Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๑

วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๑

Published by qacavalry, 2021-10-18 08:44:24

Description: วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๑
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๙๐๗๐๑
หลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง
แผนกวิชาอาวุธ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

โรงเรียนทหารมา้ วิชา ผเู้ ชี่ยวชาญการใชอ้ าวุธรถถัง เลม่ ๑ รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๙๐๗๐๑ หลกั สตู ร ผูเ้ ช่ียวชาญการใชอ้ าวธุ รถถัง แผนกวิชาอาวธุ กศ.รร.ม.ศม. ปรัชญา รร.ม.ศม. “ฝึกอบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทันสมยั ธำรงไว้ซ่งึ คณุ ธรรม”

ปรชั ญา วิสยั ทัศน์ พนั ธกจิ วตั ถุประสงค์การดำเนนิ งานของสถานศึกษา เอกลักษณ์ อตั ลักษณ์ ๑. ปรัชญา ทหารม้าเป็นทหารเหล่าหน่ึงในกองทัพบก ที่ใช้ม้าหรือส่ิงกำเนิดความเร็วอ่ืน ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าที่มีความสำคัญ และจำเป็นเหล่าหนึ่ง สำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอื่น ๆ โดยมีคุณลั กษณะ ท่ีมีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนท่ี อำนาจการยิงรุนแรง และอำนาจในการทำลายและข่มขวัญ อนั เปน็ คุณลักษณะทสี่ ำคัญและจำเปน็ ของเหลา่ โรงเรียนทหารม้า ศนู ยก์ ารทหารมา้ มีปรัชญาดังน้ี “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทนั สมัย ธำรงไวซ้ ่ึงคุณธรรม” ๒. วสิ ยั ทัศน์ “โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าที่ทันสมัย ผลิตกำลงั พลของเหล่าทหารมา้ ให้มีลกั ษณะทางทหารท่ีดี มีคณุ ธรรม เพ่ือเป็นกำลังหลักของกองทพั บก” ๓. พันธกจิ ๓.๑วิจยั และพฒั นาระบบการศกึ ษา ๓.๒ พฒั นาคณุ ภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๓ จัดการฝกึ อบรมทางวชิ าการเหลา่ ทหารมา้ และเหล่าอนื่ ๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓.๔ผลติ กำลังพลของเหล่าทหารมา้ ให้เปน็ ไปตามวตั ถุประสงค์ของหลกั สตู ร ๓.๕ พฒั นาส่อื การเรยี นการสอน เอกสาร ตำราของโรงเรยี นทหารมา้ ๓.๖ปกครองบังคับบัญชากำลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คุณธรรม จรยิ ธรรม ๔. วัตถุประสงค์ของสถานศกึ ษา ๔.๑ เพื่อพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความร้คู วามสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับ ผเู้ ข้ารับการศึกษาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ ๔.๒ เพอ่ื พัฒนาระบบการศกึ ษา และจดั การเรยี นการสอนผ่านสือ่ อิเล็กทรอนิกส์ ใหม้ ีคุณภาพอย่างต่อเน่ือง ๔.๓ เพื่อดำเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารชั้นประทวน ท่ีโรงเรียนทหารม้าผลิต และกำลังพลท่ีเข้ารับ การศกึ ษา ใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถตามท่หี น่วย และกองทพั บกต้องการ ๔.๔ เพ่อื พัฒนาระบบการบรหิ าร และการจดั การทรัพยากรสนับสนนุ การเรียนรู้ ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ๔.๕ เพื่อพัฒนาปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน เอกสาร ตำรา ให้มคี วามทันสมัยในการฝึกศกึ ษาอย่างต่อเนือ่ ง ๔.๖ เพ่ือพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบันการศกึ ษา หนว่ ยงานอ่นื ๆ รวมท้งั การทำนบุ ำรุงศิลปวัฒธรรม ๕. เอกลักษณ์ “เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกำลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพ่มิ อำนาจกำลงั รบของกองทัพบก” ๖. อัตลกั ษณ์ “เด่นสงา่ บนหลงั มา้ เก่งกล้าบนยานรบ”

คำนำ เอกสารตำราฉบับนี้ แผนกวิชาอาวุธ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ได้ รวบรวมและเรียบเรียง โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือใช้เป็นเอกสารตำราในการเรยี นการสอน หลักสูตร ผู้เช่ียวชาญการ ใช้อาวุธรถถัง ของ โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ซึ่งมีเน้ือหาวิชาที่จำเป็นสำหรับผู้เข้ารับการศึกษาใน หลักสตู รนี้ แผนกวิชาอาวธุ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ขอขอบคุณผูม้ ีอปุ การะคุณที่ กรณุ าให้ข้อมูล และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารตำราฉบับนจี้ ะเปน็ ประโยชน์แก่นักเรียนหรือท่านผู้อา่ น และหากมี ข้อสงสัยหรือมีความประสงค์ที่จะให้ข้อเสนอแนะในการปรับปรุงแก้ไขกรุณาระบุ หน้า ข้อ บรรทัด ตามที่ปรากฏ ในเอกสารตำราน้ี และขอความกรุณาให้เหตุผลหรือมีหลักฐานอ้างอิงประกอบเพ่ือให้เกิดความเข้าใจอย่างถ่องแท้ โดยส่งไปที่ แผนกวิชาอาวุธ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดิศร ตำบลปากเพรียว อำเภอเมือง จงั หวดั สระบรุ ี ๑๘๐๐๐ แผนกวชิ าอาวุธ กศ.รร.ม.ศม.

สารบญั เรอื่ ง หนา้ การตรวจสภาพยุทโธปกรณ.์ ......................................................………………………………………………………………..1 เอกสารทางเทคนิค.................................................………………………………………………………………………………….7 เอกสารคู่มอื ส่งกำลัง..............................…………………………………………………………………………………………………9 บัญชชี ิน้ ส่วนซอ่ ม และเครื่องมือพิเศษ..............................……………………………………………………………………….21 แบบพมิ พ์ท่ีใชใ้ นการซ่อมบำรุงและส่งกำลัง..…………………………………………………………………………………………29 ระเบียบ ทบ. วา่ ดว้ ยการส่งกำลังบำรงุ สง่ิ อปุ กรณ์ ประเภท 2 และ 4 พ.ศ.2534..……………………………………..65 ระเบียบ ทบ. ว่าดว้ ยชิ้นสว่ นซอ่ มตามอตั ราพกิ ัด และชิ้นส่วนซอ่ มทีส่ ะสม พ.ศ.2512………………………………103 ระเบียบ ทบ. วา่ ดว้ ยการซ่อมบำรงุ ยุทโธปกรณ์ พ.ศ.2524......................……………………………………………….112 ระเบียบ ทบ. ว่าด้วยการส่งกำลงั สป.5 พ.ศ.2542…………..……………………..…………………………………………..119 ------------------------------------

การตรวจสภาพยุทโธปกรณ์ 1.1 การตรวจสภาพยุทโธปกรณ์ เป็นความรับผิดชอบของ ผบ.หน่วย ซ่ึงในทางปฏิบัตินั้น ผบ.หน่วยอาจแต่งตั้งผู้แทนหรือฝ่ายอำนวยการ เป็นผู้ดำเนินการตรวจตามแผนการตรวจสภาพยุทโธปกรณ์ของหน่วย ซ่ึงหากสามารถปฏิบัติได้ตามแผนการ ตรวจสภาพดังกล่าวแล้ว จะสามารถลดจำนวนยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธที่ชำรุดใช้การไม่ได้ให้น้อยลง ท้ังน้ี เพราะการตรวจสภาพจะเป็นหลกั ประกนั ว่ายุทโธปกรณ์เหล่านัน้ ไดถ้ ูกนำไปใช้อย่างถกู วิธี และหากมกี ารชำรุดก็ สามารถทำการแก้ไขได้อย่างเหมาะสม ทันเวลา ก่อนท่กี ารชำรุดเสียหายจะเพ่ิมมากข้ึนจนต้องใชก้ ารซ่อมบำรุง ในขั้นสูงและเวลาในการซ่อมนาน ซ่งึ มผี ลกระทบถงึ ความพรอ้ มรบของหน่วย นอกจากน้ันแลว้ การตรวจสภาพ ยังกระทำเพือ่ ความมงุ่ หมาย ดังตอ่ ไปน้ี 1. เพอ่ื ให้ ผบ.หนว่ ย ทราบถงึ สถานภาพ และสภาพของยุทโธปกรณ์ในครอบครอง 2. เพ่ือให้ ผบ.หน่วย ทราบถึงประสิทธิภาพและขีดความสามารถของเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติงานด้านการ ซอ่ มบำรงุ และการสง่ กำลัง 3. เพือ่ เป็นขอ้ มลู สำหรับการประมาณการเกยี่ วกับความต้องการทางการส่งกำลัง และซอ่ มบำรุงในอนาคต 4. เพ่ือให้ทราบข้อมูลสำหรับใช้ปรับปรุงการฝึก, ระเบียบต่างๆ, รวมท้ังการจัดหน่วยและยุทโธปกรณ์ให้ ถูกต้องเหมาะสม 5. เพอื่ ให้ได้ขอ้ มลู พื้นฐานในการตกลงใจ 1.2 ประเภทของการตรวจสภาพ 1. การตรวจสภาพเฉพาะอย่างยุทโธปกรณ์สาย สพ. เปน็ การตรวจตามคำสั่ง ทบ. ที่ 19/15790 ลง 13 ก.ค.2503 - ผบ.นขต.ทบ. และ ผบ.พล หรือเทียบเท่าขน้ึ ไปเป็นผู้รับผิดชอบในการจัดให้มีการตรวจสภาพเฉพาะ อย่างยทุ โธปกรณส์ าย สพ. ในหน่วยซึ่งอยู่ในบังคบั บัญชาของตน - เจ้าหนา้ ท่ีชุดตรวจสภาพฯ จัดจากเจ้าหนา้ ที่ในหนว่ ยสรรพาวธุ สนับสนนุ โดยตรง หรือจากหน่วยซ่อม บำรุงสายสรรพาวุธ ซง่ึ อยูใ่ นบังคับบญั ชา - ความมุ่งหมายในการตรวจ เพ่ือให้ทราบความเหมาะสมและความได้ผลในการปฏิบัติการซ่อมบำรุง และการส่งกำลังประจำหน่วย โดยการตรวจหาข้อบกพร่องเล็กๆ น้อยๆ ที่กำลังเริ่มเกิดข้ึนแล้ว รีบดำเนินการ แก้ไข, ตรวจวิธีปฏิบัติในการซ่อมบำรุง และส่งกำลังประจำหน่วย, ตรวจว่ามีระเบียบ คำสั่ง คู่มือเทคนิค และ เอกสารที่ต้องใช้ในการปฏบิ ัติงานซ่อมบำรุง และสง่ กำลังครบถ้วนหรอื ไม่, ตรวจยอดยุทโธปกรณ์ตามอัตราและ ตามที่ได้รับอนุมัติให้มีอยู่ในครอบครอง, ตรวจการเก็บและบำรุงรักษาเครื่องมือ และชิ้นส่วนซ่อม รวมท้ัง ตรวจสอบว่าเจ้าหน้าที่ส่งกำลังมีความรู้ในการเบิกสิ่งอุปกรณ์และการติดตามผลเป็นอย่างดีหรือไม่ ตรวจการ ประหยดั ส่ิงอุปกรณ์ และหากสามารถกระทำได้ให้ตรวจสภาพใช้การได้ของกระสุน การเกบ็ กระสุน, การปฏบิ ัติ ต่อกระสนุ รวมท้ังการรกั ษาความปลอดภัย - การตรวจสภาพเฉพาะอย่างยทุ โธปกรณ์สายสรรพาวุธ จะออกเป็นคำส่ังโดยกำหนดวงรอบการตรวจ และจำนวนร้อยละของยุทโธปกรณ์ท่ีจะทำการตรวจ แต่อย่างน้อยในวงรอบ 1 ปี ร้อยละ 10 ยุทโธปกรณ์ทุก การตรวจสภาพยทุ โธปกรณ์

-2- ชนิดในครอบครองของหน่วยจะต้องได้รับการตรวจสภาพ และสำหรับในยุทธบริเวณหรือในสภาวะทำการรบ ต้องร่นระยะวงรอบการตรวจสภาพให้สิ้นกว่าสภาวะปกติ ผลการตรวจสภาพร้อยละ 10 ของจำนวน ยุทโธปกรณ์แต่ละชนิดในครอบครองของหน่วย จะมีสภาพใกล้เคียงกับสภาพความเป็นจริงของยุทโธปกรณ์ ทั้งหมดของหน่วย ก็ต่อเมื่อมีจำนวนยุทโธปกรณ์ชนิดนั้น จำนวนต้ังแต่ 300 ข้ึนไป ดังน้ันหากจำนวน ยุทโธปกรณ์ชนิดน้นั มีทั้งหมดน้อยกวา่ 300 ผลท่ีได้จะคาดเคล่อื นไปจากความเป็นจริงของส่วนรวม จึงต้องเพ่ิม จำนวนในการตรวจดังน้ี จำนวนยทุ โธปกรณ์ จำนวนตวั อยา่ งทีต่ ้องสุ่มตรวจ 200 12% 100 20% จำนวนยทุ โธปกรณ์ จำนวนตวั อยา่ งที่ต้องสุ่มตรวจ 50 25% - การตัดสินผลการตรวจยุทโธปกรณ์ ผลการตรวจยุทโธปกรณ์แต่ละประเภทกดระทำโดยการนำ คะแนนข้อบกพร่องที่ตรวจพบทั้งหมดมารวมกันแล้วหารด้วยจำนวนยุทโธปกรณ์ที่รับตรวจ ผลลัพธ์ท่ีได้ของ ยุทโธปกรณแ์ ต่ละประเภทตอ้ งมีคา่ เทา่ กบั ตวั เลขขา้ งล่างน้ี จงึ จะถือว่าอยใู่ นเกณฑพ์ อใช้ได้ ยานยนต์ ไมเ่ กนิ 3.00 อาวธุ เบา “ 0.30 ปืนใหญ่ “ 2.20 เครอ่ื งควบคมุ การยิง “ 0.22 รถพ่วง “ 1.00 - การตัดสินผลการปฏิบัติงานซ่อม, หลักฐานการซ่อมบำรุงและส่งกำลัง กระทำโดยการนำคะแนนที่ ได้จากการตรวจสภาพโรงซ่อม, หลักฐานการซ่อม และส่งกำลังมาคิดเป็นร้อยละของคะแนนเตม็ ที่กำหนดไว้ใน รายการตรวจสอบ แลว้ ใช้ผลการตดั สิน ดงั นี้ 100-94 % = ดีท่ีสุด 93-87 % = ดีมาก 86-80 % = ดี 79-70 % = พอใช้ ตำ่ กวา่ 70 % = ไมพ่ อใช้ - การตรวจติดตามผล หากผลการตรวจสภาพเฉพาะอย่างยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธพบว่ามี ยุทโธปกรณ์ประเภทใดหรอื การปฏบิ ตั ิงานซอ่ มบำรุง หรอื การส่งกำลังตำ่ กวา่ มาตรฐานท่ีได้กำหนดไว้ จะต้องทำ การตรวจตดิ ตามผลใน 60 วัน โดยตรวจเฉพาะรายการทีต่ ่ำว่ามาตรฐานเทา่ น้ัน 2. การตรวจสภาพการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธโดย ผบ.ชา เป็นการตรวจตามคำส่ัง ทบ. ท่ี 13/1693 ลง 6 ก.พ.2504 การตรวจสภาพยทุ โธปกรณ์

-3- - ผบ.นขต.ทบ. และ ผบ.พล หรอื เทยี บเทา่ เป็นผ้รู บั ผิดชอบในการส่ังการใหม้ ีการตรวจสภาพการซ่อม บำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธโดยผู้บังคับบัญชาในหน่วยซึ่งอยู่ในบังคับบัญชาของตน ปีละ 1 คร้ัง (ยกเว้น หน่วยที่ยุทโธปกรณ์จำนวนน้อยจนไม่คุ้มค่าที่จะทำการตรวจทุกปี ให้ทำการตรวจทุกรอบ 2 ปี ท้ังน้ีให้อยู่ใน ดุลยพินิจของ ผบ.นขต.ทบ. หรือ ผบ.พล หรือเทียบเท่า) โดยพิจารณาให้มีระยะเวลาห่างพอสมควรหลังจาก การตรวจสภาพเฉพาะอย่างยุทโธปกรณ์สายสรรพาวธุ - ผู้บังคับบัญชาที่สั่งให้มีการตรวจสภาพการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธโดยผู้บังคับบัญชา เป็นผู้ควบคุมการตรวจ โดยใช้เจ้าหน้าท่ซี ึ่งอยใู่ นบังคบั บัญชา จดั เป็นชุดตรวจถาวรเพิ่มเติมดว้ ย เจา้ หน้าทีท่ จี่ าก หน่วยสนับสนุนโดยตรงและเจ้าหน้าที่ซ่อมบำรุงซึ่งมีคุณวุฒิเหมะสมเป็นเจ้าหน้าที่สมทบในชุดตรวจ โดยปกติ หัวชุดตรวจจะมีอาวุโสกว่า ผบ.หน่วยรับตรวจ เจ้าหน้าท่ีในชุดตรวจซ่ึงเป็นผู้แทนสายสรรพาวุธน้ันจะต้องมี หวั หน้าเป็นนายทหารสัญญาบตั ร - ความมุ่งหมายในการตรวจ เพื่อเป็นหลักประกันว่าการใช้ยุทโธปกรณ์เป็นไปอย่างถูกต้อง, การใช้สิ่ง อปุ กรณ์เป็นไปโดยประหยัด, การซ่อมบำรุงและการส่งกำลังเป็นไปตามที่กองทัพบกกำหนดไว้ในระเบียบคำสั่ง คำแนะนำ และคู่มือตา่ งๆ นอกจากน้ันแลว้ ผู้บังคบั บัญชายังสามารถใช้รายงานผลการตรวจสภาพน้ีประเมินค่า ความพร้อมรบ, ความเพียงพอและความไดผ้ ลของการซ่อมบำรุงประจำหน่วย, ประสิทธิภาพของการส่งกำลังซ่ึง สนับสนุนการซ่อมบำรุง, ความรู้ ความชำนาญของเจ้าหน้าท่ีซ่อมบำรุงประจำหน่วย, ความต้องการในการซ่อม บำรุงและการสง่ กำลังซง่ึ จะเกิดข้ึนในอนาคต อนั เปน็ ผลมาจากขอ้ บกพร่องทีต่ รวจพบ - การตรวจสภาพการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธ โดยผู้บังคับบัญชาจะทำการตรวจสภาพ ยุทธภัณฑ์หลักอย่างน้อยที่สุดร้อยละ 50 ของจำนวนที่มีอยู่ในครอบครองของหน่วยใช้ รวมทั้งเครื่องมือ เคร่ืองใชป้ ระจำรถ และประจำอาวุธ นอกจากนั้นยงั ตรวจการซ่อมบำรุง ซ่งึ ให้การสนบั สนุนต่อยุทโธปกรณน์ ้นั ๆ ดว้ ย การตรวจรอ้ ยละ 50 ของจำนวนยุทโธปกรณท์ ี่มีอยู่ในครอบครองของหน่วยใช้นั้น จะได้ผลเฉล่ียทีใ่ กล้เคยี ง ตอ่ สภาพความเป็นจริงก็ต่อเมื่อยุทโธปกรณ์ท้ังหมด มีจำนวนต้ังแต่ 20 ข้ึนไป ดงั น้ันหากยทุ โธปกรณ์ทั้งหมด มี จำนวนน้อยกว่า 20 แล้ว ผลการตรวจที่ได้จะคลาดเคลื่อนจากสภาพความเป็นจริงของส่วนรวม จึงต้องเพ่ิม จำนวนในการตรวจ ดังนี้ จำนวนยทุ โธปกรณ์ จำนวนตวั อย่างท่ีต้องสุ่มตรวจ 15-20 65% 10-14 75 % 5-9 85 % 4 ลงมา 100 % - การพิจารณาความไม่เรียบร้อย พิจารณาจากขอ้ บกพร่องที่ตรวจพบ ซ่ึงมีอยู่ด้วยกัน 2 ประเภท คือ บกพร่องมาก (หมายถึง การชำรุด หรือมีส่ิงบกพร่องที่จะทำให้ยุทโธปกรณ์น้ันไม่ปลอดภัย หากยังคงใช้ ยุทโธปกรณ์น้ันต่อไป) และบกพร่องน้อย (หมายถึง ส่ิงบกพร่องท่ีไม่ทำให้ยุทโธปกรณ์น้ันชำรุดเสียหายมากข้ึน หรือไม่ทำใหเ้ กิดอนั ตราย หากยังคงใชย้ ุทโธปกรณ์นัน้ ต่อไป) การตรวจสภาพยทุ โธปกรณ์

-4- - การตัดสินผลการตรวจยุทโธปกรณ์ ผลการตรวจยุทโธปกรณ์แต่ละประเภท กระทำโดยการนำ คะแนนข้อบกพร่องที่ตรวจพบมารวมกันแล้วหารด้วยจำนวนยุทโธปกรณ์ที่รับตรวจ ผลลัพธ์ที่ได้ของ ยุทโธปกรณแ์ ต่ละประเภทตอ้ งมคี า่ เท่ากับตวั เลขข้างลา่ งนี้ จงึ จะถอื วา่ อยู่ในเกณฑพ์ อใชไ้ ด้ ยานยนตล์ อ้ ไม่เกนิ 3.00 ยานยนตส์ ายพาน “ 4.50 อาวธุ เบา “ 0.30 ปืนใหญ่ “ 2.20 เคร่อื งควบคุมการยงิ “ 0.22 รถพ่วง “ 1.00 - การตัดสินผลการตรวจการปฏิบัติงานซ่อม หลักฐานการซ่อมบำรุงและการส่งกำลัง กระทำโดยการ ตรวจสภาพโรงซ่อม หลักฐานการซ่อมบำรุงและการส่งกำลัง แล้วให้คะแนนตามความเหมาะสมกับสภาพที่ ตรวจพบ จากนั้นจึงนำคะแนนที่ได้มารวมกันแล้วคิดเป็นร้อยละจากคะแนนเต็มที่กำหนดไว้ในรายการ ตรวจสอบแล้ว ใช้ผลการตดั สิน ดังน้ี 100-94 % = ดที ส่ี ุด 93-87 % = ดมี าก 86-80 % = ดี 79-70 % = พอใช้ ต่ำกว่า 70 % = ยังไม่พอใช้ หมายเหตุ การตดั สินผลการตรวจกระสนุ และวตั ถรุ ะเบดิ ใหใ้ ช้เกณฑ์เดยี วกับการตนั สินผลการปฏิบตั ิงานซ่อม - การแก้ไขข้อบกพร่องและรายงานผล ให้หน่วยรับตรวจดำเนินการแก้ไขข้อบกพร่องที่ปรากฏอยู่ใน รายงานผลการตรวจ ซึ่งได้รับจากหัวหน้าชุดตรวจแล้วรายงานผลการแก้ไขข้อบกพร่องไปตามสายการบังคับ บัญชา จนถึงผู้บังคับบัญชาท่ีรับผิดชอบในการตรวจสภาพการซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์สายสรรพาวุธโดย ผบู้ ังคบั บญั ชา ท้งั นี้ใหร้ ายงานภายใน 60 วันนับจากวันไดร้ ับมอบผลการตรวจจากหวั หน้าชุดตรวจ - การตรวจติดตามผล กรณีผลการตรวจปรากฏว่าสภาพของยุทโธปกรณ์ หรือการซ่อมบำรุงและการ สง่ กำลัง เพ่ือสนับสนุนการซ่อมบำรงุ ยังไม่อยใู่ นเกณฑ์พอใชไ้ ด้แล้ว ให้ทำการตรวจติดตามผลภายหลังการตรวจ ได้ผ่านไปแล้ว 60 วัน แต่ไมเ่ กนิ 180 วัน การตรวจตดิ ตามผลน้ี ให้ตรวจเฉพาะส่ิงท่ีอย่ใู นเกณฑ์ไมพ่ อใช้เท่านั้น การตรวจสภาพยทุ โธปกรณ์

-5- 3. การตรวจสภาพโดย ผบ. หน่วย กระทำโดย ผบ.หนว่ ย ตามความเหมาะสม 4. การตรวจสภาพทางเทคนคิ เป็นการตรวจสภาพการทำงานของยุทโธปกรณ์โดยเจา้ หน้าที่โรงซ่อมของ สรรพาวุธ ซ่ึงจะตรวจสภาพข้ันตน้ คอื กอ่ นทำการซ่อมและขั้นสดุ ท้าย คอื หลงั ทำการซ่อมแลว้ เสร็จ 5. การตรวจสมรรถภาพทางเทคนิค เป็นการตรวจหน่วยเกี่ยวกับอาวุธพิเศษ เช่น อาวุธนำวิถี และ ระบบจรวด (Hydra 70) ซึ่ง สพ.ทบ. รับผิดชอบ ท้ังนี้เพื่อให้ทราบถึงการซ่อมบำรุง, การเก็บรักษา, การ ประกอบและการควบคุม 6. การตรวจสภาพโดยจเรทหารบก เป็นการตรวจสภาพท่ีกระทำในห้วงเวลาที่แน่นอนและเพ่งเล็งใน เร่ืองส่งกำลังบำรุงทางธุรการ ทางยุทธวิธี และการดำเนินงานของหน่วย รวมถึงการรักษาความปลอดภัยของ หน่วยด้วย ความมุ่งหมายเพือ่ ให้เกดิ ความมีวนิ ัย ประสิทธิภาพ และการประหยัด (ตรวจตามระเบียบ ข้อบงั คับ และคำสั่งตา่ งๆ ท่ีเก่ียวข้อง) 7. การตรวจในกิจการส่งกำลังบำรุง เป็นการตรวจของสำนักงานตรวจกิจการส่งกำลังบำรุงของ ทบ. (สตบ.ทบ.) ซง่ึ สามารถตรวจได้ทกุ เรอ่ื งทเี่ กย่ี วกบั กจิ การสง่ กำลงั บำรงุ 1.3 การซอ่ มบำรงุ สป.5 การซ่อมบำรุง สป. 5 แบง่ ออกเป็น 3 ระดับ ดงั น้ี - ระดบั หนว่ ย - ระดบั สนับสนุนโดยตรง - ระดับสนบั สนุนท่วั ไป 1. ระดับหน่วย ทุกหน่วยที่มีกระสุนในครอบครอง รับผิดชอบในการซ่อมบำรุงระดับหน่วยซ่งึ เป็นการ กระทำในลักษณะการบริการ และการปรนนิบัติบำรุง เพื่อป้องกันการเส่ือมสภาพของกระสุน ได้แก่ การทำ ความสะอาด, การขัดสนมิ เลก็ ๆ นอ้ ยๆ, การซอ่ ม หรือเปลยี่ นหีบหอ่ และการทำเครือ่ งหมายบนหีบห่อใหม่ เป็นต้น และหากมีข้อสงสัย หรือมีขอ้ ขดั ข้องใด ๆ สามารถร้องขอคำแนะนำและความช่วยเหลือทางเทคนิคจาก หน่วยสนับสนนุ โดยตรงได้ 2. ระดับหน่วยสนับสนุนโดยตรง กองร้อยสรรพาวุธคลังกระสุน กองพันสรรพาวุธกระสุน กองบัญชาการชว่ ยรบ และแผนกคลงั ต่างๆ ของกองคลงั แสง กรมสรรพาวุธทหารบก เปน็ ผู้ทำการซ่อม ซึ่งเป็น งานทเ่ี กี่ยวกบั การตรวจซ่อมและซอ่ มแกโ้ ดยจำกัด ไดแ้ ก่ 2.1 การซ่อมหรือเปลย่ี นวสั ดุหีบห่อ และการทำเครอื่ งหมายใหม่ 2.2 การถอด บรรจุตบั /สายกระสนุ และการเปล่ยี นอัตราส่วนกระสนุ ปนื เล็กในสายกระสนุ 2.3 การเปล่ียนชิ้นส่วนซ่อม และองค์ประกอบท่ีถอดได้ง่าย เช่น ชนวนหัว, จุกปิดช่องชนวน, แหวนรดั ทา้ ย และดินส่วนบรรจุ 2.4 การขจัดสนิมเลก็ ๆ นอ้ ยๆ การแต้มสี และการทำเครอื่ งหมายใหม่ 2.5 การขจัดรอยไหลเยมิ้ ของวตั ถรุ ะเบดิ จากลูกกระสุนปืนใหญ่ 2.6 การทดสอบวงจรไฟฟา้ ของจรวด การตรวจสภาพยทุ โธปกรณ์

-6- 3. ระดับสนับสนุนท่ัวไป แผนกตรวจซ่อมและทำลายกระสุนและวัตถุระเบิด กองคลังแสง กรม สรรพาวุธทหารบก เป็นผู้ทำการซ่อมบำรุงโดยจัดเจ้าหน้าที่ อุปกรณ์และเคร่ืองมือไปทำการซ่อมบำรุง ณ สถานการณ์ส่งกำลังกระสุน หรืออาจให้ส่งคืนมาซ่อมที่กองคลังแสง กรมสรรพาวุธทหารบก การซ่อมบำรุง สนบั สนุนทั่วไป ได้แก่ 3.1 การขจดั สนมิ ทีเ่ ปน็ มากๆ การทาสี และทำเครอ่ื งหมายใหม่ 3.2 การซ่อมลังไม้ หบี หอ่ และกะบะทีช่ ำรดุ มาก 3.3 การซ่อมแก้ และการซอ่ มใหญ่ โดยการเปลยี่ นองคป์ ระกอบภายนอก หรือภายในทใี่ ชก้ ารไม่ได้ โดยทั่วไปเป็นงานที่มีอันตรายจำเป็นต้องใช้สิ่งกำบังในการปฏิบัติงาน ได้แก่ การเปล่ียนแปลงกระสุน, ชนวน ทา้ ย, ดนิ นำระเบดิ , ดนิ ขยายการระเบดิ , ตวั จดุ ดินขบั แบบไฟฟ้าของจรวด, ชนวนลูกระเบดิ ขว้าง เปน็ ตน้ 1.4 การซอ่ มอาวธุ นำวถิ ี ปฏิบัติเช่นเดียวกับการซ่อมบำรุงกระสุน แต่การซ่อมบำรุงในระดับสนับสนุนโดยตรง และระดับ สนบั สนุนท่ัวไป กระทำโดยแผนกที่ 1 กองคลงั แสง กรมสรรพาวธุ ทหารบก 1.5 การตรวจสภาพ สป.5 มีการตรวจสภาพเช่นเดียวกับ สป.2 และ สป.4 แต่การตรวจสภาพกระสุนทางเทคนิค จะมี รายละเอียดข้นั ตอนมากว่า สป.2 และ 4 ทั้งน้ี เพื่อพิจารณาสภาพการใช้การได้ของกระสุน และเพื่อใหม้ ่ันใจว่า สามารถเกบ็ รกั ษาต่อไปไดอ้ ย่างปลอดภยั - - - - - - - - - -------------------- - - - - - - - - การตรวจสภาพยทุ โธปกรณ์

เอกสารทางเทคนคิ 1. คมู่ อื ทางเทคนคิ คู่มือทางเทคนิคทีม่ ใี ช้ใน ทบ.ไทย มหี ลายชนิด วิชานีจ้ ะขอกลา่ วในรายละเอยี ดท่ีจำเป็นซง่ึ เก่ยี วข้องกบั เอกสารทางเทคนิคท่ีมีใชใ้ นเหล่า ม. เท่านัน้ 1.1 เอกสารทางเทคนิค 1.1.1 คู่มือทางเทคนิค (คท.) Technical Manual (TM) เป็นเอกสารสำหรับ ซบร.ยุทโธปกรณ์ กำหนด เปน็ ระบบตัวเลข 1.1.2 แถลงการณ์ทางเทคนิค (Technical Bulletine - TB) จะบอกรายละเอยี ดเทคนิคใหม่ ๆ เกย่ี วกับ ยุทโธปกรณ์ 1.1.3 คำสั่งการหล่อลน่ื (Lubrication Order - LO) จะบอกรายละเอยี ดเกย่ี วกับวัสดุหล่อลน่ื , ระยะเวลา, จดุ หล่อลน่ื และภาพประกอบ ตลอดจนวิธหี ลอ่ ล่ืน 1.2 เอกสารการฝกึ อบรม 1.2.1 คมู่ ือราชการสนาม (รส.) Field Manuals (FM) บอกรายละเอียดเกย่ี วกบั หลักนยิ มทางทหาร, การฝกึ ปฎิบัติของหน่วยและเหลา่ ตา่ งๆ จะมีระบบตัวเลขกำกับของแต่ละเหล่า เช่น 5 - ชา่ ง 6 - ปืนใหญ่ 7 - ราบ 17 - ยานเกราะ 1.2.2 ตารางยิง (Firing Table - FT) บรรจุขอ้ มูลขีปนะวิธีภายนอก โดยถอื เอาระยะยิงของอาวุธแตล่ ะ ชนดิ และกระสุน, ชนวน, ดนิ สง่ กระสนุ เป็นหลกั ตารางยิงแบง่ ออกตามประเภทของอาวธุ ได้ 3 ประเภท คือ 1. ตารางยิงอย่างยอ่ ใช้กบั ปถ., ค. 2. ตารางยิงสำหรับ ปตอ. 3. ตารางยิงสำหรบั ป. สนาม 1.3 คู่มือเทคนิค (คท.) กำหนดชนดิ ของเอกสารไว้เปน็ ระบบตัวเลข เชน่ TM 9-2350-257-20-2-2-1 TM คอื ชนิดของเอกสาร 9 คือ สายบรกิ ารท่รี บั ผดิ ชอบ (เหล่า) 2350 คอื ประเภทและชนดิ ยทุ ธภัณฑ์ 257 คือ ลำดบั ที่ของหนังสอื คู่มือประจำชนิดยุทโธปกรณ์ 20 คอื ข้นั การซ่อมบำรุง 2 คือ ระบบของยุทโธปกรณ์ 2 คอื Volume ท่ี.... 1 คือ Part ท่.ี .... เอกสารทางเทคนิค

-7- 1.3.1 สายบรกิ ารที่รับผิดชอบ 1 การบนิ 9 สรรพาวุธ 14 การเงิน 3 เคมี 10 พธ. 19 สห. 5 ชา่ ง 11 สอื่ สาร 55 ขส. 6 ปนื ใหญ่ 12 สบ. 700 ส่งกำลัง 1.3.2 ประเภทและชนดิ ยทุ ธภัณฑ์ สองตัวแรก หมายถงึ พวก (ประมาณ 76 กว่าพวก) 10 อาวุธ 12 เครอ่ื งควบคมุ การยิง 13 กระสนุ และวตั ถุระเบิด 23 ยานยนต์, รถพว่ ง และรถจักรยานยนต์ สองตวั หลัง หมายถงึ ประเภท 00 ยานยนตป์ ระเภทสายพาน, รถสายพาน, รถลำเลยี งพล 20 ยานยนตป์ ระเภทลอ้ 50 รถถัง 1.3.3 ลำดบั ท่ขี องหนังสือ ยทุ โธปกรณช์ นดิ ใดก็ตาม จะเร่ิมต้นดว้ ยเลข 200 เสมอ 257 ถ.M60 A 1 258 ถ.M48 A 5 253 ถ.M60 A 3 215 ค. 4.2 นิ้ว 205 ค. M 79 221 ค. M 203 224 ปก. M 60 319 ปลย. M16 A 2 ฯลฯ 1.3.4 ขั้นการซอ่ มบำรุง (5ขั้น) 10 ผู้ใช/้ พลประจำ 12 ผ้ใู ช/้ ช่าง ซบร.ประจำหน่วย 13 ขัน้ 1-3 14 ขัน้ 1-4 15 ข้ัน 1-5 20 ขน้ั 2 ฯลฯ 1.3.4 ระบบของยทุ โธปกรณ์ 1 ตัวรถ 2 ป้อมปืน 1.3.5 Volume ที.่ ...(บอกลำดบั ของ Volume) 1.3.6 Part ท.่ี ...(บอกวา่ เป็นเล่มที่.....) 1.4 คมู่ ือที่มีอักษร P 1.4.1 เป็นเอกสารการส่งกำลงั บอกรายการชน้ิ สว่ นซ่อม 1.4.2 อนมุ ัตใิ ห้หนว่ ยทท่ี ำการซ่อมบำรงุ ได้เบิกชนิ้ สว่ นตา่ ง ๆ ตามรายการที่กำหนด เพื่อเบิกสะสมหรือ เอกสารทางเทคนิค

-8- เบิกทดแทนหมนุ เวียน 1.4.3 TM 9-P จะมีประจำยทุ โธปกรณท์ ุกชนิดและจะตอ้ งทนั สมัย ผใู้ ชค้ ่มู ือน้คี ือ นายสบิ สง่ กำลงั สาย สพ.ของหน่วยทุกระดบั 1.4.4 การใชค้ ู่มอื ท่ีมีอักษร P จะบอกรายละเอียดเก่ียวกับ - สารบญั รายการทตี่ ้องการทราบ - รายการช้ินสว่ นซ่อม - รปู ภาพชน้ิ ส่วนประกอบ, เคร่ืองมือพเิ ศษ - - - - - - - - - - -------------- - - - - - - - - - - เอกสารทางเทคนิค

เอกสารคู่มอื สง่ กำลงั หลกั ฐานอ้างอิง ST 9 – 161, ST 9 – 174, DA.PAM – SERIES, ORD – SERIES, FM 10 – 14 และTM PART LIST 3.1 เอกสารค่มู ือส่งกำลงั กล่าวทั่วไป ในบทน้ีมีเรื่องราวต่าง ๆ ที่ควรรู้เก่ียวกับคู่มือส่งกำลังระบบต่าง ๆ ท่ีมีใช้อยู่ในกองทัพบก ปัจจุบัน แม้ว่าปัจจุบันจะมีคู่มือส่งกำลังระบบ SC ออกมาใช้แทนระบบ SM และระบบ SNL แล้วเป็น จำนวนมากก็ตาม แต่คู่มือส่งกำลงั ระบบ SNL บางเลม่ ก็ยังมีความจำเปน็ ท่ีจะตอ้ งให้เป็นหลกั ฐานในการ ส่ง กำลัง เราจงึ จำเปน็ ที่จะตอ้ งเรยี นรคู้ มู่ ือส่งกำลงั ท้งั 4 ระบบ ซง่ึ จะไดก้ ลา่ วถงึ รายละเอียดตอ่ ไป 1. หมายเลขช้ินส่วนโรงงาน ( MANUFACTURER’S PART NUMBER ) เป็นหมายเลขประจำชิ้นส่วนที่ โรงงานแต่ละโรงงานกำหนดขึ้นเอง ซึ่งหมายเลขน้ีอาจประกอบด้วยตัวเลขเพียงอย่างเดียว หรือเป็นตัวเลข ผสมตัวอักษรก็ได้ เม่ือโรงงานกำหนดหมายเลขช้ินส่วนโรงงานแล้ว โรงงานก็ยังใช้อักษรย่อของโรงงาน หมายเลขชิ้นส่วนโรงงาน หมายเลขชิ้นสว่ นโรงงาน ถา้ สามารถตอกติดกับช้ินส่วนได้ ก็จะตอกติดไว้ หมายเลข พวกนี้เราจะพบวา่ ใช้กันมากในทางการค้าท่ัวไป ตวั อยา่ ง เช่น.- GE - 124960 GMC - 000851 BMW - 01AT23 อักษรย่อโรงงาน หมายเลขช้ินสว่ นโรงงาน 2. หมายเลขรหัสโรงงาน ( MANUFACTURER’S CODE ) เป็นหมายเลขที่ทางราชการกำหนดขึ้นสำหรับแต่ ละโรงงานท่ีผลิตยุทโธปกรณ์และชิ้นส่วนให้กับกองทัพบก ซึ่งกำหนดให้โรงงานนั้น ๆ ใช้แทนอักษรย่อโรงงาน เม่ือนำยุทโธปกรณ์ และช้ินส่วนซ่อม ส่งมอบให้กองทัพบก รหัสโรงงานนี้ทำสารบัญไว้ใน SB 708-41, SB 708-42 โดยใช้ตัวเลข 5 ตวั แทนอักษรย่อของโรงงานนน้ั ๆ ตวั อยา่ ง เช่น.- 00000 หมายถึง โรงงานช่างแสง 99400 หมายถงึ VOLKSWAGENWORK AG, WOLFSBURG, GERMANY 24617 หมายถึง GENERAL MOTORS CORP, (GMC), DETROIT, MICH. 3. หมายเลขรหสั และช้ินสว่ นโรงงาน เมื่อโรงงานผลิตยุทโธปกรณ์และช้ินส่วนซ่อมข้นึ มาแลว้ โรงงานได้กำหนด หมายเลขโรงงานประจำส่ิงผลิตนั้น ๆ เม่ือจะนำสิ่งผลิตส่งมอบให้กองทัพบกโรงงานก็จะใช้หมายเลขรหัส โรงงานนำหนา้ หมายเลขชิน้ สว่ นโรงงาน ตัวอย่าง เช่น.- 24617 - 000851 รหสั โรงงาน หมายเลขช้ินส่วนโรงงาน 4. หมายเลขช้ินส่วนสรรพาวุธ ( ORDNANCE PART NUMBER ) เป็นหมายเลขท่ีทางราชการกำหนดข้ึน ประจำชนิ้ ส่วนต่าง ๆ แมว้ ่าชิ้นส่วนนั้นจะผลิตมาจากโรงงานหลายโรงงานก็ตาม เม่ือชิ้นส่วนนั้นสามารถใช้แทน

- 10 - กันได้จะมีหมายเลขช้ินส่วนสรรพาวุธเพียงหมายเลขเดียวเท่าน้ัน หมายเลขช้ินส่วนสรรพาวุธนี้ประกอบด้วย ตวั เลข 7 ตวั ตัวอย่าง.- 9213112 การแบ่งยุทโธปกรณต์ ามหมู่อักษร ( LETTER GROUP, SNL SYSTEM ) ยทุ โธปกรณส์ รรพาวธุ ซ่งึ มีอย่มู ากมายนน้ั ๆ ได้จัดแบง่ แยกออกไปเป็นจำพวกใหญ่ ๆ โดยใช้ตัวอกั ษร แทนจำพวกยุทโธปกรณ์นั้น ๆ หมู่อักษรต่าง ๆ ท่ีใช้ มีรวมกันถึง 20 หมู่อักษร คือ A ถึง Z ( ยกเว้น I,M,O,U,V,W,X ) และ OGS ซ่ึงอักษรตัวใดใช้แทนยุทโธปกรณ์จำพวกใด เราสามารถค้นดูได้จาก ORD 1 ใน ปัจจุบันหมู่อักษรทั้ง 20 หมู่ ดังกล่าวได้ถูกยกเลิกไปเกือบหมดสน้ิ แล้ว คงมีเหลือใช้เพียง 9 หมอู่ ักษรเท่านั้น ซง่ึ แตล่ ะตวั อกั ษรหมายถงึ ยทุ โธปกรณจ์ ำพวกใหญ่ ๆ ดงั ตอ่ ไปนี.้ - A หมายถึง อาวุธอตั โนมตั ิ กงึ่ อตั โนมัติ และเครอื่ งยงิ ลูกระเบดิ B หมายถงึ อาวุธเบาอน่ื ๆ ทัง้ หมด C หมายถงึ ป.สนามขนาดเบา กลาง และ ป.อากาศยานขนาดใหญ่ D หมายถงึ ป.สนาม และ ปตอ.ขนาดหนัก F หมายถึง ยทุ โธปกรณ์ควบคุมการยงิ และเคร่อื งเล็ง G หมายถึง ยานพาหนะท่ใี ชใ้ นความมุง่ หมายทัว่ ไปและยานยนต์รบ J หมายถงึ เครือ่ งมอื ทวั่ ไป เคร่อื งมือพเิ ศษ และชุดเครอื่ งมือ L หมายถงึ เป้า และวสั ดุท่ีเกยี่ วกบั เป้า Y หมายถงึ อาวธุ นำวิถี หมู่อักษรต่าง ๆ ท่ีเหลืออยู่ขณะนี้ก็มีหมายเลขรหัสกลุ่มและประเภท (FSC) ออกมาใช้แทนแล้วเป็น สว่ นมาก และตอ่ ไปกจ็ ะมีหมายเลขรหัสกลุม่ และประเภทออกมาใช้แทนในท่สี ุด 5. รหัสแยกประเภท ( CLASSIFICATION CODES ) ประกอบด้วยตวั อักษร 1 ตัว และตัวเลขอกี 3 ตัว เช่น G 200 รหสั แยกประเภทน้ีเป็นการแบง่ ยทุ โธปกรณ์ตามหมอู่ ักษร ตวั อยา่ ง.- G หมายถึง ยานยนต์ 200 หมายถงึ รถถัง M.24 6. หมายเลขพัสดุสรรพาวุธ ( ORDNAMCE STOCK NUMBER ) เป็นหมายเลขที่ใช้ในระบบการควบคุมและ เบิกจ่ายสิ่งอุปกรณ์สรรพาวุธ ซึ่งหมายเลขพัสดุสรรพาวุธน้ีจะมีประจำยุทธภัณฑ์พร้อมชุดสิ่งอุปกรณ์สำคัญ ส่วนประกอบ สิ่งอุปกรณ์หลัก องค์ประกอบและชิ้นส่วนลักษณะของหมายเลขพัสดุสรรพาวุธประกอบด้วย ตวั อกั ษร 1 ตวั และตัวเลข 10 ตัว เขียนดังน.้ี - G 200 – 9213112 G 200 9213112 รหสั แยกประเภท หมายเลขช้นิ สว่ นสรรพาวธุ ในค่มู ือบางเลม่ อาจเขยี นเพอื่ ใหส้ ะดวกต่อการค้นหาดังนี้.- G 200 – 921 – 3112

- 11 - การแบ่งยุทโธปกรณ์ตามรหัสกลุ่มและประเภท ( FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION (FSC)) เนื่องจากยุทโธปกรณ์ของกองทัพบกในปัจจุบัน มีใช้มากชนิดมากแบบกว่าแต่ก่อน ทบ.สหรัฐ ฯ จึงได้ กำหนดการแบ่งยุทโธปกรณ์ออกเป็นกลุ่มและประเภทข้ึนใหม่ เพื่อใช้แทนการแบ่งยุทโธปกรณ์ตามหมู่อักษร เดิม การกำหนดรหัสกลุ่มและประเภทยุทโธปกรณ์น้ีใช้ตัวเลขทั้งสิ้น ซ่ึงสามารถค้นหารายละเอียดได้จาก สารบัญหมายเลขกลุ่มและประเภท เลม่ ใดเล่มหน่งึ ใน จำนวน 3 เลม่ คอื SB 708-21, SB 708-22, SB 708-23 หมายถึง กลุ่มและประเภท ทคี่ วรรู้เกี่ยวกบั ยุทโธปกรณส์ รรพาวธุ ได้แก่ หมายเลขกลมุ่ 10 หมายถึง อาวุธ 12 หมายถงึ เคร่ืองควบคุมการยิง 13 หมายถงึ กระสุนและวัตถรุ ะเบดิ 23 หมายถึง ยานยนต์ รถพ่วง และจกั รยาน 26 หมายถึง ยางนอกและยางใน 29 หมายถงึ ส่วนประกอบเครอื่ งยนต์ 7. รหัสกลมุ่ และประเภท ( FEDERAL SUPPLY CLASSIFICATION ) เรียกย่อ ๆ ว่า “FSC” เป็นตวั เลข 4 ตัว เช่น 2350 23 50 FSC GROUR FSC CLASS 8. หมายเลขลำดับหมายเลขส่ิงอุปกรณ์ (FEDERAL ITEM IDENTIFCATION NUMBER-FIIN) เป็นหมายเลข 7 ตวั มีลักษณะเชน่ เดยี วกบั หมายเลขชนิ้ สว่ นสรรพาวุธ เชน่ 9213112 9. หมายเลขส่ิงอุปกรณ์ (FEDERAL STOCK NUMBER-FSN) เป็นหมายเลขท่ีใช้ในการเบิกจ่ายและควบคุมส่ิง อปุ กรณ์ ใช้แทนหมายเลขพัสดสุ รรพาวุธ ประกอบดว้ ยตวั เลข 11 ตัว เช่น.- 2350 - 921-3112 FSC FIIN 10. หมายเลขรหัสประเทศ ( COUNTRY CODE ) เนื่องจากหมายเลขส่ิงอุปกรณ์เป็นระบบหมายเลขที่หลาย ประเทศในโลกเสรีประชาธิปไตยยอมรับเอามาใช้ในการกำหนดหมายเลขส่ิงอุปกรณ์ เพื่อที่จะได้ทราบว่ า หมายเลขส่ิงอุปกรณ์นั้น ๆ เป็นส่ิงอุปกรณ์ของประเทศใด จึงได้กำหนดหมายเลขรหัสประเทศข้ึนใช้ร่วมกับ หมายเลขสิ่งอปุ กรณ์ดังนี.้ - 00 สหรฐั อเมรกิ า 01 สหรัฐอเมริกา 11 องคก์ ารเนโต 12 เยอรมนั 13 เบลเยยี่ ม 14 ฝร่งั เศส 15 อิตาลี 17 เนเธอรแ์ ลนด์ 18 อาฟริกา 23 กรีซ 24 ไอซแ์ ลนด์ 25 นอรเ์ วย์

- 12 - 26 โปรตเุ กส 27 เตอรกี 28 ลกั เซมเบร์อก 29 อาเจนตนิ า 30 ญ่ีปุน่ 31 อสิ ราเอล 32 สิงคโปร์ 33 สเปญ 34 มาเลเซีย 35 ประเทศไทย 36 อียปิ ต์ 37 เกาหลีใต้ 66 ออสเตรเลีย 70 ซาอดุ อิ ารเบยี 98 นิวซีแลนด์ 99 สหราชอาณาจกั ร การใช้รหัสประเทศเพิ่มเติมในหมายเลขส่ิงอุปกรณ์ ให้เพิ่มระหว่างหมายเลขรหัสกลุ่มและประเภท กบั หมายเลขลำดับหมายเลขสิ่งอปุ กรณ์ ดงั ตัวอย่าง 2350-921-3112 2350 - 00 - 921-3112 รหสั กลุ่มและประเภท รหสั ประเทศ หมายเลขลำดบั หมายเลขสิ่งอุปกรณ์ 11. หมายเลข NIIN ( NATIONAL ITEM IDENTIFICATION NUMBER) ได้แก่ หมายเลขส่ิงอุปกรณ์เดิม เพ่ิม เลข รหัสประเทศลงไปขา้ งหน้า FIIN 00 - 921-3112 รหัสประเทศ หมายเลขลำดับหมายเลขสงิ่ อปุ กรณ์ 12. หมายเลขสิ่งอุปกรณ์ ( NATIONAL STOCK NUMBER-NSN ) ได้แก่ หมายเลขสิ่งอุปกรณ์เดิม ซ่ึงเพ่ิม หมายเลข รหัสประเทศระหวา่ ง รหสั กลุ่มและประเภทกบั หมายเลขลำดบั หมายเลขสงิ่ อปุ กรณ์ 2350-00-921-3112 หมายเหต.ุ - 1. หมายเลข FSN ใดท่เี พมิ่ เลข 00 เข้าไป จะเป็น สป.ชนิดเดมิ 2. หมายเลข FSNใดท่ีเพิม่ เลข 01 เข้าไป จะเป็น สป.คนละชนิดกนั กบั หมายเลขเดมิ 3.2 เอกสารทางเทคนิค 1. หมายเลขเอกสาร การกำหนดหมายเลขเอกสารทางเทคนิค คงใช้หมายเลขหลักร่วมกับหมายเลข หลักของเอกสารทางการฝึกอบรม และอัตราตา่ ง ๆ ดังตัวอย่างท่ีได้แสดงไวใ้ น บทท่ี 3 ขอ้ ที่ 1 ความหมายของ หมายเลขหลักเอกสารทางเทคนิคสามารถค้นหาได้จาก DA.PAM 310-4 ซึ่งเป็นสารบัญเอกสารทางเทคนิค ยกเว้นคำสั่งการดัดแปลง ไดแ้ ยกไปทำสารบัญไวใ้ น DA.PAM 310-7 นอกจากสารบญั ทงั้ 2 เลม่ ทไี่ ดก้ ล่าวแล้ว การค้นหาความหมายของหมายเลขหลกั เอกสารทางเทคนิค ยังสามารถดไู ด้จาก DA.PAM 310-3 อกี ดว้ ย การกำหนดหมายเลขเอกสารทางเทคนิคท้ังหมดมีการกำหนดหมายเลข ในระบบเดียวกัน ยกเว้น แถลงการณท์ างการส่งกำลงั ท่มี ีการกำหนดหมายเลขแตกตา่ งไปจากเอกสารทางเทคนิคอน่ื ๆ 2. คูม่ ือทางเทคนคิ (คท.หรือ TM)

- 13 - 2.1 กล่าวทั่วไป คู่มือทางเทคนิค เป็นเอกสารทางเทคนิคว่าด้วยเร่ืองราวของการซ่อมบำรุง ยุทโธปกรณ์ แต่ละรายการ ซ่ึงจำเป็นต่อภารกิจของหน่วยต่าง ๆ เก่ียวกับการปฏิบัติการซ่อมบำรุง คูม่ อื ทางเทคนคิ รุ่นใหมส่ ดุ ยังมรี ายการชิ้นส่วนซอ่ มทใี่ ช้ในการซอ่ มบำรงุ อยู่ในคู่มือทางเทคนิคดว้ ย ในการจัดพิมพ์คู่มือทางเทคนิคสำหรับส่ิงอุปกรณ์หลักแต่ละรายการ กองทัพบกได้จัดพิมพ์ เรื่องราวการซ่อมบำรุงไว้ในคู่มือทางเทคนิคอย่างสมบูรณ์ต้ังแต่การซ่อมบำรุงขั้นท่ี 1 ถึงขั้นท่ี 5 สำหรับยุทธภัณฑ์รอง และองค์ประกอบย่อยได้จัดพิมพ์เรื่องราวเกี่ยวกับการซ่อมบำรุงระดับหน่วย รวมไว้กับคู่มือของสิ่งอุปกรณ์สำคัญที่ยุทธภัณฑ์รองหรือองค์ประกอบย่อยน้ัน ส่วนเรื่องราวของการ ซอ่ มบำรุง หน่วยสนบั สนุนโดยตรงหน่วยสนบั สนนุ ท่ัวไป และระดับคลงั จะจดั พิมพค์ ่มู ือซอ่ มบำรุง แยก ตา่ งหาก เพือ่ ความสะดวกในการใช้และการแจกจ่ายใหห้ นว่ ยซอ่ มบำรงุ ระดับต่าง ๆ 2.2 การจัดรูปเล่ม คู่มือทางเทคนิคสำหรับหารซ่อมบำรุงยุทโธปกรณ์แต่ละรายการได้จัดแบ่งเป็นตอน ๆ ดงั น.้ี - 2.2.1 คู่มือพลประจำหรือพลขับ ตอนน้ีจะมีเร่ืองราวหรือข่าวสารท่ีเหมาะสมแก่พลประจำ หรือ ผูใ้ ช้ ซ่ึงจะรวมถึงเร่อื งตอ่ ไปน้ี.- 2.2.1.1 รายการและข้อมูลของยทุ โธปกรณ์ 2.2.1.2 คำแนะนำสำหรับพลประจำ ในการนำยุทโธปกรณ์ออกใชง้ าน 2.2.1.3 คำแนะนำในการใชย้ ุทโธปกรณ์และเคร่อื งประกอบภายใตภ้ าวะปกติ และภาวะ ซงึ่ ผิดปกติ 2.2.1.4 คำแนะนำสำหรับพลประจำหรอื ผ้ใู ช้ เกี่ยวกบั การปรนนบิ ัตบิ ำรุงรวมทั้งการหลอ่ ลนื่ 2.2.1.5 คำแนะนำเก่ียวกบั การซอ่ มบำรงุ การซ่อมแก้ และการคน้ หาเหตขุ ดั ข้อง 2.2.1.6 บญั ชชี นิ้ สว่ นซอ่ มและเครื่องมือพิเศษ ซึง่ ต้องนำไปกบั ยุทโธปกรณ์ เชน่ รายการชนิ้ ส่วนซ่อม จา่ ยข้ันต้น 2.2.2 ค่มู ือซ่อมซึง่ บำรงุ ระดับหน่วย ตอนน้ีจะมีเรอื่ งราวซ่งึ เหมาะสมกับหนว่ ยที่มียุทโธปกรณน์ ัน้ ๆ อยู่ในอัตรา ซง่ึ ขา่ วสารน้รี วมถึงเรอ่ื งตอ่ ไปน้ี 2.2.2.1 รายการและขอ้ มลู เพิม่ เติมตามความเหมาะสมไมไ่ ด้กลา่ วไวใ้ นค่มู ือพลประจำ หรอื พลขบั 2.2.2.2 คำแนะนำว่าด้วยการซ่อมบำรงุ ระดบั หนว่ ย ในการเตรยี มยุทโธปกรณ์สำหรบั ใชง้ าน 2.2.2.3 คำแนะนำวา่ ด้วยการซอ่ มบำรุง การซอ่ มแก้ การค้นหาเหตุขัดขอ้ ง ซ่ึงอนมุ ัติให้ชา่ งซอ่ ม บำรงุ ระดับหน่วยกระทำได้ 2.2.2.4 คำแนะนำวา่ ดว้ ยการปรนนบิ ตั ิบำรงุ ระดับหน่วย 2.2.2.5 ตารางอนุมตั แิ สดงการปฏิบตั กิ ารซอ่ มทีอ่ นมุ ัติให้การซ่อมบำรุงขั้นตา่ ง ๆ ปฏบิ ตั ิได้ 2.2.2.6 บัญชีชนิ้ ส่วนซอ่ มและเคร่ืองมือพเิ ศษ ซงึ่ อนุมตั ิให้ปฏิบตั กิ ารซ่อมบำรุงระดับหน่วย ต่อยทุ โธปกรณ์ 2.2.3 คู่มือซอ่ มบำรุงสนบั สนุนโดยตรง ตอนน้ีจะมเี รื่องราวท่เี หมาะสมกบั หนว่ ยซอ่ มบำรุงสนับสนนุ

- 14 - โดยตรง แตไ่ มร่ วมถึงคูม่ ือซ่อมบำรุงระดบั หนว่ ย และพลประจำตอนนี้ยังมบี ญั ชีช้นิ ส่วนซ่อมท่ี อนุมัติใหห้ นว่ ย สนบั สนุนโดยตรงใช้ทำการซ่อม และชิน้ ส่วนซอ่ มเพ่ือการสนบั สนุนการซอ่ มบำรุงระดับหน่วยดว้ ย 2.2.4 คู่มือซอ่ มบำรุงสนบั สนนุ ท่วั ไป ตอนน้ีจะมีเรอ่ื งราวทเี่ หมาะสมกบั หน่วยซ่อมบำรุงสนับสนนุ ท่วั ไป แต่ไมร่ วมถึงคู่มือซอ่ มบำรุงสนบั สนุนโดยตรง การซ่อมบำรุงระดบั หน่วยและพลประจำ ตอนน้ยี ังมีบญั ชี ชน้ิ สว่ นซ่อมที่อนุมตั ิให้หน่วยสนบั สนุนท่วั ไปใชท้ ำการซ่อม และชนิ้ สว่ นซอ่ ม เพ่ือการสนบั สนนุ การซ่อมบำรุงขั้น ต่ำกวา่ ดว้ ย 2.2.5 คมู่ ือการซ่อมบำรุงระดับคลัง ตอนน้จี ะมเี รื่องราวทเ่ี หมาะสมสำหรบั การซ่อมบำรุงระดับคลงั และเป็นแนวทางในการคิดเกณฑ์อนมุ ตั ิชนิ้ ส่วนซ่อม สำหรับการซ่อมบำรงุ ระดบั คลงั หมายเหตุ.- บัญชชี นิ้ สว่ นซ่อมและเคร่ืองมือพเิ ศษสำหรับการซ่อมบำรุงระดบั หน่วย การซอ่ มบำรงุ สนับสนุนโดยตรง การซ่อมบำรุงสนับสนุนท่ังไป และการซ่อมบำรุงระดับคลัง อาจพิมพ์แยกเป็นคู่มือช้ินส่วน ซอ่ มต่างหาก หรอื พิมพ์เป็นภาคผนวกของคู่มอื ซ่อมบำรงุ กไ็ ด้ เพ่อื อำนวยความสะดวกให้กบั เจ้าหนา้ ทสี่ ง่ กำลงั 2.3 การกำหนดหมายเลข คมู่ อื ทางเทคนิคระบบใหม่ คำสง่ั การหลอ่ ลน่ื แถลงการณท์ างเทคนคิ และคำสง่ั การดดั แปลง มีการกำหนดหมายเลขในแบบเดยี วกัน ดังตวั อยา่ ง TM 9 – 2350 – 213 – 20 TM 9 – 2350 – 213 – 12 TB 9 – 2350 – 213 – 30/1 MWO 9 – 2350 – 213 – 40/1 2.3.1 เลขชดุ ที่ 1 (9) หมายถึง สายยทุ ธบริการท่ีรบั ผิดชอบ ในท่นี ้หี มายถงึ เหลา่ สรรพาวธุ 2.3.2 เลขชดุ ที่ 2 (2350) หมายถึง หมายเลขรหสั กลุ่มและประเภทของยทุ โธปกรณท์ ี่กำหนดใหแ้ ก่ ยุทโธปกรณ์นั้นๆ เลขสองตัวแรก (23) เป็นหมายเลขกลุ่ม (GROUP) และเลขสองตัวหลัง (50) เป็นหมายเลข ประเภท (CLASS) ของยทุ โธปกรณ์ 2.3.3 เลขชดุ ที่ 3 (213) หมายถงึ หมายเลขเล่มท่ี (SERIES) ของยุทโธปกรณ์ในกลุม่ และประเภท เดยี วกนั ตามตัวอย่างเป็นเลม่ ท่ี 14 ของคมู่ ือเทคนคิ ในกลมุ่ และประเภท 2350 เนื่องจากหมายเลข เล่มที่ของ ยุทโธปกรณ์ในกลุม่ และประเภทใดก็ตามจะเร่มิ ต้นดว้ ยเลข 200 เสมอ 2.3.4 เลขชุดที่ 4 (20) เป็นเลขทแ่ี สดงถึงขน้ั การซอ่ มบำรุงซง่ึ มีกลา่ วไวใ้ นคู่มือทางเทคนิคเล่มน้นั เชน่ 20 หมายถึง การซอ่ มบำรงุ ขั้นที่ 2 เทา่ นั้น 15 หมายถึง การซ่อมบำรงุ ขน้ั ท่ี 1 ถงึ ขน้ั ที่ 5 35 หมายถึง การซ่อมบำรุงขัน้ ท่ี 3 ถงึ ข้ันท่ี 5 ถา้ มีอกั ษร “P” ตามหลังหมายเลขขั้นการซ่อมบำรุง ในหมายเลขคมู่ ือทางเทคนคิ เล่มใดแสดงวา่ ค่มู อื ทางเทคนคิ เลม่ น้ันเปน็ บัญชชี ้ินส่วนซอ่ ม สำหรบั การซอ่ มบำรงุ ข้ันนั้น ๆ เช่น.- 30 หมายถงึ รายการช้นิ ส่วนซ่อมทใี่ ชใ้ นการซอ่ มบำรงุ สนบั สนนุ โดยตรง 35 หมายถงึ รายการช้ินส่วนซอ่ มทีใ่ ชใ้ นการซ่อมบำรงุ สนบั สนุนโดยตรง สนบั สนุนทวั่ ไป และระดบั คลัง

- 15 - หมายเหตุ.- รายการชิ้นส่วนซ่อม ซึ่งนำมาพิมพ์รวมไว้ในคู่มือทางเทคนิค เป็นรายการชิ้นส่วนซ่อม ซึ่งใน อดีตไดจ้ ัดพมิ พใ์ นรูปของคมู่ ือส่งกำลังระบบ SNL แบบ 7,8,9 นน่ั เอง (ORD 7,8,9) 2.3.5 ตวั อย่างการกำหนดหมายเลขของคู่มอื ทางเทคนคิ คำส่ังการหล่อลนื่ คำสง่ั การแปลง และ แถลงการณท์ างเทคนิค ยอ่ มแสดงใหเ้ หน็ ว่า ถ้าเอกสารทางเทคนิคทงั้ 4 รายการนเี้ กยี่ วข้องกับยุทโธปกรณ์ รายการเดียวกนั จะมหี มายเลขชุดที่ 1,2,3 ซ้ำกนั เฉพาะคำสงั่ การหลอ่ ลื่นจะมีคำสงั่ การหลอ่ ลื่นทีม่ ีผลบังคบั ใช้ ฉบบั เดยี วเท่านั้น ส่วนคำส่งั การดัดแปลงและแถลงการณ์ทางเทคนิคอาจจะมีพมิ พเ์ พิ่มเติมออกมาเรอื่ ย ๆ ใน กรณีเชน่ น้ี จะเพิ่มหมายเลขต่อท้ายหมายเลขเดิมดงั ตวั อยา่ ง TB 9 – 2350 – 213 – 30/2 MWO 9 – 2350 – 213 – 20/4 ดังน้ีแสดงว่า เป็นแถลงการณ์ทางเทคนิค ฉบับท่ี 2 ส่วนคำส่ังการดัดแปลง เป็นฉบับท่ี 4 ของ ยุทโธปกรณ์รายการน้ี 2.3.6 การกำหนดหมายเลขคู่มอื ทางเทคนิคในระบบเก่า เน่ืองจากในการปฏิบัติงาน เรามักจะพบหมายเลขมือทางเทคนิคท่ีแตกต่างไปจากการกำหนด หมายเลขคู่มือทางเทคนิคซึ่งได้กล่าวมาแล้วข้างต้น และคู่มือทางเทคนิคที่มีการกำหนดหมายเลขท่ีแตกต่างไป น้ันยังคงมีใช้ยู่ในกองทัพบกไทยเป็นจำนวนมาก จึงน่าจะรู้ถึงการกำหนดหมายเลขตามระบบเก่า ซ่ึงมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบท่ี 1 หมายเลข เรอ่ื ง TM 9 – 200 ถงึ TM 9 – 899 การซ่อมบำรุงระดับหน่วยยทุ โธปกรณ์สรรพาวธุ TM 9 – 1200 ถงึ TM 9 – 1899 การซ่อมบำรงุ สนบั สนนุ โดยตรง ทั่วไปและระดับคลังยทุ โธปกรณ์ สรรพาวธุ TM 9 – 1900 ถึง TM 9 – 1999 ยุทโธปกรณก์ ระสุน การแบ่งหมู่ใหญ่ แบบท่ี 2 TM 9 – 2000 ถงึ TM 9 – 9999 การใช้และการซอ่ มบำรงุ ระดับหนว่ ยสนบั สนนุ โดยตรง ทว่ั ไปและ การแบ่งหมยู่ อ่ ย ระดับคลังยุทโธปกรณ์สรรพาวุธ TM 9 – 1900 ถงึ TM 9 – 1999 TM 9 – 2000 ถงึ TM 9 – 2999 ยทุ โธปกรณ์กระสุน TM 9 – 3000 ถงึ TM 9 – 3999 สรรพาวธุ เบา TM 9 – 4000 ถึง TM 9 – 4999 ปืนใหญ่ ยังไม่ไดก้ ำหนด

- 16 - TM 9 – 5000 ถงึ TM 9 – 5999 อาวุธนำวิถี TM 9 – 6000 ถึง TM 9 – 6999 เครอ่ื งเลง็ และเครอื่ งควบคุมการยงิ TM 9 – 7000 ถงึ TM 9 – 9999 เครื่องมอื กลและเครอื่ งมอื ทดสอบ หมายเหตุ.- คู่มือในแบบท่ี 2 นี้ ถ้าหมายเลขรองเป็นเลขคู่ จะมีเรอื่ งราวว่าด้วยการใชง้ าน และการซ่อมบำรุง ระดบั หนว่ ย ส่วนหมายเลขค่ี ว่าด้วยการซอ่ มบำรงุ สนับสนนุ โดยตรงทั่วไป และระดับคลัง 3. แถลงการณ์ทางเทคนคิ 3.1 กล่าวทั่วไป แถลงการณ์ทางเทคนิคประกอบด้วยเรื่องราวทางเทคนิคใหม่ ๆ เก่ียวกับยุทโธปกรณ์ ซ่ึงสายยุทธบริการท่ีรับผิดชอบเป็นผู้เสนอ แถลงการณ์ทางเทคนิคจะไม่มีเร่ืองราวทางธุรการเก่ียวกับการฝึก ทางยุทธวิธี หรือการปฏิบัติการยุทธ แถลงการณ์ทางเทคนิคอาจเป็นการขยายหรือเพ่ิมเติมเร่ืองราวท่ีมีอยู่เดิม ในคู่มือทางเทคนิค แต่ไม่มีผลในการเปล่ียนแปลงเนื้อหาในคู่มือทางเทคนิคที่เก่ียวข้องโดยตรง ข้อความหรือ คำแนะนำท่ีพิมพ์ไว้ในแถลงการณ์ทางเทคนิคต่อไปอาจนำไปพิมพ์ไว้ในคู่มือทางเทคนิคที่เหมาะสมได้ โดยออก ใบแกค้ ู่มือทางเทคนิคน้นั ๆ 3.2 การกำหนดหมายเลข 3.2.1 แถลงการณ์ทางเทคนิคซึ่งเกี่ยวข้องกับยุทโธปกรณ์รายการใด จะมีหมายเลขเดียวกับคู่มือ ทางเทคนิคของยุทโธปกรณ์รายการน้นั 3.2.2 แถลงการณท์ างเทคนคิ ซ่งึ เก่ียวขอ้ งกบั ยุทโธปกรณ์ ตัง้ แต่ 2 รายการขึ้นไป ซง่ึ อยใู่ นรหสั กลมุ่ และประเภทเดียวกัน จะมีหมายเลขเช่นเดียวกันกับ 3.2.1 เว้นแต่หมายเลขรหัสกลุ่มและประเภทจะ ครอบคลุมยุทโธปกรณท์ ุกรายการที่เก่ียวข้อง 3.2.3 แถลงการณ์ทางเทคนิคฉบับใดไม่เกี่ยวข้องกับยุทโธปกรณ์ใดโดยเฉพาะและเป็นเร่ืองเกี่ยวกับ การบริการโดยทว่ั ไป กำหนดหมายเลขเรยี งตามลำดบั เช่น.- TB ORD 202 4. แถลงการณ์ทางการสง่ กำลงั 4.1 กล่าวท่ัวไป แถลงการณ์ทางการส่งกำลังมีความมุ่งหมายเพื่อเผยแพร่คำแนะนำและเรื่องราวที่ เกย่ี วกบั การสง่ กำลังในด้านทีม่ ลี ักษณะเปน็ เทคนิคเช่น การรวบรวมข้อมลู ส่งกำลังบำรงุ รายการสิ่งอปุ กรณท์ ี่ ตอ้ งควบคุม คำแนะนำเก่ียวกับการส่งกำลังทม่ี ีลกั ษณะเปน็ งานธรุ การจะไม่อยู่แถลงการณท์ างการส่งกำลัง 4.2 การกำหนดหมายเลข แถลงการณ์ทางการส่งกำลัง กำหนดหมายเลขโดยใช้หมายเลขหลักและ หมายเลขรอง สำหรับหมายเลขรองเป็นหมายเลขเรยี งตามลำดบั เชน่ .- SB 708 – 21, SB 708 - 22 5. คำสงั่ การหล่อลืน่ 5.1 กล่าวท่ัวไป คำสง่ั การหลอ่ ลื่น เป็นเอกสารเกยี่ วกบั การให้การหลอ่ ลื่นต่อยุทโธปกรณแ์ ต่ละรายการ ซงึ่ กระทำโดยเจ้าหนา้ ที่ซ่อมบำรุงระดับหนว่ ย คำส่ังการหล่อลื่นจะประกอบด้วย เรอื่ งราวเก่ียวกับการหลอ่ ลื่นท่ี อนุมัติให้ใช้หล่อลื่น ณ แต่ละจุดหล่อล่ืน ระยะเวลาที่ต้องให้การหล่อล่ืนและจุดที่ต้องการหล่อ ลื่น ยุทโธปกรณ์ซึง่ ส่งเข้าเกบ็ ในคลังเป็นระยะเวลานานโดยไม่ใชง้ าน จะมีเร่ืองราวเกี่ยวกับการหล่อล่ืนลักษณะน้ีอยู่ ในคู่มือทางเทคนิคคำสั่งการหล่อล่ืน อาจพิมพ์บนแผ่นกระดาษกันน้ำ บนแผ่นโลหะติดไว้กับยุทโธปกรณ์หรือ

- 17 - พิมพ์เป็นรูปเล่มก็ได้ มีคำแนะนำเบ้ืองต้นเกี่ยวกับการปฏิบัติก่อนเร่ิมทำการหล่อล่ืน ภาพประกอบแสดงจุดท่ี จะต้องให้การหล่อลื่น สารท่ีใช้ในการหล่อล่ืน ณ จุดนั้น ๆ ระยะเวลาที่ต้องให้การหล่อลื่น คำแนะนำพิเศษ เกี่ยวกบั การหล่อลนื่ ของยทุ โธปกรณ์ 5.2 การกำหนดหมายเลข มีระบบการกำหนดหมายเลขเช่นเดียวกับคู่มือทางเทคนิค คำส่ังการหล่อล่ืน ของยุทโธปกรณ์ใดจะมีหมายเลขคำสั่งการหล่อล่ืนเหมือนกับคู่มือทางเทคนิคประจำยุทโธปกรณ์นั้นเว้น แตข่ ัน้ การซอ่ มจะเป็น 10, 12 หรือ 20 เสมอ 6. คำสง่ั การดัดแปลง 6.1 กล่าวท่ัวไป คำส่ังการดัดแปลง เป็นเอกสารท่ีให้คำแนะนำการดัดแปลงยุทโธปกรณ์เพื่อให้มีการ ปฏิบัติการดัดแปลงยุทโธปกรณ์ให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน การดัดแปลง ยุทโธปกรณ์ มีความมุ่งหมายเพ่ือ เพิ่มพูนประสิทธิภาพการทำงานของยทุ โธปกรณ์ เพ่ือให้ง่ายต่อการซ่อมบำรุงและเพ่ือให้ผใู้ ช้ยุทโธปกรณ์ได้รับ ความปลอดภัยในการใช้มากข้ึน การดัดไปลงน้ีอาจเป็นการดัดแปลงเพียงเล็กน้อยและธรรมดาที่สุดไปจนถึง การดัดแปลงท่ีเป็นงานสลับซับซ้อนซึ่งกระทำโดยโรงงานช่างแสง เจ้าหน้าท่ีผู้เก่ียวข้องใช้คำส่ังการดัดแปลง เปน็ หลักฐานอา้ งองิ ในการเบิกชนิ้ สว่ นซ่อมมาเพ่ือการทำการดัดแปลงยทุ โธปกรณ์ตามคำสั่งได้ คำส่ังการดัดแปลงจะระบุเร่ืองราวดงั ตอ่ ไปน.้ี - 6.1.1 ความมงุ่ หมายในการดัดแปลง 6.1.2 ความเร่งด่วนในการดัดแปลง 6.1.3 ยทุ โธปกรณ์ท่จี ะทำการดัดแปลง 6.1.4 สว่ นประกอบของยุทโธปกรณ์ที่ต้องดดั แปลง 6.1.5 ข้นั การซ่อมบำรงุ ท่อี นมุ ตั ิให้ทำการดดั แปลง 6.1.6 ชิ้นส่วนซ่อมทใ่ี ชใ้ นการดดั แปลง 6.1.7 เครื่องมือพิเศษที่ต้องใชใ้ นการดดั แปลง 6.1.8 วธิ กี ารปฏิบัตใิ นการดดั แปลง 6.1.9 วัน,เดือน,ปี ที่ตอ้ งดำเนนิ การดดั แปลงใหแ้ ล้วเสร็จ 6.2 การกำหนดหมายเลข คำส่ังการดัดแปลงจะใช้หมายเลขหลัก หมายเลขรหัสกลุ่มและประเภท หมายเลขเล่ม (SERIES) หมายเลขเดียวกันกับหมายเลขคู่มือทางเทคนิคของยุทโธปกรณ์ที่จะทำการดัดแปลง และจะมีหมายเลขแสดงขั้นการซ่อมบำรุงต่ำสุดท่ีได้รับอนุมัติให้ทำการดัดแปลงเช่น ถ้ากระทำโดยการซ่อม บำรุงข้นั ท่ี 2 หมายเลขขั้นการซ่อมจะเป็น 20 ถ้าคำสัง่ การดัดแปลงนั้นมีผลเกี่ยวข้องกับยุทโธปกรณ์ ต้ังแต่สอง รายการขนึ้ ไป ในหมายเลขกลุ่มเดยี วกนั กจ็ ะใช้หมายเลขรหสั กลุม่ และประเภทดังนี.้ - MWO 9 – 2350 – 200 – 30/2 หมายเลขคำส่ังการดัดแปลง จะมีลำดับคร้ังที่ดัดแปลงต่อท้ายหมายเลขขั้นการซ่อมตามลำดับครั้งของการ ดดั แปลงยุทโธปกรณ์รายการน้ัน ๆ เชน่ .- MWO 9 – 2350 – 215 – 40/1

- 18 - ------------- 3.3 การใช้คมู่ ือทางเทคนคิ ว่าด้วยบญั ชีชิน้ ส่วนซอ่ ม 1. กลา่ วท่วั ไป บัญชีชิ้นสว่ นซอ่ มในปัจจบุ นั เป็นหนึ่งของคมู่ ือทางเทคนคิ ซ่ึงอดตี รายการช้ินส่วนซอ่ ม นัน้ จดั พิมพใ์ นรปู ของคมู่ ือส่งกำลังระบบ SNL แบบ 7,8 และ 9 สหรฐั ฯ ได้พฒั นาคู่มอื ส่งกำลังมาโดยตลอด และได้พิจารณาว่ารายการช้ินส่วนซ่อมที่ใช้ในการซอ่ มบำรุงนั้นควรจะนำมารวมไว้กับคมู่ ือว่าด้วยการซ่อมบำรุง เมอื่ ได้ประกาศยกเลิกคมู่ อื ส่งกำลงั ระบบ SNL จึงไดจ้ ดั พิมพ์คู่มือทางเทคนิคขึน้ และนำเอารายการชน้ิ ส่วนที่ใช้ สำหรับการซ่อมบำรุงมารวมไว้ในคู่มือทางเทคนิคด้วย สำหรับคู่มือส่งกำลังระบบ SNL เล่มใดที่ยังคงใช้อยู่ก็ให้ นำคมู่ ือเหล่านัน้ มาทำสารบัญรวมไว้ 2. การจัดรูปเล่มบัญชีชิ้นสว่ นซ่อม ในการจัดพมิ พ์คู่มือว่าด้วยชิ้นส่วนซ่อม อาจพิมพ์รวมไวใ้ นเล่มเดยี วกับ ค่มู ือทางเทคนิคของยุทโธปกรณ์นน้ั ๆ หรืออาจพิมพ์แยกเล่มออกมาต่างหากก็ได้ ถ้าจัดพิมพแ์ ยกเล่มออกมาก็ยงั คง ใช้หมายเลขเหมอื นกบั หมายเลขคู่มือทางเทคนิคของยุทโธปกรณ์นั้น แตเ่ พ่ิมอกั ษร “P” หลงั หมายเลขเพื่อให้เป็น ท่ีสังเกตได้ว่า เปน็ คูม่ ือว่าดว้ ยบัญชชี ิ้นส่วนซ่อมโดยเฉพาะ ซง่ึ มีการจดั รปู เลม่ เปน็ ตอน ๆ ในเลม่ น้ี ตอนที่ 1 คำแนะนำ บรรจุเร่อื งราวเก่ียวกับความมุ่งหมาย การจัดรูปเล่ม คำอธิบายเก่ียวกับช่องต่าง ๆ ในบัญชี ข่าวสารพิเศษเกี่ยวกับรหัสและสัญลักษณ์ทใ่ี ช้ในหนังสือ วิธีการค้นหาชนิ้ ส่วนซ่อมท่ีต้องการคำย่อ ที่ใช้และอ่ืนๆ คู่มือรายการช้ินส่วนซ่อมบางเล่มจะจัดทำรายการแลกเปลี่ยนโดยตรง ชุดช้ินส่วนซ่อมและบัญชี ชิ้นส่วนอัตราพกิ ัดข้นั ตน้ ไวใ้ หด้ ว้ ย ตอนท่ี 2 รายการชิ้นส่วนซ่อม มีรายการชิ้นส่วนซ่อม ซ่ึงเรียงตามลำดับหมายเลขชิ้นส่วนซ่อมและ ภาพประกอบ ซึ่งมีรายละเอียดเก่ียวกับแหล่งส่งกำลัง ข้ันการซ่อมบำรุง สถานภาพความคงทนถาวรของ ชิน้ ส่วนซ่อม หมายเลขสิ่งอุปกรณ์ รายละเอียดของชิ้นส่วนซ่อม หมายเลขรหัสและชิ้นส่วนโรงงาน หน่วยนับ จำนวนทีใ่ ชใ้ นองคป์ ระกอบนน้ั ๆ อตั ราสำหรบั หนว่ ยในการสะสมเพอ่ื การซอ่ มบำรงุ ภาพประกอบและหมายเลขชิ้นส่วนในภาพ ตอนท่ี 3 รายการเครื่องมือพเิ ศษ เป็นบญั ชีเครื่องมอื พเิ ศษทใ่ี ชซ้ อ่ มบำรงุ ยทุ โธปกรณ์นั้น สำหรบั ขน้ั การซอ่ มบำรงุ แต่ละขน้ั ตอนที่ 4 บัญชหี มายเลขส่ิงอุปกรณ์และหมายเลขอ้างองิ ตอนท่ี 4 ของบัญชชี ิ้นส่วนซ่อมแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 เป็นรายการเรียงชิ้นส่วนซ่อม ซ่ึงเรียงตามลำดับหมายเลขส่ิงอุปกรณ์อ้างสลับไปหาหมายเลข ภาพประกอบและหมายเลขชิ้นส่วนซ่อมในภาพประกอบ ส่วนที่ 2 เป็นรายการเรียงตามลำดับหมายเลข

- 19 - ชน้ิ สว่ นโรงงานเรียง ลำดับอกั ษร และหมายเลขอ้างองิ สลับไปหาหมายเลขภาพประกอบ และหมายเลขช้ินส่วน ในภาพประกอบ ในกรณีชิ้นส่วนซ่อมรายการน้ันไม่มีภาพประกอบในช่องหมายเลขภาพประกอบจะเป็นตัวเลข แสดงรหสั การแบ่งสว่ นประกอบของยทุ โธปกรณน์ ้ันแทนหมายเลขภาพประกอบ 3. รายละเอียดในชอ่ ง SMR ในช่องนค้ี มู่ อื บางเล่มแบ่งเป็นชอ่ งยอ่ ยให้เห็นชัดเจน บางเล่มก็จะรวมกนั S หมายถึง แหล่งส่งกำลัง (SOURCE CODE) ผู้ใช้คู่มือต้องศึกษารหัสนี้จาก EXPLANATION OF COLUMNS ในตอนที่ 1 เพ่อื ทราบว่ารหัสที่ใชม้ ีอกั ษรก่ตี ัว เพราะรหัสนี้มใิ ช่รหัสมาตรฐาน อาจ ใช้ อกั ษรตัวเดียวหรือสองตัวก็ได้ M หมายถงึ ขน้ั การซ่อมบำรุงของช้นิ ส่วนซ่อมรายการนั้น รหสั ขน้ั การซ่อมเป็น รหสั มาตรฐาน ซึ่งมคี วามหมาย ดงั น้ี.- C หมายถึง การซอ่ มบำรงุ ขนั้ ท่ี 1 O หมายถงึ การซ่อมบำรุงขั้นที่ 2 F หมายถงึ การซอ่ มบำรุงข้นั ท่ี 3 H หมายถงึ การซอ่ มบำรงุ ขั้นที่ 4 D หมายถึง การซ่อมบำรุงข้นั ที่ 5 บัญชีชิ้นส่วนซ่อมบางเล่มมีรหัสแสดงให้ทราบอีกด้วยว่า ขั้นการซ่อมบำรุงที่แสดงไว้นั้น สามารถทำ การซอ่ มบำรงุ ชน้ิ ส่วนรายการน้นั ไดม้ ากนอ้ ยเพียงใดอกี ดว้ ย R หมายถึง สถานภาพความคงทนถาวร ซ่ึงเป็นรหัสท่ีมิใช่รหัสมาตรฐาน ผู้ใช้คู่มือ ต้องดูความ หมายของรหสั จาก ตอนท่ี 1 ของบัญชีช้ินสว่ นซ่อมเลม่ น้นั ๆ 4. รายละเอียดในช่อง DESCRIPTION ช่องนี้เป็นช่ือและรายละเอียดของชิ้นส่วนซ่อมแตล่ ะรายการจะมี หมายเลขชิ้นส่วนโรงงานต่อท้ายชื่อรายละเอียดด้วยเสมอ และยังมีหมายเลขรหัสโรงงานในวงเล็บต่อท้าย หมายเลขชิ้นส่วนโรงงานดว้ ย ในคู่มือบางเล่มซ่ึงเป็นยุทโธปกรณ์ขนาดเดียวกันแต่มีหลายหมายเลขแบบ (MODEL) ซ่ึงชิ้นส่วน เป็นจำนวนมากสามารถใช้ร่วมกันได้ ก็จะมีรหัสของยุทโธปกรณ์แต่ละแบบแสดงไว้ในช่องน้ี ด้วยรหัสใด หมายถึงยุทโธปกรณ์แบบใด สามารถค้นหาได้ในหัวข้อ SPECIAL INFORMATION ของตอนท่ี 1 ใน คมู่ อื น้ัน ๆ 5. การค้นหารายการชิ้นส่วนซ่อม เจ้าหน้าที่ซ่อมบำรุงเป็นแหล่งข้อมูลเบื้องต้นอย่างดีท่ีจะช่วยให้ เจ้าหน้าท่ี สง่ กำลังปฏิบัตงิ านได้รวดเร็วข้นึ ก่อนจะหยิบคู่มอื เล่มใดมาใช้ เจ้าหนา้ ท่ีส่งกำลังควรจะรับทราบ ว่าช้ินส่วนซ่อมต้องการนั้น เป็นช้ินส่วนซ่อมของยุทโธปกรณ์ใดแบบใด และเป็นชิ้นส่วนขององค์ประกอบใด ของยุทโธปกรณ์ ซ่ึงเป็นการเพิ่มความสะดวกให้กับเจ้าหน้าท่ีส่งกำลังได้เป็นอย่างมาก การค้นหาชิ้นส่วนใน คมู่ อื ข้นึ อยู่กับสถานการณต์ ่าง ๆ ดงั น้ี.- 5.1 ในกรณไี ม่ทราบหมายเลขใด ๆ เลย

- 20 - 5.1.1 ใช้สารบัญหนังสือน้ันเพ่ือตรวจดูว่า องค์ประกอบย่อย (SUBGROUP) ซ่ึงมีชิ้นส่วนซ่อมท่ี ต้องการอยใู่ นภาพทเ่ี ทา่ ใด 5.1.2 เปดิ สารบญั ภาพท่ี เพอื่ ดวู า่ ภาพท่ีตอ้ งการอยใู่ นหนา้ ใด 5.1.3 ตรวจดชู ิน้ ส่วนภายในภาพ เมอ่ื พบแลว้ ก็จะทราบหมายเลขชิน้ ส่วนซอ่ มในภาพและหมายเลข ภาพประกอบ 5.1.4 เปิดบัญชีชิ้นส่วนซ่อม ตอนที่ 2 เพอ่ื หารายละเอียดทต่ี ้องการ 5.2 ในกรณีทราบหมายเลขสิ่งอปุ กรณห์ รือหมายเลขชิน้ สว่ นโรงงาน 5.2.1 เปิดตอนที่ 4 ของคู่มือตรวจจนพบหมายเลขทีต่ ้องการ ท่านก็จะทราบหมายเลขช้นิ ส่วนซอ่ มใน ภาพ และหมายเลขภาพประกอบ 5.2.2 เปดิ ตอนที่ 2 ของคู่มือเพือ่ หารายละเอยี ดที่ตอ้ งการ หมายเหต.ุ - อาจใชห้ มายเลขชิน้ ส่วนซ่อมในภาพและหมายเลขภาพประกอบ เพอื่ ตรวจสอบรปู ร่างลกั ษณะ ของชิ้นส่วนซ่อมไดจ้ ากภาพประกอบอีกดว้ ย -----------

บัญชีชน้ิ ส่วนซ่อม และเครื่องมอื พเิ ศษ 1. ขอบเขต บัญชีช้ินส่วนซ่อมและเครื่องมือพิเศษแสดงรายการช้ินส่วนซ่อมท่ีได้รับอนุมัติให้ใช้สำหรับการซ่อม บำรงุ รวมท้ังเครอื่ งมือพเิ ศษ, เครื่องมือทดสอบ, เคร่อื งวัด และเครอื่ งตรวจวเิ คราะห์และอุปกรณ์ช่วยต่างๆ ที่ใช้ ในการซ่อมบำรุง ปลย.M16A2/ปลส.M4 ในระดับหน่วยใช้และระดับหน่วยสนับสนุนโดยตรง โดยมีรหัส SMR ( Source, Maintenance and Recovery ) แสดงให้ทราบ 2. กลา่ วทัว่ ไป บญั ชีชนิ้ ส่วนซอ่ มและเคร่อื งมือพิเศษแบ่งออกเป็นตอนๆ ดังน้ี 2.1 ตอนท่ี 2 บัญชีช้ินส่วนซ่อม รายการช้ินส่วนซ่อมท่ีได้รับอนุมัติท่ีอยู่ในบัญชีช้ินส่วนซ่อมและเคร่ืองมือ พิเศษนี้ เป็นชิ้นส่วนสำหรบั ใชใ้ นการซอ่ มบำรงุ บัญชีชนิ้ ส่วนซ่อมยังรวมเอาชนิ้ ส่วนท่ีไดร้ ับอนมุ ัตทิ ต่ี ้องถอดออก เพื่อเปล่ียนใหม่ รายการช้ินส่วนซ่อมประกอบด้วยกลุ่มตัวอักษรเรียงตามลำดับ และตัวเลขกำกับภาพเรียง ตามลำดับ วัสดุประเภทไม่นับเป็นช้ิน (Bulk Materials) แสดงในภาพ FIG BULK อยู่ท้ายตอน รายการชุด ช้ินส่วนซ่อม (Repair Parts Kits/Sets) แสดงแยกต่างหาก โดยอยู่ในกลุ่มภายในตอนท่ี 2 ชิ้นส่วนซ่อมท่ีใช้ สำหรับซ่อมเคร่ืองมอื ไดม้ ีรายการแสดงอย่ใู นตอนน้ดี ้วย 2.2 ตอนที่ 3 รายการเคร่ืองมือพิเศษ รายการเครื่องมือพิเศษแสดงรายการเครื่องมือพิเศษ, อุปกรณ์ สำหรับทำการทดสอบ, เครื่องวัด และเคร่ืองตรวจวิเคราะห์ และอุปกรณ์ช่วยต่างๆ ท่ีมีอยู่ในบัญชีชิ้นส่วนซ่อม และเครื่องมือพิเศษตามรายการใน Basic of Issue (BOI) ท่ีแสดงอยู่ในช่องลักษณะท่ัวไปและรหัสที่ใช้แทนชื่อ หรอื Description and Usable On Code (UOC) สำหรบั ใช้ในการซอ่ ม 2.3 ตอนท่ี 4 ดรรชนีอ้างอิงสลับ (Crosss Reference Indexes) เป็นลำดับหมายเลข สป. (National Item Identification Number : NIIN) ของหมายเลข สป. แห่งชาติ (National Stock Number) ตามด้วย ลำดับตัวอักษรของช้ินส่วนท้ังหมดที่มีอยู่ในรายการหมายเลข สป. แห่งชาติ และหมายเลข สป. เป็นสิ่งอ้างอิง ไขว้ในภาพประกอบแต่ละภาพ และลำดับตัวอักษร และอ้างอิงไขว้ระหว่างหมายเลข สป. แห่งชาติ กับ หมายเลข CAGEC และหมายเลข สป. 3. คำอธิบายความหมายในชอ่ งต่างๆ (ตอนที่ 2 และตอนที่ 3) 3.1 ชอ่ งท่ี 1 ITEM NO. แสดงหมายเลขกำกบั ภาพชน้ิ ส่วนต่างๆ ทแ่ี สดงอยูใ่ นภาพประกอบ 3.2 ช่องท่ี 2 SMR CODE เป็นรหัสท่ีแสดงถึงแหล่งข้อมูลการส่งกำลัง/การเบิก, ข้ันการซ่อมบำรุงท่ีได้รับ อนมุ ตั ิให้ทำการซ่อมได้ มาตรฐานและคำแนะนำในการจำหน่ายซ่ึงมรี ายละเอยี ดดังน้ี

- 22 - Source Maintenance Recoverability Code Code Code XX สองตวั แรก XX XX แหลง่ ท่ีมาของ ตวั ที่ 3 ตวั ท่ี 4 ใครมีอานาจสง่ั ให้ สิ่งอุปกรณ์ ระดบั การซ่อมใด มีสิทธ์ิ ข้นั การซ่อมใดสามารถซ่อม จาหน่ายสิ่งอุปกรณ์ เบิกมาใชใ้ นการซ่อมได้ รายการน้ีไดท้ ้งั หมด ท่ีใชก้ ารไม่ได้ สามารถซ่อมได้ท้ังหมด (Complete Repair) หมายถึงข้ันการซ่อมในระดับใดมีขีดความสามารถในการซ่อม และอำนาจหน้าท่ีในการซอ่ มแกร้ ายการนี้ไดเ้ พื่อทำใหย้ ทุ โธปกรณท์ ่ีใช้การไม่ได้กลับมาใช้การได้ 1) Source Code : รหัสแหล่งที่มา เป็นรหัสแหล่งที่มาหรือแหล่งส่งกำลังของ สป. หรือของชิ้นส่วนซ่อม แสดงให้ทราบว่าจะเบกิ ช้นิ สว่ นสำหรบั ใชใ้ นการซ่อมได้จากทีใ่ ด คำอธบิ ายรหัสแหล่งส่งกำลงั มรี ายละเอยี ดดังน้ี รหสั PA PB เป็นชิ้นส่วนซ่อมที่เกบ็ สารองไวจ้ ่ายทดแทน ใชห้ มายเลข สป. แห่งชาติ (NSN) ใน PC** การเบิกทดแทน รหสั ตวั ท่ี 3 แสดงใหท้ ราบวา่ ระดบั การซ่อมใดมีสิทธ์ิเบิกชิ้นส่วน PD เหลา่ น้ีมาใชใ้ นการซ่อมได้ PE PF หมายเหตุ ชิ้นส่วนที่ใชร้ หสั PC เป็นส่ิงอปุ กรณ์สิ้นเปลือง PG KD เป็นชิ้นส่วนซ่อมท่ีแสดงดว้ ยรหสั เหล่าน้ีไมส่ ามารถเบิกตามลาพงั ได้ เน่ืองจากเป็น KF ส่วนหน่ึงของชุดชิ้นส่วนสาหรับซ่อม (Repair Kit) ซ่ึงรหัสตวั ที่ 3 จะแสดงให้ KB ทราบวา่ ระดบั การซ่อมใดมีสิทธ์ิเบิกชิ้นส่วนเหลา่ น้ีเพื่อใชใ้ นการซ่อมได้ และตอ้ ง เบิกท้งั ชุด

- 23 - MO – (Made at Unit/AVUM Level) รหสั เหล่าน้ีไมแ่ สดงถึงชิ้นส่วนซ่อมท่ีสามารถเบิกเป็น MF – (Made at DS/AVIM Level) รายชิ้นได้ ตอ้ งทาข้ึนจากวสั ดุประเภท Bulk Material MH – (Mode at GS Level) (วสั ดุท่ีไม่นบั เป็นชิ้น) โดยแสดงหมายเลขส่ิงอปุ กรณ์ใน ML – (Mode at Specialized Repair ช่อง UOC (Description and Usable On Code) และแสดง รายการในกลมุ่ ส่ิงอุปกรณ์ไม่นบั เป็นชิ้นในบญั ชีชิ้นส่วน Act. (SRA)) ซ่อมและเคร่ืองมือพเิ ศษ รหัสตวั ท่ี 3 จะแสดงใหท้ ราบวา่ MD – (Mode at Depot) ระดบั การซ่อมใดมีสิทธ์ิเบิกจากหน่วยซ่อมในข้นั ที่สูง กวา่ โดยรหสั จะแสดงใหท้ ราบวา่ ทาข้ึนที่หน่วยซ่อมข้นั AO – (Assembled by unit/AVUM ท่ีสูงกวา่ น้นั เป็นข้นั ใด Level) รหสั เหล่าน้ีแสดงถึงชิ้นส่วนซ่อมท่ีไมส่ ามารถเบิกเป็น AF – (Assembled by DS/AVIM ชิ้น โดยเป็นชิ้นส่วนสาหรับประกอบเป็นชุดโดยข้นั การ Level) ซ่อมท่ีระบุโดยรหสั ถา้ รหสั ตวั ท่ี 3 แสดงวา่ ในข้นั การ ซ่อมของท่านเบิกได้ แต่รหสั แหล่งท่ีมาแสดงวา่ ประกอบ AL – (Assembled by SRA) ข้นึ ที่ข้นั การซ่อมสูงกวา่ ใหเ้ บิกชิ้นส่วนน้ีจากข้นั การ AD – (Assembled by Depot) ซ่อมที่สูงกวา่ ดงั กลา่ ว MD – (Mode at Depot) XA – ชนิ้ สว่ นซอ่ มรหสั XA เบิกแยกเป็นชิ้นไม่ได้ ต้องเบิกทเ่ี ปน็ องคป์ ระกอบแลว้ (ดหู มายเหตุ) XB – ช้นิ สว่ นซอ่ มรหสั XB ใช้ของที่ไดจ้ ากการเก็บกไู้ มไ่ ด้ ในการเบกิ ใหใ้ ช้รหัส CAGEC และหมายเลขส่ิง อุปกรณ์ทร่ี ะบุไว้ XC – แสดงวา่ หมายเลขกำกบั ชิ้นสว่ นทป่ี รากฏในภาพประกอบสำหรับการติดตงั้ หรอื คำแนะนำ หรอื ภาพที่ ใช้ในการบริการในสนาม เป็นหมายเลขชนิ้ สว่ นของโรงงานผผู้ ลติ XD – เป็นช้ินสว่ นซ่อมทไ่ี มไ่ ดใ้ ห้เก็บสำรองไว้ ใหเ้ บกิ ช้นิ ส่วนซาอมรหัส XD ผา่ นทางสายส่งกำลงั ตามปกติ ถา้ ไมม่ ีหมายเลข สป. แห่งชาติ ใหใ้ ชห้ มายเลข CAGEC/FSCM และหมายเลขชิน้ ส่วน หมายเหตุ เมื่อไดร้ ับอนุมตั ใิ ห้ทำการยบุ รวม (Cannibalization) หรอื ถอดปรน (Controled Exchange) อาจใช้เป็นแหล่ง สง่ กำลงั ชนิ้ ส่วนซอ่ มรหัสดังกลา่ วได้ ยกเว้นชิ้นสว่ นซอ่ มรหสั XA หรอื ชิ้นส่วนซ่อมเครอื่ งบิน ซึ่งเป็นไปตาม ข้อบงั คบั กองทัพสหรฐั ฯ ท่ี AR 750-1

- 24 - 2) Maintenance Code : รหสั การซ่อมบำรงุ รหัสการซอ่ มบำรงุ แสดงใหท้ ราบถึงข้ันการซ่อมทีม่ สี ทิ ธ์ิ ใชแ้ ละซอ่ มอปุ กรณ์ท่ีใชใ้ นการซ่อมได้ รหสั การซ่อมบำรงุ จะอยใู่ นตำแหน่งที่ 3 และ 4 ของรหัส SMR ดังนี้ ก. รหสั การซ่อมบำรุงตวั ท่ี 3 แสดงให้ทราบถึงขนั้ การซ่อมระดับทตี่ ่ำสดุ ทมี่ ีสิทธถ์ิ อดเปล่ียนชิน้ ส่วนและ ใชเ้ ครอ่ื งมือในรายการนนั้ ได้ รหสั การซอ่ มบำรุงตวั ที่ 3 จะแสดงใหท้ ราบถึงข้ันการซอ่ มด้วย รหสั ความหมาย C - ขนั้ ผ้ใู ช้หรอื พลประจำเป็นผู้กระทำการซอ่ มในหนว่ ยใช้ หรือหน่วยเบิก O - ขน้ั หน่วยใช้ หรือหนว่ ยบินมีสทิ ธ์ถิ อดเปลยี่ นและใชร้ ายการนไี้ ด้ F - ขน้ั หนว่ ยซ่อมสนบั สนนุ โดยตรง หรือขนั้ การซอ่ มระดบั กลางของหน่วยบนิ มสี ิทธถ์ิ อด เปลย่ี น หรอื ใชร้ ายการนไ้ี ด้ H - ขัน้ หน่วยซ่อมสนบั สนุนทัว่ ไปมสี ทิ ธิ์ถอดเปลี่ยนหรือใชร้ ายการนไ้ี ด้ L - ในการซ่อมพเิ ศษมีสทิ ธิ์ถอดเปลี่ยนหรอื ใชร้ ายการน้ีได้ D - ข้ันการซ่อมระดับโรงงานสทิ ธ์ิถอดเปล่ียนหรือใช้รายการน้ีได้ ข. รหสั การซ่อมบำรุงตวั ท่ี 4 แสดงให้ทราบวา่ รายการนัน้ ซ่อมได้หรอื ไม่ พร้อมกับแสดงใหท้ ราบถึงข้นั การซ่อมตำ่ สดุ ท่ีสามารถซ่อมได้ทัง้ หมด (Complete Repair) รหสั ในตำแหน่งที่ 4 มีดังนี้ หมายเหตุ บางรายการสามารถทำการซ่อมได้อย่างจำกัดทข่ี ัน้ การซ่อมต่ำกวา่ (ถ้าผังแบง่ มอบ การซ่อมบำรุงและรหัส SMR ระบใุ หท้ ำการซ่อมได้) รหสั ความหมาย O - ขั้นหนว่ ยใชห้ รือหน่วยบินเป็นขน้ั ตำ่ สุดทีท่ ำการซ่อมรายการน้ไี ดท้ ง้ั หมด F - ขน้ั หน่วยซอ่ มสนับสนุนโดยตรงหรอื ขัน้ การซอ่ มระดับกลางของหนว่ ยบินเปน็ ขนั้ ตำ่ สดุ ที่ สามารถซ่อมรายการน้ไี ด้ท้งั หมด H - ขนั้ หนว่ ยซอ่ มสนบั สนุนทวั่ ไปเป็นข้นั ต่ำสุดที่สามารถซ่อมรายการนไี้ ด้ท้ังหมด L - การซ่อมพิเศษเปน็ ข้นั ต่ำสดุ ที่สามารถซ่อมรายการนไ้ี ด้ท้งั หมด D - ขนั้ หน่วยซ่อมระดับโรงงานเป็นขน้ั ต่ำสดุ ทส่ี ามารถซ่อมรายการนีไ้ ด้ทง้ั หมด Z - ซ่อมไม่ได,้ ไม่อนุญาตให้ทำการซอ่ ม B - ไมอ่ นุญาตให้ทำการซ่อมได้ (ไม่มชี น้ิ สว่ นซ่อม หรือเครอื่ งมือพเิ ศษสำหรบั ใช้ในการซ่อม) แตร่ ายการน้ีอาจได้รับการจดั ปรับ หรอื ไดร้ บั การหลอ่ ลื่นที่หน่วยใช้ได้

- 25 - 3) Recoverability Code : รหัสแสดงคณุ สมบัติในการเก็บกูม้ าใช้ใหม่ รหัสน้แี สดงถึงวธิ ีจำหนา่ ย สป. ทีใ่ ชก้ ารไมไ่ ด้ โดยเปน็ รหสั ตวั ท่ี 5 ของรหัส SMR ซงึ่ มีดังนี้ รหสั ความหมาย Z - เป็น สป. ที่ซ่อมไมไ่ ด้ เม่ือใชก้ ารไม่ได้ให้จำหน่ายและทำลายทง้ิ ในขั้นการซ่อมที่แสดงดว้ ย รหัสตวั ท่ี 3 ของรหัส SMR O - เปน็ สป. ท่ีซอ่ มได้ หากซ่อมไม่คุ้มค่าให้จำหนา่ ยและทำลายทงิ้ ในหนว่ ยใชห้ รอื หนว่ ยบนิ F - เป็น สป. ทีซ่ อ่ มได้ หากซ่อมไมค่ ุ้มค่าให้จำหนา่ ยและทำลายทิง้ ในขั้นหนา่ ยซ่อมสนบั สนุน โดยตรง หรือหนว่ ยซ่อมระดบั กลางของหน่วยบิน H - เป็น สป. ที่ซ่อมได้ หากซ่อมไมค่ มุ้ ค่าให้จำหน่ายทำลายท้ิงในขั้นหนว่ ยซ่อมสนบั สนุน ท่ัวไป D - เปน็ สป. ทซ่ี ่อมได้ เม่ือเกนิ ขั้นซ่อมขนั้ ต่ำกวา่ ให้ส่งคืนขน้ั การซ่อมระดบั โรงงาน ขน้ั การ ซอ่ มต่ำกว่าข้นั การซ่อมระดับโรงงานห้ามจำหน่ายและทำลายท้ิง L - เป็น สป. ท่ีซ่อมได้ หา้ มจำหน่ายและทำลายท้ิงในข้ันการซ่อมพิเศษ A - เปน็ สป. ที่ตอ้ งได้รับการดแู ลรักษา หรือจำหนา่ ยและทำลายด้วยเหตุผลพเิ ศษ (เชน่ โลหะมคี า่ , มีราคาสูง หรอื สารพิษ) ให้ดูคำแนะนำเฉพาะในค่มู อื หรือข้อกำหนด 3.3 CAGEC/FSCM (ช่องที่ 3) เป็นรหัส 5 ตวั ของบริษัทคู่สญั ญาและรฐั บาลท่ีใช้แสดงบรษิ ทั ผู้ผลติ , ผแู้ ทน จำหน่าย หรือหนว่ ยงานราชการท่ีเป็นแหล่งท่ีมาของ สป. รายการน้ี 3.4 PART NUMBER : หมายเลขช้นิ ส่วน (ชอ่ งที่ 4) แสดงหมายเลขหลักที่ใช้โดยโรงงานผูผ้ ลติ (บรษิ ัท, ห้าง รา้ น, องคก์ าร หรอื หนว่ ยราชการ) ซงึ่ ใชก้ ับแบบเขยี นทางวิศวกรรม, คณุ สมบตั เิ ฉพาะ (Specifications Standards) และการตรวจสภาพเพ่ือจำแนกชิ้นส่วนหรอื กลมุ่ ชนิ้ ส่วน หมายเหตุ เมอื่ ใช้หมายเลข สป. แหง่ ชาติ (NSN) ในการเบกิ สป. อาจไดร้ บั สป. ทีม่ หี มายเลขช้นิ ส่วน (PART NUMBER) แตกต่างกนั กบั หมายเลขชนิ้ ส่วนทีเ่ บิก (เนอื่ งจากมาจากโรงงานผู้ผลติ ทแ่ี ตกตา่ งกัน) 3.5 DESCRIPTION AND USABLE ON CODE (UOC) (ช่องที่ 5) รายการในช่องนมี้ ีข้อมูลดังน้ี 1) ช่ือเรยี ก สป. และหากจำเปน็ กอ็ าจขยายความใหน้ อ้ ยท่ีสดุ 2) ช้นั การรักษาความปลอดภยั สป. แสดงดว้ ยอกั ษรย่อ เช่น Phy Sce C1 (C) = ลับ, Phy Sce C1 (S) = ลบั มาก, Phy Sce C1 (T) = ลับท่สี ดุ 3) เปน็ สป. ทร่ี วมอยูใ่ น KIT หรือชุด โดยมชี อื่ KIT หรอื ชดุ แสดงไว้ 4) ชน้ิ สว่ นสำรอง/ชิน้ ส่วนซอ่ มทใ่ี ชป้ ระกอบเป็นชดุ สป. ซง่ึ มีช่ือชุดแสดงไว้ 5) หมายเลขชิ้นสว่ นสำหรับ สป. ไม่นับเปน็ ช้นิ (Bulk Material) 6) เปน็ สป. ท่ไี มไ่ ด้ใชห้ มายเลขลำดบั เดยี วกบั สป. แบบเดยี วกัน หมายเลขลำดบั ที่ใชแ้ สดงในแถว สุดทา้ ย (ก่อน UOC)

- 26 - 7) เปน็ รหสั ทใี่ ชไ้ ด้ (ดูย่อหน้าท่ี 5 ขอ้ มูลพเิ ศษ) 8) กลา่ วถงึ รายการเครื่องมือพเิ ศษ, Basic Of Issue (BOI) ปรากฏอยู่ในแถวสดุ ท้ายของรายการ เครอ่ื งมอื พเิ ศษ, อปุ กรณส์ ำหรับทำการทดสอบ, เครอื่ งวดั และเคร่ืองตรวจวเิ คราะห์และอุปกรณ์ชว่ ยต่างๆ ท่ใี ช้ ในการซ่อมบำรงุ (TMDE) ท่ีหากมีอยใู่ นอัตรามากก็จะทำให้ได้รับอนุญาตให้ทำการซ่อมได้มากขึน้ ตามสดั สว่ น ดว้ ย 9) คำว่า “END OF FIGURE” จะปรากฏอยู่ดา้ นล่างแถวสุดท้ายของช่องท่ี 5 ในท้งั ตอนที่ 2 และตอนที่ 3 3.6 QTY (ชอ่ งที่ 6) แสดงจำนวนชนิ้ สว่ นตอ่ ภาพประกอบ อกั ษร “V” ท่ปี รากฏในชอ่ งนแี้ สดงว่าจำนวนท่ี ระบไุ วอ้ าจเปล่ยี นแปลงได้ 4. คำอธิบายความหมายในช่องต่างๆ (ตอนที่ 4) 4.1 ดรรชนีหมายเลข สป. แหง่ ชาติ (NATIONAL STOCK NUMBER INDEX) 1) ชอ่ ง STOCK NUMBER : หมายเลข สป. แสดงหมายเลข สป. (NIIN) เรียงตามลำดบั โดยเปน็ ตัวเลข 9 ตัวสดุ ทา้ ยของหมายเลข สป. แหง่ ชาติ (NSN) (เชน่ NSN=5305-01-674-1467, NIIN=01-674- 1467) 2) ช่อง FIG : หมายเลขภาพประกอบ แสดงหมายเลขภาพประกอบของ สป. โดยเรยี งตามลำดบั ตัวเลข 3) ช่อง ITEM : หมายเลขกำกับภาพชน้ิ สว่ น หมายเลขน้ีจะสัมพนั ธ์กับหมายเลขในช่อง FIG รายการน้ี ยงั มีหมายเลข สป. (NSN) อยู่ 4.2 ดรรชนหี มายเลขช้นิ ส่วน (PART NUMBER INDEX) หมายเลขช้นิ ส่วนที่อยใู่ นดรรชนจี ะเรียงตามลำดับ ตวั อกั ษรและลำดับตวั เลข (ตัวอกั ษรผสมกับตวั เลข กจ็ ะเร่มิ จาก A ถงึ Z และ จาก 0 – 9) 1) ชอ่ ง FSCM เปน็ รหัส 5 ตวั ของบริษัทคูส่ ญั ญาและรัฐบาลทใี่ ช้แสดงบริษทั ผูผ้ ลิต, ผู้แทนจำหน่าย หรือหนว่ ยงานราชการ ที่เปน็ แหลง่ ทีม่ าของ สป. รายการน้ี 2) ช่อง PART NUMBER : หมายเลขชนิ้ ส่วน แสดงหมายเลขหลักท่ใี ช้โดยโรงงานผ้ผู ลติ (บรษิ ทั , ห้าง รา้ น, องค์การ หรอื หน่วยราชการ) ซึง่ ใชก้ ับแนววาดทางวิศวกรรม, คุณสมบตั ิเฉพาะ (Specifications Standards) และการตรวจสภาพเพ่ือจำแนกชนิ้ สว่ น หรือกล่มุ ชน้ิ ส่วน 3) ชอ่ ง Stock Number : หมายเลข สป. แสดงหมายเลข สป. แหง่ ชาติท่ีสมั พันธก์ ับหมายเลขช้นิ สว่ น ของโรงงานผูผ้ ลิต และหมายเลข CAGEC ที่อยใู่ นชอ่ งทางซ้าย 4) ช่อง FIG : หมายเลขลำดบั ภาพ แสดงหมายเลขลำดับภาพประกอบทปี่ รากฏอย่ใู นตอนที่ 2 และ ตอนท่ี 3 5) ช่อง ITEM : หมายเลขกำกับภาพชิน้ สว่ น แสดงหมายเลขกำกับภาพชน้ิ ส่วนทอ่ี ยู่ในภาพท่ีแสดง หมายเลขลำดบั ในชอ่ ง FIG ทางซ้าย 4.3 ดรรชนีหมายเลขลำดบั ภาพและหมายเลขกำกับภาพ (FIGURE AND ITEM NUMBER INDEXES) 1) ชอ่ ง FIG : หมายเลขลำดบั ภาพ แสดงหมายเลขลำดบั ภาพประกอบท่ปี รากฏอยู่ในตอนที่ 2 และ ตอนท่ี 3

- 27 - 2) ช่อง ITEM : หมายเลขกำกับภาพชิ้นส่วน แสดงหมายเลขกำกับภาพช้ินสว่ นท่ีอยใู่ นภาพ ที่แสดง หมายเลขลำดับในชอ่ ง FIG ทางซ้าย 3) ชอ่ ง Stock Number : หมายเลข สป. แสดงหมายเลข สป. แหง่ ชาตทิ ีส่ มั พนั ธ์กบั หมายเลขช้ินส่วน ของโรงงานผผู้ ลติ และหมายเลข CAGEC ทอ่ี ยใู่ นช่องทางซ้าย 4) ช่อง FSCM เปน็ รหสั 5 ตวั ของบริษัทคูส่ ัญญาและรฐั บาลทใี่ ชแ้ สดงบรษิ ัทผูผ้ ลติ , ผแู้ ทนจำหนา่ ย หรอื หน่วยงานราชการ ท่เี ปน็ แหลง่ จา่ ย สป. รายการน้ี 5) ช่อง PART NUMBER : หมายเลขช้นิ ส่วนแสดงหมายเลขหลักทใ่ี ชโ้ ดยโรงงานผ้ผู ลิต (บรษิ ทั , ห้าง ร้าน, องค์การ หรอื หนว่ ยราชการ) ซึง่ ใช้กับแบบเขียนทางวิศวกรรม, คุณสมบตั ิเฉพาะ (Specifications Standards) และการตรวจสภาพเพ่ือจำแนกชิ้นสว่ น หรือกลมุ่ ชิ้นสว่ น 5. ขอ้ มลู พิเศษ 5.1 คำแนะนำเก่ยี วกับองคป์ ระกอบ (ASSEMBLY INSTRUCTION) คำแนะนำในรายละเอียดเกีย่ วกับ องคป์ ระกอบสำหรบั รหัสแหล่งทีม่ า (Source Code) ว่าประกอบจากสว่ นประกอบหรอื ช้ินส่วน/ช้ินสว่ นซอ่ มที่ อยู่ในบทที่ 3 โดยจะแสดงรายการชน้ิ สว่ นทปี่ ระกอบขึ้นเป็นองคป์ ระกอบหรอื อ้างถึงภาพประกอบท่มี ีอยู่ 5.2 ค่มู ือท่ีเกย่ี วข้องกนั (ASSOCIATED PUBLICATION) รายการคู่มือที่แสดงข้างลา่ งน้เี กีย่ วขอ้ งกับ ปลย. M16A2 และส่วนประกอบ หมายเลขค่มู อื ชอ่ื คู่มือ TM 9-1005-319-10 M16A2 Rifile & M4 Carbine 5.3 รหัสเรยี กแทนช่ือท่ีมีใช้ (USABLE ON CODE) รหัสเรยี กแทนชือ่ ที่มีใช้จะปรากฏอยู่มุมลา่ งซา้ ยของหวั ช่อง DESCRIPTION โดยแสดงดว้ ยตวั อักษรย่อ “UOC…” ในช่อง DESCRIPTION (ตรงขอบซา้ ย) ท่ีบรรทัดแรกของ รายการเรยี ก รหัสเรยี กแทนชือ่ จะมีใชก้ ับทุกแบบ สำหรับรหัสเรยี กแทนชื่อที่ใช้ใน RPSTL คอื รหัส ชอ่ื เรียก AR8 M16A2 Rifile AS1 M4 Carbine 6. วธิ คี น้ หาหมายเลข สป. ของชนิ้ สว่ นซอ่ ม 6.1 เมื่อไม่ทราบหมายเลข สป. แหง่ ชาติ หรอื หมายเลขชิ้นสว่ น 1) ประการแรก ดูจากหนา้ สารบัญ, หาชื่อองคป์ ระกอบ หรือองค์ประกอบย่อยทีช่ น้ิ สว่ นนัน้ ประกอบ อยู่ ซง่ึ นบั วา่ เป็นส่ิงจำเปน็ เนื่องจากภาพองค์ประกอบ และองคป์ ระกอบย่อย และรายการชอื่ ช้นิ สว่ นแบง่ ออกเปน็ กลุม่ เดยี วกัน 2) ประการที่สอง หาภาพองค์ประกอบ หรอื องคป์ ระกอบย่อยที่ช้นิ ส่วนนั้นประกอบอยู่ด้วย 3) ประการทสี่ าม หาภาพชิ้นส่วนแลว้ ใชห้ มายเลขลำดบั ภาพ กับหมายเลขกำกบั ภาพชิน้ สว่ นหา หมายเลข สป. แห่งชาติ 6.2 เม่ือทราบหมายเลข สป. แห่งชาติ หรอื หมายเลขช้นิ ส่วน

- 28 - 1) ประการแรก คน้ หาดรรชนีหมายเลข สป. แหง่ ชาติ หรอื ดรรชนหี มายเลขช้นิ สว่ นในดรรชนี หมายเลข สป. แหง่ ชาติ จะแสดงหมายเลข สป. เรยี งตามลำดบั (ดู ค-4., ก., (1)) ส่วนดรรชนหี มายเลขชนิ้ สว่ น แสดงหมายเลขตามลำดับจากน้อยไปหามาก (ดู ค-4., ข) ดรรชนที ัง้ สองรายการจะโยงให้ทราบหมายเลขลำดบั ภาพประกอบกับหมายเลขกำกบั ภาพชนิ้ สว่ นทีต่ ้องการ 2) เปิดดภู าพ เพ่ือพิจารณาดวู า่ เป็นช้นิ สว่ นท่ตี อ้ งการคน้ หาใชห่ รือไม่ แล้วดูภาพชิ้นสว่ นตามหมายเลข กำกับภาพชนิ้ ส่วน 7. อกั ษรย่อ ไมม่ ี ----------------------------------------

- 29 - บทที่ 5 แบบพิมพ์ทใ่ี ชใ้ นการซ่อมบำรุงและสง่ กำลัง ทบ.๔๐๐ - ๐๐๖ ใบเบกิ แผน่ ที่.............ในจำนวน.............แผน่ จาก หน่วยจ่าย ท่ี สายงานท่ีควบคมุ เบิกในกรณี ประเภทสิ่งอปุ กรณ์ ถึง หน่วยเบกิ ขน้ั ต้น ทดแทน ยมื ประเภทเงนิ เบกิ ให้ เลขงานท่ี ลำดบั หมายเลข รายการ จำนวน คงคลัง หนว่ ยนับ จำนวน ราคา ราคา จา่ ยจริง/ ส่งิ อุปกรณ์ อนุมัติ คา้ งรับ เบกิ หนว่ ยละ รวม ค้างจ่าย ค้างจา่ ย หลักฐานทใ่ี ช้ในการเบิก ขอเบกิ สงิ่ อปุ กรณต์ ามที่ระบไุ วใ้ นช่อง “จำนวนเบิก” และขอมอบให้ ตรวจแล้วเห็นว่า.................................................................... ........................................................เป็นผรู้ ับแทน .............................................................................................. ........................................... .............................................. ............................................ ............................................. (ลงนาม) ผตู้ รวจสอบ วนั เดอื น ปี (ลงนาม) ผ้เู บิก วนั เดอื น ปี อนุมัตใิ หจ้ ่ายได้เฉพาะในรายการและจำนวนท่ีผตู้ รวจสอบเสนอ ได้รับสง่ิ อปุ กรณต์ ามรายการท่แี จ้งไว้ในชอ่ ง “จ่ายจริง/คา้ งจา่ ย” แลว้ ........................................... .............................................. ........................................... .............................................. (ลงนาม) ผู้ส่ังจ่าย วัน เดอื น ปี (ลงนาม) ผรู้ บั วัน เดอื น ปี ได้จา่ ยตามรายการและจำนวนที่แจ้งไว้ในช่อง “จ่ายจรงิ /ค้างจ่าย” แล้ว ............................................... ........................................................ ทะเบียนหน่วยจา่ ย (ลงนาม) ผู้จา่ ย วนั เดอื น ปี (พมิ พ์ตามระเบยี บกองทพั บกว่าดว้ ยการสง่ กำลงั สิง่ อุปกรณป์ ระเภท ๒ และ ๔ พ.ศ.๒๕๓๔)

- 30 - ชอ่ ง วธิ เี ขยี นใบเบิก ทบ. ๔๐๐ – ๐๐๖ แผ่นท่.ี ......ในจำนวน.....แผ่น วิธเี ขียน หนว่ ยจ่าย - ถ้าการเบกิ ในคราวนน้ั ใชใ้ บเบกิ เพยี งใบเดียวก็หมดรายการให้เขียนแผ่นที่ หนว่ ยเบิก ๑ ในจำนวน ๑ แผ่น ถ้าใชใ้ บเบิกมากกวา่ ๑ ใบ เช่น ใช้ ๓ ใบ ใบที่ ๑ เขยี น เบกิ ให้ วา่ แผน่ ที่ ๑ ในจำนวน ๓ แผน่ ใบที่ ๒ เขียนว่า แผ่นท่ี ๒ ในจำนวน ๓ แผ่น ท่ี ใบท่ี ๓ เขียนว่า แผ่นที่ ๓ ในจำนวน ๓ แผน่ - ลงนามหนว่ ย และทต่ี ัง้ ของหน่วยท่จี ่าย สป. เช่น กช. ราชบรุ ี, สพ.ทบ. สายงานทีค่ วบคุม กรุงเทพฯ, บชร.๒ นครราชสมี า, มทบ.๓๒ ลำปาง เป็นตน้ เบิกในกรณี - ลงนามหนว่ ยและท่ีต้งั ของหนว่ ยทีข่ อเบิก สป. เช่น ม.พัน.๘ นครราชสีมา, ขัน้ ตน้ ทดแทน ยมื ป.พนั .๖ อุบล, ร.๑๑ รอ. กรงุ เทพฯ เป็นตน้ - ลงนามหนว่ ยและทีต่ ั้งของหนว่ ยที่จะรับของน้นั ในกรณเี ป็น สป. ในอัตรา ประเภทสงิ่ อปุ กรณ์ ของหน่วยเบกิ เองไมต่ ้องลง ประเภทเงิน - ลงท่ีใบเบิก ซงึ่ จะไดต้ วั เลขจากแฟ้มทะเบยี นใบเบิก โดยเรยี งลำดับเร่มิ เลขงานที่ ต้ังแต่ ๑ ต.ค. ของทุกปงี บประมาณ เช่น ๐๐๑/๕๒ หมายความว่า ใบเบิกท่ี ๑ ของปงี บประมาณ ๕๒ เปน็ ต้น ลำดบั - ลงคำยอ่ ของสายงานท่ีรบั ผิดชอบตอ่ สป. รายการท่ีเบิกนั้น เชน่ ช., สพ., หมายเลขสง่ิ อปุ กรณ์ พธ., ส., สบ. เป็นต้น - ใหก้ าเครอ่ื งหมาย x ลงในช่องท่ีจัดทำไว้ใหต้ รงกบั การขอเบกิ ในคร้งั นน้ั กรณเี ป็นการเบกิ พิเศษ หรือเบิกเพ่ือรักษาระดับส่งกำลัง ให้เขียนคำว่า “พิเศษ” หรือ “รกั ษาระดบั ส่งกำลัง” ลงในชอ่ งที่ได้จัดทำไว้แทนเคร่อื ง x ถ้าเปน็ การเบิกเพื่อซ่อม สป. งดใชก้ าร ใหเ้ ขยี นคำว่า “งดใชก้ าร” ด้วย อักษรสแี ดงที่มุมดา้ นขวาตอนบนของใบเบิก - ลงประเภท สป. ที่ขอเบกิ เช่น ๒ หรือ ๔ เป็นต้น - หนว่ ยเบกิ ไมต่ อ้ งลง หมายถึงประเภทเงนิ ที่ใชใ้ นการจดั หา สป. - ปกตหิ นว่ ยเบิกไม่ตอ้ งลง แต่ในกรณีทจ่ี ะนำของทีเ่ บิกไปใช้ในการซ่อม เช่น ชิ้นส่วนซ่อม ให้ลงเลขงานไว้ด้วยเพื่อสะดวกแก่การคน้ และตรวจสอบ (ตรง กบั เลขทีใ่ บสง่ ซอ่ มและส่งั งาน) - ใหเ้ รมิ่ ตน้ ลำดับรายการท่ี ๑ ตงั้ แตแ่ ผ่นที่ ๑ และต่อไปตามลำดบั จนหมด รายการ - ลงหมายเลข สป. ตามท่ี ทบ. กำหนดไว้ ควรเรยี งหมายเลข สป. ตามลำดบั จากน้อยไปหามาก

ช่อง - 31 - รายการ จำนวนอนมุ ัติ วิธเี ขียนใบเบกิ ทบ. ๔๐๐ – ๐๐๖ คงคลัง วธิ ีเขยี น ค้างรับ ค้างจา่ ย - ลงชอื่ รายการ สป. และรายละเอยี ดเปน็ ภาษาไทย หรอื ภาษาอังกฤษ ตาม สายงานกำหนด หน่วยนับ - ลงจำนวนทีก่ ำหนดไว้ ในอตั ราหรือตามระดบั สป. ทไ่ี ด้รบั อนุมัตใิ นกรณที ่ีไม่มี จำนวนเบิก อัตราหรอื ระดับใหเ้ วน้ วา่ งไว้ ราคาหน่วยละ - ลงเปน็ ๓ รายการ คอื คงคลงั ค้างรับ คา้ งจ่าย เช่น ๑๐๐ ราคารวม จ่ายจรงิ /ค้างจ่าย ๕๐ ๐ หลกั ฐานทีใ่ ช้ในการเบิก หมายความว่า คงคลงั ๑๐๐ คา้ งรบั จากการเบกิ ครัง้ ทีแ่ ลว้ ๕๐ คา้ งจา่ ยแก่ ผ้ตู รวจสอบ หน่วยในความสนับสนนุ ของตนไม่มี - ลงหน่วยนับทีใ่ ชน้ บั เช่น ชดุ อนั ใบ ป้นื เปน็ ต้น - คือ จำนวนอนมุ ัติ – คงคลัง – คา้ งรับ + คา้ งจ่าย - หนว่ ยเบกิ ไมต่ ้องลง เปน็ หน้าที่ของหนว่ ยจา่ ยลงราคาต่อหนว่ ย - หน่วยเบิกไมต่ ้องลง เป็นหน้าที่ของหน่วยจ่ายลงราคารวมของแต่ละรายการที่ จา่ ยจรงิ - หนว่ ยเบกิ ไม่ตอ้ งลง เป็นหน้าท่ีของหนว่ ยจา่ ยเป็นผูล้ ง เม่ือได้ตรวจสอบบัญชี คมุ แลว้ เห็นควรจา่ ยจำนวนเท่าใด กล็ งจำนวนเท่าน้นั ในกรณที ่ไี ม่มีของในคลัง จ่ายให้หนว่ ยจา่ ยบันทกึ ค้างจ่ายดว้ ย เช่น ๑๐๐/๓๐ หมายความว่า จ่ายจรงิ ๑๐๐ และค้างจา่ ย ๓๐ - เมอื่ หมดรายการเบิกแลว้ ใหข้ ดี เสน้ ทแยง และเขียนคำว่า “หมดรายการ” ตลอดหน้าดังนี้ / / / / / / / / / / / / / / / / / หมดรายการ / / / / / / / / / / / / / / / / / มูลฐานการเบิก ใหเ้ ขียนเหตุผลทีท่ ำการเบิกในครง้ั คราวนั้น ในบรรทดั ถัดมา ตอ่ จากคำว่า “หมดรายการ” เช่น เบิกให้ครบตามอตั รา หรือเบิกเพ่อื ทดแทน ของใช้หมดไป หรือเบิกเพอื่ ซ่อม สป. งดใช้การ เป็นต้น - ให้อ้างค่มู ือ อัตราหรอื คำสัง่ พรอ้ มทงั้ วนั เดอื น ปี ท่ีอนุมัติ หรอื ประกาศใช้ เชน่ อจย. ๗ – ๑๕ ลง ๒๕ มิ.ย.๒๒ - เจา้ หนา้ ทีบ่ ญั ชคี ุมของหน่วยจ่าย บนั ทกึ ความเห็นวา่ ควรจ่ายหรือไม่ อย่างไร พรอ้ มกบั ลงลายมือช่อื และวนั เดอื น ปี ก่อนเสนอผมู้ ีอำนาจสั่งจา่ ย

- 32 - ช่อง วิธเี ขยี นใบเบกิ ทบ. ๔๐๐ – ๐๐๖ ผู้สั่งจา่ ย วธิ เี ขียน ผู้จ่าย เป็นผู้รับแทน - ผู้มอี ำนาจสงั่ จา่ ย ลงลายมือช่อื และวัน เดอื น ปี - เจา้ หนา้ ท่ีคลงั ซึ่งแจกจ่าย สป. ของหนว่ ยจ่าย ลงลายมอื ช่ือ และ วัน เดือน ปี ผเู้ บกิ - หน่วยเบกิ ระบุชื่อผูร้ ับ สป. ซ่ึงหน่วยเบกิ ไดส้ ่งลายเซน็ ไปให้หนว่ ยจ่ายแลว้ ในกรณผี ู้ ผรู้ บั เบิกเปน็ ผรู้ บั สป. เอง ใหเ้ ว้นว่างไว้ - ผูม้ ีสิทธิ์เบิกซึ่งไดส้ ง่ ลายมอื ช่ือไปใหห้ นว่ ยจ่ายแลว้ ลงลายมือชื่อและวัน เดอื น ปี ทะเบียนหน่วยจา่ ย - เม่ือผู้รบั ไดร้ บั มอบ สป. ถูกต้องตามที่ระบุไวใ้ นชอ่ งจ่ายจริงเรยี บร้อยแล้ว ให้ลง ลายมือช่อื และวัน เดือน ปี ไวเ้ ป็นหลักฐาน - ให้หน่วยจ่ายลงทะเบียนหน่วยจ่าย และ วนั เดือน ปี เพือ่ สะดวกแก่การตรวจสอบ หมายเหตุ การลงลายมือชอื่ อาจใช้กระดาษคาร์บอนรองแผน่ ต่อไปก็ได้ แต่ใบเบกิ ทุกแผน่ จะตอ้ งมีลายมือ ชอ่ื ชดั เจน

- 33 - วธิ ีเขียนใบเบิกหรอื ใบส่งคืนสิ่งอุปกรณ์ ทบ. ๔๐๐ – ๐๐๗ – ๑ ชอ่ ง วธิ เี ขียน ชอ่ ง ๑ – ๑๗ หน่วยเบกิ หรือหน่วยสง่ คนื เป็นผู้ลงรายการ ๑. ที่ - ลงที่ใบเบกิ หรอื ใบส่งคืน ซึง่ จะไดต้ วั เลขจากแฟม้ ทะเบยี นใบเบกิ หรือทะเบยี นใบ ส่งคนื โดยเรยี งลำดับเริม่ ตงั้ แต่ ๑ ต.ค. ของทุกปีงบประมาณ ๒. วนั ท่ี - ลงวนั เดอื น ปี ท่ีลงทะเบียนใบเบิกหรอื ใบส่งคนื ๓. หน่วยจ่ายหรือหน่วย - ลงชอื่ หน่วยจา่ ยหรอื หน่วยรบั คนื และสถานท่ีต้งั รบั คนื ๔. หนว่ ยเบิกหรอื หน่วย - ลงชื่อหน่วยเบิกหรือหน่วยส่งคนื และสถานท่ตี ัง้ สง่ คนื ๕. เบกิ ให้ - ลงช่อื หน่วยและท่ตี งั้ ของหน่วยทจ่ี ะรบั ของนัน้ ในกรณเี ป็น สป. ในอตั ราของ หน่วยเบิกเองไม่ต้องลง

- 34 - วธิ ีเขยี นใบเบิกหรือใบสง่ คนื สิ่งอุปกรณ์ ทบ. ๔๐๐ – ๐๐๗ – ๑ ช่อง วิธีเขยี น ๖. ส่งิ อปุ กรณ์สำเรจ็ รปู ที่ - ลงชอื่ สป. สำเรจ็ รปู ท่ีมี สป. ที่จะเบกิ นัน้ เปน็ ส่วนประกอบ เช่น รยบ. ๑/๔ ตนั เกย่ี วข้อง OSPJ เป็นตน้ ๗. แบบ - ลงหมายเลขแบบ หรือชอ่ื แบบ เชน่ MITSURISHI หรือ M.๓๘ เปน็ ต้น ๘. หมายเลขลำดับ สป. - ลงหมายเลขลำดับ สป. สำเรจ็ รปู ท่ีเก่ยี วข้องน้นั ๆ เชน่ A ๓๑๒๗๘๔ (ถ้าหนว่ ย เบิกไม่ทราบไมต่ ้องลง) ๙. หลกั ฐานที่อ้างอิง ปี - ลงคู่มือส่งกำลงั หรือซ่อมบำรุงทเ่ี กีย่ วข้อง พร้อมปี และหน้า เช่น (TM. ๙ – และหน้า ๒๓๒๐ – ๒๐๔ – ๒๐ P OCT ๗๙ - หนา้ ) ๑๐. หมายเลขสงิ่ - ลงหมายเลข สป. หากไมม่ หี มายเลข สป. อาจใช้หมายเลขอ่นื ๆ ทจ่ี ะเปน็ อุปกรณ์ หลกั ฐานทำให้สะดวกในการตรวจสอบ ๑๑. หมายเลขที่ - ให้ทำเครือ่ งหมาย x ลงในกรอบสเี่ หลยี่ มว่าเป็นหมายเลขชนิดใดพรอ้ มท้ังระบุ ใช้แทนกนั ได้ หมายเลขนัน้ ไวด้ ้วย หมายเลข สป. ท่เี ปลี่ยนแปลง ๑๒. รายการละเอียด - ลงช่ือ สป. ที่ตอ้ งการเบิก ๑๓. ความตอ้ งการ - ให้ทำเคร่ืองหมาย x ลงในช่องท่ีต้องการ ๑๔. จำนวนและหน่วย - ลงจำนวนท่ตี ้องการเบิกและหน่วยนบั เช่น ๒ EA หรือ ๑๐ ลติ ร เปน็ ต้น นบั ๑๕. จำนวนท่ีแสดงเปน็ - ให้ทำเครื่องหมาย x ลงในช่องดา้ นหน้าท่ีต้องการรับหรือส่งคืน จำนวน ๑๖. ผู้มสี ทิ ธิเ์ บิกหรอื - ผบ. หนว่ ยเบิก (สง่ ลายมือช่ือไปหน่วยจา่ ยแล้ว) หรือหนว่ ยสง่ คืน ลงลายมอื ชอื่ สง่ คนื และ วนั เดือน ปี ๑๗. ผรู้ ับ สป. แทน - ระบุชอ่ื ผทู้ ่ีจะรับ สป. (ต้องสง่ ลายมอื ชอื่ ไวท้ ี่หนว่ ยจา่ ยแล้ว) ชอ่ ง ๑๘ – ๒๙ หนว่ ยจ่ายหรือหนว่ ยรับคนื เป็นผ้ลู งรายงาน ๑๘. วนั รบั เอกสาร - ลงวนั เดอื น ปี ท่ีรบั ใบเบิก หรอื ใบสง่ คืน สป. ๑๙. เลขทะเบยี น - ลงเลขทะเบยี นหน่วยจ่าย หรือทะเบยี นรบั คนื แล้วแตก่ รณี ๒๐. จ่ายจริง - ลงจำนวนจ่ายจรงิ หรอื คา้ งจ่าย หรือรบั คืน แลว้ แตก่ รณี แลว้ ลงราคาตอ่ หน่วย คา้ งจ่าย และราคารวม รบั คนื

- 35 - วธิ เี ขียนใบเบกิ หรือใบสง่ คืนส่ิงอุปกรณ์ ทบ. ๔๐๐ – ๐๐๗ – ๑ ชอ่ ง วธิ เี ขียน ๒๑. การดำเนินการทาง - เจา้ หนา้ ทีบ่ ญั ชคี มุ ลงลายมือชอื่ และวัน เดือน ปี บญั ชี ๒๒. ที่เกบ็ - ลงท่เี กบ็ สป. นนั้ ๆ ๑-ก-๑๒-๔ (คลงั ที่ ๑ แถว ก. ตู้ที่ ๑๒ ช่องที่ ๔) ๒๓. จำนวนดังกลา่ ว - ทำเครื่องหมาย x ลงในชอ่ งวา่ งหนา้ ช่องไดร้ บั จริงหรือได้จ่ายจรงิ แล้วแต่กรณี เป็นจำนวน แลว้ ผู้จ่ายลงลายมอื ชอื่ และวัน เดือน ปี ๒๔. ผตู้ รวจสอบ - หัวหนา้ หนว่ ยบัญชคี มุ ลงลายมอื ช่อื ผตู้ รวจสอบ และลงวัน เดอื น ปี ๒๕. จำนวนและ - ลงจำนวนและประเภทหบี ห่อ เช่น ๒ หบี หรือ ๒ มว้ น เปน็ ต้น ประเภทหบี ห่อ ๒๖. นำ้ หนกั - ลงนำ้ หนกั ทช่ี ั่งได้ เช่น ๔๐ กก. เป็นต้น ๒๗. ปริมาตร - ลงปรมิ าตรของหบี ห่อน้ัน เชน่ ๑๐ ลบ.ฟ. เปน็ ต้น ๒๘. เจา้ หน้าทีบ่ รรจุ - เจา้ หน้าทบ่ี รรจลุ งลายมอื ชื่อ และวัน เดอื น ปี ๒๙. อนมุ ัตจิ า่ ย หรอื รับ - ผูม้ ีอำนาจอนุมัตจิ า่ ยหรอื รับคืน ลงลายมือชอื่ และวนั เดือน ปี คืนได้ ๓๐. เจา้ หนา้ ท่ี ส.ข.ส. - เจา้ หน้าที่ ส.ข.ส. ตน้ ทาง ลงลายมือช่ือรับหีบห่อจากหนว่ ยจา่ ย หรอื หนว่ ยส่งคนื ต้นทาง และลงวนั เดือน ปี ๓๑. เจา้ หน้าท่ี ส.ข.ส. - เจา้ หน้าท่ี ส.ข.ส. ปลายทาง ลงลายมอื ช่อื รับหบี ห่อจากเจ้าหนา้ ที่ ส.ข.ส. ต้นทาง ปลายทาง และลงวัน เดือน ปี ๓๒. เจา้ หนา้ ทต่ี รวจรบั - เจา้ หน้าที่ของหนว่ ยเบิกหรือหน่วยรับ ลงลายมอื ชอ่ื รบั หีบห่อจากเจ้าหน้าท่ี หบี หอ่ ส.ข.ส. ปลายทาง และลงวนั เดอื น ปี ๓๓. เจ้าหนา้ ท่รี ับ สป. - เจา้ หนา้ ท่ีของหน่วยเบิกหรือ หน่วยรบั ลงลายมอื ชอ่ื รบั สป. จากคณะกรรมการ ตรวจรับ สป. และลงวนั เดือน ปี ๓๔. กรรมการตรวจรับ - คณะกรรมการตรวจรบั สป. ของหน่วยเบิก หรือหน่วยรับ ลงลายมือ ตรวจรบั สป. สป. และลงวัน เดือน ปี ๓๕. หมายเหตุ - ลงรายละเอียด หรือข้อบกพร่องในการตรวจรับและจำนวน สป. เชน่ ลงวา่ หบี ห่อชำรดุ แตก ของขาด ๑ ช้ิน เป็นต้น

- 36 - ทบ. ๔๐๐ – ๐๑๓ ใบสง่ คืน แผ่นท่ี...........ในจำนวน.........แผน่ ถึง หน่วยรบั คนื ทีใ่ บสง่ คนื สายงานที่ควบคุม หน่วยนบั ประเภทสิ่งอปุ กรณ์ จาก หนว่ ยสง่ คืน ประเภทเงิน เลขงานท่ี ลำดับ หมายเลขส่ิงอปุ กรณ์ รายการ จำนวน ราคา รับจรงิ สง่ คืน หนว่ ยละ รวม เหตุท่ีส่งคนื ขอรบั รองวา่ จำนวนทแี่ จง้ ในชอ่ ง “จำนวนส่งคนื ” ได้รบั อนมุ ตั ิใหส้ ง่ คืนจริง เจา้ หน้าทบี่ ญั ชคี ุม ใช้ราชการไม่ไดเ้ นือ่ งจากชำรดุ ตามสภาพ // ใช้ราชการไมไ่ ด้ตามรายงานการสอบสวน ใช้ราชการไม่ได้ซ่ึงตอ้ งชดใช้คา่ เสยี หาย ตรวจแล้วเหน็ วา่ ................................................................................................. ใช้ราชการได้ ............................................................................................................................ เกนิ อตั รา ยืม ผู้ตรวจสอบ ขอรับรองว่า ส่ิงของตามจำนวนและรายการในใบ // สง่ คืนน้ี อยู่ในสภาพดังแจง้ ในช่องเหตุที่ส่งคนื ผสู้ ่งคนื ไดร้ ับสิ่งอุปกรณต์ ามรายการ และจำนวนท่ีแจง้ ในช่อง “รับจริง” แล้ว // ผู้รบั / / อนมุ ัตใิ ห้รบั คืนได้ ผู้อนุมตั ิ / / / ทะเบียนหนว่ ยรับคนื /

- 37 - ช่อง วิธีเขียนใบส่งคนื ทบ. ๔๐๐ – ๐๑๓ แผ่นที.่ ..ในจำนวน..แผน่ วิธีเขยี น ถึงหน่วยรบั คนื - ถ้าการส่งคนื ในคราวนั้นใชใ้ บสง่ คนื เพยี งใบเดยี วกห็ มดรายการ ให้เขยี นแผน่ ที่ ๑ จากหน่วยสง่ คืน ในจำนวน ๑ แผน่ ถา้ ใชใ้ บส่งคืนมากกวา่ ๑ ใบ เชน่ ใช้ ๓ ใบ ใบท่ี ๑ เขียนว่า ทใี่ บส่งคืน แผน่ ที่ ๑ ในจำนวน ๓ แผ่น ใบท่ี ๒ เขียนวา่ ใบท่ี ๒ ในจำนวน ๓ แผน่ และใบท่ี ๓ เขยี นวา่ แผ่นที่ ๓ ในจำนวน ๓ แผ่น สายงานที่ควบคุม - ลงชื่อหน่วยรบั คนื และสถานทต่ี ัง้ - ลงช่อื หน่วยสง่ คืน และสถานทตี่ งั้ ประเภทสิ่งอุปกรณ์ - ลงทใี่ บสง่ คนื ซง่ึ จะไดเ้ ลขลำดบั ที่การสง่ คนื จากแฟ้มทะเบียนใบส่งคืน และให้ เร่ิมต้นต้งั แต่ ๑ ต.ค. ของทกุ ปงี บประมาณ ประเภทเงิน - ลงคา่ ยอ่ ของสายงานทีร่ บั ผดิ ชอบตอ่ สป. รายการท่สี ง่ คืนน้นั เช่น ช., สพ., สบ. เลขงานที่ เป็นต้น - ลงประเภท สป. ท่ีส่งคนื เชน่ ๒ หรอื ๔ เป็นต้น หากมีช่ือมาตรฐานของ สป. ลำดบั (SNL) ก็ใหร้ ะบุไว้ด้วย - หนว่ ยรับลงประเภทเงนิ ที่ใช้ซอ่ ม สป. ส่งคนื หมายเลขส่งิ อปุ กรณ์ - ในกรณีทสี่ ง่ คืนเพ่ือทำการซ่อมใหห้ น่วยรับลงเลขงานตามใบส่งซ่อม และใบสงั่ รายการ งานที่เกย่ี วข้อง - ลงลำดับรายการโดยเรมิ่ จาก รายการท่ี ๑ ไปจนหมดรายการในการส่งคืนคราว หนว่ ยนับ น้นั จำนวนส่งคนื - ลงหมายเลข สป. ตามที่ ทบ. กำหนด ราคาหนว่ ยละ - ลงช่อื รายการ สป. และรายละเอียดเปน็ ภาษาไทย หรอื ภาษาองั กฤษ ตามสาย รวม งานกำหนด รบั จรงิ - ลงหนว่ ยที่ใชน้ บั ในการเบกิ จ่าย เช่น ชดุ อัน ป้นื เป็นตน้ - ลงจำนวนท่สี ง่ คนื จรงิ เหตุท่สี ง่ คนื - หนว่ ยรบั ลงราคาต่อหน่วยท่ีใช้อยใู่ นขณะนน้ั - หน่วยรับ ลงราคารวมของ สป. ทร่ี ับคืนจรงิ - หนว่ ยรบั ลงจำนวนทไี่ ด้รับคนื จรงิ - เมื่อหมดรายการให้ขดี เสน้ ทแยงและเขยี นคำวา่ “หมดรายการ” ตลอดหนา้ ดังน้ี / / / / / / / / / / / / หมดรายการ / / / / / / / / / / / / / - ลงเครื่องหมาย / ตรงช่อง ตรงกับสาเหตุท่ีกลา่ วไว้

- 38 - ชอ่ ง วิธีเขยี นใบสง่ คนื ทบ. ๔๐๐ – ๐๑๓ ผ้สู ่งคนื วธิ เี ขียน เจา้ หนา้ ทบี่ ญั ชีคุม - ผบ. หนว่ ย ส่งคนื หรือผูแ้ ทน ลงลายมือชื่อรบั รอง สป. ตามที่ระบุไวใ้ นช่อง ตรวจสอบแล้วเห็นว่า.... “เหตุที่สง่ คืน” ผตู้ รวจสอบ - หัวหนา้ หนว่ ยบญั ชีคุมของหน่วยรับ ลงลายมือชอ่ื และวนั เดอื น ปี ผรู้ บั - เจ้าหน้าทเ่ี กบ็ รักษาของหน่วยรบั บนั ทกึ ความเหน็ หลังจากการตรวจสภาพ สป. ผ้อู นมุ ัติ แล้ว ลงลายมือชื่อผู้ตรวจสอบ และ ลงวนั เดอื น ปี ทะเบยี นหน่วยรบั คนื - หัวหน้าหนว่ ยเก็บรกั ษาของหน่วยรับ ลงลายมอื ช่อื ผ้รู บั และลงวนั เดือน ปี - หวั หน้าหนว่ ยรับ หรือผ้รู ับมอบอำนาจลงลายมือชื่อผู้อนมุ ัติ และลงวัน เดอื น ปี - หนว่ ยรบั ลงทะเบยี นหนว่ ยรบั ซงึ่ จะได้เลขท่ีลำดบั การรับคนื จากแฟ้มทะเบยี น หนว่ ยรับ เพอื่ เปน็ หลกั ฐานในการควบคมุ ทางบัญชี

-3 ใบตดิ ท.ี่ .................................................................. เรื่อง ขอทราบผลการเบิก สป. ถึง ( ชื่อหนว่ ยจ่าย ) .......................................................... จาก ( ช่ือหน่วยเบิก ) .......................................................... กรุณาดำเนินการตรวจสอบใบเบกิ ข้างล่างนี้ ซ่ึงหนว่ ยไดส้ ่งใบเบิกไว้เรยี ลำดบั รายการ สป. หมายเลข สป. ท่ีใบ ( ลงนาม ) ..................................................................... ( ตำแหน่ง ) .................................................................. ...................../..................../................... (พิมพต์ ามระเบยี บกองทัพบกว่าดว้ ยการส่งกำล

39 - ทบ. ๔๐๐ – ๐๗๑ แบบ ก การเบิกตั้งแต่ ๔๕ – ๙๐ วัน ดตามใบเบิก ยบร้อยแล้ว บเบิก ที่ทะเบียนหน่วยจ่าย วนั ทส่ี ่งหรือวางใบเบิก หมายเหตุ (บันทึกโดยหนว่ ยจ่าย) ผตู้ รวจสอบ .................................................................... ...................../......................./...................... ลังสิ่งอุปกรณ์ ประเภท ๒ และ ๔ พ.ศ. ๒๕๓๔)

- 40 - วธิ ีเขยี นใบติดตามใบเบกิ (แบบ ก.) ทบ. ๔๐๐ – ๐๗๑ ช่อง วธิ ีเขยี น ท่.ี .......... - ลงท่ีของใบตดิ ตามใบเบิก ซึ่งจะได้เลขทล่ี ำดบั จากแฟ้มทะเบยี นใบตดิ ตามใบเบิก โดย เรยี งลำดบั เริ่มต้ังแต่ ๑ ต.ค. ของทุกปงี บประมาณ ถึง (ชือ่ หนว่ ยจ่าย).... - ลงชื่อหน่วยจ่าย จาก (ช่ือหน่วยเบิก).... - ลงชื่อหนว่ ยเบกิ ๑. ลำดบั - ลงลำดับที่ของรายการ เรม่ิ จากรายการที่ ๑ ไปจนหมดรายการ สป. ทต่ี ิดตามคราวน้ัน ๒. รายการ สป. - ลงชื่อรายการและรายละเอียดของ สป. ที่ติดตาม ๓. หมายเลข สป. - ลงหมายเลข สป. ตามรายการในช่องท่ี ๒ ๔. ทใ่ี บเบิก ท่ีทะเบียน - ลงที่ใบเบิก พร้อมทัง้ วัน เดือน ปี และลงหมายเลขทะเบียนหนว่ ยจา่ ย (ถา้ ไม่ทราบให้ หนว่ ยจา่ ย เวน้ ไว้) ๕. วนั ทีส่ ่งหรือวางใบ - ลง วัน เดือน ปี ของวันที่ส่งหรอื วางใบเบกิ เบกิ ๖. หมายเหตุ (บันทึก - หนว่ ยจา่ ยบันทึกการปฏบิ ัตติ ่อ สป. ทต่ี ิดตามวา่ ได้ดำเนนิ การไปแล้วอย่างไร โดยหนว่ ยจ่าย) (ลงนาม).................... - ผบ. หนว่ ยตดิ ตามใบเบิก ลงลายมือช่ือ ตำแหน่ง และ วัน เดือน ปี (ตำแหน่ง)................. ......../........../............ ผูต้ รวจสอบ............. - ผู้ตรวจสอบตามหมายเหตุ ลงลายมือช่อื ตำแหน่ง และวัน เดอื น ปี ........./........./............

-4 ใบติด ท.่ี .................................................................. เรอ่ื ง ขอทราบผลการเบิก สป. ถงึ ( ชื่อหน่วยจ่าย ) .......................................................... จาก ( ชื่อหน่วยเบิก ) .......................................................... กรณุ าดำเนินการตรวจสอบใบเบกิ ข้างล่างน้ี ซง่ึ หนว่ ยได้สง่ ใบเบิก และ ลำดับ รายการ สป. หมายเลข สป. ทใ่ี บเบิก ท่ีทะเบียนหน่วยจ่าย ( ลงนาม ) ..................................................................... ( ตำแหน่ง ) .................................................................. ...................../..................../................... (พิมพต์ ามระเบียบกองทัพบกว่าดว้ ยการส่งกำล

41 - ทบ. ๔๐๐ – ๐๗๑ แบบ ข การเบกิ เกิน ๙๐ วนั ดตามใบเบกิ ะได้ติดตาม คร้ังท่ี ๑ ไว้เรยี บร้อยแล้ว วนั ท่สี ่งหรือวางใบเบิก วนั ตดิ ตามใบเบิกคร้ังท่ี ๑ หมายเหตุ (บันทึกโดยหนว่ ยจ่าย) ผู้ตรวจสอบ .................................................................... ...................../......................./...................... ลงั สิ่งอุปกรณ์ ประเภท ๒ และ ๔ พ.ศ. ๒๕๓๔)

- 42 - ชอ่ ง วธิ เี ขียนใบตดิ ตามใบเบกิ (แบบ ข.) ทบ. ๔๐๐ – ๐๗๑ ท่ี........... ถงึ ชอ่ ง ๕ วิธีเขยี น วันทสี่ ง่ หรือวางใบเบิก ๖. วนั ตดิ ตามใบเบิก - ลงรายละเอยี ดเช่นเดียวกับใบติดตามใบเบิก แบบ ก. คร้งั ที่ ๑ ๗. หมายเหตุ (บนั ทึก - ลง วัน เดือน ปี ที่ตดิ ตามใบเบกิ ครง้ั ท่ี ๑ ซ่ึงได้ตดิ ตามไปแล้ว ตามใบตดิ ตามใบเบิก โดยหนว่ ยจ่าย) ถึงผู้ (แบบ ก.) ตรวจสอบ............... - ลงรายละเอยี ดเชน่ เดยี วกบั ใบติดตามใบเบิก แบบ ก.

-4 ทะเบยี นหลกั ฐา นามหน่วย.................................. วนั ท่ี ชนิดหลักฐาน หนว่ ยที่เกีย่ วขอ้ ง ทะเบยี นที่ นามหน่วย ทะเบียน ว.ด.ป. ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ ................... ............................. ........................ ........................ ........................ (พิมพต์ ามระเบยี บ ทบ. ว่าด้วยการส่งกำลังส