เกาะอยู่บนหลงั มา้ เฉย ๆ ปล่อยใหม้ า้ กระโดดไปเอง ๒. การทรงตัวในการกระโดดโดยใชโ้ กลนแตไ่ มใ่ ชป้ ลอกคอ เม่อื ไดท้ าการฝึกใหน้ ักเรียนใช้ปลอกคอในขณะกระโดดจนกระท่งั รสู้ กึ วา่ นักเรยี นสามารถทรงตัวได้ ดแี ละมือของนกั เรียนนง่ิ ดแี ล้ว การฝึกข้ันตอ่ ไปกฝ็ ึกใหน้ กั เรยี นถอื บงั เหยี นแยกสองมือข่ีกระโดดโดยปลดสายปลอก คออก การดาเนินการฝกึ คงเช่นเดียวกบั การกระโดดไมใ่ ช้โกลนแตใ่ ช้ปลอกคอ ยกเวน้ แต่เพียงถือ บังเหยี นแยกสองมือเทา่ นั้น เม่อื นักเรียนมีการทรงตัวดีแล้ว สามารถน่ังตดิ บนหลังมา้ ในขณะกระโดดข้ามเคร่ืองกีดขวางแลว้ ตอ่ ไปก็ให้นกั เรียนทราบถึงวิธีการบงั คับม้า เพ่ือให้มา้ กระโดดด้วยตนเอง โดยไม่มีใครช่วยเหลือ ซงึ่ นักเรียน จะตอ้ งปฏิบัตดิ ังนี้ ก. การเข้าเคร่อื งกีดขวาง ถอื บังเหยี นแยกสองมือใหส้ ายบังเหยี นตงึ พอดีกบั ปากม้า มือ นง่ิ บังคบั ใหม้ ้าว่ิงเขา้ หาเครอื่ งกดี ขวางดว้ ยฝเี ทา้ วง่ิ โขยก ด้วยจังหวะที่นิ่มนวลและด้วยอาการสงบ อยา่ ให้มา้ เข้า เครอ่ื งกีดขวางด้วยฝีเท้าเรว็ เกินไปหรือดว้ ยอาการลุกรลี้ ุกรน เพราะมา้ อาจจะว่ิงลุยเครอ่ื ง ซง่ึ จะทาให้เกิด อันตรายได้งา่ ย
๖๒ บงั คบั ให้มา้ เขา้ กึ่งกลางเครอ่ื งกีดขวาง กดสน้ เทา้ ใหต้ ่าลง อดั น่องทั้งสองข้างบริเวณสายรดั ทึบ หวั เขา่ เปิด ยนื โกลน พรอ้ มกับยกกนั ขน้ึ ให้พน้ จากกอานแลดันก้นไปข้างหน้าเลก็ นอ้ ย ขณะเข้าประชดิ เครือ่ งให้อัดน่องแรงขนึ้ มือทั้งสองถือบังเหียนน่งิ ม้ากจ็ ะกระโดดขา้ มเครอื่ งกีดขวางไปเอง ข. ขณะขา้ มเคร่ืองกีดขวาง ในระหวา่ งน้ีม้าจะกระชากผใู้ ห้ไปข้างหนา้ เพอื่ ทีจ่ ะปูองการ กระชากของมา้ ผขู้ ี่ควรปฏบิ ัตดิ ังน้ี - อดั นอ่ งให้แน่นเพื่อไม่ให้ตวั ผูข้ หี่ ลุดจากม้า และเป็นการกระตุน้ ให้มา้ เกบ็ ขาหลังเขา้ ใต้ตัวด้วย - หัวเขา่ เปดิ เมอื่ หัวเขา่ เปิดจะทาให้ก้นของผู้ขี่ถกู ดนั ไปข้างหน้า ซึง่ จะทาให้ลดการกระชากของม้าได้ - ยกกน้ ให้พน้ จากอาน เพื่อปูองกันไมใ่ ห้กน้ กระแทกกบั อาน เพราะในขณะทีม่ ้ากระชากผ้ขู ่ีให้ไปข้างหน้า ในขณะข้ามเคร่ืองกดี ขวางน้นั ถา้ ก้นกระแทกกับอานแลว้ อานจะช่วยให้ผู้ขถ่ี ูกกระชากไปขา้ งหนา้ มากขึ้น และเป็นการรบกวนต่อการเคลื่อนท่ีของม้าดว้ ย ค.ในขณะลงสู่พื้นดิน เมือ่ ขาหนา้ ท้งั สองของมา้ ลงสพู่ ้ืนดิน ใหผ้ ้ขู ี่หงายตัดกลบั โดยแบะไหลท่ ่วั สอง ข้างไปข้างหลัง พร้อมกับดันก้นไปข้างหนา้ นอ่ งท้ังสองคงอย่ทู เ่ี ดมิ เมือ่ ขาหลงั ทั้งสองของม้าลงสู่พ้นื ดิน ผขู้ จ่ี ึง เรมิ่ ทรงตัวบนโกลนใหม่ เตรยี มตัวบงั คับม้าเข้าหาเครอ่ื งกีดขวางเครื่องตอ่ ไปตามลาดับ การขี่มา้ ในภูมิประเทศ ก่อนท่ีจะนานักเรยี นออกข่มี ้าในภูมิภาคประเทศ ผ้ฝู กึ ควรจะได้ตรวจตราเคร่อื งมา้ ตลอดจนเกือกมา้ เสียก่อนว่า มี อะไรบกพรอ่ งหรอื ไม่ ทั้งนี้ เพือ่ ปูองกันอันตรายทจี่ ะเกดิ ข้ึนในขณะทจี่ ะทาการฝกึ ในภมู ิประเทศ การขม่ี ้าในภมู ิประเทศน้ัน ควรจะขมี่ า้ ด้วยโกลนท่ีสนั้ กวา่ ปกติ ประมาณ ๑-๒ รู ต่อจากน้ันผฝู้ ึกก็ควรจะอธิบาย ถึงข้อควรปฏบิ ัตใิ นขณะที่ข่มี า้ ในภมู ิประเทศดังน้ี ๑. ถา้ หากมคี นตกม้า ใหผ้ ทู้ ี่พบเหน็ เหตกุ ารณส์ ่งสัญญาณให้ผ้ฝู กึ ทราบ และให้ทุกคนรบี บังคับมา้ ให้หยดุ ทาการช่วยเหลอื ผ้ตู กมา้ ทนั ที ๒. หา้ มแซงขึ้นหน้าม้าของผู้ฝกึ โดยเดด็ ขาด ๓. อย่าประมาท เพราะในภูมิประเทศอาจมีสงิ่ แปลกหแู ปลกตาของม้า หรอื ในท่โี ล่งแจ้งมา้ อาจจะคกึ คะนอง จนเป็นเหตุให้ม้าตกใจแสดงอาการพาวิ่งหรือกระเดกหลัง ซงึ่ จะทาให้ผขู้ ี่ได้รับอันตรายจากการ กระทาของมา้ ได้ เม่ือผู้ฝึกได้อธบิ ายถึงข้อควรระวงั เรียบรอ้ ยแล้ว ก็ออกจากจดุ เริ่มตน้ ใช้ผเี มา้ เดนิ เสียก่อน ประมาณ ๕ นาที แลว้ จึงสัง่ ให้นักเรียนสารวจดูสายรัดทบึ อีกคร้ังหน่งึ ถา้ สายรดั ทึบของใครหลวมกใ็ หร้ ดั เสยี จงึ เคล่ือนท่ีไป การฝึกในพ้นื ท่ตี ่าง ๆ กัน ก. การเคลื่อนทบ่ี นถนนลาดยางหรอื คอนกรีต ควรใช้ฝีเทา้ เดนิ และว่งิ เรียบเท่านน้ั หา้ มใช้ฝเี ทา้ วิ่งโขยกเดด็ ขาด เพราะมา้ อาจจะลน่ื ล้มได้ง่าย ข. การเคลอ่ื นทีบ่ นพ้ืนท่ีซ่ึงมหี นิ ขรขุ ระ เช่น เชงิ เขา หรอื หนทางซ่ึงขรุขระก็ควรใช้ฝีเท้าเดิน เทา่ น้นั เพราะถา้ ใชฝ้ เี ทา้ วง่ิ เรียบหรือวิ่งโขยก จะทาใหม้ า้ ได้รบั ความเจบ็ ปวดหรือฟกช้าได้ ค. การเคลื่อนบนทางเกวียนหรือพนื้ เรยี บแหง้ ไม่แฉะ ใชฝ้ เี ทา้ ได้ไมจ่ ากดั ง. การลุยน้า บังคบั ใหม้ ้าเดนิ ขา้ มลาน้าแคบ ๆ และไม่ลึก ซึ่งพื้นใตน้ ้าเป็นทรายทีไ่ ม่มโี คลนตม ในขณะลุยขา้ มลาน้าใหใ้ ชฝ้ ีเท้าเดินเท่านัน้ จ. การขน้ึ เนนิ หรอื การขึ้นเขา ใหผ้ ู้ขกี่ ้มตัวไปขา้ งหนา้ เอามือโอบกอดคอม้าเพื่อไม่ใหผ้ ู้ข่ีหลุด มาทางท้ายม้า หย่อนบังเหียนให้คอม้าเป็นอสิ ระ มืออยา่ กระตุ้นปากม้า เพ่ือให้ม้าเคลื่อนทีโ่ ดยอิสระ ฉ. การลงเนนิ หรือการลงจากเขา ผ้ขู ่ีวางน่องไวต้ รงทท่ี เ่ี คยวางและบีบให้แนน่ และ
๖๓ ให้หงายตัวไปขา้ งหลัง เพ่อื ไม่ให้ผูข้ ห่ี ลดุ ตกไปขา้ งล่าง แต่ดนั กน้ ไปให้ชดิ หวั อาน เพ่ือใหน้ า้ ตวั ลงตรงจดุ ศนู ย์ถว่ ง ของมา้ บงั เหียนถือใหพ้ อสัมผัสกบั ปากม้าพอดี และให้ม้าเคลอื่ นทล่ี งช้า ๆ ดว้ ยฝเี ท้าเดนิ การข่ีเป็นกลุ่ม เริ่มต้นด้วยฝีเท้าช้า ๆ แล้วทวีผีเท้าให้แรงขึ้นตามลาดับ ในเม่ือม้า เลือดร้อนขึ้น ถ้าภูมิประเทศที่ขรุขระยากต่อการเคลื่อนที่ก็ควรเลือกทางให้ม้า และใช้ฝีเท้าให้เหมาะสม ผู้ขี่แต่ง ละคนเลอื กทอี่ ยู่ของตนเองตามใจชอบ ข้อสาคัญคืออย่าปล่อยให้ให้ม้าขึ้นหน้าม้านาหรือผู้ฝึกเป็นอันขาด ทั้งนี้ เพราะผู้ฝึกจะได้สามารถรักษาฝีเท้าได้อยู่เสมอ ทั้งอาจจะเลือกพ้ืนท่ีสาหรับเปล่ียนฝีเท้าได้ตามต้องการ ผู้ขี่แต่ ละคนพยายามไมต่ ามผู้ท่ขี อ่ี ยูข่ ้างหน้าตน เพราะถา้ เกิดการล้มหรือชงักเครื่องกีดขวางข้ึนแล้วมักทาให้เกิดอันตราย รนุ แรงได้ ผขู้ ่ีแต่คนมีเสน้ ทางการเคล่อื นท่ีของตนเอง การทางานตามลาพัง ผู้ฝึกส่ังให้นักเรียนเคล่ือนท่ีออกจากจุดเริ่มต้น จุดหน่ึงไปยังจุด ปลายทางอกี จดุ หน่งึ โดยกาหนดเส้นทางใหว้ า่ จะตอ้ งผา่ นเคร่ืองกีดขวาง ซึ่งจะต้องกระโดดข้ามไปอาจมีคันนา หรือเป็นร้ัวก็ได้ และบนเส้นทางน้ันอาจเป็นถนนซึ้งมีหินขุระขระหรือเป็นทางเกวียนซ่ึงผู้ขี่จะต้องพิจารณาเอาเอง วา่ ควรจะใช้ฝีเทา้ อะไรในการเคลือ่ นทผ่ี ่าน สาหรบั การฝึกแบบนี้ผู้ฝกึ เม่ือไดท้ าการฝกึ ในภูมิประเทศแลว้ ผูฝ้ ึกกใ็ ห้เข้าแถวกลับโรงม้า แต่ก่อนจะถึงโรงม้า ประมาณ ๑ กม. ผ้ฝู กึ จะส่งั ใหน้ กั เรียนลงจากม้า รูดโกลนข้นึ ท้งั สองข้าง ผ่อนสายรัดทึบ และยกท้ายอานสองสามครั้งแล้วให้ นักเรยี นจงู มา้ เดนิ กลับ ทั้งน้ีกเ็ พือ่ ใหม้ ้าหายเหนอ่ื ยนน่ั เอง ---------------------------------------------
๖๔ FEI Fédération Equestre Internationale Coach Education Level 1
๖๕ LOG BOOK
๖๖ LOG BOOK LEVEL 1 THE PURPOSE OF THIS LOG BOOK IS TWOFOLD a. to assist you in planning and evaluating your coaching sessions b. to satisfactorily complete one of the Level I assessment requirements After the course, at home, you are required to record details of 5 sessions of coaching (coaching skills from Level 1 course) in this log book why a. Recording your sessions in the format recommended should help you develop a worthwhile structure for your coaching sessions. While a format is provided in this Log book you should feel free to amend and adapt the structure of the sessions to best serve the needs of your riders with the facilities at your disposal Whatever structure you opt for you are requested to record, as in a diary, what you actually did rather than write up some idealized plan. This process should help you evaluate each session and therefore go some way towards measuring the effectiveness of your coaching. Only by planning and evaluating your work will you get to know yourself, your riders and the requirements of equestrian sports. b. Satisfactory completion of this Log book is also an integral part of the assessment procedure for Level 1 and a condition to attend a Level 2. When it’s completed Within 3 months after completion of the Level 1 course, you must send your log book to the FEI through your National Equestrian Federation, should you need some constructive criticism of your work. Essentially the Log book should be an accurate reflection of your work. Use it to record all significant information relating to your coaching programme. Remember it is a record of you, the coach, and it can be a valuable tool in your development as a Level 1 Coach. Send your Logbook in electronic version and PDF or WORD FORMAT to: Fédération Equestre Internationale Solidarity Department, Andreina Wipraechtiger E-mail. [email protected] Fax : +4121 310 47 60 The completion of this log book is a condition to attend a Level II FEI course for coaches. Please kindly note that an electronic version is available on our website: http://www.inside.fei.org > Coach > Documents When Completing Your Log book Please Follow The Guidelines Below:
๖๗ The level of your 5 sessions can vary, however please carry out as many sessions as possible using the material & modules you have learnt from the FEI Level 1 course. For each session please complete the following forms: Session Planner Personal Evaluation of the Session. Rider & Horse profiles. (Necessary when new horses and riders are introduced.) Competition’s record WHEN COMPLETING THE SESSION PLANNER: Give three clear aims or outcomes which you would plan to achieve in the session. (What will you plan to achieve in the session?) Under Course Content clearly describe how you intend to achieve the outcomes set out above. Remember to implement the use of the IDEA principle (see page 10), when planning each session. Delivery/Method – How do you intend to coach the skills? i.e. How will you Introduce the Skill?, How will you Demonstrate the skill? Etc. Again follow the IDEA principle. Personal reminders are just that. Perhaps something you wish to improve from the last session i.e. where you stand to deliver or observe the horse & rider, etc. Resources. What equipment will you require? For jumping sessions for example, a tape measure and record how many wings and poles you will require. WHEN COMPLETING THE PERSONNAL EVALUATION OF THE SESSION: Clearly state: WHAT HAPPENED IN THE SESSION. Where the aims or outcomes, which you planned for the session, achieved? If they were achieved, note how and why, the session went well. If the outcomes were not achieved, explain why not. There may be times went you planned session will not achieve the outcomes intended, this is fine assuming you can analysis why and can therefore adjust your next session appropriately. Based on what happened in the session, then finally state what you intend to include in the next session.
๖๘ The Coach My Personal Details Name _______________________________________________ Address _______________________________________________ _______________________________________________ Telephone _______________________________________________ Fax: _______________________________________________ Mobile phone _______________________________________________ E-Mail _______________________________________________ _______________________________________________ Course Attended _________________________________________ Signature _______________________________________________ Date ______________________________________________
๖๙ Coach Task List Agree on a suitable time and place to have the coaching session Plan the coaching session Ensure that sufficient resources are available (suitable equipment) Arrive early and check that the facilities are safe, suitable and ready Check the availability of the facility for future sessions Check that the name address and phone number of the following are available Find the nearest phone/call card/coins/mobile phone or have your own Local doctor Name………………………………………………Tel……………………………………….. Address………………………………………………………………………………………… Local doctor Name………………………………………………Tel……………………………………...... Address………………………………………………………………………………………… Local vet Name………………………………………………Tel……………………………………….. Address………………………………………………………………………………………… Local hospital Name ………………………………………………Tel ………………………………………. Address………………………………………………………………………………………… Check that there is a First Aid Emergency kit available1 with the following: - Triangular bandage - Assorted conforming bandages - Cotton wool - Sterile dressings - Lint - Scissors - Elastoplast - Bottle of Savlon Introduce yourself and welcome all the riders Complete a list of personal details of all the riders and horses Check that riders are aware of arena protocol 1 It may be more suitable to carry your own kit
๗๐ Session Planner (Sample session) Session number Number of riders Date___________________________ 1. Outcomes By the end of the session the rider(s) will be able to Have a light Seat in all 3 paces Trot over poles with a light seat (raise Trotting Pole if confident) Maintain Rhythm with relaxation whilst maintaining contact 2. Content 3. DELIVERY/METHOD (How will you involve the rider(s)?) (What subject are you going to teach?) (How will you explain to the rider(s)?) (What information do you need to teach it? What do you want to (What you as a coach should do? I.D.E.A) see the athlete do?) SUBJECT: LIGHT SEAT & TROT POLES I Start : Introduce the session D Demonstrate “Light Seat” Start: Good walk warm up E Main part: Attend to “the practice” Light seat practice.Serpentine,Training scale; Rhythm, Relaxation and Contact Main part: A Check the riders’ feeling- “muscles\" Use transitions through all 3 paces Heels- Contact- hands following Look forward- Independent Seat Explain- Perfecting this gives an independent seat Centre of pole-Color Conclusion: Give practice for homework (i.e. distances) Conclusion: Cool Down- Home work 4. Personal reminders for the coach (I must not forget to) I must not forget to keep using open questions to involve the riders. Remember to check up on previous homework. Keep checking poles don’t move 5. Resources (What equipment is needed to make the session safe, worthwhile and enjoyable?) 14 Colored poles- two sets of trotting poles with parallel poles in & out Twelve bricks to raise the trotting poles
๗๑ Personal Evaluation of the Session (Sample session) What did you do during the session? How did the rider perform? How did the horse perform? Light seat (improving) Start: Very determined, he/she recognizes Start: Fresh as always, he has a great Rider are asking more accuracy from themselves that she/he collapses over the fences temperament. Work on tracking up Main part: Fitness is improving, keeping Main part: Horse can fall behind the bit focused on a lot of points is hard for and slow up through the trotting poles. her/him Wavering with the straightness when the rider lacked impulsion Conclusion: She/he needs to practice a lot before the next lesson Conclusion: Cool down was good and very relaxed What went well during the session? – explain why. 1. Rider recognized her balance and weakness 2. The Horse starts to lower its head and neck 3. There is no more rushing If the lesson was repeated what area would you improve upon and how would you improve it? 1. Need to move position of trotting poles 2. Use the arena, use the diagonals 3. Use related lines with the poles In the next session I will include the following: Raising middle trotting pole/brick.
๗๒ Session Planner (For your personal use) Session number Number of riders Date___________________________ 1. Outcomes By the end of the session the rider(s) will be able to ____________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ ____________________________________________________________________________ 2. Content 3. DELIVERY/METHOD (What subject are you going to teach? (How will you involve the rider(s)? What information do you need to teach it? How will you explain to the rider(s)? What do you want to see the athlete do?) What you as a coach should do? I.D.E.A) Start: Start: Main part: Main part: Conclusion: Conclusion: 4. Personal reminders for the coach (I must not forget to) 5. Resources (What equipment is needed to make the session safe, worthwhile and enjoyable?)
๗๓ Personal Evaluation of the Session What did you do during the session? How did the horse perform? How did the rider perform? What went well during the session? – explain why. 1. __________________________________________________________________________ 2. __________________________________________________________________________ 3. __________________________________________________________________________ If the lesson was repeated what area would you improve upon and how would you improve it? 1. __________________________________________________________________________ 2. __________________________________________________________________________ 3. __________________________________________________________________________ In the next session I will include the following:
Rider and Horse Profiles ๗๔ 5 Rider ______________________________Age______ Tel No_____________________________ Address________________________________________________________________________ E-mail: ________________________________________________________________________ Physical (Rank fitness from 1 – 5 one being very unfit and five being extremely fit) Fitness 1234 Riding/Competition Strengths Riding/Competition Weaknesses Other information: Medical history if appropriate Aims/Goals - Short term coaching plans Long Term Coaching Plan Horse Details Type____________________________________Age_______________Sex__________________ Horse Strengths Horse Weaknesses Other Relevant Comments Competition Record
๗๕ Rider’s Name: …………………………………………………….. HORSE Competition Competition Place Number of Date Type/level achieved entries
I D E A PRINCIPLE ๗๖ How Do I Introduce Skills? Degree of Skill Learning HIGH You Can Learn To Coach Successfully With This IDEA I Introduce the skill D Demonstrate the skill E Explain the skill A Attend to participants practicing the skill How Methods of Teaching Skills Compare MEDIUM LOW Nothing COACHING METHODS Explain, Demonstrat Explain Explain & Explain e & Guide only Demonstrate & Guide Benjamin Franklin once said, “YOU TELL ME, I FORGET, YOU TEACH ME, I LEARN, YOU INVOLVE ME, I REMEMBER
๗๗ วชิ าการบรรทุกต่าง ๑. กลา่ วท่ัวไป ก. ประวตั คิ วามเปน็ มาของหนว่ ยสตั ว์ตา่ ง ๑. เม่ือ พ.ศ. ๒๔๙๐ โดยกองทพั บกไดจ้ ดั ใหม้ หี น่วยทหารมา้ โดยการใช้สตั วพ์ าหนะในการ สนับสนนุ การทาการรบในภมู ิประเทศทยี่ ากลาบาก เช่น ปุาเขา โดยต้งั เป็น กองพันทหารมา้ ภูเขา (บรรทุกต่าง) ขน้ึ ตามอตั ราการจัดยุทโธปกรณ์หมายเลข ๑ – ๒ แอล ตอ่ มากระทรวงกลาโหมไดพ้ ิจารณาแก้ไขการจดั กองทัพบก ใหม่ ตามข้อบงั คบั กระทรวงกลาโหม วา่ ด้วยอัตรากาลังพล (ฉบบั ที่ ๒๗) ลง ๒๖ พ.ค.๒๕๐๔ เปลีย่ นแปลง การจัดกองพันทหารมา้ ภูเขาใหม่ เปน็ กองพนั ทหารม้าตา่ ง ใช้ อจย.หมายเลข ๒ – ๑ ต. ๒. ประวตั ิกองพนั สัตว์ตา่ ง ๒.๑. เนือ่ งจากปัจจุบันประเทศไทยไดป้ ระสบปัญหาสงครามนอกแบบ ซึง่ ฝาุ ยตรงข้าม พยายามท่จี ะใช้ภูมปิ ระเทศที่เป็นปุาเขาและถ่นิ ทุรกนั ดาร เป็นพนื้ ที่ปฏิบตั ิการในการกอ่ การร้ายและปฏบิ ตั ิการ ทางทหาร ทาใหเ้ กิดความยงุ่ ยากในการปราบปรามโดยเฉพาะในดา้ นการส่งกาลงั บารุง ต่อหนว่ ยกาลังรบท่ี ปฏบิ ัติการในภมู ปิ ระเทศดังกลา่ วแล้ว กองทัพบกได้ตระหนักถึงปญั หานี้ จึงพยายามหาวิธแี ก้ปญั หา ในการสง่ กาลังบารุงใหแ้ ก่หน่วยทปี่ ฏบิ ัติการรบในถน่ิ ทุรกนั ดาร จงึ กาหนดให้จัดต้ังหน่วยสตั ว์ตา่ งขนึ้ เพื่อแกป้ ัญหาดังกลา่ ว ๒.๒ นับตง้ั แตป่ ี พ.ศ. ๒๕๐๙ เป็นตน้ มาประเทศไทยได้ถูกรุกรานจากฝาุ ยคอมมิวนีสต์ ซึง่ ไดร้ ับการสนบั สนนุ จากภายนอกประเทศ และมีการปฏิบตั กิ ารทีร่ ุนแรงย่ิงขน้ึ ประกอบกับสถานการณ์ทางการ เมอื งของประเทศฝุายโลกเสรมี ีการผันผวน เกดิ ความไมม่ ่ันคงแน่นอน ทาใหค้ วามหวงั ท่ีจะได้รบั การชว่ ยเหลือจาก ประเทศพนั ธมติ รเป็นไปได้ยาก กองทัพบกจงึ ตกลงใจกาหนดแผนปอู งกนั ตนเองขน้ึ เพื่อทาการรบและปราบปราม ด้วยกาลงั และสนับสนนุ ช่วยเหลือตนเองกอ่ นในขั้นตน้ เรยี กวา่ “ แผนพัฒนากองทัพบก – รามคาแหง ” โดยจดั ขยายกาลังและการจดั ต้งั หนว่ ยขึ้นใหม่ตามงบประมาณท่ไี ด้รับและการชว่ ยเหลือจากมติ รประเทศทีม่ ีอยู่ เชน่ สหรัฐอเมริกาเป็นต้น ๒.๓ กองพนั สตั ว์ตา่ ง จึงเกดิ ขึ้นเปน็ หนว่ ยหนึ่ง ซึ่งได้รับอนมุ ัติอตั ราประกาศใช้ตาม ข้อบงั คับกระทรวงกลาโหมวา่ ดว้ ยอตั รากาลังพลกองทัพบก (ฉบบั ที่ ๘๓ ) พ.ศ.๒๕๑๓ ลง ๒๐ ต.ค.๑๓ และคาสง่ั กองทพั บก (เฉพาะ) ลับที่ ๑๙/๑๔ ลง ๒๒ ก.พ.๑๔ เรือ่ งใหใ้ ช้ อจย. ของกองพันสตั ว์ต่าง จดั ตัง้ หนว่ ยกอง พันสัตวข์ ึน้ ตามคาสัง่ กองทัพบกที่ ๓ /๒๕๑๔ ลง ๒๖ ก.ค.๑๔ เรอ่ื ง ใหจ้ ัดต้ังกองพันสตั ว์ต่าง โดยใช้อตั รา การจัดยทุ โธปกรณห์ มายเลข ๔ – ๑๕ (๑๔ เม.ย.๑๓) ใชช้ ือ่ หน่วยวา่ “กองพนั สตั ว์ตา่ งกรมการสัตวท์ หารบก” ช่อื ยอ่ ว่า “พัน สต.กส.ทบ.” เปน็ หน่วยข้นึ ตรงต่อกองทัพบก โดยฝากการบังคับบัญชาไวก้ ับกรมการสัตว์ ทหารบก มที ต่ี ั้งปกติอยู่ที่ อ.แมร่ ิม จ.เชียงใหม่ ดังนน้ั กรมการสัตว์ทหารบก จึงเป็นหนว่ ยกาเนดิ ของกองพันสตั ว์ ตา่ ง และเป็นเจา้ ของโครงการดาเนนิ การจัดตง้ั บรรจกุ าลังพล และเจา้ หน้าท่ี ตลอด จนการดาเนินงานในดา้ นการศกึ ษา การฝกึ และอ่นื ๆ ซึ่งกองทัพบกพิจารณาเหน็ แล้วว่า กรมการสตั ว์ทหารบก เป็นหน่วยสายยุทธบรกิ าร มีหนา้ ท่ีควบคุมจดั หา และผลติ สตั ว์พาหนะของกองทัพบกอยู่แล้ว ๒.๔ ตอ่ มาในปี พ.ศ.๒๕๒๐ – ๒๕๒๑ กองทัพบกได้แต่งตง้ั คณะกรรมการขึ้นคณะ หน่งึ ร่วมกบั กรมการสตั วท์ หารบก ทาการทดสอบ อจย.๔ – ๑๕ ของกองพนั สตั ว์ตา่ ง เพือ่ ปรบั ปรงุ แก้ไขให้ เหมาะสมยงิ่ ขนึ้ ไดร้ บั อนุมัติให้ใช้ อจย.๔ – ๑๕ (๙ พ.ค.๒๒) ท่ปี รบั ปรงุ แก้ไขใหม่ ตงั้ แต่ในปี ๒๕๒๒ จนถึง ปัจจบุ ัน
๗๘ แผนกวชิ าการขี่ม้า กศ.รร.ม.ศม. ได้แบ่งแขนงวิชาออกเป็น ๔ แขนงวชิ าดว้ ยกนั วิชาการบรรทกุ ตา่ งกเ็ ปน็ อกี แขนงวชิ าหน่ึง มีหน้าที่สอนวชิ าการบรรทุกต่าง ให้แกห่ ลกั สูตรของโรงเรียนทหารมา้ ตลอดจนสาธิต ใหผ้ ูต้ อ้ งการชมการบรรทุกต่างด้วย ๓. ความมุ่งหมายของวชิ าการบรรทุกตา่ ง เพอื่ - ใหน้ ักเรียนได้รู้ถึงส่วนตา่ ง ๆ ของต่าง และส่วนประกอบของตา่ งแตล่ ะอยา่ งทเ่ี ราจะ นามาใชง้ านในการบรรทุกตา่ งตลอดจนวิธกี ารบรรทุกอาวุธยทุ โธปกรณแ์ ละเสบยี งต่าง ๆ - ใหน้ ักเรียนไดร้ ู้ถึงสตั ว์ต่างท่เี ราจะนาเอามาทาเป็นสตั วต์ ่าง ซงึ่ หาได้งา่ ยราคาถกู ไม่ เปลอื งงบประมาณค่าใชจ้ า่ ยมากนัก ในพ้นื ทน่ี ั้น ๆ เชน่ ล่อ วัว ควาย ชา้ ง เป็นตน้ ตวั อยา่ งเชน่ ในทะเลทรายจะใช้ ม้าและอูฐเปน็ พาหนะหรอื ในเขตเมืองหนาวเขาจะดัดแปลงและเลอ่ื นให้สุนัขลากไปในหมิ ะ สว่ นทางราชการทหาร เราจะใช้เพยี งม้ากับลอ่ เท่านัน้ - ใหน้ กั เรียนมีความร้คู วามเข้าใจในการฝึกสัตว์ ตลอดจนการผกู เคร่ืองตา่ ง และผูกตา่ ง - ใหท้ ราบถึงภารกจิ ของหน่วยบรรทุกต่าง เพอ่ื สนับสนนุ แกห่ นว่ ยรบในถ่ินทุรกันดาร ที่ ยานพาหนะอ่นื ไม่สามารถสนับสนนุ ได้ ซ่งึ จะเป็นการแบง่ เบาการบอบช้า การตรากตรา เพอ่ื ใหห้ น่วยเคลอ่ื นที่ได้ รวดเรว็ ขึ้น เช่น ตามปาุ เขา ทไ่ี มม่ ีเสน้ ทางสาหรับยานยนต์สายพาน หรอื การสง่ กาลงั บารุงทางอากาศ ซ่ึงไมส่ ามารถ สนับสนนุ ได้ทกุ ภมู ปิ ระเทศ เชน่ ประเทศของเราบางแห่ง - ให้นกั เรยี นไดเ้ รยี นรู้ถงึ การจดั หนว่ ยของกองพนั สตั ว์ตา่ ง - การศกึ ษาใหร้ ูถ้ งึ เร่ืองต่างอยา่ งดี ก่อนอ่นื ต้องทราบถึงสว่ นตา่ ง ๆ ของตา่ ง ตลอดจน ความหมายของส่งิ ต่อไปนเี้ สียก่อน ๔. สว่ นประกอบของตา่ ง และความหมายทั่วๆไป ๑. ตา่ ง คอื สิ่งที่บรรทกุ อยู่บนหลังสัตว์ตา่ ง รวมทั้งเครื่องต่างและสัตว์ต่าง ส่วนการเรยี ก น้ัน เราจะเรียกตามลาดบั ก็ได้ เช่น ต่างท่ี ๑ ต่างท่ี ๒ ตา่ งท่ี ๓ หรอื จะเรยี กตามอาวธุ ยุทโธปกรณท์ ่บี รรทุก เช่น ตา่ ง ปก.๖๐ ตา่ งกระสุน ตา่ งวิทยุ ก็ได้ ๒. สัตว์ตา่ ง คอื สตั ว์ทใี่ ชบ้ รรทุกสิ่งของหรืออาวุธยทุ โธปกรณต์ ลอดจนเครือ่ งตา่ ง เราเรยี กวา่ สัตว์ต่าง ถา้ เราใช้ม้าเรากเ็ รียกว่ามา้ ตา่ ง ถา้ ใช้ลอ่ จะเรยี กว่าลอ่ ตา่ ง ๓. เครอื่ งตา่ ง คอื บรรดาเครอื่ งทป่ี ระกอบขึ้นรองรบั ของสาหรับจะวางบรรทกุ ลงไปบน หลังสตั ว์ต่าง ซ่งึ เราแบง่ เป็น ๓ ประเภทใหญ่ ๆ คอื ๓.๑ ต่างทัว่ ไป ๓.๒ ต่างไคแยค ( ต่างเอนกประสงค์ ) ๓.๓ ตา่ งเฉพาะ ๓.๑.๑ ต่างทวั่ ไป เปน็ ต่างทใี่ ช้มาต้ังแตส่ มัยอดีตจนถงึ ปจั จบุ นั แต่ปจั จุบันไมค่ ่อยนิยใช้ เพราย่งุ ยากในการประกอบและติดตั้ง มขี นาดใหญ่ น้าหนกั มาก ตา่ งทั่วไปประกอบด้วยสว่ นใหญ่ ๆ ดังน้ี ก. แหย่งตา่ ง หรอื เรยี กสน้ั ๆวา่ แหย่ง คอื โครงเหล็กหรือหวาย หรอื ไม้ และอนื่ ๆ ซึ่งทาเปน็ รปู โค้งเพ่ือใหเ้ ขา้ กบั หลังสตั ว์ เพื่อบรรทกุ อาวธุ ยทุ โธปกรณ์ตลอดจนสัมภาระต่าง ๆ ข. เคร่ืองอานต่าง แบ่งเปน็ สว่ ยยอ่ ย ๆ ดังน้ี ๑. อานตา่ ง มหี นา้ ทรี่ กั การเกาะจากแหย่ง ทาด้วยไม้ ๒ ชน้ิ ยึดตดิ กับโครงเหล็ก ดา้ น ท้ายของเหลก็ จะมรี ูสาหรบั สอดสายซองหาง เม่ือใชง้ านจะวางบนเบาะรองอานต่าง
๗๙ ๒. เบาะรองอานตา่ ง คือ เบาะทใ่ี ช้รองระหว่างหลงั สัตวต์ า่ งกบั อานตา่ งชนดิ ตา่ ง ๆ เพ่ือปูองกันการเสยี ดสีกนั ระหวา่ งอานตา่ งกับหลังสัตว์ต่าง ๓. สายรดั กมุ มหี น้าทย่ี ึดตรึงหรือประกอบส่วนต่าง ๆ ของเคร่ืองต่างเข้าดว้ ยกัน ประกอบดว้ ย ๓.๑ สายผ่านอกและสายผ่านคอ ๓.๒ สายผ่านทา้ ยและสายผ่านหลงั ๓.๓ สายซองหาง ๓.๔ สายรดั ทึบ ๔. ผ้าปหู ลงั คือ ผา้ ทใ่ี ชป้ ูหลงั สัตวต์ ่างกบั ส่ิงอนื่ เพ่ือปูองกันการเสียดสีของสัตว์ใน ขน้ั แรก ๓.๑.๒ ตา่ งไคแยค ( ตา่ งเอนกประสงค์ ) เปน็ ตา่ งท่ีใชง้ านได้อย่างประสงค์ และสะดวก งา่ ยแก่การติดตงั้ มีนา้ หนักเบา ปัจจุบนั ใช้ตา่ งชนิดน้ี ประกอบดว้ ยส่วนใหญ่ ๆ ดงั นี้ ก. โครงอานต่าง ข. เบาะรองอานต่าง ค. ถงุ ประกอบต่าง ซา้ ย – ขวา ง. สายรดั กุม ๑) สายรดั ทึบ ๒) สายผา่ นอก ๓) สายผ่านท้าย ๔) สายรั้งสายผา่ นท้าย จ. สายประกอบโครงอานตา่ ง ๑) สายผูกตรึงสายรดั ทบึ ๒) สายร้ังสายผ่านอก ๓) สายร้ังสายผา่ นทา้ ย ๔. คุณลกั ษณะของแหย่งตา่ งที่ดี ๑. ตอ้ งเบาและเหมาะสมกบั หลังสตั วต์ า่ ง หรอื กาลังของสัตวท์ ่จี ะบรรทุกหรือลาก ๒. แสวงหาเคร่อื งต่างได้ง่ายในภมู ในประเทศ ๓. จดั ทาขึ้นได้ง่าย ๔. สามารถใช้งานได้ดเี มือ่ ติดตั้งบนหลังสัตว์ต่างในการบรรทุกหรือลากไป ๕. ไม่เกะกะเก้งก้างเม่ือทาการบรรทุกเสรจ็ ๖. ราคาถกู ๕. การคัดเลอื กสตั ว์ตา่ ง ๑. สัตว์ท่จี ะนาเอามาทาสัตวต์ ่างนนั้ เราจะใช้สตั ว์อะไรก็ได้ ทส่ี ามารถทาการบรรทุกตา่ ง ได้ เช่น ม้า ลา อฐู ลอ่ ววั ควาย และชา้ ง ตามแต่ภมู ิประเทศจะหาได้ และต้องหมายถงึ สัตว์ที่เคยไดร้ บั การเลย้ี งดู และได้เคยบรรทุกตา่ งหรือดัดแปลงเพ่ือแบ่งเบาภาระเรามาแลว้ ไม่ใชจ่ บั มาแล้วบรรทุกต่างไดเ้ ลย
๘๐ ๒. สตั วท์ ่ีหน่วยทหารมา้ ใช้ มี ๒ ชนิด คือ ม้า และล่อ ซึง่ ควรมนี ้าหนักต้ังแต่ ๑๕๐ กก.ข้ึน ไปและมีความสูงไม่น้อยกว่า ๑.๒ ม. ๒.๑) มีรูปรา่ งล่าสันแขง็ แรง ๒.๒) หลังส้นั พอเหมาะและตรง มกี ล้ามเนื้อมาก ๒.๓) ตะโพกและกน้ กบตา่ ๒.๔) ท้องใหญพ่ อรัดสายรัดได้ดี ๒.๕) ท่อนขาแข็งตรง ๒.๖) ขอ้ ใต้ตาตมุ่ สน้ั ๒.๗) กีบดี 3. นอกจากทก่ี ล่าวมาแลว้ สัตวต์ ่างควรจะ ๓.๑) เช่อื งและอารมณด์ ี ๓.๒) ไม่โมโหง่าย ๓.๓) ไมต่ นื่ กลัว ๓.๔) ไมต่ ิดฝูงโดยไปไหนมาไหนไดโ้ ดยอิสระ ๓.๕) อดทนต่อภมู ิอากาศตา่ ง ๆ ได้ ๓.๖) ขณะเคล่อื นตวั ลาตัวเคล่ือนไหวเล็กน้อย เม่อื บรรทุกอุปกรณ์ต่าง ๆ จะได้ไม่โครง เครง ๔. ลักษณะเสยี ของสตั วท์ ี่ไม่ควรเอามาทาเป็นสตั ว์ต่าง ๔.๑) ตะโหงกหนาหรือบางเกินไป ๔.๒) หลังสัน้ มาก บางมากและอาจโคง้ มากด้วย ๔.๓) อกห่อแฟบ ๔.๔) ท้องใหญ่มากเกินไป ๖. การฝกึ สัตว์ต่าง ตอ้ งการฝกึ สตั วต์ ่างท่รี ับมาจากกรมการสตั วท์ หารบก หรือลูกม้าของแผนกเองใหม้ ีความเคยชิน และบรรทกุ น้าหนักได้มาก สามารถเดินทางได้ระยะไกล ๆ โดยไมเ่ หน็ดเหน่ือย ฉะนัน้ เราตอ้ งฝึกให้เปน็ ขนั้ ตอน ตามลาดบั เสียก่อน สาหรับหน่วยทหารม้าเราใช้ม้าและลอ่ เปน็ หลัก ในขนั้ แรกเฉพาะม้าต้องให้หมวดวิชาการฝกึ ม้า ใหม่ ทาการฝึกวิชาม้าใหมเ่ สยี ก่อน ๑๗ สปั ดาห์ ซง่ึ ครบหลักสตู รการฝึกม้าใหม่ขั้นที่ 1 เมอื่ ครบแล้วเราจะแยกม้าที่ เหมาะสมสาหรับเปน็ มา้ ขแี่ ละมา้ ต่างออกจากกัน เพ่ือทาการฝกึ ขีม่ า้ และม้าต่างตอ่ ไป หรือผบู้ งั คับบัญชาอาจจะให้ หมวดวิชาการบรรทุกตา่ ง ทาการฝกึ ม้าและลอ่ ทเี่ ราจะเอามาทาเปน็ สตั วต์ ่างเองก็ได้ อปุ กรณ์การฝกึ สตั วต์ ่างน้นั เกือบจะเหมอื นกบั ม้าใหม่ทุกประการ และการฝกึ สตั ว์ต่างอาจฝกึ ประกอบกบั การบรรทุกเคร่ืองตา่ งไปด้วยก็ไดจ้ ากเบาไปหาหนัก ทงั้ นท้ี ุกขนั้ ตอนต้องมีการปรนนบิ ัติบารงุ ควบคู่ไป ตลอดเวลาทง้ั ก่อนและหลงั ใช้งาน
๘๑ ๗. ปัจจยั สาหรบั การฝกึ สัตว์ขน้ึ อย่กู ับสงิ่ ต่อไปนี้ - การเลอื กพนั ธุข์ องสัตวต์ า่ ง - นิสยั ของสตั วแ์ ต่ละตัว - อายขุ องสตั วต์ ่าง - สถานที่ ลกั ษณะภูมิประเทศ และดนิ ฟูาอากาศ - ทอี่ ยู่อาศัย - สนามฝกึ - อปุ กรณ์การฝึก ๘. คณุ สมบัตผิ ้ฝู ึกสัตวต์ า่ ง - ตอ้ งเป็นคนที่มีความชานาญ - ตอ้ งไม่กลวั สัตว์ - ต้องมีความอดทน - ตอ้ งมีความเมตตากรณุ าตอ่ สัตว์ เขม้ แข็งและใจเย็น ขอ้ ควรจาในการฝกึ สัตว์ อย่าลงโทษหรือทารณุ สตั ว์โดยไม่จาเปน็ ควรใช้เสียงดหุ รอื ปลอบและพยายามใหเ้ คยชนิ กบั สัตวจ์ นกว่าจะ เชื่อง ถ้ายง่ิ เป็นล่อแลว้ ถ้าลงโทษด้วยการตีทาให้เจบ็ ปวด จะทาให้ฝึกยากเพราะลอ่ มีกาลังมากและชอบโกงและโง่ ทึบยง่ิ กว่ามา้ หลายเทา่ และสัตว์ต่างบางตัวทมี่ ีรปู ร่างผิดแปลกไปจะตอ้ งใชเ้ วลาในการฝกึ นานกว่าสัตวท์ ม่ี ีรูปรา่ งได้ สัดส่วน ๙. การเตรยี มการฝกึ สัตวต์ า่ ง ๙.๑ เจ้าหน้าท่ีในการฝึก - ผอู้ านวยการฝกึ - ผช.ผูอ้ านวยการฝกึ (ส.๑ นาย) - ผ้ฝู ึกสตั ว์ - ผช.ผ้ฝู ึกสตั ว์ ครูฝึกสัตว์และ ผช.ครฝู ึกสตั ว์ - สตั วแพทย์ ( น.๑ นาย , พร้อมลูกมือ) ๙.๒ อปุ กรณก์ ารฝกึ - เชือกลา่ มเท่าจานวนสตั ว์ (ความยาวประมาณ ๖ – ๗ ม.ครึ่ง) - เชือกจูงต่าง ( ยาวประมาณ ๑.๕๐ ม.) - บงั เหยี น - ขลมุ จงู - แสต้ วี ง - กระสอบสาหรบั บรรทุกนา้ หนัก - เชือกสาหรับผกู สิ่งของกับอานตา่ งเท่าที่จาเปน็ - สิ่งทท่ี าให้เกิดเสยี ง เชน่ กระปอ๋ ง ผา้ เตน้ ท์ แตรรถยนต์ ประทัด ฯลฯ - เครื่องทกุ ชนดิ - สิ่งของบรรทุกตามความจาเป็น
๘๒ ๙.๓ ลาดบั การฝกึ สตั วต์ า่ ง ก่อนที่ผอู้ านวยการฝกึ ตอ้ งมอบสตั ว์ให้ประจาแก่ครูฝกึ สตั วท์ ึกคน เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความใกลช้ ิดและคุ้นเคย และต้องคอยปรนนิบตั ิบารุง ใหส้ ตั วส์ มบูรณอ์ ยู่ตลอดเวลา ก่อนการฝึกต้องให้ ทราบถึงสภาพสัตวท์ ่ีจะทาการฝึกเม่ือมีปญั หาเกี่ยวกับสัตว์จะได้แจ้งใหส้ ตั วแพทย์ทราบเพ่อื แกไ้ ขต่อไป (สัตว์ตัว ใดตื่นงา่ ยค่อนข้างขีโ้ กง กม็ อบให้ผู้ใจเยน็ และแข็งแรงเปน็ ผู้ฝึก) ๙.๔ การฝกึ ควรฝึกเป็นขั้นตอนดงั น้ี ๙.๔.๑ ฝึกความคุน้ เคย ๙.๔.๒ ฝกึ การจูงสตั วด์ ้วยขลมุ จูงโดยการจงู บงั คบั ๙.๔.๓ ฝกึ การออกกกาลังกายโดยการตวี งทางขวา – ซา้ ย ข้างละประมาณ 5 นาที ๙.๔.๔ ฝึกให้คุน้ เคยกับบังเหยี น ๙.๔.๕ ฝกึ ใหค้ ุ้นเคยกับแสงสีเสียง และส่งิ ของต่าง ๆ โดยการนาสัตว์ผา่ นสง่ิ ของตา่ ง ๆ ๙.๔.๖ การฝึกทาบตวั เพ่ือต้องการใหส้ ตั ว์รู้จกั รับนา้ หนัก ๙.๔.๗ ฝึกการขึ้น – ลงทางซ้ายและขวา ๙.๔.๘ ฝกึ ให้สัตว์คุ้นเคยกับผา้ ปหู ลัง เคร่ืองอาน การรดั ทึบ และการผกู ปลดเครือ่ งอานตา่ ง ขัน้ แรก อย่ารัดทบึ ให้แนน่ มาก แลว้ กเ็ ดินหยุด เมอื่ เหน็ ว่าสตั ว์ไมต่ นื่ กลวั แล้วค่อยรดั สานรัดทึบตอ่ ไป ๙.๔.๙ เม่ือสัตวต์ ่างได้รับการฝึกตามขึ้นตอนเรยี บรอ้ ยแลว้ จงึ จะต้องฝึกสตั วก์ บั เคร่ืองอานตา่ ง และฝกึ บรรทุกนา้ หนัก เพอ่ื ที่จะใหส้ ตั วบ์ รรทุกอาวุธยทุ โธปกรณ์ตลอดจนสัมภาระต่อไป ๑๐. การฝกึ การบรรทกุ ตา่ ง การการบรรทุกต่างจนสามารถทาการบรรทุกสิง่ อุปกรณ์และทาการขนส่งได้ แบง่ ขน้ั ตอนการฝึกออกเป็น ๓ ข้นั ตอน คอื 1. การฝกึ ประกอบ และถอดเคร่ืองอานต่าง 2. การผูกและปลดเคร่ืองอานต่างกับสตั ว์ต่าง 3. การฝกึ การบรรทกุ ต่างและการปลดต่าง การฝกึ ประกอบ – ถอด เครือ่ งอานต่าง ผู้รบั การฝึก ๑ นาย เครอื่ งอานตา่ ง ๑ ชดุ มรี ปู แถวดงั น้ี ก. ผรู้ ับการฝกึ ข. อานต่าง ค. สายรัดกุม (สายผา่ นอก สายผา่ นคอ สายผา่ นทา้ ยและผ่านหลัง สายซองหาง สายรัดทบึ ) ง. เบาะรองอานต่างและผ้าปหู ลัง หมายเหตุ แถวแต่ละแถวห่างกันประมาณ ๔ กา้ ว คาบอกคาสัง่ ในการฝึกการถอดประกอบเครื่องอานตา่ งมีขึน้ ตอน ดงั น้ี ๑) “ประจาท่ี” ผู้รับการฝึกเขา้ ประจาทีแ่ ละยนื ตามระเบียบพักในจุดที่กาหนดใหห้ ลังอานต่าง ๔ ก้าว ๒) “ประกอบเครื่องอานต่าง” ผรู้ ับการฝึกทาท่าตรงแล้วว่ิงไปทอ่ี านต่าง ลาดับในการประกอบเครอ่ื งอานต่าง คาบอกคาสง่ั “ประกอบ - เครื่องอานตา่ ง ” - นาอานตา่ งมาประกอบกนั กับเบาะรองอานต่าง โดยเอาผา้ ปหู ลังทีค่ ลุมรองอานตา่ ง ออกไวท้ างขวาของเบาะรองอานต่าง โดยพับคร่งึ เอาอานต่างกับเบาะรองอานต่างมาประกอบกัน - นาสายผ่านอก และผา่ นคอ ไปประกอบกบั สายรัง้ สายรดั ทึบของอานต่าง (แหยง่ เหลก็ )
๘๓ - เสรจ็ แลว้ เกบ็ สายรัดกุมให้เรียบร้อยเอาผ้าปูหลงั คลมุ ก่อนให้คลผ่ี า้ ปหู ลงั ออกสลดั ให้ เศษหญ้าหรือไม้ซึง่ อาจจะติดมากับผา้ ปูหลังออกเสยี ก่อน - เม่อื ผ้าปูหลงั เสร็จเรียบร้อย ใหผ้ รู้ ับการฝึกออกมายืนอยู่หา่ งจากเครื่องอานต่างท่ี ประกอบประมาณ ๔ ก้าว เสรจ็ แลว้ รายงานว่า “ประกอบเครอ่ื งอานต่างเรยี บร้อย” ลาดับในการถอดเครือ่ งอานต่าง คาบอกคาสั่ง “ถอด - เครอ่ื งอานต่าง” - เอาผ้าปูหลงั ท่ีคลุมเบาะรองอานตา่ งออก (นาไปวางทเี่ ดิม ) - ถอดสายรัดทึบ ( นาไปวางทเ่ี ดิม ) - ถอดสายซองหาง ( นาไปวางท่ีเดิม ) - ถอดสายผา่ นท้ายและสายผา่ นหลงั ( นาไปวางทเ่ี ดิม ) - ถอดสายผ่านอกและสายผ่านคอ ( นาไปวางที่เดิม ) - ถอดอานต่าง ( นาไปวางทเ่ี ดิม ) เสรจ็ แลว้ ผูร้ ับการฝกึ มายืนหา่ งประมาณ ๔ กา้ ว แล้วรายงาน “ ถอดเคร่ืองอานต่างเรียบรอ้ ย” การฝกึ ผูกและปลดเคร่อื งอานต่างกับสตั วต์ ่าง มรี ายละเอยี ดดงั น้ี - ผู้รบั การฝกึ ๓ นาย - เคร่อื งอานตา่ ง ๑ ชดุ - สตั วต์ ่าง ๑ ตวั รูปแถวการฝึก - ลาดับแรกสตั วต์ า่ งหนั หน้าตรงไปข้างหนา้ โดยใหส้ ่วนทา้ ยหนั มาทางผู้รับการฝึก - ต่อไปเป็นเครอื่ งอานต่างหา่ งจากทา้ ยสัตว์ต่างประมาณ 4 กา้ ว คาบอกคาสั่ง “ ประจาที่ ” ผู้รบั การฝึก 3 นาย วง่ิ เข้าไปเขา้ แถวหน้ากระดาน หมายเลข 1 หวั แถว เป็น พลจบั สตั วต์ า่ ง หมายเลข 2,3 ประจาเคร่ืองตา่ ง คาบอกคาสั่ง “ประจาตาแหน่ง” วธิ ปี ฏิบัติ - พลจบั สัตวต์ า่ ง หมายเลข 1 ซ่ึงอยู่ทางขวาสดุ วงิ่ ไปจับสัตว์ต่างทีม่ คี นจบั ไวใ้ ห้แล้วโดย หันหนา้ เขา้ หาหนา้ สตั ว์ ยงั ไม่ต้องทาอะไรท้ังนนั้ นอกจากรับสัตวต์ า่ งเท่าน้นั - หลหมายเลข 2,3 วิ่งตรงเขา้ ประจาตาแหนง่ อยหู่ ลงั เคร่ืองอานตา่ งประมาณ 1 กา้ ว โดย หมายเลข 2 อยู่ทางขวา หมายเลข 3 อยูท่ างซ้ายนงั่ คุกเข่าๆ ขวาแตะพืน้ คาบอกคาสั่ง “ตรวจเครือ่ งอานตา่ ง” - พลจับสัตว์ตา่ งตรวจสตั ว์ต่าง - พลหมายเลข ๒,๓ ตรวจเครอ่ื งต่างเมื่อเสร็จเรยี บรอ้ ยแล้ว - พลจับสัตวต์ ่างรายงาน “ สตั วต์ า่ งเรียบรอ้ ย” โดยหันหน้าเข้าหาสัตว์ต่างอยา่ งเดมิ หมายเลข ๒ รายงาน “เคร่ืองอานต่างเรยี บร้อย” เมอื่ ทุกอย่างเรยี บร้อยผฝู้ ึกส่งั วา่ “ผูกเคร่ืองอานต่าง” - พลจับสัตวต์ า่ งอย่นู ่งิ ๆ - พลหมายเลข ๒,๓ ชว่ ยกันแยกเครอื่ งอานต่างข้นึ ไปบนหลงั สัตวต์ ่างแลว้ ผกู เครื่อง อานตา่ งโดยหมายเลข ๒ อยู่ทางดา้ นซ้ายและหมายเลข ๓ อยูท่ างดา้ ยขวาของสตั ว์ต่างตามลาดับดงั นี้ ๑. ติดสายผ่านอกและสายผ่านคอ ๒. รดั สายรัดทึบเบาะรองอานต่าง ๓. สายผา่ นทา้ ยและสายผา่ นหลัง
๘๔ การรดั กุมกบั สตั ว์ตา่ งจะไม่ตึงหรือหลวมเกนิ ไป ๑. เม่อื รดั กมุ ท่ีกลา่ วแลว้ ใหต้ รวจความเรยี บร้อยความพอดีของสายรัดกมุ ต่าง ๆ ๒. หมายเลข ๒,๓ กลบั มายนื ห่างสตั วต์ า่ งประมาณ ๔ กา้ วและใหห้ มายเลข ๒ ราย งาน “ผูกเคร่ืองอานตา่ งเรยี บรอ้ ย” การปลดเครื่องอานตา่ งออกจากสัตวต์ า่ ง คาบอกคาสงั่ “ปลดเครอื่ งอานต่าง” วธิ ีปฏิบตั ิดงั น้ี - หมายเลข ๑ จบั สัตว์ต่างยนื น่ิง - หมายเลข ๒,๓ ช่วยกนั ปลดเครื่องอานตา่ งออกจากสัตว์ตา่ ง โดยปฏบิ ตั ดิ ังน้ี ๑. ปลดสายรัดผ่านอกและสายผา่ นคอ (ตลบขึน้ ไว้บนเบาะ) ๒. ปลดสายรดั ทบึ เบาะรองอานตา่ ง (ตลบขน้ึ ไวบ้ นเบาะ) - จับผ้าปูหลงั และเบาะรองอานต่าง รดู มาทางทา้ ยของสตั วต์ ่าง (ใหส้ ายซองหางหลดุ จากหางสตั ว์ตา่ ง) - นาเครื่องอานตา่ งมาวางไว้จดุ เดมิ (หา่ งจากสตั ว์ต่างประมาณ ๔ ก้าว) แล้วเก็บสายรดั กุมให้ เรยี บร้อยเอาผ้าปหู ลงั ปิด - หมายเลข ๒,๓ มายนื จุดเดมิ (คอื จดุ ทปี่ ระจาทห่ี ่างจากเคร่อื งอานตา่ ง ๔ กา้ ว) - ใหห้ มายเลข ๓ รายงาน “ปลดเครอ่ื งอานต่างเรียบร้อย” - ผูฝ้ ึกบอก “กลับเข้าแถว” ผรู้ บั การฝกึ ทาท่าตรงขวาหนั เตะเท้าวง่ิ ออกจากแถวไป การฝึกการบรรทกุ ต่างและการปลดตา่ ง - ผ้รู บั การฝึก ๑ชดุ /๓ นาย - แหยง่ ตา่ ง - เครื่องอานตา่ ง - สัตวต์ า่ ง คาบอกคาสง่ั “ประจาที่” ใหเ้ จา้ หนา้ ที่ ๓ นาย วงิ่ เขา้ มาอยู่หลงั สตั ว์ต่างห่างประมาณ ๔ ก้าว รูปแถวหนา้ กระดานเข้าหาแหยง่ โดยหมายเลข ๑ เปน็ พลจับสตั ว์ต่าง หมายเลข ๒ เป็นพลประจาเครอื่ งตา่ ง และ หมายเลข ๓ เปน็ พลประจาแหย่งต่าง คาบอกคาสัง่ “ประจาตาแหน่ง” ๑. พลจับสัตว์ต่าง ๒. พลประจาเครื่องอานต่างประจาตาแหนง่ หลังเครอ่ื งอานตา่ ง ๑ ก้าว และนั่งคุกเขา่ เขา้ หา เคร่ืองอานตา่ ง ๓. พลประจาแหย่งต่างเขา้ ประจาตาแหน่ง ปฏิบัตเิ หมอื นหมายเลข ๒ หมายเลข ๑ รายงาน “สัตว์ตา่ งเรียบร้อย” หมายเลข ๒ รายงาน “เครือ่ งอานต่างเรียบร้อย” หมายเลข ๓ รายงาน “ แหยง่ ตา่ งเรียบร้อย” คาบอกคาส่ัง “ผูกต่าง” วธิ ีปฏิบตั ิ หมายเลข ๑ จบั สัตวต์ า่ งสอดมือหันหน้าเข้าหาสัตว์ตา่ ง หมายเลข ๒ นาผา้ ปูหลงั ไปปูหลงั สัตวต์ ่าง โดยเชด็ ฝุนใหส้ ะอาดเรียบรอ้ ยก่อน
๘๕ หมายเลข ๓ ขึน้ ไปรอหมายเลข ๒ ในขณะทีห่ มายเลข ๒ นาผ้าปูหลงั ไปปูหลงั สัตว์ตา่ งเพ่ือชว่ ย ประคองอานต่าง โดยหมายเลข ๓ อยู่ทางขวาของสัตว์ตา่ งเพอื่ ชว่ ยส่งสายรดั กมุ ต่าง ๆ ให้กบั หมายเลข ๒ ตามลาดบั ดังนี้ - สายผ่านคอและสายผา่ นอก - สายผา่ นทา้ ยและสายผ่านหลัง - สายซองหาง (ถ้าเปน็ แหยง่ หวายไมใ่ ช้เพราะช่องร้อนสายซองหางตดิ อยู่ท่แี หยง่ ตา่ ง) หมายเลข ๒,๓ ว่ิงมาเอาแหย่งต่าง ไปวางบนหลงั สตั ว์ตา่ ง (ระวังขณะยกผ่านทา้ ยสตั วต์ า่ ง อย่าใหแ้ หย่งต่างถูกท้ายอาจทาใหส้ ัตวต์ ื่นได้) และสายรดั กมุ ต่าง ๆ ตามลาดบั ดงั น้ี - รัดสายรดั ไม้แท่นอานต่างท้งั ๔ สาย (เฉพาะแหย่งหวาย) รดั ตรงกนั ข้ามสลับกัน รดั สายรดั ทบึ ( ใหท้ บั สายรัดทึบเบาะรองอานต่าง) - ปรบั สายรัดกมุ ให้พอดีกบั สัตว์ต่าง เช่น สายผา่ นอกและสายผา่ นท้าย - เม่อื เสร็จเรยี บร้อยหมายเลข ๑ จะยนื จบั สตั วต์ า่ งประมาณ ๔ กา้ ว ตามตาแหนง่ เดมิ ของตน - หมายเลข ๒ รายงาน “ ผูกตา่ งเรียบร้อย” คาบอกคาสั่ง “ปลดตา่ ง” วธิ ปี ฏบิ ัติ หมายเลข ๑ จับสตั ว์ตา่ งเหมอื นตอนผูก หมายเลข ๒,๓ ช่วยกันปลดตา่ งตามลาดบั ดังน้ี - ปลดสายซองหาง (เฉพาะแหย่งหวาย) - ปลดสายรัดทบึ แหยง่ ต่าง ยกแหย่งต่างใหส้ งู พ้นท้ายสตั วต์ ่างแลว้ นาไปวางทีเ่ ดิม - ปลดสายผ่านอก และสายผา่ นคอ (ปลดสายดา้ นซา้ ยด้านเดยี วแล้ววางพาดไวบ้ นเบาะ รองอานต่าง) - สายผา่ นท้าย สายผ่านหลงั ไมต่ ้องปลด เลอื่ นลงมาทางท้ายแล้วนามาวางไวท้ ี่เดิม พลประจาต่างจะต้องยนื อยหู่ ลังแหย่งตา่ งตามเดิมในระหวา่ งหางประมาณ ๔ กา้ ว เมือ่ เรยี บร้อยแลว้ หมายเลข ๓ รายงาน “ปลดตา่ งเรียบร้อย” ๑๑. การจัดหน่วยบรรทุกต่าง ความม่งุ หมายในการศึกษาในเร่ืองการจดั หนว่ ยของทหารบรรทุกต่าง เพ่ือวดั ใหน้ ักเรียนมคี วามรู้ ตดิ ตวั ไปสาหรับประสานงานกับหน่วยต่าง ๆ และระหว่างทหารมา้ กับหน่วยทหารบรรทุกตา่ ง เพอ่ื ใหร้ ู้ถึงภารกจิ และขดี ความสามารถของหน่วยทหารบรรทุกตา่ งพอเปน็ สงั เขป
๘๖ กองพันสัตวต์ ่าง อจย. ๔ – ๑๕ (๙ พ.ค. ๒๒) สามารถทาการรบได้เย่ียงทหารราบเม่ือจา เป็นเพราะมีอาวธุ ยุทโธปกรณพ์ ร้อม ฉะนน้ั จึงเป็นกองพนั รบได้เชน่ กัน จึงใช้คาวา่ อจย.ไดด้ งั กล่าว ๑.๑ ผังการจัด กองพนั สต. บก.และร้อย กองร้อยบรรทุกต่าง กองร้อยทดแทนและเพ่มิ เติมสตั ว์ กองร้อยบริการ บก. อัตราลด หมวดสุนขั ลาดตระเวน ตระเวน ----------- ปดิ การบรรจุ ๑.๑ ภารกจิ สนบั สนุนเพ่ิมเติมของการขนส่งดว้ ยสตั วต์ ่างใหแ้ กห่ นว่ ยตา่ ง ๆ ของ กองทพั บกในการปฏิบัตงิ านในภูมปิ ระเทศ ซงึ่ ยานพาหนะเข้าไปไม่ถึง ๑.๒ การแบง่ มอบ เป็นหน่วยของกองทัพบกซึ่งฝากการบังคับบญั ชาไว้กับ กรมการสตั วท์ หารบก ทบ.อาจแบ่งมอบให้หนว่ ยรองไดต้ ามความเหมาะสม สงิ่ อุปกรณ์และ ชิ้นส่วนตา่ ง ๆ ตอ้ งเบกิ ไปยงั สายยทุ ธบรกิ ารท้งั ๔ สาย โดยขนึ้ ตรงตอ่ กองทพั บก แต่การบรรจกุ าลังพลน้นั กองทัพบกมอบให้แก่กรมการสัตว์ทหารบกเป็นผบู้ รรจอุ ัตรากาลงั พล ๑.๑ขดี ความสามารถ ๑.๔.๑ สามารถสนับสนุนการขนสง่ ทางพน้ื ดนิ ใหแ้ ก่หน่วยทหารทกุ ระดับในเขตหน้าได้ให้ สมบูรณต์ ่อเน่ืองกัน เมือ่ เข้าปฏิบัติในภูมปิ ระเทศท่เี ป็นอปุ สรรคทรุ กันดาร จนระบบการขนส่งธรรมดาของหนว่ ย ทหารนั้น ๆ ไม่สามารถเขา้ ไปถงึ ได้ โดยจัดขบวนลาเลยี่ งดว้ ยสัตว์ต่อเน่ืองกนั กบั จดุ สดุ ท้ายดว้ ยยานยนต์ของหนว่ ย นนั้ ๆ ๑.๔.๒ จัดแยกหนว่ ยไปสมทบกบั หนว่ ยทหารตา่ ง ๆ เพื่อสนับสนนุ การขนส่งในภูมปิ ระเทศ ทรุ กันดาร ใหส้ ามารถปฏิบตั ิภารกจิ ไดโ้ ดยสมบรู ณ์ รวมทงั้ การประสานงานและกากบั ดแู ลการปฏิบัติงานทาง เทคนคิ ของหน่วย ๑.๔.๓ ทาการรบอยา่ งทหารราบเม่ือจาเปน็
๘๗ ๒. กองบังคบั การกองพันและกองร้อยบังคบั การ อจย.๔ – ๑๖ (๙ พ.ค.๒๒) ๒.๑ ผงั การจดั กองบงั คบั การและกองบงั คบั การกองร้อย กองบงั คบั การกองร้อย กองร้อยกองบงั คบั การ บก.ร้อย ตอน บก.พนั ตอนส่งกาลงั มว.สื่อสาร มว.เสนา และซ่อมบารุงกองพนั ตอนศูนยข์ ่าว รักษ์ บก.มว. ตอนทางสาย ตอนวทิ ยุ ๒.๒ ภารกจิ บงั คับบัญชาดาเนินงานทางธรุ การด้านการซ่อมบารุงสื่อสาร การบรกิ ารด้านเสนา รักษ์กองพัน ๒.๓ การแบง่ มอบ หน่ึงกองบังคบั การและกองร้อยกองบงั คบั การ ตอ่ เนื่องกองพันสัตว์ต่าง ๒.๔ ขดี ความสามารถ ๒.๔.๑ บงั คับบัญชาวางแผน และกากับดูแลกองร้อยบรรทกุ ตา่ งได้ ๒ – ๗ กองร้อย ๒.๔.๒ การส่งกาลัง ๒.๔.๓ การซอ่ มแซมบารุงหน่วย ๒.๔.๔ การติดต่อสอ่ื สาร ๒.๔.๕ หารบริการดา้ นเสนารักษ์ ๒.๔.๖ การดาเนนิ งานด้านธรุ การ ๒.๔.๗ ทาการรบอย่างทหารราบเม่ือจาเปน็
๘๘ 3. กองร้อยบรรทกุ ตา่ ง อจย.๔ – ๑๗ (๙ พ.ค. ๒๒) ๓.๑ ผงั การจัด กองร้อยบรรทุกตา่ ง บก.ร้อย มว.บรรทุกตา่ ง มว.ระวงั ป้ องกนั บก.มว. ๔ หมู่ บก.มว. ๔ หมู่ ระวงั ป้ องกนั อตั ราลด ๓.๒ ภารกิจ สนับสนุนเพิ่มการขนสง่ ด้วยการบรรทกุ ตา่ งแก่หน่วยตา่ ง ๆ ๓.๓ การแบ่งมอบ ๓ กองร้อยบรรทุกต่างต่อหน่วยหนว่ ยกองพันสัตวต์ ่าง ๓.๔ ขดี ความสามารถ ๓.๔.๑ สามารถแยกหมวดบรรทุกตา่ งไปสนบั สนนุ กองพนั ทหารราบหรือหนว่ ยเทยี บเทา่ ได้รบั ความ เหมาะสมแยกถึงระดับหมู่ ๓.๔.๒ สามารถลาเลยี งสง่ิ อุปกรณข์ องหน่วยทหารได้วนั หนงึ่ 10 ตนั ในระยะทาง 12 ไมล์ 20 ตัน ระยะทาง 6 ไมล์ จากจดุ สถานปี ลายทางรถบรรทุกถงึ สถานขี นส่งปลายทาง ๓.๔.๓ ปฏิบัติการรบได้ในเวลากลางคืน เพ่ือปกปิดความรบั แตต่ ้องลดความเรว็ ในการเคลื่อนท่ี จากัด ระยะทางคนื หน่ึงไม่เกนิ 8 ไมล์ ๓.๔.๔ สามารถลาเลียงผปู้ วุ ยเจบ็ จากส่วนหนา้ ในเท่ียวกลับจากส่งอปุ กรณ์ ล่อ 1 ตัว ตอ่ เปลคนปวุ ย 1 เปล
๘๙ ๑. กองรอ้ ยทดแทนและเพ่ิมเติมสัตว์ อจย. หมายเลข ๔ –๑๘ ( ๙ พ.ค. ๒๒ ) ๔.๑ ผังการจดั กองร้อยทดแทนและเพิม่ เติมสตั ว์ บก.ร้อย มว.ทดแทนและเพิ่มเติมสตั ว์ มว.ฝึ กสตั ว์ บก.มว. หม่ทู ดแทนและเพ่ิมเติมสตั ว์ อตั ราลด เม่ือทาการตรวจสอบสตั วท์ ี่ มว.ฝกึ สัตวเ์ ปน็ ผฝู้ กึ ตามกาหนดเวลาที่กาหนดใหแ้ ล้วไม่ไดผ้ ล ใช้งาน ไม่ได้หรือเร้ือรังมานาน เม่ือทบทวนใหมต่ อ้ งส่งมาที่หมู่ทดแทนเพิ่มเติมสัตว์ตา่ ง ถา้ ไมไ่ ด้ผลแนน่ อนแล้วใหป้ ลด ประจาการ 4.2 ภารกิจ 4.2.1 ฝึกสัตวท์ ี่ทางราชการจัดหาหรือสง่ มอบใหใ้ หม่ 4.2.2 คัดเลือกแจกจ่ายสัตว์ต่างที่ฝกึ มาดีแล้ว เขา้ ประจากองรอ้ ยบรรทกุ ต่างและหน่วยขึน้ ตรงทกุ หน่วยของกองพันสัตว์ตา่ ง 4.2.3 เพมิ่ เติมและทดแทนสัตวต์ ่างใหแ้ กก่ องร้อยสัตว์ต่าง 4.2.4 การแบ่งมอบ นงึ่ กองร้อยทดแทนเพ่มิ เติมสัตวต์ ่างต่อหน่ึงกองพันสตั ว์ต่าง 4.3 ขดี ความสามารถ 4.3.1 วางแผนการประสานงานในการฝึกสัตว์ เตรียมอปุ กรณ์การฝกึ ในหลกั สูตรการฝึกสตั ว์ ในข้ันตอนต่าง ๆ ทน่ี ายทหารฝุายยทุ ธการและการฝกึ ของกองพนั ได้กาหนดข้ึนอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ 4.2.2 ฝึกสัตวท์ ไี่ ดร้ ับมอบใหม้ ีความสามารถในการบรรทุกต่างและเช่อื ง รับนา้ หนกั ได้มากทั้ง ทางทุรกันดาร ในภมู ปิ ระเทศทย่ี ากลาบากจนกระท่ังควบคุมไดง้ า่ ย 4.2.3 สามารถเข้าขบวนลาเลียงได้ไม่ต่นื ตกใจกลวั งา่ ย เพื่อส่งมอบใหห้ น่วยใช้งานตอ่ ไป
๕ กองร้อยบรกิ าร อจย. 4 – 19 (9 พ.ค.22) มว.สตั วรักษ์ ๙๐ ๕.๑ ผังการจัด ตอนรถยนตบ์ รรทุก กองร้อยบริการ บก.ร้อย มว.เสบียงและสตั วภณั ฑ์ มว.บรรทุกตา่ ง บก.มว. หมหเู่ มสเู่ บสียบงียง หมู่สตั วภณั ฑ์ บก.มว ตอนพยาบาลสตั ว์ ตอนช่างเกือกสตั ว์ อตั ราลด ๕.๒ ภารกจิ ดาเนนิ การสง่ กาลงั การขนส่งและบริการดา้ นสัตวรักษ์แก่กองร้อยของกองพันภายใต้การ กากับดูแลนายทหารฝุายสง่ กาลังบารุง ๕.๓ หน่ึงกองร้อยบริการตอ่ หนง่ึ กองพนั สตั ว์ตา่ ง ๕.๔ ขีดความสามารถ ๕.๑.๑ ดาเนนิ การส่งกาลังด้านเสบียงสัตว์และเครอื่ งสัตวภณั ฑ์ ๕.๑.๒ ซ่อมบารุงเครื่องสตั วภัณฑ์ชนั้ กองพัน ๕.๑.๓ บรกิ ารดา้ นสัตวรกั ษ์ ๕.๑.๔ ในกรณฉี กุ เฉินสามารถสนับสนุนการเคล่ือนยา้ ยของกองบรรทุกตา่ งออกปฏบิ ตั ิการได้ ทันที ๑ หมวด ด้วยรถยนต์บรรทกุ ของหน่วย ๕.๑.๕ ทาการรบอย่างทหารราบเมื่อจาเป็น
๙๑ ๖. หมวดสุนขั ลาดตระเวน (หน่วยบรรจุมอบการบงั คบั บัญชา) ตามคาส่ัง ทบ. ลับ ( เฉพาะ)ท่ี ๕๙/๓๓ ลง ๒๔ เม.ย. ๓๓ ๖.๑ ผงั การจัด หมวดสนุ ขั ลาดตระเวน บก.มว. หมู่ สลว. หมู่ สรบ. ๖.๒ ภารกจิ ๖.๒.๑ สนุ ัขที่ สรบ. มหี นา้ ที่ตรวจคน้ ลูกระเบดิ และอุโมงค์ ๖.๒.๒ สุนขั ท่ี สลว. มหี นา้ ท่คี น้ หา ขศ. ลวดสะดดุ สิ่งของ และ หลุมขวาก ๖.๓ การแบง่ มอบ เป็นหน่วยมอบการบงั คบั บญั ชาให้กบั กองพันสัตวต์ า่ ง กรมการสัตว์ ทหารบก ๑๒. แบบการจดั การสนับสนุนของหน่วยทหารสตั ว์ต่าง หนว่ ยทหารสตั วต์ ่างอาจจัดรูปแบบการสนบั สนุนออกเป็นหลัก ๆ ได้ ๓ แบบ คอื ก. การสนบั สนนุ สว่ นรวม เปน็ การใช้หน่วยทหารสตั ว์ตา่ งระดับ กองพนั โดยกองพันเปน็ ผคู้ วบคมุ และ ตดั สินใจในการใชห้ น่วยในบงั คับบัญชาเป็นส่วนรวม ข. การสนับสนุนโดยตรง เปน็ การสนับสนนุ มอบภารกิจให้กับกองร้อยบรรทุกต่างแตล่ ะกองร้อย มี หนา้ ท่สี นบั สนุนโดยตรงแก่หน่วยกาลงั รบใดโดยเฉพาะเปน็ การแนน่ อนตลอดหว้ งการปฏิบัตใิ นพนื้ ทน่ี ัน้ กองพันจะ ควบคุมและใหก้ ารสนับสนนุ ในการส่งกาลังบารุงเป็นครงั้ คราวการสนบั สนนุ แบบนี้เหมาะกบั พน้ื ท่ีท่รี ับผิดชอบ คอ่ นข้างกว้าง และหนว่ ยทร่ี ้องขออยหู่ า่ งไกล ค. การสนับสนุนโดยใกล้ชิด เปน็ การสนบั สนนุ โดยตรงอีกแบบหน่ึงจะใช้หนว่ ยทหารสตั วต์ า่ งใน ระดับต่ากวา่ กองร้อย อาจเป็นระดับหมวดหรอื หม่ตู ่าง แยกไปสนับสนนุ สมทบเป็นอิสระกับหนว่ ยกาลงั รบที่อยู่ ห่างไกลมาก ๆ การส่งกาลงั บารุงและการระวงั ปูองกัน ตอ้ งอาศัยจากหน่วยท่ขี อรับการสนับสนุนอย่างจริงจัง เป็นหลกั ๑๓. ขดี ความสามารถของสัตวต์ า่ ง ก่อนที่จะพูดถงึ ความสามารถของสัตวต์ า่ ง ตอ้ งทราบแสยี ก่อนวา่ ทางทหารมา้ เราใช้มา้ และล่อเปน็ หลกั ในการทาสัตวต์ ่าง ดงั นนั้ กอ่ นจะนาสตั วไ์ ปใช้งานต้องคานึงถึงสัตวเ์ สียก่อนวา่ พร้อมท่ีจะบรรทุกเคร่ืองใหม่ หรอื ไม่ เราต้องทาการปรนนิบัตบิ ารงุ ให้แก่สัตว์ต่างมคี วามสมบูรณ์ถึงจรงิ ๆ เสยี กอ่ นจงึ จะนาไปใชง้ านดงั นี้ - ในภูมิประเทศท่ีเป็นปาุ ราบ สัตว์ต่างอาจเดนิ ทางไดว้ นั ละ ๖ ชม. หรือมากกว่า โดยเฉลยี่ ๔ – ๖ กม./ชม. บรรทกุ น้าหนักถา้ เปน็ ม้า ประมาณ ๑/๓ ของน้าหนักตวั แตถ่ ้าเป็นล่อ ประมาณ ๑๐๐ กก. - ( ไม่รวมเครื่องตา่ ง)
๙๒ - ในภูมปิ ระเทศที่เป็นปาุ เขาที่เป็นทางเดนิ ท่ีคนเราเดนิ ได้โดยไม่ต้องปนี ปุายและเปน็ ทีล่ าด เนินต่าง ๆ สัตวต์ า่ งอาจเดินได้ประมาณ วนั ละ ๖ ชม. หรือมากกวา่ โดยเฉล่ีย ๒ – ๔กม./ชม. โดยบรรทกุ น้าหนกั ถา้ เป็นม้าประมาณ ๑/๓ ของนา้ หนกั ตัว แต่ถ้าเป็นล่อ ประมาณ ๖๐ กก. เกณฑ์การบรรทุกและการเดิน (เฉพาะล่อ) 1. เกณฑ์การบรรทุกในทางราบ ๑.๑ ล่อ ๑ ตวั บรรทุกนา้ หนกั ได้ ๑๐๐ กก. ๑.๒ ลอ่ ๑ หมู่ บรรทกุ นา้ หนกั ได้ ๑,๖๐๐ กก. ๑.๓ ล่อ ๑ หมวด บรรทกุ น้าหนักได้ ๖,๔๐๐ กก. ๑.๔ ล่อ ๑ กองร้อย บรรทุกนา้ หนักได้ ๑๕,๖๐๐ กก. ๒. เกณฑก์ ารบรรทุกในภูมปิ ระเทศ 1.1 ลอ่ ๑ ตวั บรรทกุ น้าหนักได้ ๖๐ กก. 1.2 ล่อ ๑ หมู่ บรรทุกน้าหนักได้ ๙๖๐ กก. 1.3 ลอ่ ๑ หมวด บรรทกุ นา้ หนักได้ ๓,๘๖๐ กก. 1.4 ล่อ ๑ กองร้อย บรรทกุ น้าหนกั ได้ ๑๕,๓๖๐ กก. 3. ขอ้ มูลทางรถยนต์ ๓.๑ รยบ. ๒ ½ ตันบรรทกุ น้าหนักได้ ๓.๒ รยบ. ๒ ½ ตนั บรรทกุ สตั วต์ า่ งได้ ๑๐๐ ฟอุ น ๖-๗ ตวั หมายเหตุ หญ้า ๑ ฟุอน หนักประมาณ ๑๕ – ๑๘ กก. 4. อัตราการจดั กาลงั พล ๑ หมู่ มี ๑๑ นาย - ผบ.หมู่ ๑ , ผบ.ชดุ ๒ , พลจงู ต่าง ๔ , พลบรรทุกตา่ ง ๔ อัตราส่วนการสนบั สนนุ หน่วยทหารตา่ ง ตอ่ หน่วยกาลงั รบ (ทหารราบ) ๑ กองพัน ตอ่ ๑ พล.ร. ๑ กองรอ้ ย ตอ่ ๑ กรม ร. ๑ หมวด ตอ่ ๑ พัน.ร. ๑ หมู่ ตอ่ ๑ กองรอ้ ย
๙๓ รูปขบวนหมู่ บรรทุกต่าง รูปขบวนตอนเรียง รปู ขบวนตอนเรียง 2 รปู ขบวนหมวดบรรทุกต่าง หมตู่ ่าง บก.มว. หมูต่ ่าง หมู่ต่าง หมู่ตา่ ง รูปขบวนกองรอ้ ยบรรทุกตา่ ง กองขนาบ ส่วนระวงั หนา้ มว.บต ส่วนดาเนินกลยทุ ธ บก.ร้อย มว.บต มว.บต มว.บต สว่ นระวงั หลงั . ... กองขนาบ
๙๔ 14.การพกั ระหวา่ งทางและการพักแรมค้างคืน ๑. การพักระหวา่ งทางมดี ว้ ยกนั ๓ ลกั ษณะ ก. การหยุดหน่วย เปน็ การหยุดหนว่ ยเมอ่ื ผา่ นพืน้ ที่อนั ตรายหรือที่คบั ขัน, หยุดเพ่ือการ ตรวจสอบหรอื ปรับรูปขบวน , เมอ่ื ถงึ จุดนัดพบ จะใชเ้ วลาในการหยุดไมน่ านนัก ข. การพักประจาชั่วโมง ความมุง่ หมายเพอ่ื บรรเทาความเหนื่อยและอ่อนเพลียของกาลงั พลและ สตั วต์ ่าง รวมท้งั ตรวจเชค็ ความเรยี บรอ้ ยของเครอ่ื งต่างและการยึดตรึงอปุ กรณท์ ่บี รรทกุ โดยกาหนดการปฏบิ ตั ิดังน้ี - ชม.แรก เดิน ๓๐ – ๓๕ นาที พัก ๑๕ – ๒๐ นาที - ชม.ต่อไปเดิน ๕๐ นาที พกั ๑๐ นาที ค. การพกั นาน เป็นการหยุดพัก หรือรับประทานอาหารและใหน้ ้าสัตว์ต่าง โดยปกตจิ ะพัก ประมาณ ๑ ชม. ให้ทาการหย่อนสายรดั ทบึ หรือ ปลดถุงต่างทบี่ รรทุก นน. ลงได้ ๒. การพักแรมคา้ งคนื ระหว่างทาง ในกรณีท่ีไม่สามารถปฏบิ ตั ภิ ารกิจใหส้ าเร็จภายในวันเดียวจึง จาเปน็ ตอ้ งตัง้ ฐานลอยพักแรมคา้ งคืนระหว่างทาง ผบ.หน่วยควรจะศกึ ษาภูมปิ ระเทศและเตรยี มการตลอดจนการ ซกั ซอ้ มการปฏบิ ัติให้พร้อมมลู ก. วางกาลังสว่ น บต. เป็นส่วน ๆ ไว้รอบนอก จดั ตาบลรวบรวมสตั ว์, จัดทเ่ี ก็บอปุ กรณ์ และ สป. ฯลฯ ข. วางสว่ นบังคบั บัญชาไวต้ รงกลาง สามารถบังคบั บญั ชาส่วนรวมได้ ค. วางส่วนระวังปอู งกนั สว่ นหน่ึงใหค้ ุ้มครองสว่ นบงั คับบญั ชาท่ีเหลอื จัดไปเสริมในส่วนที่ ลอ่ แหลมตอ่ การเข้าตขี อง ขศ. ใช้หน่วยคอยเหตุในการระวังปอู งกันฐาน รวมท้งั ปฏิบัติภารกจิ พิเศษ อืน่ ๆ ๑๕. การสง่ กลับผู้ป่วยเจ็บด้วยสตั วต์ า่ ง ๑. การส่งกลบั ด้วยการข่ี สาหรับผู้ปุวยเจบ็ ไม่ร้ายแรง ๒. การส่งกลบั ด้วยเปลเด่ยี ว หรอื เปลแสวงเครื่อง สาหรับผูป้ วุ ยเจบ็ ทีย่ ังมสี ตอิ ยทู่ นต่อการกระเทือนได้ ๓. การส่งกลบั ด้วยเปลคูแ่ สวงเคร่อื ง สาหรับผูป้ วุ ยเจบ็ ค่อนข้างสาหัส ๔. การส่งกลบั ดว้ ยเปลลากล้อเลอ่ื น เชน่ เดยี วกบั เปลเดียวแสวงเครื่องแตม่ ีล้อ ๕. การสง่ กลับดว้ ยเปลบนหลัง -------------------------------
๙๕ วิชาการฝกึ มา้ ใหม่ หลกั สูตรการฝึกม้าใหม่ ๕๑ สปั ดาห์ ( ๑ ปี ) การฝกึ มา้ ใหม่ แบ่งออกเปน็ 3 ขั้น ดังนี้ ข้ันที่ ๑ ประมาณ ๑๗ สัปดาห์ ปกั ษท์ ี่ ๑ จงู มา้ ไปเพื่อใหค้ นุ้ เคยกบั สี แสง เสยี ง และสงิ่ แปลกตา ปกั ษ์ที่ ๒ การตวี งดว้ ยการวง่ิ เรียบเพือ่ ใหม้ ้าคุ้นเคยกบั คาบอก ปักษท์ ่ี ๓ ก. การตีวงดว้ ยการว่งิ เรียบระยะยาวนานกว่าปกั ษ์ท่ี 2 ข. จูงกระโดดเครื่องเตี้ย ๆ ค. ผูกอาน ปักษ์ที่ ๔ การตีวงและเริ่มต้นขน้ึ หลงั ม้า ปกั ษท์ ่ี ๕ ขเ่ี ดนิ และว่ิงเรยี บบนเส้นตรง อกี ๗ สัปดาหห์ ลัง - หัดเพมิ่ และลดฝีเทา้ ในการเดินและการวง่ิ เรยี บบนเสน้ ตรง - การออกจากแถวและผ่านแถวมา้ - การข้ึนม้าและลงจากม้า - การปลอ่ ยกระโดด - การปลอ่ ยบังเหยี นใหเ้ คลอ่ื นท่ีไปขา้ งหน้าอย่างอสิ ระ ข้ันท่ี ๒ ประมาณ ๑๗ สัปดาห์ - การเล้ียว การหันดว้ ยขาหน้าเป็นหลกั และการทาวง - การโขยกบนเส้นตรงหรือทาวงใหญ่ ๆ โดยยอมให้ม้าออกว่ิงโขยกจะใชข้ าใดนากไ็ ด้ ความมุง่ หมายในตอนนีเ้ พยี งใหร้ ู้จกั การออกโขยกเท่านนั้ - การเคลื่อนที่ทางขา้ ง - การหันโดยใชข้ าหลังเป็นหลงั - การออกวง่ิ โขยกดว้ ยการบังคับใหถ้ กู ขา - การขี่กระโดด - การว่ิงห้ออยา่ งชา้ ขน้ั ท่ี ๓ ประมาณ ๑๗ สัปดาห์ - การเคลอ่ื นทที่ างกึง่ ดว้ ยการว่ิงเรียบและว่ิงโขยก - ฝกึ ให้คนุ้ เคยกับการติดอาวุธและการบรรทุกเครื่องสนาม - ทบทวนสิง่ ท่ฝี กึ มาแล้ว - การทาเลข ๘ และฝึกตามแบบฝึกทกุ ฝเี ทา้ - การออกภมู ปิ ระเทศ หมายเหตุ ในข้นั นีม้ า้ ทกุ ตวั ควรจะได้รบั การฝึกให้รู้จักใส่ปากแข็งในความควบคมุ ของครูฝึกและหลกั สตู รที่กาหนด ขั้นนเี้ ปน็ เสมือนแนวทางอยา่ งกวา้ ง ๆ คาแนะนา การฝกึ ม้าใหม่ ๕๑ สัปดาห์ ๑.หลกั การท่วั ไป
๙๖ ข้อ ๑ มา้ ท่ีได้รบั การฝกึ มาแล้ว ควรจะตอ้ งมีคณุ สมบัติและคุณลักษณะดังน้ี - มีอาการทรงตัวดีและสามารถรบั น้าหนักบรรทกุ หนักไปในระยะไกลได้โดยมอี าการเหนด็ เหนอ่ื ยนอ้ ย - ปฏบิ ตั กิ ารตามบงั คบั ที่ถกู ต้องได้ดแี ล้เรว็ - ไมต่ ดิ ฝูงโดยสามารถเข้าออกจากแถวง่าย - บังคบั ดว้ ยบงั เหยี นมือเดยี วได้ทุกฝเี ท้าโดยจะไปเปน็ หมู่หรือไปตามลาพงั ก็ได้ - ว่องไวและสามารถกระโดดข้ามเคร่ืองกีดขวางในภูมิประเทศได้ทุกชนดิ - สามารถในการลุยข้ามน้าได้ - ยนื น่ิงเวลาขึน้ มา้ - จงู ไปมาไดส้ ะดวก ข้อ ๒ ไม่มีกฎเกณฑ์แน่นอนท่ีจะกาหนดเวลาแนน่ อนสาหรับการฝกึ มา้ ใหมว่ ่าจะใช้ระยะเวลาเท่าใด ทงั้ นขี้ น้ึ อยู่กับเลือดพันธ์ุ นิสยั และสภาพทแ่ี ตกต่างไป สาหรับม้าท่ีมีรปู รา่ งผิดแปลกไปต้องใช้เวลาการฝึกมากกวา่ ที่ มรี ปู รา่ งไดส้ ัดสว่ น ขอ้ ๓ การฝกึ มา้ ทหารที่มีอายุนอ้ ยกวา่ ๕ ปนี ัน้ ควรจะใช้เวลาอย่างน้อย ๑๒ เดือน และฝึกตามหลัก สตู รเป็นข้นั ๆ ไปตามกาหนดเวลาถึงแมบ้ างตัวจะหดั ง่ายก็ไม่ควรรบี ทาการฝึก ควรฝึกไปตามข้ันตอน มา้ ทุกตวั ไม่ ควรใช้ออกสนามจนกวา่ อายจุ ะครบ ๖ ปีเตม็ และฝกึ มาแล้ว ๑ ปี บริบูรณก์ ารฝกึ ในขัน้ ท่ีหนงึ่ น้นั เป็น การเตรียมการฝึกความมุ่งหมายกเ็ พ่ือเตรียมให้ม้าสมบูรณแ์ ข็งแรงทั้งทางร่างกายและจติ ใจให้คลกุ คลแี ละคุ้นเคยกับ ผฝู้ กึ เตรียมสาหรบั การฝกึ ขัน้ ที่ ๒ การฝึกในขนึ้ ท่ี ๒ และขั้นท่ี ๓ กเ็ พ่ือฝกึ ให้ม้าอยู่ในอานาจการบังคบั ทงั้ ทาง ร่างกายและจิตใจกับให้คนุ้ เคยกับการบรรทุกด้วย ข้อ ๔ เจา้ หน้าที่ฝกึ นน้ั จะต้องมคี วามรู้ในเรื่องม้าอยา่ งแทจ้ ริงรู้วิธกี ารเพมิ่ กล้ามเนอื้ ที่ต้องการให้แก่ม้าและ ตอ้ งรูจ้ ักกาลังของม้าฝึกของตน ข้อ ๕ เจ้าหนา้ ทฝ่ี ึกต้องมีความอดทนทาการฝึกให้เป็นไปตามระเบียบตามรายละเอียดของการฝึกหมน่ั ทบทวนอยเู่ สมอผลที่ไดร้ ับจะค่อย ๆ เกิดขึน้ ผฝู้ กึ ที่ใจร้อนฝึกอยา่ งเร่งรบี จะได้รบั ผลท่ไี ม่คอ่ ยสมบรู ณ์ผฝู้ ึกจะต้อง เป็นผทู้ ม่ี ีอารมณ์ดีอย่ตู ลอดเวลา ถงึ แมว้ า่ จะมมี า้ เกหรือม้าดื้อจะต้องลงโทษก็ลงโทษอยา่ งมีเหตผุ ลและอารมณ์ดี ขอ้ ๖ เจา้ หน้าทฝี่ กึ จะต้องมีความพอประมาณและรับผดิ ชอบตามขัน้ ตอนของการฝกึ ของตน ฝกึ ทีละน้อย แตท่ บทวนบอ่ ย ๆ ไม่ควรใหบ้ ทเรยี นแกม่ ้าเกินกวา่ กาลงั และสภาพของม้าทจ่ี ะทนได้ ข้อ ๗ เจา้ หน้าท่ฝี กึ ต้องเปน็ คนเอาใจใส่และมีใจเมตตา ท้งั น้เี พอื่ ท่ีจะได้เรยี นรูก้ ารขดั ขนื หรือการหลกี เล่ียง ไดท้ นั ที และเพื่อที่ไดร้ างวลั ก่อนให้ม้าเกิดกาลงั ใจในเมื่อได้เช่อื ฟงั และทาตามแม้ว่าจะเป็นเพียงเล็กน้อยกต็ าม ใน ขณะเดียวกันเขาต้องเป็นคนหนกั แน่นและมคี วามตั้งใจจรงิ ทีจ่ ะทาการฝึกตาตมบทเรยี นทต่ี ง้ั ใจจะกระทาให้สาเรจ็ ลุล่วงไป เขาจะต้องเปน็ คนกล้าหาญและกลา้ เสีย่ งอันตรายและเอาชนะใจได้อยา่ งนิ่มนวลเขาจะต้องมีไหวพรบิ และ กลวิธสี ามารถทาการฝึกใหเ้ ป็นผลสาเรจ็ ไดโ้ ดยปราศจากการใชก้ าลังบังคับ ขอ้ ๘ เจา้ หน้าที่ฝึกจะต้องคอยอยู่เสมอว่าตนกาลังฝึกม้าใหมก่ ระทาการเคลอ่ื นไหวผิดธรรมชาตซิ ึง่ ตลอดเวลาเตม็ ไปดว้ ยการเหน็ดเหนื่อยเมื่อยล้าหลายอย่าง ดังน้ันจึงควรให้มีระยะเวลาพักผ่อนระหวา่ งการฝึกหัด เพอ่ื ขจดั การขัดขืนทไี่ ม่จาเปน็ อนั เนือ่ งมาจากการเม่ือยล้าในรา่ งกาย ข้อ ๙ ถงึ แมว้ า่ มา้ จะมคี วามคิดนอ้ ยแต่ก็มคี วามทรงจานาน การนจ้ี งึ นามา้ เป็นประโยชนใ์ นการหดั ดว้ ยการ ใชว้ ธิ ีของการแนะนาจะจาคาพูดปลอบโลมหลงั จากทีไ่ ดก้ ระทาบทเรียนท่ีถูกตอ้ งมาได้แล้ว และในเวลาเดียวกนั ก็จะ การลงทณั ฑ์ไดเ้ ชน่ เดียวกัน ม้าอาจจะไมเ่ ข้าใจในเรื่องของเหตุผลทง้ั นีเ้ น่อื งจากขดี จากัดในความรู้หรอื มาตรฐานของ การฝึก
๙๗ ข้อ ๑๐ ครฝู ึกควรใชร้ ะบบการให้รางวลั และการลงทัณฑ์ การใหร้ างวัลอาจจะทาดว้ ยการผอ่ นบงั เหยี นและ ตบทค่ี อเบา ๆ หรอื จะทาด้วยการลงจากหลงั หรือให้ของกนิ เลน่ กไ็ ด้ ม้าควรได้รับรางวัลทันทเี มือ่ ไดป้ ฏิบตั ติ ามท่ี บังคบั ได้ถกู ต้อง การลงทณั ฑ์อาจทาดว้ ยการเพิ่มแรงดึงบังเหียน การกดเดือย การหยุดและการเดนิ ถอยหลงั แต่ ทงั้ น้ีผู้ฝึกจะต้องเช่ือวา่ มา้ นั้นเข้าใจว่าเรื่องท่ีถูกบงั คบั ให้ปฏบิ ตั ิแล้ว ข้อ ๑๑ ขอ้ ควรระวังอย่างยงิ่ คือ อย่าให้บทเรียนใหม่แกม่ ้าก่อนทจี่ ะจาบทเรียนเกา่ ก่อนแลว้ รา่ งกายมา้ ก็ ต้องอยใู่ นสภาพสมบูรณอ์ ีกด้วย บทเรยี นแรกนัน้ ต้องง่ายและความยาวของบทเรยี นส่วนใหญ่จะต้องข้ึนอยกู่ ับความ สมบรู ณ์และลักษณะของม้าอีกดว้ ย ข้อ ๑๒ กอ่ นที่เริ่มท่าหน่ึง ๆ นนั้ จะตั้งตัวมา้ ให้อยใู่ นที่ที่สะดวกที่สดุ สาหรบั มา้ ท่ีจะกระทา ข้อ ๑๓ ครูฝึกควรใช้ระบบการให้รางวัลและการลงทัณฑ์ การให้รางวลั อาจทาด้วยการผ่อนบงั เหยี นอยา่ เพิ่งให้บทเรียนกับม้าท่ีกาลงั คึกคะนอง ตกใจ หรอื กาลังต่นื จนกว่าม้าจะสงบลง เพราะฉะนน้ั มา้ จะไมไ่ ด้ รับการฝึกหัด ขอ้ ๑๔ ม้าใหม่เมือ่ ผา่ นการฝึกได้เขา้ ประจาหน่วยแลว้ ควรจะเรียบรอ้ ยอยใู่ นบังคับและคล่องรา่ งกายควร สมบูรณเ์ ตม็ ท่ีถงึ อยา่ งไรไม่ควรหยดุ ย้งั การฝกึ ควรจะทาต่อเนื่องไป ข้อ ๑๕ ในทุกขน้ั ตอนของการข่ีมา้ นั้น การข่ีดว้ ยการปล่อยบงั เหียนควรจะกระทาในทุกบทเรยี น เพราะ ยังผลให้ม้าเรียบรอ้ ยและสอนให้ม้ามีอาการทรงตัวดี ข้อ ๑๖ การใชบ้ งั เหยี นและเคร่อื งมือบงั คบั ม้าดังกลา่ วไวใ้ นเรือ่ งการใชบ้ ังเหียนและเครอ่ื งมอื บังคบั มา้ มาแลว้ ข้อ ๑๗ คาแนะนาในการหัดในโรงฝกึ สาหรบั มา้ ใหมม่ ีกล่าวไว้ใน ผนวก ๒ ๒.การข่ีปล่อยบงั เหยี น ขอ้ ๑ ทกุ บทเรยี นตัง้ แต่เริ่มต้นมาควรจะได้มกี ารข่ีปลอ่ ยบงั เหียนรวมอยูเ่ ป็นสมั พนั ธด์ ว้ ย ข้อ ๒ การฝึกข่ีมา้ ดว้ ยการปลอ่ ยบังเหยี นยาวสว่ นสาคัญที่จาเป็นอย่างยิง่ สาหรบั การฝึกม้าใหม่เพราะทาให้ มา้ เคล่ือนทไ่ี ปข้างหน้าโดยไม่ตึงบังเหยี นทาให้มีอาการทรงตวั ดี และเป็นการเตรยี มการสาหรบั ขั้นสุดท้ายแห่งการ ฝึกท่ดี ี ในเมื่อถึงคราวขด่ี ้วยบังเหียนรวมและยังเปน็ ผลแสดงใหม้ ้าที่ได้รบั การฝึกมาไดห้ รือดงึ บังเหยี นไมใ่ ชเ่ ปน็ สง่ิ ท่ี ควรกลวั ข้อ ๓ ควรเรม่ิ ตน้ จากการเดนิ ในโรงฝกึ กอ่ นและทาเร่ือย ๆ ไปจนกระทง่ั วงิ่ เรียบ วิง่ โขยก ตามลาพังใน สนาม ข้อ ๔ การเลอ่ื นสายบงั เหียนให้รอดผา่ นน้ิวไปตามลาดับจนปลายบงั เหยี นและหวั มา้ เป็นอสิ ระเตม็ ที่หากม้า จะเพิ่มฝีเทา้ ข้นึ ควรรบี ดึงดว้ ยการเขย่าบังเหยี นขึ้นข้างบนเบา ๆ พร้อมกับให้เสียงสาหรับการขีด่ ้วยบงั เหยี น ๔ สาย ในมือเดยี ว มือท่ีไมใ่ ช้อาจจะวางไวบ้ นบงั เหียนขา้ งหน้าทีถ่ ือบงั เหยี นหากว่าถ้ามา้ ไม่ทรงจังหวะก็ควรหยดุ และให้ เคลอ่ื นทใ่ี หมแ่ ล้วผ้ขู ก่ี ็ผ่อนบังเหยี นไปอีกจนกวา่ มา้ ทรงจังหวะ ขอ้ ๕ ในตอนแรกควรปล่อยม้าใหย้ กหัวได้ตามใจชอบกอ่ น เมอ่ื ได้ฝกึ จนขปี่ ล่อยบงั เหียนในทุกฝีเท้าและ เล้ียวไดแ้ ลว้ จงึ คอ่ ยสอนใหร้ ูจ้ ักยกหัวไดส้ งู พอเหมาะโดยยกขน้ึ ประกอบกับการบังคบั ให้เคลือ่ นท่ีไปข้างหน้าและข้ึน ข้างบน ข้อ ๖ ครฝู ึกควรนงั่ ใหต้ ามสบาย หนบี ดว้ ยเขา่ สาหรับขาท่อนลา่ งระวงั ใหห้ ่างจากตวั มา้ ข้อ ๓ การฝกึ ขัน้ ที่ ๑
๙๘ ก. หวั ข้อพิจารณาท่วั ไป ขอ้ ๑ ขัน้ ท่หี นง่ึ ของการฝึกม้าใหม่มีความสาคัญเป็นอยา่ งยง่ิ เพราะเปน็ ขั้นเพาะคุณลักษณะและนิสยั ส่วน ใหญ่แหง่ ความสาเร็จของการรบั การฝึกอยู่กับขนั้ นี้ ครูฝกึ ต้องม่งุ เนน้ ให้ม้ามีความไว้เนือ้ เชื่อใจ ซง่ึ สามารถก่อใหเ้ กดิ ด้วยความมีใจกรุณา ความใจเยน็ และด้วยความเรยี นรู้จติ ใจของม้าเป็นตวั ๆ ไป ข้อ ๒ ความมุ่งหมายทต่ี ้องการบรรลุคือ - สร้างสมกาลังกายให้สมบรู ณ์ - ทาให้เรียบรอ้ ยสาหรับขนึ้ ข่ี - เคลือ่ นที่ไปข้างหน้า/ได้ดี และรจู้ กั การทรงตวั ในลักษณะใหม่ ขอ้ ๓ ระยะเวลาทใี่ ช้ก่อนการข้นึ หลังม้าใหม่ท่ีรับการฝึกน้นั ขึ้นอย่กู ับส่ิงแวดลอ้ ม แตโ่ ดยธรรมดา แล้วควรจากหนง่ึ ถึงสอง เดือนจากวนั เขา้ ฝึก ข. การจูง ข้อ ๑ เรมิ่ ต้นด้วยการใส่ขลุมจงู ขี่พอเหมาะ และมีเชอื กยาวต่อสาหรับจูงใน ๒ – ๓ วันแรกนนั้ ครฝู ึกควร จะจูงม้าให้ได้ท้ังสองข้าง เดินไปแลว้ หมนั่ หยุดปลอบและคุยกบั มา้ ให้หญ้ากินเล่นทั้งนเ้ี พ่ือให้ม้าเกดิ ความไว้เนือ้ เชื่อ ใจและคนุ้ เคยกบั เสียงของผฝู้ กึ ข้อ ๒ บทเรยี นแรกนน้ั ควรกระทาในพื้นที่ ๆ สงบ ซงึ่ มา้ จะได้ไมต่ กใจหรอื วอกแวก หากม้าตน่ื กลวั ในส่งิ หนึง่ สิ่งใดอยา่ บังคบั ขืนใจให้เขา้ ไป ต้องค่อย ๆ ปลอบและควบคุมไวใ้ ห้เขา้ ตามลาพงั ถึงนากลับ ข้อ ๓ เม่อื สามารถจงู มา้ ได้ท้งั สองข้างแล้ว ควรจะใสเ่ หลก็ ปากอ่อนปราศจากสายบังเหียนเขา้ ไว้ในปากวัน ละไม่เกนิ ๑ ชม. เหล็กบงั เหยี นนจี้ ะต้องระวงั ใส่ไว้ให้พอเหมาะอย่าใหม้ ีทางให้มา้ เอาลน้ิ ไว้บนเหล็กได้ ควรจะได้ ตรวจปากมา้ ทุกวันเพ่ือทราบวา่ ปากมา้ ไม่มบี าดแผลหรือเจ็บเห็นวา่ ปากมา้ คนุ้ กับเหล็กบังเหยี นแลว้ ควรจะใส่เหลก็ บงั เหียนไวใ้ นเวลาท่อี ยู่ในคอกอกี วันละประมาณ ๑ ชม. แลว้ ควรจะให้อาหารในเวลาทเ่ี หล็กบังเหียนอยู่ในปากม้า เปน็ ประโยชน์ในการมิให้ม้าเอาลิ้นไว้ข้างบน ค. การตวี ง ข้อพิจารณาทวั่ ไป ข้อ ๑ มา้ ควรจะเรมิ่ ด้วยการตีวงทัง้ เพ่ือสรา้ งสมกาลงั กล้ามเน้อื และสอนให้ม้ารจู้ ักเชอ่ื ฟังโดยเฉพาะสาหรับ เสียงกอ่ นการตวี งควรกระทาต่อเนอ่ื งกันเปน็ เวลา ๖ – ๘ สัปดาห์ คอื จนกวา่ จะสมบรู ณ์พอสาหรับข้นึ หลัง ขอ้ ๒ การตีวงมีประโยชน์กระทางา่ ยและการควบคมุ น้อย ขอ้ ๓ ในเวลาตีวงควรจะต้องสรวมสนับข้อตาตมุ่ หรือพนั ผา้ ทีข่ าหน้าและถ้าทาได้สรวมที่ขาหลังดว้ ย เพ่ือ ปอู งกันการเกิดบาดแผล ขอ้ ๔ ในระยะนี้เปน็ ระยะสาคัญครูฝกึ ต้องสอนใหม้ ้ารูจ้ ักการปฏิบตั ติ ามเสียงบอกได้อย่างแทจ้ รงิ มา้ ที่ พร้อมสาหรับข้ึนหลังไดน้ ้นั จะตอ้ งสามารถเพ่ิมหรือลดฝเี ทา้ ไดต้ ามคาบอกคือ จากหยดุ ไปเดินจากเดนิ ไปวงิ่ เรียบไป ว่ิงโขยกและกลบั กนั ขอ้ ๕ ความสาคัญในขนั้ ตีวงมีมากมาย ข้ันนเี้ ป็นข้นั แรกของการประทับและฝงั ใจสมั พนั ธ์กบั มา้ ให้ความไว้ เน้ือเช่อื ใจ เพราะคุณลกั ษณะนิสยั และเป็นขน้ั กอ่ ให้เกดิ สง่ ในตัวม้า วิธตี ีวง ๑.สายบังเหยี นหรือเชือกตีวงควรมีความยาวประมาณ ๒๕ ฟตุ ผกู ติดทห่ี ่วงท่ีขลมุ จูงหรือท่หี ่วงขลุม ทาวง ในบทเรียนแรก ๆ นน้ั ต้องมีผูช้ ่วยจงู เดินเปน็ วงกลมรัศมี ๑๕ ฟุต ครฝู ึกถอื สายเชือกตวี งเคลื่อนที่ไปตามการ เคลอ่ื นที่ของม้าเป็นรูปวงกลมเล็ก ๒.ในการตวี งทางซ้ายเชือกบังเหยี นควรอยู่ในมือซา้ ย ศอกและแขนออ่ นไปตามจงั หวะของมา้ ไม่
๙๙ ควรใช้วธิ กี ระชาก ควรพยายามรกั ษาให้เชอื กบังเหียนสัมผัสอย่เู สมอเมอื่ เวลาข่ีหากม้าขเี้ ล่นหรือแหกวงจะต้องกาเชอื ก บังเหยี นไว้ด้วยน้วิ ใหแ้ นน่ และดึงให้เขา้ มาชดิ ตวั เมือ่ จาเป็นก็ใช้ถอื เชือกบงั เหียนไวข้ ้างหนา้ ตวั หลงั มืออยู่ขา้ งบน มือขวา ใช้ถอื แสใ้ ห้ปลายแสช่ ้ไี ปทางข้างหลงั ไม่ควรใชแ้ สแ้ ต่ควรแสดงใหม้ า้ เห็นเวลาที่มา้ ไมย่ อมเคลอ่ื นท่ไี ปข้างหนา้ ถ้าขลุมจูง ม้าพานในตาม้าเชือกบงั เหยี นควรจะไปผูกกับห่วงของขลุมจูงทใ่ี ต้คางม้า ๓.จะต้องคอยระวังใหห้ วั มา้ โค้งทีต่ รงประมาณหลังท้ายทอยใหท้ ิศทางของมา้ ที่กาลังเคล่อื นท่ีไป และตอ้ งดใู ห้ขาหลังวางไปตามทางของขาหนา้ เมอื่ ม้าคุ้นกบั การตีวงและเคลื่อนที่ไปตามคาสั่งโดยไมต่ ้องใชผ้ ู้ชว่ ย แลว้ ครูฝกึ จะลดการเดินตามเป็นวงของตนลง จนกระท่ังยืนอยกู่ บั ท่ี ณ จดุ ศูนยก์ ลาง ของวงกลมซึ่งมีรัศมี ๒๐ ฟตุ แลว้ หมุนไปตามการเคลื่อนท่ีของม้า เทา้ ซา้ ยของครูฝึก ( เม่ือตวี งทางซา้ ย) จดุ ที่อยู่ศูนย์กลางของวงกลมสว่ นเท้า ขวาเคลื่อนทร่ี อบเท้าซา้ ยไหล่ขวาของครูฝกึ อยูต่ รงแนวเดยี วกันประมาณไหลซ่ า้ ยของม้า ๔.ควรตวี งมา้ ให้ได้เทา่ ๆ กนั ทั้งสองข้างและในการตีวงในทางหน่ึง ๆ ก่อนเปลย่ี นไม่ควรเกนิ ขา้ งละ ๕ นาที ขึ้นการตวี ง ก. ข้ันทีห่ นึ่งใช้เวลาจาก ๒ – ๙ บทเรยี นในขนั้ นี้ครูฝึกควรจะได้มผี ชู้ ว่ ยไว้ ๑ คนหนา้ ทขี่ องผูช้ ว่ ยก็เพ่ือใหม้ า้ ใหม่รจู้ กั การฟงั คาสง่ั ของครู ผู้ชว่ ยไมจ่ าเปน็ จะต้องช่วยพดู คาส่ังออกจากปากของครูฝึกแต่ผ้เู ดยี วเท่านัน้ หน้าที่ ของผ้ชู ว่ ยเพยี งแตช่ ่วยในการให้รางวัลอาหารจากย่ามให้ให้ม้าหยดุ หรอื ควบคมุ การเคล่ือนท่ี ใหเ้ ปน็ ไปตามคาสง่ั ของครฝู ึก ไมม่ เี กณฑ์ทแ่ี น่นอนเกีย่ วกับท่ีอยูข่ องผู้ช่วยเพราะมา้ ทช่ี อบหันเขา้ ข้างในผชู้ ่วยควรจะอยดู่ า้ นใน สาหรับมา้ ที่ชอบหันออกทางดา้ นข้างผชู้ ว่ ยกค็ วรจะอยดู่ า้ นนอกในข้ันทห่ี น่ึงผชู้ ่วยต้องจบั ขลมุ อยู่ตลอดเวลา หมายเหตุ ๑.เสียงสงั่ ให้ เดิน ว่ิงเรียบ และหยุดตอ้ งแนน่ อน การออกเสยี งแตล่ ะครั้งตอ้ งส่งั ใหแ้ ตกตา่ งกัน เช่นคาวา่ เดิน วงิ่ เรยี บ หยุด (ออกเสยี งอย่างฝกึ ) ๒.ทีอ่ ย่ขู องผูฝ้ ึก จะต้องยนื ให้ไหลข่ องตนอยูป่ ระมาณแนวไหล่ของม้า ถ้าอยู่ล้าหน้ามากเกนิ ไปครฝู ึกจะไม่ สามารถจับมา้ ได้และถา้ อยลู่ ้าหน้ามากก็อาจเหวี่ยงตวั ไปรอบ ๆ ได้ ๓.ตอ้ งพยายามทุกวิธที างอยา่ ใหม้ ้ากระโจนหลดุ ไปได้ ถา้ หากว่ามีสงิ่ แสดงให้เหน็ วา่ ม้า จะกระโจนครูฝกึ ใช้วิธีนง่ั ลงทันที ๔.การให้รางวัลมา้ ทมี่ า้ ปฏิบัติไดถ้ ูกต้อง เป็นสิง่ สาคญั อย่างมาก ๕.ต้องใหข้ าหลังเคลื่อนที่ไปตามรอยขาหนา้ หวั ควรโคง้ ทท่ี ้ายทอยและเขา้ ในเล็กน้อย สว่ นลาตัวตั้งตรง ๖.พน้ื ทท่ี ใ่ี ชใ้ นการตวี ง ควรเปลยี่ นให้ไกลออกไปเร่ือย ๆ ขนั้ ท่ี ๒ ใชเ้ วลา ๖ – ๙ บทเรยี นข้นั น้กี ็เชน่ เดียวกันกับข้ันที่ ๑ คอื ให้ผู้ชว่ ยเดินรอบไปพร้อมม้า เมอื่ เดนิ ไป ได้เรยี บรอ้ ยดีแล้ว ครฝู กึ ก็บอกใหผ้ ชู้ ว่ ยปล่อยมือจากขลุมจูง แตก่ ารเดินก็เดินไปกับม้าผู้ช่วยต้องพร้อมอยู่เสมอที่จะ ให้มา้ ปฏบิ ตั ติ ามคาสัง่ ครูฝกึ อยตู่ ลอดเวลาและคอยให้รางวัล หมายเหตุ ในขั้นนี้ผู้ฝกึ ควรจะได้ลดการเคล่ือนทข่ี องตนเองและเพ่ิมความยาวของเชือกบงั เหยี นใหม้ รี ัศมีของ วงกลมข้นึ ขั้นที่ ๓ ใช้เวลาจาก ๑๒ – ๑๘ บทเรยี นในข้ันน้ีครูฝึกสอนให้มา้ ปฏบิ ตั โิ ดยไมม่ ผี ้ชู ว่ ยทาการช่วยเหลือ เนอ่ื ง ด้วยเปน็ คราวแรกที่ม้าจะต้องปฏบิ ัติการโดยลาพังในระยะห่างจากผูฝ้ ึกนบั ว่าเป็นก้าวใหม่ที่สาคัญย่ิงจะต้อง ทาดว้ ยความระมัดระวงั ให้ดี กับควรกระทาในเม่อื ม้าได้เขา้ ใจและเชอ่ื ฟงั ในคาสั่งเป็นอยา่ งดแี ล้วในข้ันที่ ๑ และ ขน้ั ที่ ๒ ครูฝกึ ตั้งตน้ บอกให้มา้ เคล่ือนท่ีโดยลาพังตัวเองจาก ข. ไป ค. ผชู้ ว่ ยที่ ข. และ ค. มีหน้าทพี่ ร้อมจะใหม้ า้ ทาตาม คาสั่ง ในข้ันต่อจากนเี้ มื่อใหผ้ ชู้ ว่ ยออกห่างไปมา้ อาจจะวงิ่ ควบหากเป็นอยา่ งน้จี งใจเย็นไว้ปลอ่ ยให้มา้ วิ่งเรื่อย ๆ ไป
๑๐๐ หลงั จากนน้ั ๒ – ๓ นาที เม่อื สงบลงและอย่าให้หลุดอย่าเพ่ิงยอมให้มา้ หยดุ ทาให้วง่ิ ตอ่ ไปอกี ๑ หรือ ๒ รอบ แลว้ จึง เรียกผูช้ ่วยเขา้ มาช่วยใหม้ ้าเดินและสุดท้ายจึงให้อยู่ นเี่ ปน็ เร่อื งหนงึ่ ในเม่ือครฝู กึ ไม่ต้องหยุดพยายามกระทาการ ควบคุมการเคล่อื นทขี่ องม้าด้วยเสยี งของเขา เพราะอาการไมเ่ ชื่อฟังอย่างน้ีไมส่ ามารถท่ีจะบังคบั ได้ซึ่งผลต่อมาจะ ทาใหม้ า้ เรยี นรู้ถึงการขัดคาสั่ง หมายเหตุ ๑. การใช้ผชู้ ว่ ยน้นั มคี วามมุ่งหมายเพียงเพ่ือให้รางวลั หรอื ระงบั การไม่ปฏบิ ัตติ ามคาสั่ง ๒. ทีย่ นื ของผชู้ ่วยนนั้ ควรจะเปลย่ี นทบี่ อ่ ย ๆ ๓. ถึงตอนสดุ ท้ายของขั้นนี้ม้าควรจะไดร้ ับการฝึกให้หยดุ ณ ทหี่ นึง่ ทใี่ ดของวงกลมและไมใ่ ชเ่ ฉพาะ เผชิญหนา้ กับผชู้ ว่ ยเทา่ น้ัน ง. การขึน้ หลงั ๑. เมอื่ มา้ ใหม่ไดผ้ กู เครอ่ื งพร้อมและสามารถเคล่ือนที่ได้เรียบร้อยในทุกฝเี ทา้ กับเช่อื ฟงั ในเสียงของผู้ฝกึ เปน็ อย่างดแี ล้ว ก็ควรจะได้รบั การฝกึ การข้ึนหลงั การข้ึนหลงั น้คี วรกระทาในโรงฝกึ หรอื พื้นท่ปี ิดใน ตอนท้ายของบทเรียนใหผ้ ู้ชว่ ยคนหน่ึงยนื ท่ีตรงหัวม้ามเี ชอื กบังเหยี นผู้ติดกับหว่ งของขลุมและคอยปล่อยมา้ ใหผ้ ชู้ ว่ ย คนที่สองยืนด้านขวาของม้ายึดสายบังเหยี นปากออ่ นดว้ ยมือขวาและจับโกลนขวาไว้ดว้ ยมอื ซ้ายให้ผชู้ ว่ ยท่สี ามอยู่ ทางซ้ายของมา้ ยดึ สายบังเหยี นปากอ่อนไว้ด้วยมือซา้ ยและช่วยยกขาผ้ขู ี่ทีง่ อไวส้ ่งให้ขึน้ หลังม้า ๒.การขนึ้ หลังกระทาเปน็ สามขั้น คอื - ครฝู กึ ใช้มือทงั้ สองขา้ งกดลงบนหลงั ม้าหรือจะยืนบนก้อนหินใหญห่ รือทสี่ าหรบั ขนึ้ ม้าก็ได้และทาบ ตวั ไปบนหลังม้าเพื่อให้มีความรูส้ กึ กบั นา้ หนักกด - ครูฝึกนอนทาบขวางอานผู้ชว่ ยด้านซ้ายมือยกขาขนึ้ เพื่อให้มา้ คุ้นเคยกบั น้าหนกั กด - เมื่อครูฝึกนอนขวางอยู่อย่างในขั้นท่ี ๒ ผชู้ ่วยดา้ นขา้ งซา้ ยก็ชว่ ยจบั ขาซ้ายของครฝู ึกใสเ่ ท้าไปใน โกลนแลว้ ยกเทา้ ขวาขา้ มท้ายม้า แลว้ ค่อย ๆ หยอ่ นตวั ลงบนอานอยา่ งช้า ๆ ต่อจากนี้ผู้ช่วยจับ เทา้ ขวาใสเ่ ข้าไปในโกลนขวาอยา่ เพง่ิ จงู เดินไปข้างหน้าจนกว่าจะยนื นง่ิ ใหท้ าการ - ขน้ึ ม้าและลงม้าเปน็ ทีเ่ รยี บรอ้ ยแลว้ ความมุง่ หมายที่ปฏบิ ตั เิ ป็นขนั้ ๆ ดังน้กี ็เพื่อควบคมุ มา้ ให้อยู่ ในความควบคุมโดยแทจ้ ริง และเพื่อมิใหเ้ กดิ อุบัตเิ หตขุ ึน้ ๓. เม่อื ปฏิบตั กิ ารขนึ้ หลงั เปน็ ทเี่ รียบร้อยแล้วก็ให้ผ้ชู ว่ ยจูงมา้ ไปขา้ งหน้าด้วยบังเหยี นแล้ว จงู เดินเปน็ วงกลม ควรจัดใหส้ ายโกลนอันหนง่ึ คล้องคอมา้ (สายคอ) ไวเ้ พื่อชว่ ยเหลือผขู้ ีแ่ ละปอู งกันการกระตุกม้า ดว้ ยสายบังเหียน ๔. การลงมา้ ใน ๒ – ๓ คราวแรกนัน้ หลังจากยกเท้าขวาข้ามท้ายม้าผูข้ ่คี วรถอดเท้าซ้ายออก จากโกลนแล้วจึงค่อย ๆ เล่ือนตวั ลงมาเหยยี บดนิ อยา่ งช้า ๆ ๕.ในการขนึ้ ม้าและลงมา้ น้นั ตอ้ งระมดั ระวังอย่าให้ปลายเท้าซ้ายไปถูกตัวม้าได้ ๖.ในการขึน้ หลงั ม้านี้ หากม้ามีความกลวั หรอื ประสาทอ่อนก็ควรใชเ้ ครือ่ งบงั ตาการ กระทาเป็นนิจสนิ จะทาใหม้ า้ เช่นนี้เรียบรอ้ ยได้ การข่ีครง้ั แรก ๗. บทเรียนบทแรกนน้ั เพ่ือให้ม้าเดนิ และวงิ่ เรียบในทางตรงอยา่ งอิสระและสอนใหห้ ยุด นงิ่ โดยเฉพาะเวลาขึน้ หลงั มา้ และลงจากหลังมา้ ทัง้ สองข้าง
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111