Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา การใช้และการซ่อมบำรุง เล่มที่ ๗

วิชา การใช้และการซ่อมบำรุง เล่มที่ ๗

Published by qacavalry, 2021-10-31 04:22:17

Description: วิชา การใช้และการซ่อมบำรุง เล่มที่ ๗
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๖๐๖๐๗
หลักสูตร นายทหารยานยนต์
แผนกวิชายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

โรงเรียนทหารม้า วิชา การใช้และการซ่อมบำรงุ เล่มที่ ๗ รหสั วชิ า ๐๑๐๒๒๖๐๖๐๗ หลักสตู ร นายทหารยานยนต์ แผนกวชิ ายานยนต์ กศ.รร.ม.ศม. ปรชั ญา รร.ม.ศม. “ฝกึ อบรมวิชาการทหาร วิทยาการทันสมยั ธำรงไวซ้ ึง่ คุณธรรม”

ปรชั ญา วสิ ัยทัศน์ พันธกจิ วัตถปุ ระสงค์การดำเนินงานของสถานศึกษา เอกลกั ษณ์ อตั ลักษณ์ ๑. ปรัชญา ทหารม้าเปน็ ทหารเหล่าหน่ึงในกองทัพบกท่ีใชม้ ้าหรือสิ่งกำเนิดความเร็วอนื่ ๆ เป็นพาหนะเปน็ เหล่าที่มีความสำคัญ และจำเป็นเหล่าหน่ึง สำหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอืน่ ๆ โดยมีคุณลักษณะท่ีมีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนท่ี อำนาจ การยิงรุนแรง และอำนาจในการทำลายและข่มขวัญ อันเป็นคุณลักษณะที่สำคัญและจำเป็นของเหล่า โรงเรียนทหารม้า ศูนย์ การทหารม้า มปี รชั ญาดังนี้ “ฝกึ อบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทนั สมยั ธำรงไว้ซึ่งคุณธรรม” ๒. วสิ ยั ทัศน์ “โรงเรีย น ท ห ารม้ า ศู น ย์ ก ารท ห ารม้ า เป็ น ศู น ย์ก ล างก ารเรียน รู้วิชาก ารเห ล่ าท ห ารม้ าที่ ทั น ส มั ย ผลติ กำลังพลของเหลา่ ทหารมา้ ให้มลี กั ษณะทางทหารท่ีดี มคี ณุ ธรรม เพ่อื เป็นกำลงั หลกั ของกองทัพบก” ๓. พันธกิจ ๓.๑วิจยั และพัฒนาระบบการศึกษา ๓.๒ พฒั นาคุณภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๓ จัดการฝกึ อบรมทางวชิ าการเหล่าทหารม้า และเหลา่ อื่นๆ ตามนโยบายของกองทัพบก ๓.๔ผลิตกำลงั พลของเหลา่ ทหารม้า ให้เป็นไปตามวัตถปุ ระสงคข์ องหลกั สูตร ๓.๕ พัฒนาสอ่ื การเรยี นการสอน เอกสาร ตำราของโรงเรยี นทหารม้า ๓.๖ปกครองบังคับบญั ชากำลังพลของหนว่ ย และผู้เขา้ รบั การศึกษาหลกั สูตรต่างๆ ให้อยู่บนพน้ื ฐานคุณธรรม จริยธรรม ๔. วัตถปุ ระสงคข์ องสถานศกึ ษา ๔.๑เพ่ือพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กับผู้เข้ารับ การศึกษาได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ๔.๒ เพอ่ื พัฒนาระบบการศกึ ษา และจดั การเรยี นการสอนผา่ นสือ่ อเิ ล็กทรอนิกส์ ใหม้ คี ุณภาพอย่างต่อเน่ือง ๔.๓ เพ่ือดำเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารชั้นประทวน ที่โรงเรียนทหารม้าผลิต และกำลังพลที่เข้ารับการศึกษา ให้มีความรู้ ความสามารถตามที่หน่วย และกองทัพบกตอ้ งการ ๔.๔ เพ่อื พฒั นาระบบการบรหิ าร และการจดั การทรพั ยากรสนบั สนุนการเรยี นรู้ ใหเ้ กดิ ประโยชนส์ ูงสดุ ๔.๕ เพือ่ พฒั นาปรับปรุงสอ่ื การเรยี นการสอน เอกสาร ตำรา ใหม้ คี วามทนั สมยั ในการฝึกศกึ ษาอย่างตอ่ เนื่อง ๔.๖เพื่อพัฒนา วิจัย และให้บริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับสถาบันการศึกษา หนว่ ยงานอน่ื ๆ รวมทงั้ การทำนุบำรงุ ศิลปวฒั ธรรม ๕. เอกลักษณ์ “เป็ น ศู น ย์ ก ล างแ ห่ งก ารเรียน รู้ท างวิชาก าร แ ล ะผ ลิ ต กำลั งพ ล เห ล่ าท ห ารม้ าอ ย่างมี คุ ณ ภ าพ เป็ น การ เพมิ่ อำนาจกำลังรบของกองทัพบก” ๖. อัตลักษณ์ “เดน่ สง่าบนหลงั มา้ เกง่ กลา้ บนยานรบ”

สารบญั หนา้ 1 - 38 ลำดบั วิชา 47 - 80 1 การใชแ้ ละการซอ่ มบำรงุ รถถงั เบา 21 2 การใชแ้ ละการซ่อมบำรุง รถถงั เบา 32 ...................................................

ห น้ า | 1 วชิ า การใช้และซอ่ มบำรุง รถถังเบา 21 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารมา้ ศูนยก์ ารทหารม้า ค่ายอดศิ ร สระบรุ ี

ห น้ า | 2 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศนู ย์การทหารมา้ ค่ายอดศิ ร สระบรุ ี ---------- คท.พลประจำรถ วชิ า คณุ ลกั ษณะและมาตราทาน รถถังเบา 21 (SCORPION) FV 101 1. คุณลักษณะโดยท่ัวไป รถถังเบา 21 (SCORPION) FV 101เป็นรถถังเบาท่ีออกแบบสร้างให้มีรูปร่าง ลักษณะ ทรวดทรงต่ำ ขนาดกระทัดรัด มีความคล่องแคล่วในการเคล่ือนท่ี และมีความเร็วสูงใช้ในภารกิจสนับสนุนการยิง ด้วยอาวธุ ปนื ใหญ่ ขนาด 76 มม. 1 กระบอก และปนื กลร่วมแก่น ขนาด 7.62 มม.อีก 1 กระบอก ซึ่งใชใ้ นการยิง สอบหาระยะให้ปืนใหญ่ และใช้ทำการยิงต่อท่ีหมายภาคพ้ืนดิน นอกจากน้ียังติดต้ังเคร่ืองยิงลูกระเบิดควันชนิด หลายลำกลอ้ งขนาด 66 มม. อีก 2 ชุด ทางด้านนอกของป้อมปนื อกี ดว้ ย รถถังเบา 21 มีเสียงเบาในขณะเคล่ือนท่ี มีน้ำหนักกดพื้นดนิ น้อย เหมาะแก่การใชป้ ฏบิ ัตกิ ารในพ้ืนที่ๆ เป็น ดินอ่อน สามารถปฏิบัติการลอยข้ามน้ำได้ โดยใช้กรอบพยุงตัว ซ่ึงกรอบพยุงตัวน้ีสามารถกางออกและพับเก็บไว้ บนตัวรถ การเคล่ือนที่ในนำ้ ใชก้ ารขับเคลื่อนดว้ ยสายพานและยังสามารถติดตง้ั ชุดใบจักร เพื่อเพิ่มความเรว็ ในนำ้ ได้ ด้วย ตวั รถและป้อมปืนสร้างข้ึนให้มีมุมลาด โดยใช้แผ่นเกราะอะลูมิเนียมผสมเช่ือมประสานกันเพื่อความม่ันคง แขง็ แรง และสามารถปอ้ งกนั นำ้ ได้ ระบบทัศนะและเคร่ืองเล็ง ประกอบด้วยกล้องตรวจการณ์ของพลขับ และศูนย์เล็งใช้งานเวลากลางคืนของ พลยงิ ซ่งึ ใชเ้ ทคนคิ ในการทวีความเขม้ ของแสงดว้ ยอปุ กรณอ์ ีเลกโทรนิกส์ รถถังเบา 21 มีพลประจำรถ 3 นาย คอื - ผู้บงั คบั รถ (ทำหน้าท่ีพลบรรจดุ ้วย) - พลยิง (ทำหนา้ ที่พลวิทยดุ ้วย) - พลขับ มาตราทาน 3 นาย (ผบ.รถ/พลบรรจุ,พลยงิ /พลวทิ ยุ และพลขับ) พลประจำรถ ขนาด 4.55 เมตร (14 ฟตุ 11 นิ้ว) ความยาว (เมือ่ ปืนอย่ทู างด้านหน้า) 2.10 เมตร (6 ฟตุ 11 นิว้ ) ความสูง (เหนือกล้องตรวจการณข์ องพลยิง) 2.95 เมตร (9 ฟตุ 8 นว้ิ ) ความสูง (เหนือเครื่องวดั กมั มนั ตภาพรงั ส)ี 2.18 เมตร (8 ฟตุ 2 น้ิว) ความกวา้ ง (ทัง้ หมด) 2.13 เมตร (7 ฟตุ ) ระยะกวา้ งทีส่ ายพาน 0.35 เมตร (1 ฟุต 2 นวิ้ ) ระยะห่างใตท้ อ้ งรถ 1.70 เมตร (5 ฟุต 7 นวิ้ ) ความกวา้ งท่ีกง่ึ กลางของสายพาน

ห น้ า | 3 ความยาวของสายพานที่สัมผสั พ้นื 2.49 เมตร (8 ฟุต 2 นว้ิ ) นำ้ หนักพร้อมรบ (สงู สุด) 7,925 กก.(175,000 ปอนด)์ ชน้ั สะพาน 10 การขนสง่ ทางอากาศ เทยี่ วละ 2 คัน (CK 130) นำ้ หนกั กดพน้ื ดนิ 0.352 กก./ตร.ซม.(5 ปอนด/์ ตร.น้วิ ) สมรรถนะ ความเรว็ บนถนน (ความเร็วอนมุ ตั ใิ ชง้ าน) 72.4 กม./ชม.(45 ไมล์/ชม.) อัตราการเร่ง 1) ทุกเกยี ร์เริม่ จากเกยี รต์ ำ่ สดุ 0-48.3 กม./ชม. (0-30 ไมล์/ชม.) ภายใน 20 วินาที 2) เร่ิมจากเกยี ร์สงู 32.2-64.4 กม./ชม. (20-40 ไมล/์ ชม.) ภายใน 32 วินาที ขา้ มเครอื่ งกดี ขวางทางด่งิ 0.50 เมตร (1 ฟุต 7.7 นว้ิ ) ไต่ลาดสูงสุด มากกว่า 60% (หยดุ และออกรถบนลาด 45% ได้) ข้ามคกู วา้ ง มมุ ขึน้ ลาด 2.06 เมตร (6 ฟตุ 9 นว้ิ ) มมุ ลงลาด 462.3 มลิ เลยี ม (26 องศา) ไตล่ าดข้าง 382.6 มลิ เลียม (21.5 องศา) ลุยข้ามน้ำโดยไมก่ างกรอบพยงุ 800 มิลเลยี ม (45 องศา) ความเรว็ ในน้ำ (ขับเคล่อื นดว้ ยสายพาน) 1.07 เมตร (3 ฟตุ 6 นวิ้ ) 6.4 กม./ชม.(4 ไมล/์ ชม.) หา้ มลอ้ ลดความเร็วได้ 60% ระยะหยุดรถ ห้ามลอ้ หลกั (ห้ามลอ้ จานทำงานดว้ ยของเหลว) 15.2 เมตร/50 ฟุต จากความเร็ว ห้ามล้อจอด (แบบปลอกรดั ทำงานทางกล) 48.3 กม./ชม.(30 ไมล/์ ชม.) เครอ่ื งยนต์ สามารถจอดรถบนระยะ 1 ใน 3 ของลาด 34% แบบ JAGUAR XK 4.2,เพลาราวลิ้นคอู่ ยบู่ นฝาเรอื นสบู , จำนวนกระบอกสบู ใชน้ ้ำมนั แกส๊ โซลีนดัดแปลงเพอื่ ใช้ในราชการทหาร แรงม้า (สงู สุด) เป็นแบบ J 60 NO 1 MK 100 B แรงบดิ (สูงสุด) 6 กระบอกสบู เรียงแถวเด่ียว 195 แรงมา้ (141.8 กโิ ลวตั ต)์ ที่ 5,000 รอบ/นาที การปรงุ เชือ้ ระเบิด 346.8 นวิ ตนั เมตร (255 ปอนด/์ ฟตุ ) การระบายความร้อน ที่ 3,500 รอบ/นาที อุณหภมู ิ คารบ์ ูเรเตอร์ โซเล็กซ์ 48 NNIP ชนดิ ดดู ลงแบบท่อคู่ ของเหลว,มีป๊ัมน้ำ,ควบคุมแรงดัน และมีลิ้นควบคุม

ความกวา้ งของกระบอกสบู ห น้ า | 4 ช่วงชกั ปริมาตรในกระบอกสบู 92 มม.(3.63 นว้ิ ) ลน้ิ 106 มม.(4.1732 นวิ้ ) ตัวเอง ระยะหา่ งของตีนลิน้ (เยน็ ) 4.235 ลติ ร (258.3 ลบ.น้ิว) ไอดี แบบเหลก็ กล้าผสม, \"STELLITED\"ล้ินไอเสยี หมุนรอบ ไอเสีย 0.35 (0.014 นวิ้ ) อตั ราการอดั 0.35 (0.014 น้ิว) จัดปรับระยะห่าง โดยใชแ้ ผ่นรอง ลำดับการจุดระเบดิ ใตถ้ ้วยครอบตนี ลิ้น รอบเดนิ เบา 7.75 : 1 จานจา่ ยไฟ 1 - 5 - 3 - 6 - 2 - 4 (นบั จากดา้ นล้อตุนกำลงั ) ระยะห่างหน้าทองขาว 500 - 600 รอบ/นาที ระยะหา่ งเขยี้ วหัวเทยี น แบบ 6 สูบ No.1,Mk. 2 (DNM-5349A) เครอื่ งควบคุมความเร็ว 0.25-0.30 มม.(0.010 - 0.012 นวิ้ ) คอยลจ์ ดุ ระเบิด 0.015 - 0.018 นว้ิ มอเตอรห์ มุนเคร่ืองยนต์ ไม่ใช้ 12 โวลท์ (ประกอบกับตวั ตา้ นทานลดแรงดนั ไฟ) หวั เทยี น ฐานตดิ ต้งั แบบหนา้ แปลน,ชนดิ เฟืองขบั เคล่อื นตัวตามแกนควบคุมการ หม้อกรองอากาศ ทำงานด้วยสวติ ชอ์ ณุ หภูมิ \"THEMAL TRIP SWITCH\" ชนิดมกี ารปอ้ งกันการรบกวนคลนื่ วิทยุ แบบ SRL-14 PC เครื่องยนต์ แบบอ่างเปียก ชนิด เคร่อื งยนตด์ ีเซลคัมมินส์ B, 5.9 ลติ ร, มีเคร่อื งเพม่ิ อากาศด,ี เครื่อง จำนวนกระบอกสูบ ระบายความร้อนอากาศทม่ี าจากเครอ่ื งเพมิ่ อากาศดี แรงมา้ 6 กระบอกสูบ, วางกระบอกสูบแบบแถวเรยี งเดยี่ ว การฉดี น้ามนั เชอื้ เพลงิ 352 แรงม้า การหล่อลืน่ โดยตรง, โดยใช้ปม๊ั ฉดี น้ามันเช้อื เพลงิ แบบแถวเรยี งเด่ยี ว การระบายความรอ้ น แบบอา่ งเปียก แบบใชข้ องเหลว, มปี ั๊มนา้ เปน็ ตัวชว่ ยการไหลเวยี นของของเหลวมี ความกวา้ งกระบอกสบู เครอื่ งควบคุมแรงดัน และอุณหภูมิ ระยะชกั 102 มม. (4.02 นว้ิ ) ความจกุ ระบอกสบู 120 มม. (4.72 นว้ิ ) อตั ราส่วนกาลังอัด 5.88 ลิตร (359 ลบ.นว้ิ ) 17.6 : 1

ห น้ า | 5 ลาดับการจดุ ระเบดิ 1, 5, 3, 6, 2, 4 (นบั จากล้อตุนกาลงั ) ความเร็วรอบควบคมุ สูงสุดไมม่ ภี าระกรรม 2,900 รอบ/นาท,ี ความเรว็ รอบที่ให้กาลงั มา้ สงู สดุ 2,600 รอบ/นาที ความเรว็ รอบเดินเบา 750 รอบ/นาที มอเตอรห์ มนุ เครอ่ื งยนต์ ยดึ ติดดว้ ยหนา้ แปลน, ชนิดเคลื่อนทไี่ ปตามแนวแกน พรอ้ มมี หน่วยกรองอากาศ เครอ่ื งตดั ตอ่ วงจรแบบใช้ความรอ้ น ระบบกรอง 2 ขั้น ข้ันที่ 1. กรองขั้นแรกดว้ ยกราวยกรองอากาศ, ข้ันที่ 2. กรองดว้ ยไสก้ รองแบบกระดาษ ระบบน้ามนั เชือ้ เพลิง ปม๊ั นำ้ มันเช้อื เพลงิ Bendix (ชนดิ ยกตัวดว้ ยไฟฟา้ ) กรองน้ามันเชือ้ เพลิง ชนดิ กระปอ๋ ง ระบบระบายความร้อน หม้อนา้ รังผ้งึ ไหลผ่านทางเดียว, ฐานติดตั้งหมนุ ได้ พดั ลม ขบั ดว้ ยสายพานจากเคร่ืองเปล่ยี นความเรว็ เครอ่ื งทศั นะและเครือ่ งเลง็ ผบู้ ังคบั รถ 1. ศนู ย์เลง็ ชนดิ กลอ้ งตรวจการณ์ NO 68 MK1 แบบเลนสค์ ู่ มีระบบกำลังขยาย 10 เทา่ และ ระบบ 1 เท่า เมือ่ ตดิ ตัง้ บนฐานศนู ย์เล็ง มยี ่าน การเห็นทางระดับ 1,000 มิลเลยี ม (56 องศา) และมมุ ทางสูง 9,000 มลิ เลยี ม (50 องศา) 2. กล้องตรวจการณ์ AV.NO 43,MK3 กำลงั ขยาย 1 เท่า จำนวน 7 กลอ้ ง พลยงิ 1. ศนู ย์เล็ง ชนดิ กล้องตรวจการณ์ NO 45,MK1 แบบเลนสเ์ ดีย่ ว มรี ะบบกำลงั ขยาย 10 เท่า และระบบ 1 เทา่ พรอ้ มด้วยชดุ ก้านโยง เช่อื มต่อให้เคลอ่ื นไหวไปพร้อมกับปืน 2. กล้องตรวจการณ์ AV.No. 43,Mk.3 มกี ำลงั ขยาย 1 เท่า จำนวน 2 กลอ้ ง 3. ศนู ย์เล็งใช้งานเวลากลางคนื ชนิดกล้อง ตรวจการณ์ AV II L3 A1 พลขับ 1. กล้องตรวจการณ์ AV No. 44, Mk.2 ) สำหรบั ใชข้ บั รถดว้ ยการปิดฝาชอ่ งทางเข้า-ออก เมอื่ ปดิ ฝาปิดห้องพลขบั จะตอ้ งขบั รถด้วยการ ปรบั ท่ีน่ังใหศ้ ีรษะพ้นจากตัวรถ 2. กล้องตรวจการณ์ในเวลากลางคืน

ห น้ า | 6 AV II,L5 A1 ซง่ึ เปน็ กล้องเลนสค์ ู่ แบบทวี ความเข้มของแสง สำหรับใช้ในการขับรถใน เวลากลางคนื ในสถานการณพ์ รางไฟ กลอ้ ง ตรวจการณ์ชนิดน้ีมีระยะชัด 100 เมตร (110 หลา) เครอ่ื งเปลีย่ นความเร็ว แบบ TN 15 X ชนดิ เปล่ียนเกยี ร์ได้เร็ว (HOT SHIFT TYPE) มเี กยี ร์เดนิ หนา้ และเกยี ร์ถอยหลงั อย่างละ 7 เกยี ร์ เครอ่ื งบงั คับเลยี้ วระบบเมอรร์ ติ (MERRITT) ทำงานรว่ มกับชุดเฟืองเกยี ร์เคร่ืองเปล่ียนความเร็ว เฟอื งขับข้ันสุดทา้ ย แบบเฟืองเกียรบ์ รวิ ารทดรอบชุดเดียว ห้ามลอ้ บังคับเล้ียว แบบห้ามลอ้ จาน,ชนิดลูกปม๊ั หา้ มลอ้ บีบตัวเขา้ หากัน,ทำงานดว้ ยของเหลว ห้ามลอ้ หลัก แบบห้ามล้อจาน,ชนดิ ลกู ป๊มั ห้ามล้อบบี ตวั เข้าหากนั ,ทำงานดว้ ยของเหลว เครอื่ งควบคมุ และคันบงั คับตา่ ง ๆ คันเกียร์เคร่ืองเปลีย่ นความเรว็ แบบชุดขอ้ ตอ่ และก้านโยงทำงานทางกล บังคบั การทำงานดว้ ยเทา้ คันเกยี ร์ เดนิ หนา้ -ถอยหลงั แบบ ชดุ ขอ้ ตอ่ และก้านโยงบังคับการ ทำงานด้วยมือ คันบังคับเล้ยี ว ทำงานดว้ ยการส่งน้ำมันไปบังคบั การทำงานของห้ามล้อบงั คบั เล้ียว ห้ามล้อจอดรถ (มอื ) แบบคนั โยกด้วยมอื และต่อสายลวดไปยงั ปลอกรัดผ้าหา้ มลอ้ บนจานห้ามลอ้ หลกั คันหา้ มล้อหลัก (เท้า) ทำงานดว้ ยการสง่ น้ำมันไปยังคนั บังคับการทำงานของชดุ ห้ามล้อหลกั คันเร่งเคร่อื งยนต์ แบบข้อต่อและชุดก้านโยงตอ่ เขา้ กบั คารบ์ เู รเตอร์บงั คับการทำงานดว้ ยเทา้ คันโชค๊ แบบก้านดงึ ต่อโดยตรงเข้ากบั คารบ์ ูเรเตอร์ เครือ่ งพยงุ ตวั รถ แบบ คานรับแรงบิดขา้ งละ 5 อนั ลอ้ ตา่ งๆ ขนาดเส้นผา่ ศูนยก์ ลาง 0.58 เมตร (23 นวิ้ ) จานล้อทำดว้ ยอลมู เิ นียมผสม หุ้มขอบด้วยยาง ติดตงั้ แบบลอ้ คู่ อยกู่ บั เครือ่ งพยุงตวั รถแตล่ ะหน่วย เครือ่ งผอ่ นแรงสะเทอื น ติดตงั้ ทีล่ อ้ กดสายพานดา้ นหนา้ ละด้านหลงั ระยะเคล่อื นท่ขี ้นึ -ลงของลอ้ กดสายพาน ระยะขึ้น 0.20 เมตร (8 นิว้ ) ระยะลง 0.10 เมตร (4 นิ้ว) สายพาน แบบ PHASE II ทำด้วยเหล็กกล้า น้ำหนักเบา ประกอบด้วยแผ่นยางรองสายพานและบู๊ช สลักสายพานทำ ดว้ ยเหลก็ กลา้ ประกอบยาง ความยาวของข้อสายพาน 0.11 เมตร (4.54 นวิ้ ) ความกวา้ งของขอ้ สายพาน 0.43 เมตร (17 นวิ้ ) จำนวนข้อสายพานแต่ละดา้ น 78 ขอ้

ห น้ า | 7 อัตราทดเฟอื งและรัศมวี งเล้ียว ความเร็วสูงสุดที่ 5,000 ตำแหน่ง อัตราการทดเฟือง อั ต ร า ก า ร ท ด รอบ/นาที เมือ่ ใช้เฟอื งขบั รศั มีวงเล้ยี ววัดจากจดุ เกียร์ ของเคร่ืองเปลี่ยน เฟืองของเฟือง สายพานแบบ 13 ซเี่ ฟือง ศูนย์กลางของรถ ความเรว็ 1 28.8 ขับขนั้ สุดทา้ ย กม./ชม. ไมล์/ชม. 2 12.8 3 9.2 3.667 4.45 2.76 1.7 เมตร ( 5.6 ฟุต ) 4 5.5 5 3.05 3.667 9.95 6.18 3.85 เมตร ( 12.6 ฟตุ ) 6 2.32 7 1.47 3.667 13.84 8.6 5.33 เมตร ( 17.5 ฟุต) 3.667 23.10 14.35 8.9 เมตร ( 29.2 ฟุต ) 3.667 41.9 26.0 16.06 เมตร ( 52.7 ฟตุ ) 3.667 55.0 34.2 21.28 เมตร ( 69.8 ฟตุ ) 3.667 86.60 53.7 32.22 เมตร (109 ฟุต) ความจุของระบบตา่ ง ๆ องคป์ ระกอบ/ระบบ ลติ ร อมิ พีเรียล ยู เอส ถงั น้ำมันเชื้อเพลงิ 423 93 แกลลอน 111.6 แกลลอน ระบบหลอ่ ลื่นของเครอื่ งยนต์ 11.4 20 ไพนท์ 24 ไพนท์ หมอ้ กรองอากาศ 2.9 5 ไพนท์ 6 ไพนท์ ระบบระบายความรอ้ น 27.3 48 ไพนท์ 57.6 ไพนท์ เครื่องเปล่ียนความเรว็ 11.3 20 ไพนท์ 25.8 ไพนท์ เฟอื งขับข้ันสดุ ทา้ ย ( แตล่ ะตัว ) 1.3 2 1/4 ไพนท์ 2.7 ไพนท์ ดมุ ลอ้ กดสายพาน ( แตล่ ะตวั ) 0.3 1/2 ไพนท์ 0.6 ไพนท์ ดมุ ล้อปรับสายพาน ( แตล่ ะตวั ) 0.3 1/2 ไพนท์ 1.6 ไพนท์ ดมุ แขนลอ้ กดสายพาน ( แตล่ ะตัว ) 0.1 1/8 ไพนท์ 0.15 ไพนท์ ถังนำ้ ดื่ม 18 4 แกลลอน 4.75 แกลลอน ปมั๊ สบู น้ำดว้ ยมือ 7 2 ลิ ต ร / 16 แกลลอน/นาที 19 แกลลอน/นาที นาที อาวุธ (ARMAMENT) ปืนใหญ่ ขนาด 76 มม.(76 MM. AC. EXP 9, M5) อาวธุ หลัก ทำงานดว้ ยของเหลวรว่ มกบั อากาศ (HYDRO-PNEUMATIC) ฐานติดตงั้ ปนื ใหญ่ 0.28 เมตร (11 นว้ิ ) ระยะถอยของปืน แบบแกนเกลียวและหลอดเกลยี ว (SCREW JACK) การยกขึน้ -ลง

ห น้ า | 8 มมุ ยก + 622 มิลเลยี ม (+ 35 องศา) มมุ กด - 178 มลิ เลยี ม (-10 องศา) ฐานรองรับปอ้ มปนื เสน้ ผ่าศนู ยก์ ลาง 1.39 เมตร (4 ฟุต 7 น้วิ ) การหมุนปอ้ ม ทำงานดว้ ยมือหรอื ไฟฟา้ ,หมุนไดร้ อบตัว 6,400 มลิ เลียม (360 องศา) อาวธุ รอง ปนื กลรว่ มแกน ขนาด 7.62 มม.(ตดิ ตงั้ รว่ มแกนกับอาวธุ หลกั )เครือ่ งลั่น ไก เคร่ืองแม่เหลก็ ลนั่ ไกทำงานดว้ ยไฟฟา้ และชนวนทา้ ยกระสุนแบบ จอกกระทบแตก การทำฉากควันกำบงั เครอ่ื งยิงลูกระเบิดควนั แบบหลายลำกลอ้ ง จำนวน 2 เคร่ือง ติดตั้งอยู่ บนปอ้ มปนื ด้านหน้า เคร่ืองกระสนุ ปนื - ขนาด 76 มม. (ชนดิ กระสนุ ครบนัด) 40 นดั - ขนาด 7.62 มม. 3,000 นดั - ลกู ระเบิดควัน 12 ลกู - ลูกระเบิดขว้าง 6 ลูก ระบบเคร่ืองติดตอ่ ส่อื สาร - ชุดวิทยุ UK/VRQ-301 - ชุดวิทยุ TRA-931 แหล่งจ่ายกำลงั ไฟฟา้ แบตเตอรแ่ี บบตะกวั่ -กรด UK-6TN ขนาด 100 แอมแปร/์ 20 ชม. ระบบจ่ายกำลังไฟฟา้ และระบบประจไุ ฟ เคร่อื งกำเนิดไฟฟ้า No. 12,Mk.3 แบบกระแสสลบั 3 วตั ตภ์ าค พร้อมดว้ ยเครื่องเรยี งกระแส อัตราการจ่ายกระแส 140 แอมแปร์ ดว้ ยแรงดัน 28.5 โวลท์ ทีร่ อบหมนุ 3,000-10,000 รอบ/นาที แรงดันไฟฟา้ 28.5  0.25 โวลท์ “ ปกติ ” 27.5  0.25 โวลท์ เม่อื ใชง้ านในเขตรอ้ น แบตเตอรี่ แบบตะกัว่ -กรด UK-6TN ขนาด 100 แอมแปร์/20 ชม.จำนวน 4 หมอ้ ระบบการจ่ายและการประจไุ ฟ ระบบกระแสไฟตรง 24 โวลท์ ใช้ข้ัวลบลงดิน วงจรไฟฟ้าท่ีไม่สำคัญใช้วงจรลงดินแบบธรรมดาและระบบท่ี มีกระแสไฟไหลเป็นจำนวนมาก เช่น ระบบแบตเตอร่ี,ระบบประจุไฟและระบบหมุนเครื่องยนต์จะใช้สายดินขนาด 200 แอมแปร์ ระบบไฟฟ้าภายในป้อมปนื จะใช้สายไฟหุ้มฉนวนทั้งสายบวกและสายลบ,สายไฟลบจะลงดินผ่านหีบ ควบคุมวงจรไฟฟ้าของป้อมปืนและวงแหวนไฟลบของหีบเล่ือนต่อวงจรไฟฟ้าขนาด 100 แอมแปร์ ไปยังรถ แบตเตอร่ีท้ัง 2 ชุด เป็นแบตเตอร่ีแบบตะก่ัวกรด ติดต้ังเพื่อจ่ายกระแสไฟให้กับเครื่องยนต์และตัวรถ จำนวน 1 ชุด และติดตั้งสำหรับจ่ายกระแสไฟให้กับชุดวิทยุและบริภัณฑ์ไฟฟ้าภายในป้อมปืน ที่พ้ืนป้อมอีก 1 ชุด ชุด แบตเตอรี่แตล่ ะชุด จะใชส้ วติ ชแ์ บตเตอรี่แยกกนั และชดุ แบตเตอร่ที ง้ั 2 ชุดน้ี จะถกู ตอ่ วงจรขนานกันเม่ือได้รบั การ ประจุไฟจากเครือ่ งกำเนดิ ไฟฟา้ ดว้ ยแรงดนั 28.5 โวลท์

ห น้ า | 9 ตาราง รายการหลอดไฟต่าง ๆ รายการ โวลท์ วตั ต์ แบบ หมายเลขนาโต้ โคมไฟใหญ่หนา้ รถ 26 125/125 ซีลบีม 6220-99-812-2642 ไฟขา้ ง, ไฟส่องป้ายทะเบยี นท้ายรถ 26 6 เขี้ยว, จุดเดยี ว 6220-99-995-2236 ไฟพรางหมายตำแหนง่ , ไฟส่องสว่าง ภายในตัวรถ และป้อมปืน ไฟหา้ มลอ้ และไฟท้าย 28 37/7 2 จุ ด , มี เข้ี ย ว 6226-99-995-2296 หมายตำแหน่ง ไฟเลีย้ ว 24 24 เขย้ี ว, จดุ เดยี ว 6240-99-995-3244 ไฟเตอื นเครื่องกำเนิดไฟฟา้ 24 3 เข้ียว, จดุ เดียว 6240-99-995-9145 ไฟเตือนระบบหลอ่ ล่ืน ““ “ “ ไฟเตือนระบบระบายความรอ้ น ““ “ “ ไฟเตือนไฟเลย้ี ว ““ “ “ ไฟเตอื นไฟสงู ““ “ “ หมู่ไฟเตือนหน้ารถ ““ “ “ ไฟส่องแผงเครอ่ื งวดั ของพลขับ 24 2.8 “ 6240-99-995-1297 ไฟเตอื นระบบแบตเตอร่ี 28 1.1 หลอดเสียบ 6240-99-995-9182 ไม่มเี ข้ยี ว ไฟแสดงตำแหนง่ สวิตช์บงั คบั การยิง “ “ “ “ ไฟส่องมาตราเครื่องบอกมุมทิศ ““ “ “ ไฟส่องมาตราประจำแก้วของศนู ย์เลง็ “ 0.08A หลอดเสยี บ 6240-99-995-9122 ไมม่ ีเข้ยี ว ไฟอา่ นแผนที่ของ ผบ.รถ 26 6 ขั้วเสียบรูปลิม่ 6240-99-995-2236 ไฟฉายป้อมปนื “ สปอทไลต์ ” “ 50 จุดรวมแสงคงท่ี 6240-99-995-4058 หลอดไฟเตอื นสวติ ช์ไฟสญั ญาณ 24 3 เข้ยี ว, จุดเดียว 6240-99-995-9135 ฉกุ เฉิน

ห น้ า | 10 ตาราง รายการฟวิ สป์ อ้ งกนั วงจรไฟฟา้ แบบและขนาด วงจรไฟฟ้า ท่ตี ิดตงั้ เคร่ืองหมาย หลอดแกว้ ขนาด 20 แอมป์ SMOKE ไม่ใชง้ าน(เครื่องยิงลูกระเบิดควัน ) หลอดแกว้ ขนาด 5 แอมป์ ไม่ใช้งาน (เครื่องอปุ กรณน์ ำทาง ) NAV เครื่องทำความรอ้ น หลอดแก้วขนาด 10 แอมป์ ไฟส่องสวา่ งภายในรถ HEATER หลอดแก้วขนาด 5 แอมป์ เครื่องปัดน้ำฝนกล้องตรวจการณ์ INT LTS หลอดแก้วขนาด 10 แอมป์ ของพลขับ WIPER ไฟเลี้ยว หลอดแก้วขนาด 20 แอมป์ วงจรจุดระเบิด, วงจรไฟเตือน FLASHER หลอดแกว้ ขนาด 10 แอมป์ ระบบหล่อล่นื , INS วงจรไฟเตือนระบบระบายความ หลอดแก้วขนาด 15 แอมป์ ร้ อ น , ว งจ ร เค ร่ื อ งวั ด น้ ำ มั น CUPOLA หลอดแก้วขนาด 5 แอมป์ เชื้อเพลงิ , SIDE หลอดแกว้ ขนาด 5 แอมป์ หลอดไฟส่องแผงเคร่ืองวัด และ TAIL หลอดแกว้ ขนาด 5 แอมป์ เครอ่ื งทำความร้อนประจำรถ CON หลอดแกว้ ขนาด 15 แอมป์ ไม่ใชง้ าน HEAD หลอดแกว้ ขนาด 15 แอมป์ ไฟข้าง F1 หลอดแกว้ ขนาด 15 แอมป์ ไฟทา้ ย F2 หลอดแก้วขนาด 15 แอมป์ ไฟพรางหมายตำแหน่ง F3 หลอดแก้วขนาด 10 แอมป์ โคมไฟใหญ่หน้ารถ F4 ฟิวส์สำรอง ฟวิ สส์ ำรอง ฟิวสส์ ำรอง ฟวิ สส์ ำรอง

ห น้ า | 11 ตาราง รายการฟวิ สป์ อ้ งกนั วงจรไฟฟา้ ที่ตดิ ตัง้ เคร่ืองหมาย แบบและขนาด วงจรไฟฟา้ เรือนฟิวส์ใชง้ านหนัก หลอดกระเบ้ืองขนาด หม้อหงุ ต้มไฟฟา้ 60 แอมป์ ระบบระบายอากาศ ตวั หนา้ - 30 แอมป์ ไมใ่ ช้งาน( เครอ่ื งวดั รงั ส)ี ศูนยเ์ ล็งของพลยิง หลอดแกว้ ขนาด 5 แอมป์ เครอ่ื งปดั น้ำฝนศูนยเ์ ล็งของพลยงิ ตวั หลัง - หลอดแกว้ ขนาด 10 แอมป์ เครือ่ งปดั น้ำฝนศูนย์เล็งของ ผบ.รถ หลอดแกว้ ขนาด 10 แอมป์ ไฟส่องมาตราเครอ่ื งบอกมมุ ทิศ แผงเครือ่ งวดั ของพลขบั RADIAC เคร่อื งยิงลกู ระเบิดควัน หีบควบคุมวงจรไฟฟ้า F1 ไฟส่องสว่างภายใน ภายในปอ้ มปนื F2 ป้อมปนื ไฟฉายป้อมปืน F3 หลอดแก้วขนาด 10 แอมป์ เครอ่ื งลนั่ ไก F4 หลอดแกว้ ขนาด 10 แอมป์ ศูนยเ์ ลง็ กลางคืนแบบทวีความเข้มของแสง ไฟอ่านแผนทข่ี อง F5 หลอดแกว้ ขนาด 10 แอมป์ F6 หลอดแก้วขนาด 10 แอมป์ ผบ.รถ F7 หลอดแก้วขนาด 10 แอมป์ ฟวิ ส์สำรอง F8 หลอดแกว้ ขนาด 10 แอมป์ F9 หลอดแก้วขนาด 10 แอมป์ F10 หลอดแก้วขนาด 10 แอมป์ F 11, F12, F13 หลอดแกว้ ขนาด 10 แอมป์

ห น้ า | 12 แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรยี นทหารม้า ศูนย์การทหารมา้ คา่ ยอดิศร สระบรุ ี ---------- วชิ า การซอ่ มบำรงุ รถถังเบา 21 เอกสารเพม่ิ เตมิ 1. ความมุง่ หมาย 1. เพ่ือให้นักเรียนสามารถทำการถอดองค์ประกอบต่างๆ เพ่ือเตรียมการยกเคร่ืองยนต์,เคร่ือง เปล่ียนความเร็ว และวิธีการปฏิบัติ เมื่อยกเคร่ืองยนต์, เครื่องเปลี่ยนความเร็วเข้าที่ต้ังแล้วอย่าง ถกู ตอ้ ง ตามลำดบั ขั้นตอน 2. เพื่อนักเรียนสามารถทำการถอด และใส่องค์ประกอบต่างๆ ของตัวรถในระดับการซ่อมบำรุง ประจำหน่วย ตลอดจนการตรวจสภาพและการบริการองค์ประกอบเหล่าน้ันอย่างถูกต้อง ตามลำดบั ข้นั ตอน 3. ช่วยในการจดั เตรยี มเครอ่ื งมือ,เครือ่ งใช้และส่ิงอปุ กรณต์ ่างๆ ที่จำเป็นตอ้ งในการปฏบิ ตั งิ าน 2. งานมอบ ไม่มี 3. ข้อแนะนำพิเศษ ให้นักเรียนศึกษาเอกสารเพิม่ เตมิ อยา่ งถ่องแท้ กอ่ นท่จี ะทำการถอด หรือใส่ องค์ประกอบต่าง ๆ และควรใชเ้ อกสารเพิม่ เตมิ เปน็ คู่มือในการปฏิบัติงานเสมอ 4. เอกสารอ้างอิง EMPLOYMENT VOLT3 PART5 DRIVER MECHANIC FV.CVRT. TRAINED JOBAID NOVEMBER 1980 *************

ห น้ า | 13 การถอด,การใส่แผ่นเกราะด้านบน และแผน่ ปิดหอ้ งเครอ่ื งเปลย่ี นความเร็ว การยกแผ่นเกราะด้านบน อาจใช้เครื่องมือกลทุ่นแรง เชน่ รอกประจำโรงซ่อม หรือรถกู้ แต่ถ้าไมม่ ีสิ่ง อำนวยความสะดวกดงั กล่าวให้ยกด้วยกำลงั พลประจำรถ โดยมชี ่างซ่อมบำรุงฯ กำกบั ดูแล และรบั ผิดชอบ เครือ่ งมอื และสง่ิ อปุ กรณ์ กุญแจ ขนาด 3/4 น้วิ และทอ่ นไม้ วธิ ปี ฏิบัติ การถอด 1. ปดิ สวิตช์แบตเตอรไ่ี วใ้ นตำแหน่ง \"OFF\" 2. ใส่ห้ามลอ้ จอดรถ และใช้ทอ่ นไม่หนนุ สายพานไว้ 3. ถอดฝาปิดห้องเครอ่ื งยนต์ออก จากแผ่นเกราะด้านบน 4. ถอดสายไฟมอเตอรป์ ัดน้ำฝน และท่อฉีดนำ้ ลา้ งกระจกกลอ้ งตรวจการณ์ 5. ถอดกล้องตรวจการณข์ องพลขบั 6. ถอดสลักเกลียวยดึ แผ่นเกราะดา้ นบน 7. ยกแผ่นเกราะดา้ นบนขึน้ อย่างระมัดระวงั ดว้ ยพลประจำรถ 3 นาย, ตรวจใหแ้ นใ่ จว่าเครอื่ งยดึ กลอ้ ง ตรวจการณฯ์ สูงพ้นจากตัวรถ ก่อนที่จะเบยี่ งแผ่นเกราะด้านบนใหพ้ น้ จากตวั รถ 8. ถอดสลักเกลียวยดึ และยกแผน่ ปิดหอ้ งเครอ่ื งเปลี่ยนความเรว็ ออกจากแผ่นเกราะดา้ นบน การใส่ 1. ใสแ่ ผ่นปดิ ห้องเครือ่ งยนต์เขา้ ท่เี ดมิ 2. ยกแผ่นเกราะด้านบนขน้ึ อยา่ งระมัดระวงั ด้วยพลประจำรถ 3 นาย, ตรวจใหแ้ น่ใจว่าเคร่ืองยกึ กล้องตรวจการณส์ ูงพ้นจากตวั รถ กอ่ นทีจ่ ะลดแผน่ เกราะด้านบนลง 3. ใส่สลกั เกลยี วยดึ แผน่ เกราะดา้ นบน 4. ใส่สายไฟมอเตอร์ปดั น้ำฝน และทอ่ ฉีดน้ำล้างกระจก 5. ใสฝ่ าปดิ ห้องเครื่องยนต์ สรุป 1. ต้องแน่ใจว่ามีกำลังพลเพียงพอในการยกแผ่นเกราะด้านบน และระวังอย่าให้เครื่องยึดกล้องตรวจ การณ์กระทบกระแทกกับตัวรถ 2. ให้ถอดแผ่นปิดห้องเครื่องเปลี่ยนความเรว็ ออกหลงั จากแผน่ เกราะดา้ นบน เพ่อื หลีกเล่ยี งการชำรดุ เสยี หายท่ีอาจเกดิ ข้ึนกบั หม้อนำ้ รังผ้ึง ************

ห น้ า | 14 การถอดและการใสห่ มอ้ กรองอากาศ การถอดหมอ้ กรองอากาศกระทำตามจำเป็น เชน่ ใหก้ ารบริการหรอื เมื่อเกดิ การชำรดุ เสียหาย เป็นต้น เครื่องมือและสิง่ อปุ กรณ์ กุญแจแหวน,ปากตาย ขนาด 3/4 นว้ิ , กญุ แจกระบอก ขนาด 9/16 นว้ิ ด้ามกญุ แจกระบอกขันได้ 2 ทาง, กุญแจกระบอก ขนาด 3/4 นว้ิ ด้ามกุญแจกระบอกขนาด 8 นว้ิ , กุญแจกระบอก ขนาด 1/2 นว้ิ ไขควงปากแบนขนาด 5 นว้ิ , วิธปี ฏบิ ตั ิ การถอด 1. ถอดแผน่ เกราะดา้ นบน 2. คลายปลอกรดั ทอ่ ยาง และถอดทอ่ ยางออกจากท่ออากาศของคาร์บเู รเตอร์และหมอ้ กรองอากาศ 3. ถอดท่อเครือ่ งดักเปลวเพลิงออกจากเรือนหมอ้ กรองอากาศ 4. ถอดสลกั เกลียวยดึ เรอื นหมอ้ กรองอากาศ เขา้ กับโครงรถออกทั้ง 2 ตวั และยกเรอื นหมอ้ กรอง อากาศออกอยา่ งระมดั ระวัง อยา่ ให้น้ำมันเคร่ืองในหม้อกรองอากาศหก การใส่ 1. ใสห่ ม้อกรองอากาศกลับเขา้ ทเ่ี ดมิ และยดึ ตดิ ไว้กบั โครงรถดว้ ยสลักเกลยี ว 2 ตัว 2. ใสท่ ่อเครอ่ื งดกั เปลวเพลงิ เขา้ กบั เรือนหมอ้ กรองอากาศตามเดมิ 3. ใส่ท่อยางของทอ่ อากาศเขา้ คาร์บูเรเตอร์และขนั ปลอกรัดให้แน่น 4. ใส่แผ่นเกราะด้านบน สรปุ 1.ต้องแน่ใจวา่ ทอ่ ต่างๆของหมอ้ กรองอากาศขนั แน่นและไม่มอี ากาศไหลเข้าสู่คาร์บูเรเตอร์ โดย ไมผ่ า่ นหม้อกรองอากาศ 2. ใหร้ ายงานและเปล่ียนองค์ประกอบท่ีชำรดุ หรือบกพรอ่ ง 3. ถ้าถอดหม้อกรองอากาศออกท้ังเรือน โดยไม่ถอดแยกออกเปน็ ส่วนๆ ให้ตรวจว่ามีการไหลหกของน้ำมัน หม้อกรองอากาศหรอื ไม่ก่อนทจ่ี ะติดเครอ่ื งยนต์ ************

ห น้ า | 15 การถอดและการใสก่ ้านโยงคนั เรง่ เคร่อื งยนต์ เคร่ืองมอื และสงิ่ อปุ กรณ์ กญุ แจแหวน,ปากตาย ขนาด 1/4 นว้ิ , กุญแจกระบอก ขนาด 3/4 นว้ิ ดา้ มกุญแจกระบอกชนิดขันคลายได้ 2 ทาง พรอ้ มกา้ นตอ่ วธิ ีปฏิบัติ การถอด 1. ถอดแผ่นเกราะด้านบน 2. ปลดแหนบดงึ ก้านโยงคันเรง่ ฯ 3. พบั แผ่นยดึ หวั กา้ นโยงคนั เรง่ ไปข้างหลงั และปลดกา้ นโยงคันเรง่ ฯ ออก 4. ถอดกา้ นโยงฯ ออกจากแป้นคันเร่ง และดึงกา้ นโยงออจากผนังหอ้ งเคร่ืองยนต์ การใส่ 1. ใสก่ ้านโยงฯ เขา้ กบั ผนังหอ้ งเคร่ืองยนต์ และตอ่ ปลายก้านโยงฯ เข้ากบั แป้นคนั เร่ง 2. ตอ่ หวั กา้ นโยงคนั เรง่ ฯ เข้ากบั กานล้ินเร่ง และพับแผ่นยึดหวั กา้ นโยงไปข้างหน้า 3. ใสแ่ หนบดงึ กา้ นโยงคันเรง่ ฯ 4. ใส่แผน่ เกราะดา้ นบน สรปุ 1. รายงานและแก้ไขหรือเปลย่ี นชิ้นส่วนที่พบว่าชำรุดหรอื บกพร่อง 2. การถอดหรอื ใส่ก้านโยงคนั เร่งฯ โดยไมร่ ะมดั ระวัง หรือไมถ่ กู ต้องอาจทำให้เกดิ อันตรายหรอื ชำรดุ เสยี หายได้ ************

ห น้ า | 16 การถอดและการใสเ่ ครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ เครอ่ื งมอื และสิ่งอปุ กรณ์ กญุ แจแหวน,ปากตาย ขนาด 1/2 นว้ิ , ไขควงปากแบนขนาด 5 นว้ิ กญุ แจแหวน,ปากตาย ขนาด 3/4 นว้ิ , ด้ามกญุ แจกระบอกชนดิ ขันได้ 2 ทาง กุญแจแหวน,ปากตาย ขนาด 15/16 นว้ิ , ก้านตอ่ กญุ แจกระบอกยาว 8 นว้ิ กญุ แจกระบอก ขนาด 3/4 นว้ิ วิธปี ฏบิ ัติ การถอด 1. ถอดแผ่นเกราะดา้ นบน 2. ตรวจให้แน่ใจว่าปดิ สวิตชแ์ บตเตอรไ่ี วใ้ นตำแหน่ง \"OFF\" 3. คลายลูกกล้งิ กดสายพานเคร่ืองกำเนิดไฟฟ้า และถอดสายพานเครื่องกำเนิดไฟฟ้าออก 4. ถอดสายไฟของเครอื่ งกำเนดิ ไฟฟา้ โดยการคลายปลอกเกลียวรัดท่อนำสายไฟออก 5. ถอดสลักเกลียวยดึ ฐานเครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้าด้านนอกออกทง้ั 2 ตัว 6. ถอดสลักเกลยี วยึดฐานเคร่อื งกำเนิดไฟฟ้าด้านในออกทั้ง 2 ตวั โดยใชก้ ญุ แจหกเหลย่ี ม (ที่ทำจากสลกั สายพาน โดยตัดส่วนปลายทเี่ ป็นเกลยี วออก) 7. ถอดหม้อกรองอากาศ 8. เล่อื นเครอ่ื งกำเนดิ ไฟฟ้าไปขา้ งหลังจนรอกขบั เครื่องกำเนดิ ไฟฟ้าฯ พน้ จากผนงั หอ้ งเครอ่ื ง เปลีย่ นความเรว็ แล้วยกเคร่อื งกำเนิดไฟฟ้าออก การใส่ 1. ใสเ่ คร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ เขา้ ที่เดมิ และเลือ่ นเครื่องกำเนิดฯ ไปขา้ งหน้าจนรอกสายพานโผลพ่ น้ จากผนงั หอ้ งเครอ่ื งเปลยี่ นความเร็ว 2. ใส่สลักเกลียวยึดฐานเคร่ืองกำเนิดฯ ด้านในทั้ง 2 ตัว โดยใช้กุญแจหกเหล่ียม,และใส่สลักเกลียวยึดฐาน ด้านนอก 2 ตัว 3. ใสห่ มอ้ กรองอากาศ 4. ใส่สายไฟของเครอื่ งกำเนิดฯ 5. ใสส่ ายพานเครอ่ื งกำเนิดฯ และปรับความตึงของสายพาน 6. ใส่แผ่นเกราะด้านบน สรปุ 1. ต้องแน่ใจวา่ ปดิ สวิตช์แบตเตอรไ่ี ว้ในตำแหน่ง \"OFF\" 2. ให้รายงานและแกไ้ ขหรือเปลี่ยนช้ินสว่ นท่ีพบว่าชำรดุ หรือบกพร่อง ************

ห น้ า | 17 การถอดและการใส่คอยล์จุดระเบดิ เครอ่ื งมือและส่ิงอปุ กรณ์ กุญแจแหวน,ปากตาย ขนาด 1/2 นว้ิ , กญุ แจกระบอก ขนาด 3/4 นว้ิ กุญแจแหวน,ปากตาย ขนาด 4/16 นว้ิ , ดา้ มกุญแจกระบอก ขันได้ 2 ทาง กุญแจแหวน,ปากตาย ขนาด 5/16 นว้ิ , กา้ นตอ่ กญุ แจกระบอก ขนาด 6 นวิ้ กญุ แจแหวน,ปากตาย ขนาด 13/16 นว้ิ วิธีปฏิบัติ การถอด 1. ถอดแผ่นเกราะด้านบน 2. ถอดแปน้ เกลยี วยดึ ท่อระบายอากาศของจานจ่ายไฟ 3. ถอดสลกั เลยี ว และแปน้ เกลียวยดึ ท่อเครื่องดบั เพลิงประจำท่ี 4. ถอดสลักเกลยี วยดึ ฐานติดต้งั คอยล์เขา้ กับเหล็กยึดบนท่อรว่ มไอดีออกทงั้ 2 ตัว 5. พลิกคอยล์ข้ึน 90 องศา ให้ฝาครอบคอยล์อยู่ทางด้านบน ระวังอย่าให้ท่อนำสายไฟบิดตัวมากเกิน ควร 6. ถอดฝาครอบคอยล์, ถอดสายไฟ และท่อนำสายไฟออกจากคอยล์ โดยให้ทำเคร่ืองหมายไว้ท่ีสายไฟ แรงต่ำทั้ง 2 สายเพื่อให้สามารถใส่กลับเข้าข้ัวเดิมของคอยล์ได้อย่างถูกต้องในกรณีท่ีไม่ มีแถบเคร่ืองหมายอยู่ท่ี สายไฟแรงต่ำทั้งสองสาย 7. ถอดสลักเกลียวยึดแผ่นบังคับหัวคอยล์ 4 ตัว และสลึกเกลียวยึดแผ่นบังคับท้ายคอยล์ 2 ตัว และถอด แยกคอยลอ์ อกจากเรอื นคอยล์ การใส่ 1. ประกอบคอยล์เข้ากบั เรือนคอยล์ 2. ใส่สายไฟแรงตำ่ 2 สาย,สายไฟแรงสงู และท่อนำสายไฟแลว้ ใส่ฝาปิดคอยล์ 3. พลกิ คอยลล์ ง 90 องศา ให้ฝาปิดคอยล์หันลงทางด้านลา่ ง, ระวงั อยา่ ให้ท่อนำสายไฟบดิ ตวั มาก เกนิ ควร 4. ใส่สลักเกลียวยึดฐานตดิ ต้งั คอยล์เขา้ กับเหลก็ ยดึ บนทอ่ รว่ มไอดที ัง้ 2 ตวั 5. ใส่แผ่นยดึ ท่อเครอื่ งดบั เพลงิ ประจำท่ี 6. ใส่แผน่ ยึดทอ่ ระบายอากาศของจานจา่ ยไฟ 7. ตรวจความถูกตอ้ งเรยี บร้อยในการใสอ่ งคป์ ระกอบต่างๆ เขา้ ท่เี ดิม และใสแ่ ผ่นเกราะดา้ นบน สรปุ 1. อยา่ ใหท้ อ่ นำสายไฟตา่ ง ๆ บดิ ตวั มาเกินควร 2. ทำเคร่ืองหมายไว้ที่ขั้วสายไฟต่าง ๆ เพื่อช่วยให้สายไฟกลับเข้าที่เดิมได้ถูกต้อง ในกรณีที่ไม่มีแถบ เครือ่ งหมายที่สายไฟ 3. ให้รายงาน และเปลยี่ นองค์ประกอบทช่ี ำรุดหรอื บกพร่อง

ห น้ า | 18 การถอดและการใส่หวั เทยี น เคร่ืองมอื และส่งิ อุปกรณ์ ผ้าสะอาด กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 13/16 นว้ิ กุญแจกระบอกยาวสำหรบั ขันหัวเทียน ขนาด 13/16 นว้ิ ดา้ มกุญแจกระบอกขันได้ 2 ทาง และกา้ นต่อกญุ แจกระบอก วธิ ีปฏบิ ัติ การถอด ขอ้ ควรระวัง ชอ่ งใส่หวั เทียนไดท้ ำเกลียวไวโ้ ดยตรงกบั ฝาสูบอะลูมิเนียม ดังนัน้ การถอดและการ ใส่หัวเทยี นจะตอ้ งใชค้ วามระมัดระวงั อย่างมาก เพอ่ื ไมใ่ หเ้ กลียวชำรดุ 1. เปดิ ฝาปดิ ห้องเครือ่ งยนต์ 2. ถอดสายไฟหัวเทยี น 3. ทำความสะอาดจนแน่ใจว่าไมม่ ีสิ่งสกปรกอยู่รอบ ๆ หัวเทียน 4. คลายหวั เทียน และถอดหัวเทยี นออกอยา่ งระมดั ระวงั การใส่ ขอ้ ควรระวงั อยา่ ใหร้ ะยะห่างของเขีย้ วคลาดเคลอ่ื นไปจากที่ไดต้ ้ังไว้ 1. ใสห่ ัวเทียนพรอ้ มดว้ ยแหวนรองทีใ่ ชง้ านได้ เข้ากบั ช่องใส่หัวเทยี นอยา่ งระมัดระวงั แล้วขนั หัวเทยี นด้วย มือใหแ้ น่นท่ีสุดเทา่ ทจ่ี ะทำได้ และอยา่ ให้เกิดการปนี เกลยี ว 2. ขนั หวั เทียนด้วยกญุ แจกระบอกให้แนน่ พอควรทจ่ี ะไม่ให้แกส๊ รั่วได้ 3. ใส่สายไฟหวั เทียนใหถ้ ูกต้องตามลำดับการจุดระเบดิ 4. ตดิ เครื่องยนต์ และตรวจว่าเครื่องยนตเ์ ดินได้เรียบร้อยหรือไม่ 5. ปิดฝาปิดห้องเครือ่ งยนต์ สรปุ 1. ต้องแนใ่ จว่าไม่มีสงิ่ แปลกปลอมตกคา้ งอยรู่ อบ ๆ หัวเทียนทีถ่ กู ถอดออก 2. แหวนรองหัวเทียนต้องอยใู่ นสภาพใชง้ านได้ 3. ขันหัวเทยี นด้วยมอื ก่อนใหแ้ นน่ ที่สดุ เทา่ ท่ีจะทำได้ 4. อย่าใช้กุญแจขนั หวั เทียนจนแนน่ เกินควร 5. ให้รายงานและเปลี่ยนองค์ประกอบทชี่ ำรดุ หรือบกพร่อง

ห น้ า | 19 การถอดและการเปล่ียนแผน่ ผา้ หา้ มล้อหลกั เครอ่ื งมอื และสิง่ อุปกรณ์ กุญแจปากตาย ขนาด 73/16 นว้ิ , ไขควงปากแบน, น้ำมนั หา้ มล้อ OM 13 กุญแจแหวน-ปากตาย 9/16 นว้ิ , ผ้าทำความสะอาด วธิ ีปฏิบตั ิ แผน่ ผา้ หา้ มลอ้ หลักควรไดร้ บั การเปลี่ยนเม่ือ - สกึ หรอจนเหลอื ความหนาทง้ั หมด 9 มม. (3/8 นว้ิ ) หรอื นอ้ ยกวา่ - มรี ่องรอยทีแ่ สดงว่าผา้ ห้ามลอ้ ชำรดุ เสียหายหรือแตกรา้ ว - เปรอะเปือ้ นส่งิ สกปรกจนชำระออกไมไ่ ด้ การถอด ใหถ้ อดแผ่นผา้ หา้ มลอ้ หลกั ออกจากลูกป๊มั ห้ามลอ้ ทีละอัน โดยปฏบิ ตั ิ ดงั น้ี 1. เปิดฝาปดิ ห้องเครอ่ื งเปลีย่ นความเร็ว 2. ยกหมอ้ น้ำรังผ้ึงตั้งขึน้ 3. ถอดแผน่ บงั คบั แผน่ ผ้าห้ามล้อออกจากด้านหนา้ ของลูกป๊ัมหา้ มลอ้ หลัก (ยดึ ไวด้ ้วยสลกั เกลยี ว 2 ตวั ) 4. ดึงแผ่นห้ามล้อออก,ทำความสะอาด และทำเคร่ืองหมายไว้ท่ีผ่าน ผ้าห้ามล้อเพื่อเป็นที่สังเกตในกรณีท่ี ตอ้ งใสผ่ ้าห้ามลอ้ กลบั เขา้ ทีเ่ ดิม การใส่ 1. ใช้ดา้ นบนของไขความกดลูกสูบบังคับผ้าห้ามล้อให้ยุบตัวกลบั เข้าไปในลูกปั๊ม ระวังอย่าใชส้ ่ิงท่ีแหลมคม กดลกู สูบ เพราะอาจทำใหช้ ำรดุ เสียหายได้ 2. ใสแ่ ผน่ ผ้าหา้ มล้อเข้ากบั ลกู ปมั๊ โดยหันดา้ นผา้ ห้ามล้อเข้าหาจานห้ามลอ้ 3. ใสแ่ ผ่นบงั คับแผ่นผา้ ห้ามล้อ และยึดไวด้ ว้ ยสลักเกลยี ว 2 ตัว 4. ตรวจสอบดูว่าแผ่นผา้ หา้ มลอ้ เคลือ่ นตัวได้ สะดวกในการติดตั้งหรือไม่ 5. เหยียบแป้นห้ามลอ้ เพื่อใหล้ ูกสบู บงั คับผา้ หา้ มลอ้ ทั้งสองขา้ งกลบั เขา้ ท่เี ดิม 6. ตรวจระดับน้ำมนั ในขวดน้ำมันหา้ มลอ้ หลัก และเตมิ ถ้าจำเปน็ 7. ปฏิบัติตามลำดับข้อที่ 1-4 ของการถอด และหัวข้อท่ี 1-5 สำหรับการใส่แผ่นผ้าห้ามล้อหลักของลูกป๊ัม หา้ มล้อดา้ นทีเ่ หลอื 8. วางหม้อน้ำให้นอนลาดลงตามเดมิ 9. ปดิ แผน่ ปดิ ห้องเครื่องเปลีย่ นความเรว็ 10.ขับเคลื่อนรถ และทดสอบการทำงานของหา้ มล้อหลัก สรุป 1. อย่าใช้วัตถุท่ีแหลมคมกดลูกสูบบังคับผ้าห้ามล้อ เพราะอาจทำให้ลูกสูบเป็นรอยขีดข่วนหรือชำรุด เสยี หาย 2. ทำเครอื่ งหมายไว้บนแผน่ ผ้าหา้ มล้อท่ถี อดออก ถา้ ต้องเปล่ยี นแผ่นผ้าห้ามลอ้ ข้างเดียวกันนั้น 3. ใหร้ ายงานและเปลย่ี นองค์ประกอบทบี่ กพรอ่ งหรือชำรุดเสียหาย

ห น้ า | 20 การถอดและการใส่แผน่ ผา้ หา้ มล้อบงั คบั เลย้ี ว เครือ่ งมือและส่ิงอุปกรณ์ กญุ แจแหวน-ปากตาย ขนาด 9/16 นว้ิ , ผ้าทำความสะอาด คีม และไขควงปากแบน, นำ้ มันหา้ มล้อ OM 13 วิธปี ฏิบตั ิ การถอด แผ่นผ้าห้ามล้อบังคับเลี้ยวควรได้รับการเปลี่ยน เม่ือสึกหรือจนเหลือความหนาทั้งหมด 8 มม. หรือ3/8 นิ้ว (สว่ นที่เป็นผ้าห้ามล้อ 3 มม.หรอื 1/8 น้ิว และส่วนทีเ่ ปน็ แผน่ เหล็ก 6 มม.หรือ 1/4 นว้ิ ) 1. เปิดแผ่นปิดห้องเครอ่ื งเปล่ยี นความเรว็ และยกหม้อนำ้ รังผง้ึ ใหอ้ ยใู่ นตำแหน่งตั้งข้นึ 2. ถอดสลักกันหลดุ ออกจากสลกั แผ่นผ้าหา้ มล้อ 3. ถอดสลกั แผน่ ผ้าห้ามล้อทงั้ สองอัน 4. ดงึ แผ่นผ้าห้ามล้อออกจากลูกป๊ัมห้ามล้อ,ถ้าถอดแผ่นผ้าห้ามล้อออกมากกว่าหน่ึงอันให้ทำความสะอาด และทำเคร่ืองหมายไวเ้ ปน็ ท่ีสงั เกต เพอื่ ความสะดวกในการใส่กลับเขา้ ท่ีเดิม การใส่ 1. ถ้าใส่แผ่นผา้ ห้ามลอ้ ใหม่ ให้ดนั ลกู สูบบังคบั ผ้าหา้ มล้อจนยุบตวั กลบั เขา้ ไปลูกปม๊ั อยา่ ใชส้ ง่ิ ของทแี่ หลม คมเพราะอาจทำใหล้ กู สบู ชำรดุ เสยี หายได้ และควรใช้ด้านแบนของไขควง 2. ใส่แผ่นผ้าห้ามล้อเข้ากับลูกปั๊มห้ามล้อ แผ่นผ้าห้ามล้อท่ีชำรุดหรือเปรอะเป้ือนน้ำมัน/ไขข้น ควร เปล่ียนใหม่ 3. ใส่สลกั แผ่นผา้ หา้ มล้อและสลกั กนั หลดุ 4. ตรวจวา่ แผน่ ผา้ ห้ามลอ้ สามารถเคลื่อนตัวได้สะดวก ภายในลกู ปมั๊ หรือไม่ 5. ดึงคันบงั คบั เลี้ยวทั้งสองขา้ งเพือ่ ให้ลูกสบู ในลกู ปม๊ั หา้ มล้อกลับเขา้ ที่เดิม 6. ตรวจระดับนำ้ มันหา้ มล้อและเติม ตามความจำเป็น 7. วางหมอ้ นำ้ รังผงึ้ ให้นอนราบลงและปดิ แผ่นปิดห้องเครือ่ งเปลีย่ นความเร็ว 8. ขับเคลื่อนรถ และทดสอบการทำงานของหา้ มล้อบังคับเลย้ี ว สรุป 1. ทำเครือ่ งหมายไว้ท่ีแผ่นผ้าห้ามล้อ ถา้ ต้องเปลยี่ นแผ่นผ้าหา้ มลอ้ ขา้ งนน้ั 2. อยา่ ใชเ้ ครอ่ื งมือทแ่ี หลมคม ดันลูกสบู ของลกู 3. อยา่ ใสแ่ ผ่นผา้ ห้ามลอ้ ทชี่ ำรุด หรอื เปรอะเปือ้ นนำ้ มนั /ไขขน้ กลบั เข้าไปอกี 4. ถา้ เป็นไปไดใ้ ห้เปลีย่ นสลักกันหลดุ ของสลักแผ่นผา้ ห้ามลอ้ ทุกคร้ัง 5. ให้รายงาน และเปลี่ยนองค์ประกอบทีบ่ กพร่องหรือชำรุดเสียหาย ********************

ห น้ า | 21 การถอดและการใสล่ กู ป๊ัมหา้ มลอ้ บงั คบั เลย้ี ว เคร่อื งมอื และสิง่ อปุ กรณ์ กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 9/16 นว้ิ , คีม กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 3/4 นว้ิ , ผ้าทำความสะอาด กญุ แจหกเหลี่ยม ขนาด 3/8 นว้ิ , กุญแจหกเหลี่ยมยาวสำหรับถอดสลกั เกลียวยดึ เรือลกู ป๊ัมหา้ มลอ้ ตัวหลัง วธิ ีปฏิบตั ิ การถอด 1. ถอดแผน่ ปดิ หอ้ งเคร่ืองเปลยี่ นความเร็ว 2. ยกหมอ้ นำ้ รังผ้งึ ตัง้ ข้ึน 3. ถอดแผ่นห้ามล้อบงั คบั เลีย้ ว 4. ถอดท่อน้ำมันห้ามลอ้ ทล่ี ูกป๊ัมห้ามล้อ และอดุ ปลายท่อนำ้ มนั ฯ ดา้ นทถ่ี อดออก 5. ถอดเหล็กประกบั ฐานเครอ่ื งเปลย่ี นความเรว็ ด้านที่ตดิ ตง้ั กบั ลกู ปัม๊ ห้ามล้อฯ 6. ถอดสลักเกลียวยึดเรือนสบู ปม๊ั ห้ามลอ้ ดา้ นหนา้ และด้านหลัง 2 ตวั 7. ยกเรือนลกู ปั๊มหา้ มลอ้ ออกจากตัวรถ 8. ถ้าถอดเรือนลูกปั๊มห้ามล้อออกมากว่าข้างหน่ึง ให้ทำเคร่ืองหมายไว้ที่ลูกป๊ัม เพื่อความสะดวกในการใส่ กลับเข้าท่เี ดิม การใส่ 1. กดและตรวจว่าลูกสบู ของลูกปม๊ั หา้ มลอ้ ยบุ ตวั เขา้ ไปดา้ นในจนสดุ ทกุ อนั 2. ใส่เรือนลูกป้ัมห้ามล้อเข้ากับเครื่องเปลี่ยนความเร็วให้ถูกต้อง และขันสลักเกลียวยึดเรือนลูกปั๊มห้ามล้อ ให้แน่นทง้ั 2 ตวั 3. ใส่เหล็กประกบั ฐานเคร่อื งเปลี่ยนความเร็ว 4. ถอดจุดอุดท่อนำ้ มนั ห้ามล้อและใส่ทอ่ น้ำมนั หา้ มล้อเขา้ ทเ่ี ดิม 5. ใสแ่ ผน่ ผา้ ห้ามล้อบังคับเลยี้ ว 6. ไล่ฟองอากาศออกจากระบบหา้ มล้อ และใสท่ ่อน้ำมันหา้ มลอ้ เข้าที่เดิม 7. ตรวจระดบั และเตมิ นำ้ มนั ตามความจำเปน็ 8. วางหม้อน้ำรงั ผงึ้ ใหน้ อนราบลง 9. ใสฝ่ าปิดห้องเครื่องเปล่ยี นความเรว็ 10.ขบั เคลื่อนรถเพือ่ ตรวจการทำงานของระบบบังคบั เลี้ยว สรุป 1. หา้ มพลประจำรถถอดแยกลกู ป๊ัมห้ามล้อบังคบั เลยี้ ว 2. การไลฟ่ องอากาศออกจากระบบบงั คับเลยี้ วเป็นหนา้ ท่ี และความรับผิดชอบของชา่ งซอ่ ม บำรงุ ประจำหนว่ ย 3. ใหร้ ายงาน และเปล่ียนองค์ประกอบทบ่ี กพร่องหรอื ชำรุดเสียหาย

ห น้ า | 22 การไลฟ่ องอากาศออกจากระบบหา้ มลอ้ หลกั เคร่ืองมือและสิง่ อุปกรณ์ กญุ แจแหวน-ปากตาย ขนาด 7/16 นว้ิ , สายยางขนาดเล็ก กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 9/16นว้ิ , ภาชนะรองรับทสี่ ะอาด นำ้ มนั OM 13, ผ้าทำความสะอาด วธิ ปี ฏิบตั ิ 1. จอดรถไว้บนพน้ื ที่แข็งและราบเรียบ 2. เปิดฝาปดิ หอ้ งเครื่องเปลยี่ นความเร็ว และยกหม้อน้ำต้ังข้นึ 3. ตรวจระดับน้ำมันในขวดน้ำมันห้ามล้อ และเติมตามความจำเป็น, ต้องแน่ใจว่ามีน้ำมันห้ามล้อสำรองไว้ อย่างเพียงพอ เพ่ือเตมิ ในขณะท่ไี ล่ฟองอากาศ 4. ตรวจการรวั่ ไหลทัว่ ๆ ไปในระบบห้ามลอ้ 5. ตรวจระยะวา่ ง 1/2 นว้ิ ของแป้นห้ามล้อ 6. ใสป่ ลายสายยางเข้ากับหัวไล่ฟองอากาศท่ีลูกปมั๊ ห้ามล้อหลักด้านขวา, ใส่ปลายสายยางอีกข้างหนึ่งไว้ใน ภาชนะรองรับท่เี ติมด้วยน้ำมันหา้ มล้อทีส่ ะอาดตอ้ งแน่ใจว่าปลายสายยางจมุ่ อย่ใู นน้ำมันตลอดเวลาที่ไล่ฟองอากาศ 7. คลายหวั ไล่ฟองอากาศประมาณคร่ึงรอบ และส่ังใหผ้ ู้ช่วย ปม๊ั แปน้ หา้ มล้อชา้ ๆ และสมำ่ เสมอ 8. เม่ือสังเกตเห็นว่าน้ำมันที่ไหลออกจากหัวไล่ลมไม่มีฟองอากาศแล้ว,ให้เหยียบแป้นห้ามล้อไว้และขันหัว ไล่ฟองอากาศใหแ้ น่น 9. เตมิ นำ้ มันห้ามล้อจนไดร้ ะดบั ทก่ี ำหนด และไมค่ วรใชน้ ้ำมนั ห้ามล้อที่ไล่ออกมาจากระบบหา้ มล้อ 10.เทนำ้ มนั ออกจากภาชนะรองรับให้เหลือพอท่วมปลายสายยาง และทำการไล่ฟองอากาศออกจากลูกปม๊ั ห้ามล้อด้านซ้าย โดยปฏิบัตเิ ชน่ เดยี วกับการไล่ฟองอากาศจากลูกปม๊ั ด้านขวา 11.ตรวจใหแ้ น่ใจวา่ รรู ะบายอากาศทีฝ่ าปิดขวดนำ้ มนั หา้ มลอ้ ไม่อดุ ตัน 12.วางหมอ้ นำ้ ฯ ให้นอนราบลง และปดิ ฝาหอ้ งเครอื่ งเปลีย่ นความเรว็ 13.ทดสอบการทำงานของระบบห้ามล้อหลกั สรปุ 1. ไม่ควรนำน้ำมันที่ไหลออกจากระบบห้ามล้อเติมลงในขวดน้ำมันห้ามล้อ เว้นแต่จะปล่อยทิ้งไว้ให้ ตกตะกอนแลว้ 24 ชม. 2. เติมน้ำมันลงในขวดน้ำมันห้ามลอ้ ใหม้ รี ะดบั สงู พอควรเสมอ ในขณะไลฟ่ องอากาศ 3. ขนั แน่นหัวไล่ฟองอากาศในขณะทีน่ ำ้ มันกำลังไหลออกจากลกู ปั๊ม 4. ใช้ภาชนะรองรบั ทสี่ ะอาด 5. หลังจากไล่ฟองอากาศออกจนหมดแล้ว แต่ห้ามล้อยังไม่ทำงานโดยการสนองตอบโดยทันทีเม่ือ เหยียบแป้นหา้ มล้อ จงอยา่ ขับเคลือ่ นรถและแจง้ ใหช้ า่ งซ่อมบำรุงประจำหน่วยทราบ เพ่ือทำการแก้ไขต่อไป 6. โดยปกติแล้วการไล่ฟองอากาศออกจากระบบห้ามล้อ เป็นหน้าที่ของช่างซ่อมบำรุงประจำหน่วยและ พลประจำรถจะไดร้ ับการฝึกในกรณที ่จี ำเปน็ เพ่อื ใหน้ ำรถกลบั หนว่ ยได้ 7. ใหร้ ายงาน และเปลย่ี นองค์ประกอบทบ่ี กพรอ่ งหรอื ชำรุดเสียหาย

ห น้ า | 23 การไลฟ่ องอากาศออกจากระบบหา้ มล้อบงั คบั เลี้ยว เครื่องมอื และส่ิงอปุ กรณ์ กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 7/16 นว้ิ , สายยางขนาดเลก็ กญุ แจแหวน-ปากตาย ขนาด 9/16 นว้ิ , ภาชนะรองรบั ท่สี ะอาด นำ้ มนั OM 13, ผ้าทำความสะอาด วธิ ปี ฏิบตั ิ 1. จอดรถไวบ้ นพนื้ ทแ่ี ข็งและราบเรยี บ,ใส่ห้ามลอ้ จอดรถไว้ 2. ตรวจระดบั น้ำมนั ในขวดน้ำมันห้ามล้อบงั คบั เลย้ี ว และเตมิ ตามความจำเปน็ 3. ตรวจระยะว่างของแมป่ ๊ัมหา้ มล้อบงั คบั เล้ียว ซง่ึ จะรสู้ ึกได้จากการขยับตัวของคันบงั คบั เลย้ี ว 4. เปิดฝาปิดห้องเคร่ืองเปลย่ี นความเร็ว และยกหม้อนำ้ รังผ้งึ ต้ังข้นึ 5. ตรวจการร่ัวไหลท่วั ไป ในระบบหา้ มล้อบังคบั เล้ียว 6. ใสป่ ลายสายยางเขา้ กบั หวั ไล่ฟองอากาศที่ลูกป๊ัมหา้ มลอ้ บังคับเลย้ี วดา้ นขวา และใส่ปลายสายยาง อกี ขา้ งหนึ่งไวใ้ นภาชนะรองรับท่เี ติมด้วยนำ้ มันห้ามล้อทีส่ ะอาด แตต่ อ้ งแนใ่ จวา่ ปลายสายลงจุ่มอยู่ใน น้ำมนั ตลอดเวลาทไ่ี ลฟ่ องอากาศ 7. ปั๊มคนั บังคบั เลี้ยวดา้ นซ้ายจนแข็งและยดึ คันบังคบั เล้ียวไว้ แล้วคลายหัวไล่ฟองอากาศออก ครึ่งรอบ 8. ปั๊มคันบังคับเล้ียวต่อไปจนน้ำมันท่ีไหลออกมาไม่มีฟองอากาศ และขันหัวไล่ฟองอากาศในขณะที่ยึด คนั บังคับเลีย้ วไว้ 9. เติมนำ้ มันหา้ มล้อจนไดร้ ะดับทก่ี ำหนด และไม่ควรใชน้ ้ำมันห้ามลอ้ ท่ไี ลอ่ อกมาจากระบบ หา้ มล้อบงั คบั เลย้ี ว 10. เทนำ้ มันออกจากภาชนะรองรบั ให้เหลอื พอทว่ มปลายสายยาง และทำการไลฟ่ องอากาศออก จากลูกป๊ัมห้ามล้อบังคับเลี้ยวด้านซ้าย โดยการป๊ัมคันบังคับเล้ียวด้านขวา และทำการไล่ฟองอากาศออกจากลูกปั๊ม ห้ามลอ้ บังคับเลยี้ วดา้ นขวา โดยการปัม๊ คันบงั คบั เลย้ี วดา้ นซ้าย 11. ตรวจให้แน่ใจวา่ รรู ะบายอากาศท่ฝี าปิดขวดนำ้ มนั หา้ มลอ้ ไมอ่ ุดตนั 12. วางหมอ้ น้ำฯ ใหน้ อนราบลง และปดิ ฝาหอ้ งเครอ่ื งเปลย่ี นความเร็ว 13. ทดสอบการทำงานของห้ามลอ้ บังคบั เลี้ยว 14. ถา้ นำ้ มนั ท่ไี หลออกจากระบบห้ามล้อบังคบั เลย้ี วสกปรกมากใหร้ ายงานช่างซ่อมบำรุง ประจำหน่วย สรุป 1. ไม่ควรนำน้ำมันที่ไล่ออกจากระบบห้ามลอ้ บังคับเล้ียวเติมลงในขวดน้ำมันห้ามล้อ เวน้ แตจ่ ะปล่อยทิ้งไว้ ใหต้ กตะกอนแล้ว 24 ชม. 2. เติมนำ้ มันลงในขวดนำ้ มนั หา้ มล้อใหม้ ีระดับสูงพอสมควร เสมอในขณะไลฟ่ องอากาศ 3. ขันแน่นหัวไล่ฟองอากาศในขณะท่ีน้ำมนั กำลังไหลออกจากลกู ปม๊ั 4. ถา้ ไล่ฟองอากาศออกไม่เสรจ็ ใหร้ ายงานช่างซ่อมบำรุงประจำหน่วย

ห น้ า | 24 5. ใช้ภาชนะรองรบั ทีส่ ะอาด 6. โดยปกตแิ ล้วการไลฟ่ องอากาศออกจากระบบหา้ มลอ้ เปน็ หน้าท่ขี องช่างซอ่ มบำรงุ ประจำหน่วย และพลประจำรถจะได้รบั การฝกึ ใหป้ ฏิบตั ิไดใ้ นกรณีจำเป็น เพ่อื ให้สามารถนำรถกลับหนว่ ยได้ 7. ในกรณที ่พี ลประจำรถทำการไล่ฟองอากาศ ใหร้ ายงานต่อชา่ งซ่อมบำรุง ทำการค้นหาข้อบกพรอ่ ง และแกไ้ ข แล้วทดสอบการทำงานของระบบห้ามล้อบงั คับเลยี้ วอีกครง้ั หนว่ ย 8. ใหร้ ายงาน และเปลย่ี นองค์ประกอบทีบ่ กพร่องหรือชำรดุ เสยี หาย การถอดและการใสแ่ มป่ ม๊ั ห้ามลอ้ บังคบั เลี้ยว เคร่ืองมือและส่ิงอุปกรณ์ กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 7/16 นว้ิ , ผ้าทำความสะอาด กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 1/2 นว้ิ , ภาชนะรองรับทส่ี ะอาด ไขควงปากแบน ขนาด 5 นว้ิ , คีม วิธปี ฏบิ ัติ การถอด 1. เล่อื นที่นั่งพลขบั ไปขา้ งหลังให้มากทสี่ ุดเท่าที่จะทำได้ 2. ถอดคนั บงั คบั เล้ียวทงั้ สองขา้ ง และแปน้ หา้ มล้อ 3. ถา่ ยนำ้ มันออกจากขวดน้ำมันห้ามล้อลงในภาชนะท่ีสะอาด โดยการถอดทอ่ น้ำมันเข้าแมป่ ั้มฯ 4. ถอดสลกั เกลยี วยึดฐานตดิ ตง้ั แม่ปัม๊ ฯ และถอดฐานตดิ ตง้ั ออกพรอ้ มดว้ ยแมป่ ั้มฯ 5. ถอดสลักยดึ ก้านสูบและสลกั เกลียวยดึ แมป่ ๊ัมเข้ากบั ฐานติดตัง้ ฯ การใส่ 1. ประกอบแมป่ ัม๊ ห้ามล้อเข้ากับฐานติดตง้ั ขันสลักเกลยี วยึดแมป่ ๊มั และใสส่ ลักยดึ กา้ นสบู 2. ใส่ฐานติดตง้ั พรอ้ มด้วยแมป่ ๊ัมเขา้ ท่ีเดมิ และขนั สลักเกลยี วยึดฐานตดิ ตัง้ ให้แนน่ 3. ใส่ทอ่ น้ำมันห้ามลอ้ กลับเขา้ แม่ปั๊มฯ 4. เตมิ น้ำมนั ลงในขวดนำ้ มันห้ามลอ้ ฯ จนไดร้ ะดบั 5. ตรวจการรว่ั ไหลของนำ้ มนั หา้ มล้อ และไลฟ่ องอากาศออกจากระบบหา้ มล้อ 6. ใสแ่ ผ่นปิดพ้ืนหอ้ งพลขับ,คนั บงั คบั เล้ยี ว และแปน้ หา้ มลอ้ 7. เลอ่ื นทนี่ ั่งพลขับเข้ามาขา้ งหน้า 8. ทดสอบการทำงานของระบบห้ามลอ้ ทถ่ี อดแม่ปั๊มฯ ออก สรุป 1. อยา่ ถอดแยกแม่ปัม๊ หา้ มลอ้ 2. ควรเตมิ ขวดน้ำมนั หา้ มลอ้ ดว้ ยนำ้ มนั ทใ่ี หม่ 3. ให้รายงานข้อบกพรอ่ งที่ตรวจพบ และเปล่ยี นองค์ประกอบทีบ่ กพรอ่ งหรือชำรดุ เสียหาย การถอดและการใส่หม้อน้ำรงั ผึ้ง เคร่อื งมอื และสิ่งอปุ กรณ์ กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 1/2 นว้ิ , ไขควงปากแบน

ห น้ า | 25 กญุ แจแหวน-ปากตาย ขนาด 3/4 นว้ิ , ภาชนะทส่ี ะอาดสำหรับรองนำ้ ระบายความร้อน กุญแจกระบอก ขนาด 3/4 นว้ิ , ผา้ ทำความสะอาด วธิ ีปฏิบัติ การถอด 1. ถอดฝาปดิ ห้องเคร่ืองเปล่ียนความเร็ว และยกหมอ้ นำ้ รังผึง้ ตั้งข้นึ 2. ถอดฝาปิดท้องรถใต้ล้นิ ถา่ ยนำ้ ระบายความร้อน 3. ถ่ายนำ้ ระบายความรอ้ นลงในภาชนะรองรบั ทส่ี ะอาด 4. ถอดท่อยางดา้ นซา้ ย และดา้ นขวาของหมอ้ น้ำรงั ผ้งึ 5. ถอดแป้นเกลยี วยดึ ฐานติดต้ังหม้อน้ำรังผง้ึ ท้ังสองดา้ น และยกหมอ้ น้ำรงั ผงึ้ ข้ึนอยา่ งระมัดระวัง หมายเหตุ ตรวจระยะหา่ งของกา้ นโยงคนั เกยี ร์ เดนิ หนา้ -ถอยหลงั เพื่อไมใ่ ห้กีดขวางการถอดแป้นเกลยี ว ยดึ ฐานหม้อน้ำรังผ้ึงตวั ล่างด้านซ้าย 6. การถ่ายน้ำออกจากหม้อน้ำรงั ผง้ึ ใหย้ กหม้อน้ำรังผึง้ ใหส้ งู ขึน้ ดา้ นหน่งึ แลว้ ปดิ ลน้ิ หวั ทอ่ น้ำทง้ั สองขา้ ง การใส่ 1. ยกหม้อนำ้ ขน้ึ ติดตั้งอยา่ งระมดั ระวัง และใสแ่ ป้นเกลียวยดึ ฐานหมอ้ นำ้ รังผง้ึ ทั้งสองด้าน 2. ใสท่ อ่ ยางดา้ นซ้ายและดา้ นขวา หลังจากตรวจสภาพทอ่ ยางทงั้ สองอนั จนแน่ใจวา่ ยังใชง้ านได้ อย่าพึง่ ขันแนน่ ท่อยางด้านซา้ ย 3. วางหมอ้ นำ้ รังผง้ึ ให้นอนราบลงและตรวจใหแ้ น่ใจวา่ มีนำ้ ไหลออกจากท่อยางด้านซา้ ย ซ่ึงแสดงว่า ลิน้ ใชก้ ารได้ แลว้ จงึ ขันแนน่ ทอ่ ยางด้านซา้ ย 4. เติมนำ้ ระบายความร้อนและน้ำยากนั สนิม แลว้ ไลฟ่ องอากาศออกจากระบบระบายความรอ้ น 5. ตรวจการรวั่ ไหลของน้ำในองคป์ ระกอบตา่ งๆ ของระบบระบายความรอ้ น 6. ตรวจการผนกึ แน่นของระบบรกั ษาแรงดันของนำ้ และความเรียบรอ้ ยท่ัวไป 7. ใสแ่ ผน่ ปิดห้องเคร่ืองเปลีย่ นความเรว็ 8. ใส่แผน่ ปดิ ทอ้ งรถใตล้ ้นิ ถ่ายนำ้ ระบายความรอ้ น สรุป 1. ถ่ายและเกบ็ นำ้ ระบายความร้อนไว้ในภาชนะทส่ี ะอาดเพ่อื นำกลบั มาใชอ้ กี 2. ให้รายงาน และเปล่ยี นองค์ประกอบท่บี กพร่องและชำรดุ ************ การเตรยี มการเพือ่ ยกเครอื่ งยนต์ออก เครอ่ื งมอื และสิ่งอปุ กรณ์ กุญแจปากตาย ขนาด 1/4 นว้ิ , ภาชนะสะอาดสำหรับรองน้ำระบายความร้อน กญุ แจปากตาย ขนาด 7/16 นว้ิ , ไขควง กุญแจปากตาย ขนาด 9/16 นว้ิ , ปะเก็นหนงั ขนาด 12\" X 12\" กญุ แจปากตาย ขนาด 1/2 นว้ิ , กุญแจปากตาย ขนาด 11/16 นว้ิ , กญุ แจปากตาย ขนาด 3/4 นว้ิ , กุญแจปากตาย ขนาด 5/16 นว้ิ , กุญแจปากตาย ขนาด 5/8 นว้ิ , กุญแจปากตาย ขนาด 1 1/4 นว้ิ ,

ห น้ า | 26 วธิ ปี ฏิบตั ิ 1. ถอดแผ่นเกราะดา้ นบน 2. ถอดแผ่นกันความร้อน และเหล็กประกบั ท่อไอเสยี 3. เปดิ ฝาปิดหม้อนำ้ ล้น และคลายจกุ เกลยี วระบายอากาศทัง้ 5 จุด 4. ถอดแผ่นปิดใตท้ ้องรถ และถา่ ยนำ้ ระบายความรอ้ นลงในภาชนะรองรบั ทสี่ ะอาด 5. ถอดที่นัง่ พลขับออกทั้งชดุ 6. ถอดคนั บงั คบั เลีย้ วทั้งสองขา้ ง 7. ถอดก้านดึงโช๊ค,ก้านโยงคันเร่ง,ห่วงยึดท่อน้ำมันเช้ือเพลิง ออกจากผนังห้องเคร่ืองยนต์,ถอดท่อน้ำมัน เชอ้ื เพลิงออกจากคารบ์ เู รเตอร์ และหอ้ งพลขับ 8. ถอดผนงั กน้ั ระหวา่ งห้องเครอื่ งยนต์ และห้องพลขบั 9. ถอดทอ่ ระบายอากาศของจานจา่ ยไฟออกจากฝาปิดหมอ้ กรองอากาศ และถอดหมอ้ กรองอากาศออกทั้ง เรอื น 10. ถอดท่อรบั อากาศเข้าของคาร์บเู รเตอร,์ ใช้วัตถุทเ่ี หมาะสมปิดคาร์บูเรเตอร์ไว้ 11. ถอดทอ่ น้ำยาดับเพลิง 12. ถอดชดุ สายไฟของเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟ้า,และถอดทอ่ นำ้ ระบายความร้อนทีผ่ นงั หอ้ งเครอ่ื งเปล่ยี น ความเร็ว ดงั น้ี - ท่อน้ำจากเครื่องยนต์ไปยังหมอ้ น้ำรงั ผง้ึ - ท่อน้ำจากหมอ้ ระบายความร้อนนำ้ มันเครอื่ งไปยังหมอ้ นำ้ รังผงึ้ 13. ถอดทอ่ นำ้ ระบายความร้อนท่ตี ำบลตา่ ง ๆ ดังนี้ - หมอ้ เก็บนำ้ ลน้ - ทอ่ น้ำเครอ่ื งทำความอบอุ่นฯ ท่ีจุดไลฟ่ องอากาศ - ท่อน้ำไหลกลับของเครือ่ งทำความอนุ่ ฯ ทปี่ ๊มั นำ้ 14. ถอดสายไฟใหญข่ องมอเตอรห์ มุนเครอื่ งยนต์ และสายดินของเครอื่ งยนต์ (สายดนิ ของเครอื่ งยนต์ใช้สลกั เกลยี วยึดติดเข้ากับโครงรถทางด้านขวา) 15. ถอดสายไฟวงจรจุดระเบดิ และวงจรหมนุ เครือ่ งยนต์ ออกจากเต้าเสียบทผ่ี นังหอ้ งเครือ่ งยนต์ ตอนหนา้ ,ถอดสายไฟของสวติ ช์นิรภยั วงจรหมุนเครอื่ งยนตอ์ อกจากเครอื่ งเปล่ยี นความเรว็ ,ถอดปลอก ยางและหว่ งยดึ ออกจากสายไฟ แล้วถอดสายไฟผ่านชอ่ งที่ผนังหอ้ งเครอ่ื งเปลี่ยนความเรว็ กลบั เข้ามา ไวใ้ นห้องเครอื่ งยนต์ 16.ถอดทอ่ นำ้ เครือ่ งเปล่ียนความเรว็ สองทอ่ ออกจากขอ้ ตอ่ ที่ผนงั หอ้ งเครื่องเปล่ยี นความเร็ว และ อดุ ท่อนำ้ มนั ทอ่ ถอดออกไว้ และใชเ้ ชือกผกู ทอ่ นำ้ มันไวก้ ับเครอ่ื งยนต์เพอ่ื ไมใ่ ห้น้ำมนั เครื่องหกออก จากทอ่ 17. ถอดสลักเกลยี วยึดเพลาขับคลัตชอ์ อกจากล้อตนุ กำลังทั้ง 4 ตวั (ขนาด 5/8 นว้ิ ) 18. ถอดสลกั เกลียวยดึ ฐานติดตงั้ เคร่อื งยนต์ออกทง้ั 4 ตัว (ขนาด 3/4 นว้ิ ) 19. ยกเครอ่ื งยนต์ออกดว้ ยรอกปัน้ จน่ั ของรถกู้ หรอื รอกยกของประจำโรงซอ่ ม

ห น้ า | 27 สรปุ 1. ให้เชด็ น้ำมนั เช้อื เพลงิ ทห่ี กใหแ้ หง้ โดยเร็ว 2. ใชเ้ ชอื กผกู สายไฟต่างๆ ของเคร่อื งยนต์และทอ่ ยางที่ถอดออกไว้กับเคร่อื งยนต์ให้เรยี บร้อย เพอ่ื ไม่ให้กีดขวางการยกเครื่องยนต์ออก 3. ใหร้ ายงาน และเปลีย่ นองคป์ ระกอบท่ชี ำรุดหรอื บกพร่อง ************ การยกเครอ่ื งยนตเ์ ขา้ ติดตั้ง และการใสอ่ งค์ประกอบต่าง ๆ กลบั เข้าท่เี ดิม เมื่อยกเคร่อื งยนต์เขา้ ตดิ ตงั้ แลว้ ใหป้ ฏิบัตดิ งั ตอ่ ไปนี้ 1. ใส่สลักเกลยี วยึดฐานติดต้งั เครื่องยนต์ทัง้ 4 ตัว 2. ใสเ่ พลาขับคลัตช์ และยึดไวด้ ้วยสลกั เกลยี ว 4 ตวั และขันแน่นดว้ ยแรงบดิ 55 ฟุต/ปอนด์ 3. ถอดสิ่งของที่ใช้อุดท่อน้ำมันเครื่องเปลี่ยนความเร็วออก และใส่ท่อน้ำมันเข้ากับข้อต่อที่ผนังกั้นห้อง เครอ่ื งเปล่ยี นความเรว็ 4. ใส่สายไฟวงจรจุดระเบิดและวงจรหมุนเคร่ืองยนต์เข้ากับเต้าเสียบที่ผนังห้องเครื่องยนต์ตอนหน้าใส่ สายไฟของสวิตช์นิรภยั วงจรหมุนเคร่ืองยนตเ์ ข้ากับเครอื่ งเปล่ียนความเรว็ 5. ใส่สายไฟใหญ่ของมอเตอร์หมุนเครื่องยนต์ และสายดินของเคร่ืองยนต์ (สายดินของเคร่ืองยนต์ใช้สลัก เกลียวยดึ ติดกบั โครงรถทางด้านขวา) 6. ใส่ทอ่ น้ำมนั เชอ้ื เพลิงเขา้ กบั คารบ์ ูเรเตอร์ 7. ตอ่ ท่อน้ำระบายความรอ้ นในที่ตา่ ง ๆ ดังนี้ - ท่อน้ำไหลเข้าเคร่ืองทำความอบอุ่นฯ ท่ีท่อร่วมไอดี และท่อน้ำไหลกลับเข้าปั๊มน้ำท่ีหัวต่อบน ผนงั หอ้ งเครื่องยนต์ด้านหลงั - ท่อน้ำของหม้อเก็บนำ้ ลน้ - ท่อน้ำจากเคร่ืองยนตเ์ ข้าหม้อน้ำรังผ้ึง และท่อน้ำจากท่อระบายความร้อนน้ำมันเครื่องเข้าหม้อ น้ำรังผงึ้ ทผี่ นงั กัน้ ห้องเคร่อื งเปลย่ี นความเรว็ 8. ใส่เหลก็ ยึด และท่อสง่ น้ำยาดบั เพลงิ 9. ใส่หม้อกรองอากาศของเคร่อื งยนต์ และทอ่ ระบายอากาศของจานจ่ายไฟ 10.ปดิ ล้นิ ถ่ายน้ำระบายความรอ้ น,เตมิ นำ้ ระบายความรอ้ น,ไลฟ่ องอากาศออกจากระบบระบายความ ร้อน,ตรวจการรว่ั ไหลท่ัวไป 11. ใสผ่ นงั ก้นั ระหวา่ งหอ้ งเครื่องยนต์และหอ้ งพลขบั 12. ใส่กา้ นโซค๊ และกา้ นโยงคันเร่ง 13. ใสท่ ีน่ งั่ พลขับ 14. ใส่คนั บงั คับเล้ยี ว 15. ทดสอบการรกั ษาแรงดนั ภายในระบบระบายความรอ้ น 16. ติดเครอ่ื งยนตเ์ พอ่ื ทดสอบความเรียบร้อย

ห น้ า | 28 17. ปรบั เคร่ืองยนต์ และตรวจความเรยี บร้อยขน้ั สดุ ท้าย 18. ใส่แผ่นปดิ ใตท้ อ้ งรถ 19. ใส่แผน่ เกราะด้านบน สรุป 1. ตรวจใหแ้ นใ่ จวา่ ลิ้นถา่ ยนำ้ ระบายความรอ้ นปดิ สนิท ก่อนที่จะใสแ่ ผน่ ปิดใต้ท้องรถ 2. คลายจกุ ไลฟ่ องอากาศทง้ั 5 แหง่ ไว้ในขณะเตมิ น้ำระบายความร้อน 3. ให้รายงาน และเปลี่ยนองค์ประกอบท่ชี ำรดุ หรือบกพรอ่ ง การเตรียมการเพ่ือยกเครอื่ งเปลย่ี นความเร็วออก เครื่องมือและสง่ิ อุปกรณ์ กญุ แจแหวน-ปากตาย ขนาด 1/4 นว้ิ , ดา้ มกุญแจกระบอกขันได้ 2 ทาง กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 7/16 นว้ิ , ด้ามตอ่ กญุ แจกระบอก กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 1/2 นว้ิ , คีม กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 9/16 นว้ิ , ไขควงปากแบน กุญแจปากตาย ขนาด 5/8 นว้ิ , กญุ แจกระบอกยาว ขนาด 11/16 นว้ิ กุญแจกระบอดขนาด 3/4 นว้ิ , เหลก็ งดั แงะ กญุ แจเล่อื น ขนาด 12 นว้ิ วธิ ีปฏบิ ัติ การเตรยี มการขัน้ ตน้ 1. ถอดแผ่นเกราะด้านบน 2. เปิดฝาปดิ หมอ้ เกบ็ น้ำล้น 3.เปดิ แผน่ ปดิ ท้องรถใต้ลิ้นถา่ ยน้ำ และถ่ายน้ำระบายความร้อนออก ภายในห้องพลขบั 1. ถอดทนี่ ั่งพลขับออกทัง้ ชุด 2. ถอดคนั บังคบั เล้ียวทง้ั สองข้าง 3. ถอดก้านโซ๊ค และกา้ นโยงคนั เรง่ 4. ถอดก้านโยงคันเกยี ร์ 5. ถอดแป้นห้ามลอ้ หลกั 6. ถอดแผน่ ปิดพ้ืนหอ้ งพลขบั 7. ถอดผนังก้ันระหว่างหอ้ งพลขับและหอ้ งเครอ่ื งยนต์ หมายเหตุ ถอดสายดินออกจากขั้วลบของชดุ แบตเตอรป่ี ระจำรถ 8. ถอดสายไฟหมายเลข 3,4 เต้าเสียบสายไฟหมายเลข 2 และสายดินออกจากหีบควบคุมเครื่องกำเนิด ไฟฟา้ ,ถอดชดุ สายไฟทเี่ คร่ืองกำเนิดไฟฟา้ และถอดสายดินออกจากขวั้ ลบของแบตเตอรี่ 9. ถอดเต้าเสียบสายไฟหมายเลข 7 และ 8 ของหีบจ่ายกระแสไฟประจำรถ (ถ้าจำเป็นให้ถอดเต้าเสียบ สายไฟหมายเลข 11 ออกเสียกอ่ น เพอ่ื ชว่ ยใหถ้ อดเต้าเสยี บหมายเลข 8 ออก ได้สะดวกยง่ิ ขึน้

ห น้ า | 29 10. ถอดสายไฟหมายเลข 7,8 ออกจากมอเตอรห์ มุนเครอ่ื งยนต์ 11.ถอดสายไฟเคร่ืองยนต์ออกจากห่วงยึดทีด่ ้านข้างของผนังเครอ่ื งยนต์ตอนหน้าและถอดสายไฟของกลอ่ ง รวมสายไฟเครอ่ื งยนต์ออกจากเต้าเสียบสายไฟ 12. ถอดแผงยึดขวดนำ้ มันหา้ มลอ้ ออกจากหีบควบคุมเครอ่ื งกำเนิดไฟฟ้า อยา่ ถอดท่อนำ้ มันห้ามลอ้ 13. ถอดเครื่องบงั คบั ลน้ิ ถ่ายน้ำหอ้ งเครื่องเปลี่ยนความเรว็ ภายในหอ้ งเครือ่ งยนต์ 1. ถอดเหลก็ ยดึ และท่อสง่ น้ำยาดับเพลงิ 2. ถอดทอ่ นำ้ ระบายความรอ้ น ที่เรอื นลน้ิ ความคมุ อุณหภูมิและผนังหอ้ งเครอ่ื งเปลี่ยนความเร็ว 3. ถอดท่อน้ำมันหล่อล่ืนของหม้อระบายความร้อนน้ำมันเครื่องออกจากข้อต่อที่ผนังห้องเครื่องเปลี่ยนความเร็ว (2 ท่อ) ภายในหอ้ งเคร่อื งเปลย่ี นความเร็ว 1. ถอดหมอ้ น้ำรงั ผง้ึ 2. ถอดกา้ นโยงคันเกยี ร,์ กา้ นโยงคันเกยี รเ์ ดนิ หนา้ -ถอยหลงั และสายเคร่ืองแสดงตำแหน่งเกยี ร์ 3. ถอดท่อน้ำระบายความร้อนของเครื่องยนต์และท่อน้ำมันหล่อลื่นของหม้อน้ำระบายความร้อน น้ำมันเครอื่ ง ภายในห้องเครื่องเปลยี่ นความเร็ว 4. ถอดหว่ งยดึ และสายไฟจากสวติ ชน์ ริ ภยั วงจรหมนุ เครอ่ื งยนต์ และสอดสายไฟผ่านกลับเข้ามาภายในห้อง เคร่อื งยนต์ 5. ถอดทอ่ ยางของทอ่ ระบายอากาศ และเติมน้ำมันเคร่ืองเปลี่ยนความเรว็ 6. ถอดห่วงยึดและทอ่ เหล็กวดั นำ้ มนั เครอื่ งเปล่ยี นความเรว็ 7. หยอ่ นสายพานเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า และถอดสายพานออกจากรอกขบั เครือ่ งกำเนิดไฟฟ้า 8. ถอดสายพานพัดลมออกจาก รอกขบั สายพานพดั ลม โดยปฏบิ ัติดงั นี้ - คลายสลกั เกลยี วยดึ เรือนพดั ลมใหห้ ลวมท้ัง 4 ตัว - ถอดสวิตช์สัญญาณไฟเตือนรอบเครอ่ื งยนตส์ งู - ถอดแผ่นกลม (6 อนั ) และแผ่นกนั สายพานพดั ลม - เลื่อนสายพานพัดลมออก 9. ถอดฝาครอบเพลาขบั คลตั ช์ 10. ถอดสลักเกลียวยดึ เพลาขับคลตั ช์ (4 ตวั ) 11. ปลดเพลาส่งกำลงั ออกของเครอื่ งเปล่ยี นความเร็วทง้ั สองข้าง โดยปฏิบัติดงั นี้ - ถอดฝาครอบหวั เพลาขับของหีบเฟอื งขับขนั้ สดุ ทา้ ย - กดเดอื ยยึดบนหัวต่อเพลาส่งกำลังออกฯ และดึงเพลาขบั ของเฟอื งขับข้ันสุดท้ายเข้าหาตวั , อาจ มีความจำเป็นต้องปลดหา้ มล้อจอดรถ เพ่ือให้หมู่เฟอื งเคล่อื นตัวไดส้ ะดวก 12. ถอดผนงั ก้ันหอ้ งเคร่ืองเปลยี่ นความเรว็ 13. ถอดเหล็กประกับฐานเครอื่ งเปลีย่ นความเร็วดา้ นซ้าย,ดา้ นขวา และสลักเกลียวยึดฐานตวั กลาง หมายเหตุ จดจำลกั ษณะการวางแหวนรองและจำนวนของแผ่นรองฐานตวั กลาง เพื่อความสะดวกใน

ห น้ า | 30 การใสก่ ลับเข้าทีเ่ ดมิ อย่างถูกตอ้ ง 14. ถอดท่อน้ำมันห้ามล้อหลัก และท่อน้ำมันห้ามล้อบังคับเล้ียวท่ีหัวต่อทางด้านล่างตอนหน้าของผนัง ห้องเคร่ืองเปล่ยี นความเร็ว 15.ยกเคร่ืองเปล่ียนความเร็วออกดว้ ยรอกปนั้ จั่นของรถกู้หรือรอกประจำโรงซ่อม เครื่องเปล่ียนความเร็วมี น้ำหนกั ประมาณ 950 ปอนด์ การยกเครือ่ งเปล่ียนความเรว็ ขึ้นติดตัง้ และการใส่องค์ประกอบเข้าทเี่ ดิม การปฏบิ ตั ิ 1. ยกเคร่ืองเปลยี่ นความเรว็ ขน้ึ ติดตั้งในรถ 2. ใสแ่ หวนรอง และแผ่นรองฐานเครื่องเปลีย่ นความเรว็ เขา้ ที่เดิม อยา่ งถูกต้องและเรียบรอ้ ย 3. ใส่เหล็กประกบั ฐานเครอ่ื งเปลี่ยนความเร็วดา้ นซ้าย-ด้านขวา และสลกั เกลียวยดึ ฐานตวั กลาง แล้วขันสลกั เกลยี วยึดเหล็กประกับฐานใหแ้ นน่ 4. ใสท่ ่อนำ้ มนั หา้ มลอ้ หลกั และทอ่ น้ำมันห้ามล้อบังคับเลีย้ ว 5. ใส่ผนงั กน้ั หอ้ งเครอื่ งเปลีย่ นความเรว็ ภายในห้องเครื่องเปล่ยี นความเรว็ 1. ใส่เพลาขับเฟืองขับขั้นสุดท้ายกับเข้าที่เดิม และตรวจให้แน่ใจว่าเดือยยึดบนหัวเพลาฯ ขัดตัวเข้ากับหัว เพลาฯ จนสนทิ 2. ใส่ฝาครอบหัวเพลาขับของหีบเฟืองขนั้ สดุ ท้าย 3. ใส่เพลาขับคลตั ช์ และขนั แน่นสลกั เกลยี วท้งั 4 ตวั ดว้ ยแรงบิด 55 ฟตุ /ปอนด์ 4. ใส่ฝาครอบเพลาขบั คลตั ช์ 5. ใสส่ ายพานเครื่องกำเนดิ ไฟฟ้า และสายพานพัดลม 6. ใสแ่ ผ่นกนั สายพานพัดลม และแผน่ กลม 6 อนั 7. ใส่สวิตซ์สญั ญาณไฟเตอื นรอบเครอ่ื งยนต์สูง 8. ปรับสายพานพัดลม และสายพานเครอ่ื งกำเนิดไฟฟา้ ใหไ้ ดค้ วามตึงหยอ่ นตามเกณฑ์ 9. ใส่ทอ่ เหลก็ วดั นำ้ มนั เคร่ืองเปล่ียนความเรว็ และหว่ งยดึ 10. ใส่ทอ่ ยางของทอ่ ระบายอากาศ และเติมนำ้ มันเครอ่ื งเปลย่ี นความเร็ว 11. ใสส่ ายไฟของสวิตชน์ ิรภยั วงจรหมุนเคร่อื งยนต์ 12. ใส่ก้านโยงคันเกียร์ กา้ นโยงคนั เกยี ร์เดินหนา้ -ถอยหลงั และสายเคร่ืองแสดงตำแหนง่ เกียร์ 13. ใส่ท่อน้ำระบายความร้อนของเคร่ืองยนต์ และท่อน้ำมันหล่อล่ืนของหม้อระบายความร้อน นำ้ มนั เคร่ืองภายในหอ้ งเครอ่ื งเปลยี่ นความเร็ว ภายในหอ้ งเคร่ืองยนต์ 1. ใสท่ ่อน้ำมันหล่อลนื่ ของหม้อระบายความรอ้ นนำ้ มันเครอ่ื งเข้ากบั ขอ้ ต่อทผ่ี นังหอ้ งเครื่องเปลยี่ น ความเรว็ ทงั้ 2 ทอ่ 2. ใสท่ ่อระบายความร้อน ท่ีเรือนลิ้นควบคมุ อณุ หภูมิและผนังหอ้ งเคร่อื งเปล่ยี นความเร็ว

ห น้ า | 31 3. ใส่เหลก็ ยดึ และทอ่ ส่งน้ำยาดบั เพลิง ภายในห้องพลขับ 1. ใส่เครื่องบังคบั ล้ินถ่ายนำ้ ห้องเครื่องเปล่ยี นความเร็ว 2. ใสแ่ ผงยดึ ขวดยดึ นำ้ มันห้ามลอ้ เขา้ กบั หบี ควบคมุ เครื่องกำเนิดไฟฟ้า 3. ใสส่ ายไฟเคร่ืองยนต์เข้ากบั เตา้ เสียบที่ดา้ นข้างของผนงั ห้องเครื่องยนต์ด้านหน้า และประกอบ สายไฟต่าง ๆ เข้ากบั ห่วงยดึ ให้เรยี บรอ้ ย 4. ใสส่ ายไฟหมายเลข 7,8 เข้ากบั มอเตอร์หมุนเคร่ืองยนต์ 5. ใส่เต้าเสยี บหมายเลข 9 และสายไฟหมายเลข 7 เขา้ กบั หีบจ่ายกระแสไฟประจำรถ 6. ใส่เตา้ เสยี บสายไฟหมายเลข 2 และสายไฟหมายเลข 3,4 เข้ากับหบี ควบคุมเคร่ืองกำเนดิ ไฟฟา้ 7. ใส่สายดนิ เขา้ กบั ผนงั ห้องพลขบั โดยตรวจใหแ้ นใ่ จวา่ สายดินสะอาด,แห้ง และปราศจากสี 8. ใส่ชดุ สายไฟของเคร่ืองกำเนิดไฟฟา้ และใส่สายดินกลบั เข้าขว้ั ลบของชดุ แบตเตอรป่ี ระจำรถ 9. ใสแ่ ผน่ ปดิ พ้ืนหอ้ งพลขับ 10. ใส่แป้นห้ามล้อ 11. ใสแ่ ปน้ เกยี ร์และก้านโยงแป้นเกียร์ 12. ใส่ผนังก้ันระหวา่ งหอ้ งเครอ่ื งยนตแ์ ละหอ้ งพลขบั 13. ใส่ก้านดงึ โซค๊ และกา้ นโยงคันเร่ง 14. ใสท่ ่ีน่งั พลขบั 15. ใส่คนั บงั คบั เลย้ี ว 16. เติมนำ้ ระบายความร้อน ไลฟ่ องอากาศออกจากระบบระบายความร้อน และตรวจการรวั่ ไหลตา่ ง ๆ 17. ไล่ฟองอากาศออกจากระบบหา้ มล้อหลกั และหา้ มลอ้ บงั คับเล้ียว 18. ตรวจการรกั ษาความดนั ในระบบระบายความร้อน 19. ตรวจความเรียบรอ้ ยโดยทัว่ ไป 20. ใส่แผน่ ปิดใต้ท้องรถ 21. ใสแ่ ผ่นเกราะด้านบน สรุป 1. ตอ้ งแน่ใจวา่ สายดินตา่ ง ๆ ต้องสะอาด,แห้ง และปราศจากสีทาทับไว้ 2. ตรวจให้แน่ใจว่าท่อทางเดนิ และหวั ต่อต่าง ๆ ได้ประกอบเข้าทเี่ ดมิ อยา่ งถูกตอ้ งและเรยี บรอ้ ย 3. ทำความสะอาดภายในหอ้ งเครือ่ งเปล่ยี นความเรว็ ใหเ้ รียบร้อย กอ่ นทจี่ ะยกเครือ่ งเปล่ียน ความเร็วเขา้ ตดิ ต้ัง 4. ให้รายงาน และเปลยี่ นองค์ประกอบทช่ี ำรุดหรอื บกพรอ่ ง *********** การจดั ปรบั สายพานเครื่องกำเนดิ ไฟฟา้ เครือ่ งมอื และส่งิ อปุ กรณ์ กุญแจแหวน-ปากตาย ขนาด 9/16 นว้ิ กญุ แจแหวน-ปากตาย ขนาด 3/4 นว้ิ

ห น้ า | 32 ไม้บรรทดั เหล็ก วิธีปฏบิ ตั ิ 1. จอดรถไวบ้ นพน้ื ทแี่ ข็ง 2. เปดิ ฝาปดิ หอ้ งเคร่ืองเปลี่ยนความเรว็ และยกหมอ้ นำ้ ตงั้ ขึน้ 3. คลายแปน้ เกลยี วยดึ เรอื นลูกกลิง้ ปรบั ความตึงของสายพาน 4. กดลกู กลิ้งใหท้ บั สายพานเส้นบนไว้ และขนั แปน้ เกลยี วยดึ พอแนน่ 5. ตรวจความตึงของสายพานท่ีกึ่งกลางของสายพานเส้นล่าง ความตึงหย่อนที่ถูกต้องเท่ากับ 10 มม. ถึง 13 มม.(3/8\" - 1/2\") หรอื ตงึ พอใหล้ ูกกล้ิงปรับสายพานเร่ิมขยบั หมุนได้ 6. เมื่อปรับจนได้ความตงึ หย่อนทถ่ี กู แลว้ จึงขันแป้นเกลียวยดึ ใหแ้ นน่ 7. ตรวจความตึงหย่อนของสายพานฯ อีกครั้งหนึ่ง และจดั สายพานอีกถ้ามีความคลาดเคล่ือน 8. วางหม้อนำ้ ในนอนราบลง และปิดหอ้ งเครือ่ งเปลีย่ นความเร็ว สรปุ 1. ใหต้ รวจความตึงหย่อนของสายพาน ซ้ำอีกเมอื่ ขันแนน่ แป้นเกลียวยดึ แล้ว 2. ให้รายงาน และเปล่ียนองคป์ ระกอบทชี่ ำรดุ หรือบกพร่อง ************

ห น้ า | 33 ระบบจดุ ระเบดิ ของ ถ.เบา 21 (FV-101) เคร่ืองยนต์จากัวร์ ที่ติดตัง้ กับยานยนต์สายพานตระกลู CVRT ทุกแบบ จะใชร้ ะบบจุดระเบิดแบบเดียวกัน กับท่ีใช้อยู่ในเครื่องยนต์ตระกูล \" B \" ซึ่งติดต้ังอยู่ในรถเกราะเกือบทุกแบบของกองทัพแห่งสหราชอาณาจักร และ ระบบทใี่ ช้ในราชการสงครามอกี หลายแบบ สายไฟต่าง ๆ ในระบบจุดระเบิดแบบนี้จะประกอบด้วยระบบป้องกันการรบกวนต่อการทำงานของชุด วิทยุประจำรถที่มีประสิทธิภาพสูง และเน่ืองจากการใช้ระบบป้องกันการรบกวนการทำงานของชุดวิทยุ ด้วยการหุ้มท่อนำสายไฟต่างๆ ด้วยปลอกลวดถักขนาดใหญ่นี้เอง จะทำให้เกิดผลกระทบของ \"CAPACTTOR EFFECT\"ซ่ึงทำให้คุณลักษณะของวงจรจุดระเบิดเปลี่ยนแปลงไปด้วย โดยสายไฟต่างๆ ที่หุ้มด้วยปลอกลวดถักนี้ จะเกิดการรับ-ถ่ายประจุไฟฟ้าได้คล้ายกับว่าสายไฟฟ้านี้มีแนวโน้มที่จะทำให้เกิดประกายไฟฟ้าแรงสูงที่ไม่พึง ประสงค์ กระโดดขา้ มชอ่ งวา่ ง ตา่ งๆ ในระบบจดุ ระเบดิ ขน้ึ ได้โดยเฉพาะอยา่ งย่งิ ในวงจรไฟแรงสงู การเพ่ิมประสทิ ธิภาพของวงจรจดุ ระเบิดสามารถทำได้โดย 1. ติดตง้ั ระบบชดุ หน้าทองขาวคู่ เพ่ือเพิ่มประสทิ ธภิ าพในการทำงานใหแ้ น่นอนยิ่งขน้ึ 2. ปรับปรุงห้วงเวลาที่ใชใ้ นการก่อตัวของสนามแม่เหล็กในคอยล์ให้คงที่ โดยการตอ่ ตัวต้านทานคู่หนึ่งเป็น อันดบั เขา้ กบั ขดลวดของคอยล์ (ตวั ตา้ นทานลดแรงดันไฟ) 3. ตั้งระยะห่างของหน้าทองขาวให้เหลือเพยี ง 0.010\" - 0.012\" ซึ่งระยะห่างของหน้าทองขาวท่ีน้อยลงจะ ทำใหม้ มุ ปดิ ของหน้าทองขาว \"DWELL\" เพิ่มมากขนึ้ 4. ต้งั ระยะห่างของเข้ียวหัวเทียนให้เหลือเพียง 0.015\" - 0.018\" เพื่อทำให้อาการจางหายไปของประกาย ไฟในบางจงั หวะอันเนอ่ื งมาจากไฟฟา้ แรงดนั สูงไมเ่ พียงพอลดน้อยลงไป เม่ือระยะหา่ งของเขี้ยวหวั เทียนน้อยลง -ระบบหน้าทองขาวคู่จะทำให้การกระเด้งตัวและการลอยค้างของหน้าทองขาวเม่ือเคร่ืองยนต์มีความเร็วสูง นอ้ ยลง ดงั น้นั จึงทำใหม้ มุ ปิดของหนา้ ทองขาวเพิ่มมากข้ึน - การใช้ตัวต้านทานลดแรงดันไฟต่ออันดับเข้ากับคอยล์ทำให้เกิดผลของ \"IMPEDANCE\" ขึ้นในวงจรไฟแรงต่ำ ของระบบจุดระเปิด และจะเปน็ ผลใหเ้ กดิ การไหลของกระแสปฐมภูมเิ ป็นไปอยา่ งรวดเร็ว เวลา = คา่ ของลวดตัวนำ/คา่ ของความตา้ นทาน ซงึ่ ผลจากค่าน้ี จะทำให้เกิดผลดีหรือข้อไดเ้ ปรียบ โดยทำให้มุมปิดของหนา้ ทองขาวเพิ่มมากขึน้ และ หมายถงึ กระแสปฐมภูมิมเี วลาในการไหลได้อยา่ งเตม็ ที่ - ระบบแรงเคลอื่ น 24 โวลท์ จากแหล่งจ่ายกำลังไฟทำให้เป็นการประกันได้วา่ แมว้ ่าความต้านทานใน วงจรจดุ ระเบิดจะเพม่ิ มากเปน็ สองเท่า แต่คา่ สูงสดุ ของปฐมภูมจิ ะคงเดิมตลอดเวลา - การใชต้ ัวต้านทานลดแรงดันไฟเพมิ่ ขนึ้ ในวงจรจุดระเบิด ยังทำให้เกิดผลดที ่มี ีประโยชน์มากคือสามารถต่อวงจร ลัดผ่านตัวต้านทานน้ีได้ในขณะกดสวิตช์หมุนเคร่ืองยนต์ เพื่อให้คอยล์ได้รับแรงเคลื่อนไฟฟ้าจากแบตเตอรี่มากขึ้น ตัวต้านทานลดแรงดันไฟจะอยู่ในกล่องรวมสายไฟของวงจรจุดระเบิด และประกอบด้วยตัวต้านทานมีค่า 7 โอห์ม จำนวน 2 ตัว ตอ่ ขนาดกัน ซึ่งทำให้ความตา้ นทานรวมมีค่า 3.5 โอหม์ เท่ากบั ค่าความต้านทานของขดลวดปฐมภูมิ ในคอยลจ์ ุดระเบิด จานจ่ายไฟแบบ No. 2,Mk.1 จะมีลักษณะและองค์ประกอบสว่ นใหญๆ่ เช่นเดียวกับจานจา่ ยไฟท่ีใชก้ บั เครือ่ งยนตแ์ ก็สโซลีน 6

ห น้ า | 34 กระบอกสูบ ตระกลู \" B \" ทงั้ หลาย แต่อยา่ งไรกด็ จี ะมีข้อแตกต่างท่สี ำคัญมากคอื 1. แกนลูกเบ้ียวหมนุ ทวนเขม็ นาฬิกา(ตรงกนั ขา้ มกับทิศทางหมนุ ของจานจา่ ยไฟแบบ \" B \" ซึง่ เป็น ผลกระทบตอ่ การออกแบบองคป์ ระกอบสำคัญคอื 1.1 ชดุ หนา้ ทองขาว ไมส่ ามารถสับเปลี่ยนกนั ได้กับชุดหน้าทองขาวของจานจา่ ยไฟแบบ \" B \" และชุดหน้าทองขาวของจานจา่ ยไฟแบบ \" B \" จะมบี ่าของหนา้ ทองขาวตวั ตบี างกว่า 1.2 แบบของลาดลูกเบ้ียว ลาดลูกเบย้ี วแตล่ ะด้านของแกนจานจา่ ยจะไมเ่ หมือนกนั 1.3 เคร่อื งตั้งจังหวะจดุ ระเบิดลว่ งหนา้ แบบทำงานดว้ ยแรงเหว่ียง ไม่สามารถสบั เปลีย่ นกนั ได้กบั ของจานจ่ายไฟแบบ \" B \" 2. ไมส่ ามารถติดตงั้ เครอ่ื งตั้งจังหวะจุดระเบดิ ล่วงหนา้ เข้ากับหัวโรเตอร์ (จานจ่ายไฟแบบ \" B \" จะติดตง้ั เครอ่ื งต้ังจังหวะจดุ ระเบิดลว่ งหน้าเขา้ กบั หวั โรเตอร์ ซ่งึ อุปกรณน์ ้ีประกอบด้วยต้มุ เหวีย่ งและ แหนบบงั คับการทำงาน) ระบบหนา้ ทองขาวสองชดุ ประกอบดว้ ยชุดหนา้ ทองขาวอยกู่ บั ท่ีชดุ หน่งึ (ชดุ หนา้ ทองขาวนจ้ี ะจดั ปรบั ไดเ้ ฉพาะระยะหา่ งของ หนา้ ทองขาวอย่างเดยี ว) และชุดหน้าทองขาวแบบเดียวกนั อกี ชดุ หนงึ่ ตดิ ต้งั อยบู่ นแผน่ ยึดหน้าทองขาว แบบจัดปรับได้ ซึง่ แผ่นยึดนี้สามารถหมุนไปมาเพอ่ื เปลย่ี นมมุ ได้เลก็ นอ้ ย สัมพันธ์กบั ทศิ ทางการหมนุ ของ ลาดลูกเบยี้ ว และหน้าทองขาวชดุ หลังนเี้ ราเรียกว่า ชดุ หนา้ ทองขาวเคล่ือนที่ได้ แผน่ ยดึ หน้าทองขาวแบบจัดปรบั ไดน้ ี้ ทำให้สามารถปรับต้งั ระยะเวลาในการเปดิ ของหน้าทองขาวชุด อยกู่ บั ท่แี ละระยะเวลาในการเปิดของหน้าทองขาวชดุ เคลือ่ นท่ไี ด้ ให้สมั พนั ธ์กันอยา่ งเทยี่ งตรงได้ ซึ่งการ จดั ปรบั นเี้ รียกวา่ การจดั ปรบั จังหวะการทำงานของชดุ หนา้ ทองขาว (SYNCNRONIZING) การทำงาน เม่อื ลูกเบ้ยี วจานจา่ ยหมนุ ตวั ลาดลูกเบ้ียวจะบงั คับใหห้ นา้ ทองขาวชดุ อยู่กบั ทแ่ี ละชุดเคลอ่ื นทไ่ี ด้ เปดิ -ปิด สลบั กนั ไป โดยขณะท่หี นา้ ทองขาวชุดอยูก่ บั ท่ีปดิ หนา้ ทองขาวของชุดเคล่อื นที่ไดจ้ ะเปิดเม่อื หนา้ ทองขาวชดุ อยู่กับท่เี ปดิ จะเกดิ ประกายไฟจากไฟฟา้ แรงดันสงู ข้ึน และเม่ือหนา้ ทองขาวชดุ น้ีเปิด ชดุ หน้าทองขาวเคล่อื นทไ่ี ด้จะยังคงปิดอยู่ และเม่อื ลาดลูกเบย้ี วหมนุ ต่อไปกจ็ ะทำให้หนา้ ทองขาวชดุ เคลื่อนทไ่ี ดเ้ ปดิ และทำให้เกดิ ประกายไฟแรงสงู ขนึ้ อกี ครั้งหนึง่ สลับกันไปตลอดเวลา เมอื่ แกนหมนุ ลูกเบี้ยวของจานจ่ายหมนุ ครบหนึ่งรอบจะทำให้หนา้ ทองขาวแต่ละชดุ ทำงานเปดิ -ปดิ ชุดละ 3 ครั้ง และเกิดประกายไฟแรงสูงขึ้น 6 คร้ัง เม่ือเพลาข้อเหว่ียงหมุนไปครบสองรอบตามความต้องการ (แกนจานจ่ายจะถูกขับให้หมุนด้วยความเร็วคร่ึงหนึ่งของรอบเคร่ืองยนต์) และแกนจานจ่ายจะหมุนไปได้เป็นมุม 27 องศา ก่อนท่ีลาดลูกเบี้ยวจะดันหน้าทองขาวเปิดและหมายถึงว่าหน้าทองขาวแต่ละชุดจะมีมุมปิด 27 องศา \"DWELL ANGLE 27 DEGREES \" ชุดหน้าทองขาวอยกู่ บั ท่ีจะทำหนา้ ทจี่ ุดหวั เทียนของกระบอกสูบที่ 1,2 และ 3 และชุดหน้าทองขาวเคล่ือนท่ีได้ จะทำหน้าที่จุดหวั เทยี นของกระบอกสบู ที่ 4,5 และ 6 มุมเปิดสมั พันธข์ องชดุ หนา้ ทองขาว (SYNCHRONIZING ANGLE)

ห น้ า | 35 เน่ืองจากเราได้ทราบมาแล้วว่าเมื่อแกนจานจ่ายหมุนครบหนึ่งรอบจะต้องเกิดประกายไฟแรงสูงข้ึน 6 ครั้ง ดังน้ันการเปิดของหน้าทองขาวแตล่ ะคร้ัง จะเกิดขึ้นเมื่อแกนจานจ่ายหมุนไปทุกๆ 60 องศา โดยเราสามารถหามุม เปิดแต่ละครั้งของหน้าทองขาวได้โดยเอาจำนวนองศาในรอบการหมุนของแกนจานจ่าย หารด้วยจำนวนกระบอก สบู ซึ่งจะเท่ากับ 360/6 = 60 และผลลพั ธท์ ี่ได้น้ีก็คือมมุ ของความสัมพันธ์ในการเปิดหน้าทองขาวท้งั สองชุด น่ี เป็นจดุ บกพร่องอนั หน่งึ ของการใช้ระบบหนา้ ทองขาวสองชดุ เพราะการจัดปรับมุมเปิดของหนา้ ทองขาวแตล่ ะชดุ ให้ สัมพันธ์กันและดว้ ยมุมเท่าๆ กัน อย่างเที่ยงตรงน้ัน ย่อมขึ้นอยู่กับความประณีตและความชำนาญของช่างยานยนต์ ผู้ทำการบริการทางเทคนิคแก่จานจ่ายไฟ ถึงแม้ว่ามุมเปิดของชุดหน้าทองขาวเคล่ือนที่ได้จะคลาดเคลื่อนกันไป บ้างเล็กน้อยแต่เครื่องยนต์ยังคงสามารถติดได้ ซึ่งก็หมายความว่า กระบอกสูบท่ี 4,5 และ 6 ท้ังสามกระบอกสูบ จะมีการจุดระเบิดดว้ ยไฟแกม่ ากเกินไป ถา้ มมุ เปดิ สมั พันธฯ์ มมี ากเกินไป ซง่ึ ทัง้ สองกรณีน้จี ะเป็นเหตใุ ห้เครอ่ื งยนตไ์ ม่มกี ำลงั และก่อให้เกิดแรงเค้นขององคป์ ระกอบภายในท่ีสำคญั บาง ส่วนมากเกินควร ดังน้ันการท่ีเครื่องยนต์ตดิ และเดินเคร่ืองได้น้ันตามข้อเท็จจริงย่อมไม่ได้หมายความว่าเครื่องยนต์ เครื่องนั้นมีการตัง้ จังหวะจุดระเบดิ ที่ถูกต้องเสมอไป และเครื่องยนต์ท่ีมีจังหวะจุดระเบดิ คลาดเคล่ือนไปน้ันย่อมไม่ อาจเดนิ เครือ่ งทำงานไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ ดังนน้ั จงึ ขอยำ้ อีกคร้ังหนงึ่ ว่า ถ้าไดท้ ำการจดั ปรับระยะห่างของหนา้ ทองขาวหรือไดท้ ำการเปลีย่ น ชุดหน้าทองขาว จะตอ้ งตรวจสอบมุมเปิดสัมพันธข์ องชดุ หนา้ ทองขาวท้งั สองชดุ \" SYNCHRONIZINC ANGLE \" ทุกคร้ัง จากประสบการณใ์ นการปฏบิ ัตทิ ผี่ ่านมาไดพ้ บว่ามมุ เปิดสัมพันธฯ์ ที่คลาดเคล่ือนนั้นมักเกิดจากความ บกพร่องของช่างยานยนต์ โดยละเลยหรือไม่ใส่ใจในการจัดปรับระยะห่างของหน้าทองขาวอย่างประณีตและ เท่ียงตรงเท่ากันท้ังสองชุดเสียเป็นส่วนมากโดยอาจนึกไม่ถึงว่าการจัดปรับระยะห่างของหน้าทองขาวทั้งสองชุดให้ แตกต่างกันไปเพียงเล็กน้อยจากระยะที่ได้กำหนดไว้ คือ 0.010\"-0.012\" จะทำให้มุมเปิดสัมพันธ์ ผิดพลาด คลาดเคล่ือนไปได้มาก โดยปกติแล้วจะไม่มีความจำเป็นใด ๆ ท่ีจะต้องไปรบกวนการจดั ต้ังตำแหน่งของเรือนหน้าทองขาวจัดปรบั ไดน้ ี้ เลย และโดยเหตนุ ี้หมุดเกลียวยึดเรือนหน้าทองขาวจัดปรับไดน้ ี้จะผนึกไวด้ ้วยสีแดงหลังจากการประกอบ และจัด ปรับครั้งแรกจากสายการผลิตของโรงงาน ดังน้ันการบริการทางเทคนิคของจานจ่ายไฟก็ควรปฏิบัติโดยการ ตรวจสอบและจัดปรับระยะห่างของหน้าทองขาวท้ังสองชุดหรือการเปลี่ยนชุดหน้าทองขาว การต้ังความตึงของ แหนบหน้าทองขาว การเปลี่ยนตัวเก็บประจุ ฯลฯ เท่าน้ัน นอกเสียจากว่าได้ทำการจัดปรับระยะห่างของหน้า ทองขาวท้ังสองชุด ให้เท่ากันอย่างละเอียดบรรจงแล้วตรวจพบว่ามุมเปิดสัมพันธ์ฯ ยังมีความคลาดเคล่ือนอยู่อีก หรือในกรณีที่เรือนหน้าทองขาวจัดปรับได้นี้ ถูกถอดออกหรือถูกทำให้คลาดเคล่ือนไปจากตำแหน่งเดิม จึงจะ ตอ้ งการการจดั ปรับมมุ เปิดสัมพนั ธ์ฯ เสียใหม่ การตรวจสอบมมุ เปิดสัมพนั ธ์ฯ ของชดุ หน้าทองขาว เคร่ืองยนต์ ถ.เบา 21 ทุกเครื่อง(ยกเว้นเคร่ืองยนต์รุ่นแรกๆ ) จะได้รับการติดตั้งแผ่นปรับตั้งจังหวะการจุด ระเบดิ \"TIMING PLATE\" เหนอื ลอ้ ตุนกำลัง \"FLY WHEEL\" และบนแผน่ ปรับตัง้ จงั หวะจดุ ระเบิดนจ้ี ะมขี ีดแบง่ องศา ก่อนถึงศูนย์ตายบน \"TDC\" อยู่ 10 ขีดๆ ละ 1 องศา ดังภาพต่อไปน้ี (สำหรับเครื่องยนต์ MK 101 B รุ่นใหม่จะมี ขดี องศา 26 ขดี ) 0 TDC 5 10

ห น้ า | 36 บนลอ้ ตุนกำลงั จะมีขีดหลกั เพ่อื แสดงตำแหนง่ ศูนย์ตายบนของสบู ท่ี 1 สำหรับเครอื่ งยนตร์ ุ่นแรกๆ นน้ั จะไม่มีแผ่นปรับต้ังจังหวะน้ีมาจากโรงงาน และจะต้องได้รับการดัดแปลงแก้ไข โดยติดตั้งแผ่นโลหะน้ีเข้ากับเรือน สูบตามตำแหน่งและวธิ กี ารและคำสงั่ การดดั แปลงแก้ไข EMER.S 577.MOD. INCT. No.2 วธิ ีการตรวจสอบ 1. เปิดแผ่นปิดห้องเคร่ืองยนต์ดา้ นบน 2. ถอดหวั เทียนออกทง้ั หมด เพ่ือชว่ ยใหห้ มุนเคร่ืองยนต์ได้งา่ ยขน้ึ 3. ถอดขว้ั เสยี บสายไฟหมายเลข 8 ออกจากเตา้ เสยี บบนหบี จา่ ยกระแสไฟประจำรถและตอ่ สายของ มัลติมเิ ตอร์ (ตง้ั สวิตช์ใช้งานในตำแหนง่ วัดความต้านทาน \"OHM\" และปรับเข็มเคร่อื งวดั ใหอ้ ่านคา่ ศูนยอ์ ยา่ งเทย่ี งตรง) เขา้ กบั ขว้ั G ของขว้ั เสียบสายไฟทถ่ี อดออกและตอ่ ปลายสายของมลั ตมิ เิ ตอรอ์ กี เสน้ หนงึ่ เข้ากบั โครงรถ 4. หมุนเครอ่ื งยนต์ ดว้ ยการดงึ ใบพัดลมระบายความรอ้ นไปจนกระทง่ั ลกู สูบของกระบอกสูบที่หนึง่ เคล่อื นตวั สงู ขนึ้ เกอื บสดุ จังหวะอัด(เราจะทราบความแตกต่างว่าลูกสบู กำลงั เคลื่อนตวั สูงข้นึ ในจงั หวะ คายหรือจงั หวะอดั ไดโ้ ดยใชน้ ิว้ หวั แม่มือหรอื จุกไมก้ ๊อกอดุ ช่องใส่หวั เทยี นของสบู ท่ีหนงึ่ ไว้ ถ้าลกู สบู เคล่อื นท่ีในจงั หวะอัดเราจะรู้สกึ ว่ามีแรงดนั จากการอัดตวั ของลกู สูบ หรือจกุ ไม้กอ๊ กจะถูกอัดใหห้ ลุด ออกมา) และขีดบนล้อตุนกำลังจะเคลื่อนที่เข้าหาแผ่นปรับตั้งจังหวะจุดระเบิด ให้สังเกตการทำงานของเข็ม เครื่องวัดฯ จะต้องช้ีแสดงค่าไปทางด้านขวาของมาตรา ซึ่งแสดงว่าชุดทองขาวอยู่กับท่ีได้ปิด (ขณะนี้ชุดหน้า ทองขาวอยู่กับที่เกือบจะเปิดแล้ว และถ้าหน้าทองขาวเปิด จะทราบได้โดยเข็มเคร่ืองวัดจะตีกลับไปทางด้านซ้าย ของมาตรา การสังเกตการทำงานของเข็มเคร่ืองวัด ในขณะนี้ไม่มีความมุ่งหมายในการอ่านค่าที่แน่นอนเพียงแต่ ตอ้ งการทราบวา่ หนา้ ทองขาวอยใู่ นตำแหน่ง ปิดหรอื เปดิ เทา่ นั้น) 5.หมุนเครือ่ งยนต์ตอ่ ไปจนกระทั่งเข็มเครื่องวัดตกี ลบั ไปทางด้านซา้ ยสุดของมาตรา เม่ือขีดหลัก บนล้อตนุ กำลงั ตรงกับขดี 6 องศา ก่อนศนู ย์ตายบนพอดี 5.1 ถ้าปรากฏว่าเขม็ เครื่องวดั ตีกลับเร็วเกินไป (ก่อนที่ขีดหลักจะตรงกบั ขีด 6 องศา) แสดงวา่ การ ตั้งจงั หวะจดุ ระเบิดลว่ งหน้ามากเกนิ ไป\"ไฟแก่\" 5.2 แต่ถ้าเข็มเคร่ืองวัดตีกลับช้าเกินไป (เม่ือขีดหลักเลยขีด 6 องศาไปแล้ว) แสดงว่าการตั้ง จงั หวะจุดระเบดิ ล้าหลงั มากเกนิ ไป \"ไฟออ่ น\" 6. หมุนเคร่ืองยนต์ต่อไปจนกระทั่งล้อตุนกำลังหมุนไปอีก1รอบและเข็มเครื่องวัดจะชี้แสดงค่าไปทางขวา ของมาตราสามครั้งในระหว่างการหมุน และเข็มเคร่ืองวัดจะต้องตีกลับในครั้งที่สามเม่ือขีดหลักบนล้อตุนกำลังตรง กบั ขีด6องศาก่อนศูนย์ตายบนพอด(ี แสดงว่าชดุ หนา้ ทองขาวเคล่อื นทไ่ี ด้เปดิ ) 6.1 ถ้าปรากฏว่าเข็มเครื่องวดั ตกี ลบั เรว็ หรือชา้ เกินไปแสดงวา่ มุมเปดิ สมั พนั ธ์ของชดุ หนา้ ทองขาว คลาดเคลื่อน ไปน้อยกว่าหรอื มากกว่ามุมมาตรฐาน 60 องศา ซึ่งทำให้กระบอกสูบที่ 4,5 และ 6 มีการจุดระเบิด ดว้ ยไฟแกห่ รอื สายไฟออ่ นมากเกนิ ไป และจะตอ้ งปรับตัง้ มมุ เปดิ สมั พันธ์ของชดุ หน้าทองขาวเคล่อื นท่ีได้ให้ถูกตอ้ ง ขอ้ ควรระวงั กอ่ นทำการตรวจสอบมุมเปดิ สมั พันธข์ องหนา้ ทองขาวทงั้ สองชุดจะต้องแน่ใจว่าไดป้ รับตั้ง ระยะหา่ งของหน้าทองขาวไว้เทา่ กันและมีระยะห่างตามเกณฑท์ ี่กำหนดไว้ 0.010 น้ิว - 0.012 น้ิว

ห น้ า | 37 เม่ือตรวจสอบมมุ เปิดสมั พันธข์ องชดุ หนา้ ทองขาวอยกู่ ับที่และพบวา่ เกดิ ความคลาดเคลอื่ น ตามข้อ 5.1 หรอื 5.2 ใหท้ ำการแก้ไข โดยปฏบิ ตั ติ ามหวั ขอ้ การปรับตัง้ จังหวะจุดระเบิด โดยไม่ตดิ เคร่อื งยนต์ การปรับต้งั จังหวะโดยไมต่ ดิ เคร่อื งยนต์ (STATIC IGNITION TIMING) ถ้าตรวจพบจังหวะจุดระเบิดของเคร่ืองยนต์คลาดเคลื่อน หรือถอดจานจ่ายไฟออกจากเคร่ืองยนต์ ให้ทำ การปรับตงั้ จงั หวะจดุ ระเบิด เสยี ใหมใ่ ห้ถกู ตอ้ ง ตามวธิ กี ารต่อไปนี้ 1. กอ่ นที่จะประกอบจานจา่ ยไฟเขา้ กบั เครือ่ งยนต์ต้องตรวจสอบใหแ้ น่ใจว่า 1.1 ชดุ หนา้ ทองขาวท้ังสองชุดมรี ะยะหา่ งเท่ากนั ตามเกณฑ์ 0.010 นว้ิ - 0.012 นิว้ 1.2 มุมเปดิ สมั พันธข์ องหน้าทองขาวทงั้ สองชุด เท่ากบั 60 องศา 2. ประกอบจานจ่ายไฟเขา้ กับเครอ่ื งยนต์ แกนจานจ่ายไฟจะมบี ากขับแบบเยือ้ งศนู ย์และต้องประกอบ ให้มากขับแกนจานจ่ายเข้าท่ีให้สนิท ยังไม่ตอ้ งขันแป้นเกลียวยึดเรือนจานจ่าย เพื่อให้สามารถหมุนจานจ่ายไฟได้ เปน็ มุมเล็กน้อยแล้วเปิดฝาครอบจานจ่ายออกแล้วเบยี่ งไปให้พน้ จากการกีดขวางการทำงานชดุ หนา้ ทองขาวและหัว โรเตอร์ 3. ถอดหัวเทียนออกทง้ั หกตัว เพื่อใหส้ ามารถหมนุ เครื่องยนตไ์ ดง้ า่ ยขนึ้ และหัวเทียนของสบู ที่ 1 คอื สูบท่อี ยู่ชิดกบั ลอ้ ตุนกำลัง 4. ใช้หัวแม่มืออุดช่องหัวเทียนของสูบท่ี 1 หมายตำแหน่งของขีดหลักบนล้อตุนกำลังและหมุนเคร่ืองยนต์ โดยการดึงใบพัดลมระบายความร้อน (ทวนเข็มนาฬิกา) เมื่อรู้สึกว่ามีแรงดันต่อหัวแม่มือ แสดงว่าลูกสูบที่ 1 กำลัง เคล่ือนตัวขึ้นในจังหวะอัด และให้หยุดหมุนเคร่ืองยนตเ์ มื่อขีดหลักบนล้อตุนกำลังตรงกับขีด 6 องศา ก่อนศูนย์ตาย บนท่แี ผ่นปรบั ตง้ั จงั หวะระเบดิ พอดี 5. ต้องแน่ใจว่าขณะนี้ปลายของหัวโรเตอร์ชี้อยู่ที่ตำแหน่ง 5 นาฬิกาตรงกับสายหัวเทียนของสูบท่ี 1 เมื่อ ปดิ ฝาครอบจานจา่ ยไฟ 6. ต่อสายไฟของหลอดไฟตรวจสอบ \"TEST LAMP\" สายหน่ึงเข้ากับหลักเกลียวยึดสายไฟของชุดหน้า ทองขาว และตอ่ ปลายสายขา้ งทเ่ี หลอื ลงดินกับสายดินท่อี ย่ใู กล้ๆ แลว้ เปดิ สวิตชจ์ ุดระเบิด 7.หมุนเรือนจานจ่ายไฟตามเข็มนาฬิกาจนกระท่ังหน้าทองขาวชดุ อยู่กับที่เริ่มเปิด ซึ่งจะทราบไดจ้ ากการที่ หลอดไฟทดสอบเรมิ่ ติด 8. ยดึ เรือนจานจา่ ยไฟไว้ในตำแหน่งนี้ แลว้ ขนั แป้นเกลยี วยึดเรอื นจ่ายไฟให้แน่นทัง้ สองตวั 9. ปลดหลอดไฟทดสอบออกแล้วใส่สายไฟแรงต่ำกลับเข้าท่ีเดิม ประกอบฝาครอบจานจ่ายไฟ,หัวเทียน และสายไฟหัวเทยี นเขา้ ตามตำแหน่งเดิมอยา่ งถกู ต้อง ติดเคร่ืองยนต์และอาจต้องทำการปรับ ต้ังจงั หวะจุดระเบิดให้แน่นอนอีกคร้ังหน่งึ เมือ่ เครอ่ื งยนตร์ ้อนจนถึงอุณหภูมิใชง้ านแล้ว **************************

ห น้ า | 38 วชิ า การใช้และซ่อมบารุง รถถงั เบา 32 สติงเรย์ แผนกวชิ ายานยนต์ กองการศึกษา โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า ค่ายอดศิ ร สระบุรี

ห น้ า | 39 แผนกวิชายานยนต์ กองการศกึ ษา โรงเรียนทหารมา้ ศนู ยก์ ารทหารม้า สระบรุ ี ---------------- วิชา คณุ ลักษณะ ขีดความสามารถ มาตรทานและการใช้ รถถัง เบา 32 \"สตงิ เรย\"์ (ค่มู อื พลประจำรถ ถ.เบา 32 เอกสาร 213100 แก้ไขคร้งั ท่ี 2) ตอนท่ี 1 คณุ ลักษณะ ขีดความสามารถ รายละเอียดและมาตรทานรถ 1. คุณลกั ษณะและขีดความสามารถ 1.1 กล่าวทั่วไป รถถังเบา 32 \"STINGRAY\" เป็นยานรบประเภทสายพาน ท่ีมีความคล่องแคล่วในการ เคล่ือนที่สูง ให้ความอ่อนตัวในการใช้ปฏิบัติภารกิจได้หลายรูปแบบ ไต่ลาดตรงได้ 60 % ไต่ลาดข้าง ได้ 30 % สามารถเคลื่อนท่ีไปในภูมิประเทศยากลำบาก ซึ่งจะข้ามไปได้ด้วยรถที่สร้างขึ้นให้มีคุณสมบัติพิเศษ เท่าน้ันและสามารถเคล่ือนท่ีผ่าน หล่มโคลน หิมะ หรือลุยข้ามน้ำได้สะดวก รถถังน้ีสามารถข้ามคูกว้าง 213 ซม.(84 น้ิว) ข้ามเคร่ืองกีดขวางทางดิ่งสูง 76 ซม.(30 น้ิว) และลุยข้ามน้ำลึก 107 ซม.(42 นิ้ว) รถถังเบา 32 \"STINGRAY\" มีขนาดเล็ก และนำ้ หนักนอ้ ย จงึ สามารถเคล่ือนท่ีผ่าน สะพาน ถนน และภูมิประเทศอืน่ ๆ ซึ่งรถถัง ทีม่ ีขนาดใหญ่และหนักกวา่ ไม่สามารถกระทำได้ 1.2 ตัวรถ (HULL) ตัวรถสร้างข้ึนจากแผ่นเกราะเหล็กกล้า (CADLOY) ด้วยการตัด ดัดขึ้นรูปแล้วเชื่อม ประสานเข้าด้วยกัน เป็นรูปตัวรถซึ่งให้ผลป้องกันอย่างสมบูรณ์จากอำนาจการยิงของอาวุธขนาดเล็ก ลูกระเบิด ขว้าง และท่นุ ระเบิดสังหารบุคคล พื้นผวิ ภายนอกทง้ั หมดจะสรา้ งให้มีมุมลาด เพ่อื ให้ เกดิ การแฉลบของกระสนุ ปืนได้ดีท่ีสุด เคร่ืองกำเนิดกำลังได้รับการปกปิดอย่างมิดชิดภายในตัวรถ ช่องรับไอดีและช่องไอเสียจะได้รับการป้องกัน ด้วยแผ่นเกราะ และตะแกรงเพ่ือให้อากาศไหลผ่านได้สะดวก ด้านบนของตัวรถ จะมีชอ่ งเปิดและฝาปิด เพื่อเป็น ช่องทางเข้า-ออกของพลขับ และเพื่อเป็นช่องทางเข้าไปสู่เคร่ืองกำเนิดกำลัง ที่นั่งพลขับสามารถปรับเล่ือนได้ท้ัง ทางด่ิงและทางระดับ การปรับที่นั่งทางแนวดิ่งจะช่วยให้พลขับสามารถขับรถได้สะดวกเวลาเปิดฝาปิดฯ และโผล่ ศรี ษะข้ึนมองทางด้านบน และเมอื่ ปดิ ฝาปิดแลว้ มองผ่านกลอ้ งตรวจการณ์ ซงึ่ ตดิ ต้งั ไว้บนฝาปิดหอ้ งพลขบั 1.3 เครื่องยนต์ (ENGINE) รถถังเบา 32 \"STINGRAY\"จะ ติดต้ังเคร่ืองยนต์ดีเซล และเคร่ืองเปลี่ยนความเร็ว แบบกึ่งอัตโนมัติที่มีสมรรถนะดีเด่นเชื่อถือได้ เคร่ืองยนต์มีกำลัง 535 แรงม้า (400 กิโลวัตต์) สามารถขับเคล่ือน รถถัง ใหแ้ ล่นด้วยความเร็ว 69 กม./ชม.(43 ไมล์/ชม.) และเร่งจากความเร็วจาก 0 - 32 กม./ชม.(0 - 20 ไมล์/ชม.) ได้ในเวลา 10 วนิ าที 1.4 เคร่ืองเปล่ียนความเรว็ (TRANSMISSION) เปน็ เครอื่ งเปลยี่ นความเร็วกงึ่ อัตโนมัติ แบบ XTG 411-4A มีเกียร์เดินหน้า 4 ตำแหน่ง เกียร์ถอยหลัง 2 ตำแหน่ง เกียร์ว่าง 1 ตำแหน่ง ความเร็วสูงสุดบน ถนน 69 กม./ชม.(43 ไมล์/ชม.) ระบบกำลังขับเคลื่อนรถประกอบด้วย หีบเฟืองถ่ายทอดกำลัง ซึ่งทำหน้าที่ ถา่ ยทอดกำลังออกจากเคร่อื งยนต์ไปยังหีบเฟืองเปลี่ยนความเรว็ ซ่งึ มอี งคป์ ระกอบสำคัญ ได้แก่ เครื่องแปลงแรงบิด

ห น้ า | 40 ชุดเฟืองเปล่ียนความเร็ว ชุดเฟืองบงั คับเล้ียว และชุดห้ามล้อ เน่ืองจากเป็นเคร่ืองเปลี่ยนความเร็วกึ่งอัตโนมัติ การ เปล่ยี นเกียรท์ กุ ตำแหนง่ จะตอ้ งกระทำด้วยมอื ท้งั สิ้น 1.5 ระบบไฟฟ้า (ELECTRICAL SYSTEM) เป็นระบบไฟตรง 24 โวลท์ จากแบตเตอรี่ 12 โวลท์จำนวน 4 หม้อ ต่อเป็นวงจรแบบอันดับ-ขนาน แบตเตอร่ีจะได้รับการประจุไฟด้วยเครื่องกำเนิดไฟฟ้าขนาด 650 แอมแปร์ ระบายความร้อนด้วยน้ำมันเคร่ืองเปลี่ยนความเร็ว ขับหมุนด้วยเพลา เครื่องกำเนิดไฟฟ้าติดต้ังอยู่บนหีบเฟือง ถา่ ยทอดกำลงั เตา้ พว่ งไฟจะตดิ ตั้งอยูภ่ ายในห้องแบตเตอรี่ ซง่ึ อยู่ทางด้านซ้ายของตวั รถ 1.6 ระบบน้ำมันเช้ือเพลิง (FUEL SYSTEM) ประกอบด้วยถังน้ำมันเชื้อเพลิงหลัก ความจุ 606 ลิตร (106 แกลลอน) และถังน้ำมันเชื้อเพลงิ รอง ความจุ 151 ลิตร (40 แกลลอน) ถังน้ำมันเชอ้ื เพลงิ หลกั เปน็ ช่องว่างระหว่าง ผนังกั้นห้องเครื่องยนตแ์ ละห้องพลประจำรถ ถังน้ำมันเชือ้ เพลิงสำรองติดตัง้ อยู่ทางด้านหน้าซ้ายภายในห้องพลขับ เครื่องวัดระดับน้ำมันเช้ือเพลิงของถังหลักจะติดต้ังอยู่ท่ีแผงเครื่องวัดของพลขับ ชุดหม้อกรองน้ำมันเชื้อเพลิง ซ่ึง ประกอบด้วย หม้อกรองแยกน้ำ 1 ตัว และหม้อกรองน้ำมัน 1 ตัว จะตดิ ต้ังอยู่บนเครื่องกำเนิดกำลังด้านซ้าย การ ถ่ายนำ้ มันเช้ือเพลิงจากถงั สำรองไปยังถงั หลกั จะใชป้ ๊ัมไฟฟ้า ซึ่งมสี วติ ชค์ วบคุมอย่ทู ี่แผงเคร่อื งวัดของพลขบั และเม่อื นำ้ มันในถังสำรองถูกสบู ออกไปหมดแล้ว ปั๊มไฟฟ้านี้จะหยุดทำงานโดยอัตโนมตั ิ 1.7 ระบบระบายความร้อน (COOLING SYSTEM) ระบบระบายความร้อนของเคร่ืองยนต์ประกอบด้วย หม้อน้ำรังผ้ึง ถังเก็บน้ำล้น ป๊ัมน้ำ ลิ้นควบคุมอุณหภูมิ จำนวน 4 ตัว พัดลมระบายความร้อน และกรอบพัดลม ท่อน้ำ ข้อต่อ และปลอกรัดต่าง ๆ อากาศจากภายนอกรถจะถูกดูดเข้าสู่ ภายในห้องเครือ่ งยนต์ และเป่าผ่านหม้อ น้ำรงั ผึ้งด้วยพัดลม จำนวน 2 ตัว และระบายออกไปทางตะแกรงปิดหม้อน้ำรังผ้ึงด้านท้ายรถ ถังเก็บน้ำล้นจะรับน้ำ ที่ขยายตัวจากระบบระบายความร้อน และรักษาให้หม้อน้ำรังผ้ึงมีน้ำเต็มอยู่ตลอดเวลา การผ่อนคลายแรงดันสูง มากเกินควรภายในหม้อน้ำรังผ้ึงและภายในฝาเรือนสูบของเคร่ืองยนต์จากการเดือดของน้ำ ภายหลังการดับ เครอื่ งยนต์ท่ียังรอ้ นจัดอยกู่ ระทำดว้ ยการต่อทอ่ เล็ก ๆ เข้าระหว่างหมอ้ นำ้ รงั ผึง้ และเรือนล้นิ ควบคุมอุณหภูมิ เขา้ กับ ถงั เก็บนำ้ ล้น 1.8 ระบบไอดี (AIR INTAKE SYSTEM) ประกอบด้วยหม้อกรองอากาศแบบแห้ง จำนวน 1 หม้อติดตั้งอยู่ ภายในห้องเครื่องยนต์ทางด้านขวาของตัวรถ และเครื่องเพ่ิมไอดีแบบกังหัน ( TURBO CHARGED) ซ่ึงหมุนด้วย แรงดันไอเสีย จำนวน 2 ตัว เพ่ือทำหน้าที่ดูดอากาศจากหม้อกรองอากาศ แล้วส่งไปยังเครื่องยนต์ทางท่อร่วมไอ ดี ฝ่นุ ละอองที่ตกคา้ งอยใู่ นหมอ้ กรองขั้นแรกจะถกู ระบายทิง้ ไปทางหม้อเกบ็ เสยี งดว้ ยการชักนำของไอเสีย 1.9 ระบบไอเสีย (EXHAUST SYSTEM) ประกอบด้วยท่อร่วมไอเสีย 2 ชุด ต่อเข้าโดยตรงกับเคร่ืองเพ่ิมไอดี ด้านกงั หนั ไอเสียแต่ละตัว แล้วจึงตอ่ เข้าไปยังหม้อเก็บเสียง ซึ่งติดต้ังอยบู่ นบงั โคลนที่ท้ายรถดา้ นขวา 1.10 ระบบพยุงตัวรถและสายพาน (SUSPENSIONS SYSTEM AND TRACK) รถถังเบา 32 \"STINGRAY\" ใช้ ระบบพยุงตัวรถด้วยคานรับแรงบิด มีล้อกดสายพานข้างละ 6 ล้อ สายพานด้านบน จะถูกรองรับไว้ระหว่างล้อขับ สายพานและล้อปรับสายพาน ด้วยล้อรับสายพานข้างละ 3 ล้อ ล้อ ต่าง ๆในระบบพยุงตัวรถเป็นแบบล้อคู่ ท่ี สามารถถอดแยกออกจากกันได้ สายพานเป็นสายพานแบบสลักคู่ และถูกขับด้วยเฟืองของล้อขับสายพานซึ่งอยู่ ดา้ นท้ายรถ ล้อปรับสายพานซึ่งอยู่ทางดา้ นหน้ารถแตล่ ะข้างจะมีกระบอกปรบั สายพานตอ่ โยงอยู่ระหวา่ งตัวรถกับ ข้อเหวี่ยงของดุมแขนล้อกดสายพาน ในระบบพยุงตวั รถแต่ละข้างจะมีเคร่ืองผ่อนแรงสะเทือน เพ่ือผ่อนคลายแรง สะเทือนเมื่อรถถงั เคลอื่ นที่ไปในภมู ปิ ระเทศขรขุ ระ ติดตั้งอยู่ ทีแ่ ขนล้อกดฯ ลอ้ ท่ี 1 ลอ้ ที่ 2 และลอ้ ที่ 6

ห น้ า | 41 1.11 เคร่ืองสูบน้ำพ้ืนรถ (BILGE PUMP) เคร่ืองสูบน้ำ ซ่ึงขับด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า จำนวน 2 ตัว จะติดตั้งไว้ใน ห้องหอรบ หลังที่น่ังพลขับ 1 ตัว และในห้องเครื่องยนต์ 1 ตัว เพ่ือสูบน้ำที่อาจร่ัวไหลเข้ามาในตัวรถ เคร่ืองสูบน้ำ แต่ละตัวสามารถสูบน้ำได้ 174 ลิตร/นาที และเครื่องสูบน้ำท้ัง 2 ตัวน้ีจะทำงานพร้อมกัน และควบคุมดว้ ยสวิตช์ที่ แผงเครือ่ งวดั ของพลขบั 1.12 ขอพ่วง หูห่วงลากจูงและหูห่วงยกรถ (TOWING PINTLE,TOWING SHAGKLES AND LIFTING EYES) รถถังแตล่ ะคนั จะมขี อพ่วง 1 ตัว ตดิ ตัง้ อยู่กง่ึ กลางด้านลา่ งของท้ายรถ และมีหหู ว่ งลากจงู 4 ตวั อยู่ท่ีดา้ นท้ายรถ 2 ตัวและด้านหนา้ รถ 2 ตวั และมหี หู ่วงยกรถ 4 ตวั เชอื่ มตดิ ไวท้ ตี่ วั รถดา้ นหนา้ และดา้ นหลังแตล่ ะมุม 1.13 ระบบเคร่ืองดับเพลิงประจำที่ (FIXED FIRE EXTINGUISHER SYSTEM) ระบบเคร่ืองดับเพลิงประจำท่ี ทำหน้าที่ดับเพลิงท่ีเกิดขึ้นภายในห้องเครื่องยนต์ด้วยสารดับเพลิงชนิดผงเคมีแห้ง ซ่ึงบรรจุไว้ในหม้อดับเพลิง ที่ ตดิ ต้งั อยู่ภายในป้อมปนื และมีท่อส่งสารดบั เพลิงต่อไปยังหัวพ่น 4 หัว ภายในห้องเคร่ืองยนต์ ระบบดับเพลิงประจำ ทส่ี ามารถทำงานได้ด้วยระบบอัตโนมัติและระบบบงั คับด้วยมือการบังคับด้วยมือจะมีชดุ บังคับ ซ่งึ อยู่ภายในห้องพล ขบั 1 ชดุ และภายในหีบโทรศัพทท์ ้ายรถอกี 1 ชดุ 2. มาตราทานรถ ตวั รถ (HULL) วัสดทุ ่ีใช้สรา้ ง แผ่นเกราะเหลก็ กลา้ แคดลอย \"CADLOY\" ตัดและ ดดั ขนึ้ รูปแลว้ เชือ่ มประสานเข้าด้วยกันเปน็ ตัวรถ ประตูและฝาปดิ จำนวน และตำแหน่ง 8 อนั (1) ห้องพลขับ (1) ช่องหลบหนี (1) หอ้ งหมอ้ กรองอากาศ (1) หอ้ งเครอ่ื งกรอง นชค.(1) หอ้ งเก็บแบตเตอรี่ (1) ชอ่ งระบายอากาศระบบ ระบายความร้อนน้ำมนั เครื่องเปล่ียนความเร็ว (1) ชอ่ งรับอากาศระบบระบายความร้อนเครื่องยนต์ และเคร่ืองเปล่ียนความเรว็ (1) แบบของประตู และฝาปดิ แผ่นบานเกลด็ ขดั กลอนภายใน หรือขัดดว้ ยสลกั เคร่ืองตรวจการณ์ จำนวนและตำแหน่งของกล้องตรวจการณ์ตัวรถ (ติดตั้งบนฝาปิดห้องพลขับ) 3 กล้องแบบ แผ่นแก้วเรียง ซอ้ นกนั น้ำหนกั น้ำหนักรถ (พรอ้ มด้วยพลขบั และนำ้ มันเช้อื เพลิง) 19,545 กก.(43,000 ปอนด)์ น้ำหนักรวม (น้ำหนักพร้อมรบสงู สุด) 21,364 กก.(47,000 ปอนด)์ นำ้ หนักกดพื้นดิน 0.756 กก./ตร.ซม.(10.8 ปอนด/์ ตร.นว้ิ )

ห น้ า | 42 ขนาด 930 ซม. (366 นว้ิ ) ความยาว (รวมท้ังปนื ใหญ่) 645 ซม. (253 นว้ิ ) (ไม่รวมปืนใหญ่) 271 ซม. (106.5 นว้ิ ) ความกวา้ ง 255 ซม. (100.5 นว้ิ ) ความสูง (ถึงหัวกล้องเล็ง ผบ.รถ) 240 ซม. ( 94.4 นว้ิ ) (สามารถลดลงใหเ้ หลือ) 363 ซม. (143 นว้ิ ) ความยาวของสายพานท่สี ัมผัสพื้น 231 ซม. ( 91 นว้ิ ) ความกว้างจากจดุ กง่ึ กลางของสายพานท้ัง 2 ข้าง 43 ซม. ( 17 นว้ิ ) ระยะห่างใตท้ ้องรถ 90 องศา มมุ ถึงลาด 50 องศา มุมจากลาด หน่วยกำลงั ขบั เคลือ่ นรถ เครื่องยนต์ DDA 8V 92 TA, 400 กโิ ลวัตต์ ที่ 2,300 รอบ/นาที (535 แรงมา้ ท่ี 2,300 รอบ/นาท)ี หีบเฟอื งถา่ ยทอดกำลัง รวมอยู่กับเครื่องเปลยี่ นความเร็ว เครื่องเปลยี่ นความเรว็ DDA XTG 411-4A เคร่อื งบังคับเล้ียว และเคร่ืองห้ามล้อ รวมอยกู่ บั เครอ่ื งเปลี่ยนความเร็ว หบี เฟอื งขับข้นั สดุ ท้าย ชดุ เฟืองเกยี รบ์ รวิ าร ทดเฟอื ง 4 : 1 ระบบไฟฟา้ แบบ 24 โวลท์ ขั้วลบดนิ มีระบบปอ้ งกันน้ำ และการรบกวนทางคล่นื วทิ ยุ แบตเตอรี่ 4 หม้อ แรงเคล่ือนไฟฟ้าหม้อละ 12 โวลท์ แบบ 6 TN อัตราการจ่ายกระแสไฟ (หม้อละ) 100 แอมป.์ / ชม. เครื่องกำเนิดไฟฟา้ 28 โวลท์ 650 แอมแปร์ ระบายความรอ้ นดว้ ย นำ้ มันเครอื่ งเปล่ียนความเรว็ ขบั ดว้ ยเพลา ระบบแสงสวา่ ง ไฟใหญ่ ชุดโคมไฟคู่ ประกอบดว้ ย ไฟสงู ไฟต่ำ ไฟพรางขับ และไฟพรางจอด ไฟทา้ ย ชุดโคมไฟท้าย ประกอบด้วย ไฟทา้ ย ไฟห้ามล้อ ไฟพรางจอด และ ไฟหา้ มลอ้ พรางขับ ไฟสญั ญาณเล้ียว ดา้ นหน้า และดา้ นหลังรถ พรอ้ มดว้ ยไฟสัญญาณฉุกเฉนิ กระพริบ พรอ้ ม กนั 4 ดวง

ห น้ า | 43 สายพานและเครื่องพยุงตวั รถ แบบ แขนลอ้ กด ทำงานเป็นอิสระพรอ้ มดว้ ยคานรับแรงบดิ ลอ้ รบั สายพาน (ด้านละ) 3 ลอ้ (ลอ้ คู่) ล้อกดสายพาน (ด้านละ) 6 ล้อ (ล้อคู่) เสน้ ผ่าศูนยก์ ลางล้อกดสายพาน 16 ซม.(24 นว้ิ ) สายพานแบบ T136 สลักคทู่ ำดว้ ยเหลก็ กลา้ เปลย่ี นยางรองสายพานได้ ข้อสายพานกวา้ ง 15 ซม.( 6 นว้ิ ) หนา้ สายพานกวา้ ง 38 ซม.(15 นว้ิ ) จำนวนข้อสายพาน (ดา้ นละ) 84 ข้อ ความตงึ หย่อนของสายพาน 3/8 นิ้ว (9.5 มม.) เคร่อื งผอ่ นแรงสะเทอื น (ด้านละ) 3 อนั เครื่องสบู น้ำพ้ืนรถ แบบ ทำงานดว้ ยไฟฟา้ อตั ราการสูบน้ำ (ตัวละ) 174 ลติ ร (46 แกลลอน/นาที สมรรถนะ ความเรว็ สงู สดุ บนถนนพืน้ แขง็ ผิวเรยี บ 69 กม./ชม.(43 ไมล์/ชม.) บนลาดตรง 10 % 31 กม./ชม.(19 ไมล์/ชม.) บนลาดตรง 60 % 8 กม./ชม.( 5 ไมล์/ชม.) อตั ราการเรง่ 0 ถงึ 32 กม./ชม.ในเวลา 10 วินาที ระยะปฏิบตั ิการ (ความเร็ว 40 กม./ชม.หรือ 25 ไมล์/ชม.) 483 กม.(300 ไมล์) รศั มวี งเลี้ยว (หมนุ อยูก่ ับท)ี่ 406 ซม.(160 นว้ิ ) ความสามารถในการไต่ลาด (ลาดตรง) 60 % (ลาดเอียง) 40 % ข้ามเคร่ืองกีดขวางทางดิ่ง 76 ซม.(30 นว้ิ ) ข้ามคกู ว้าง 213 ซม.(85 นว้ิ ) ลุยข้ามน้ำลึก 107 ซม.(42 นว้ิ ) เคร่ืองยนต์ ชนิด ดีเซล V 8 แบบ DDA 8V 92 TA, 2 จังหวะรอบ ระบายความร้อน ด้วยนำ้ ใหก้ ำลงั 535 แรงมา้ (400 กิโลวัตต)์ กำลงั 535 แรงมา้ ท่ี 2,300 รอบ/นาที ปรมิ าตรในกระบอกสบู 12.2 ลิตร (736 ลบ.นว้ิ ) ความเรว็ สูงสดุ (มีภารกรรม) 2,300 รอบ/นาที (ไม่มภี ารกรรม) 2,450 รอบ/นาที

ห น้ า | 44 รอบเดนิ เบา 650 รอบ/นาที น้ำมนั เชือ้ เพลงิ ดเี ซล เบอร์ 2 ระบบระบายความรอ้ นเคร่อื งยนต์ ความจุ 91 ลติ ร (96 ควอท) ลน้ิ ควบคมุ อุณหภูมทิ ำงาน 77 - 85 องศา C.(170 - 185 องศา F.) แรงดนั ฝาปิดหม้อน้ำ 15 ปอนด/์ ตร.นิว้ (103 กิโลปาสกาล) ระบบนำ้ มันเชอ้ื เพลงิ ถังน้ำมันเชื้อเพลิง (ดา้ นหลงั ) 606 ลิตร (160 แกลลอน) 1 ถัง เป็นสว่ นประกอบของตวั รถ (ด้านหน้า) 151 ลิตร (40 แกลลอน) 1 ถัง ยึดติดกับตัวรถด้วยเหล็กรดั สูบปอ้ นนำ้ มันเช้ือเพลิง ขบั ดว้ ยเครอ่ื งยนต์ สบู ถา่ ยเทนำ้ มนั เช้อื เพลงิ ทำงานดว้ ยไฟฟ้า หม้อกรองนำ้ มันเชื้อเพลิง หม้อกรองคู่ เปล่ียนไส้กรองได้ เครื่องดับเพลิง เครอ่ื งดับเพลงิ ประจำท่ี ดับเพลงิ ในหอ้ งเครื่องยนต์ แบบ ผงเคมแี ห้ง ทำงานโดยอัตโนมัติและสามารถบังคับใช้งานด้วยมอื จากภายใน และภายในนอกรถ เครื่องดับเพลิงยกยา้ ยได้ 2 หมอ้ แบบ เฮลอน 1211 ขนาด (หมอ้ ละ) 1.1 กก.(2.5 ปอนด)์ ความจุ ระบบหล่อลื่นเครื่องยนต์ 27 ลติ ร (28 ควอท) ระบบระบายความรอ้ นเครื่องยนต์ 91 ลิตร (96 ควอท) ถงั นำ้ มันเชอ้ื เพลงิ (หลงั ) 606 ลิตร (160 แกลลอน) (หนา้ ) 151 ลิตร (40 แกลลอน) เคร่อื งเปลีย่ นความเร็ว 55 ลิตร (58 ควอท) หบี เฟอื งขบั ขนั้ สุดท้าย (ตัวละ) 2.6 ลิตร (2.75 ควอท) หบี เฟอื งขบั พัดลม (ตวั ละ) 0.250 ลิตร (18 ออนซ)์ ความส้นิ เปลอื งนำ้ มันเชอื้ เพลงิ บนถนน 1.5 ลติ ร/กม. ในภมู ิประเทศ 3 - 3.5 ลติ ร/กม. ************

ห น้ า | 45 ตอนท่ี 2 คำแนะนำในการใชง้ าน เครอื่ งควบคุม คนั บังคบั เคร่อื งวดั และไฟเตือนตา่ ง ๆในหอ้ งพลขับ ลำดับ ช่ืออปุ ก17รณ์ หน้าทีแ่ ละการใชง้ าน 1. ไฟเพดาน ให้แสงสวา่ งภายในห้องพลขบั 2. กลอนยึดฝาปิดห้องพลขบั ยดึ ฝาปดิ ห้องพลขบั ไวใ้ นตำแหนง่ \"เปดิ \"หรอื \"ปิด\" 3. สวิตช์ไฟสญั ญาณเลีย้ ว ให้สญั ญาณทศิ ทางทต่ี อ้ งการเลย้ี วรถซา้ ย-ขวา และไฟ 4. พวงมาลัยบงั คับเลีย้ ว สัญญาณฉุกเฉนิ ใช้สำหรับบังคับเล้ยี วรถถงั ลำดับ ช่อื อุปกรณ์ หนา้ ทีแ่ ละการใช้งาน 5. ไฟเตอื นหลกั เปน็ ไฟเตอื นสแี ดงจะตดิ สวา่ งขึ้นเมอ่ื แรงดนั น้ำมนั (POWERPLANT WARNING LIGHT) เครอื่ งยนต์ หรือแรงดนั นำ้ มันเครอ่ื งเปลี่ยน ความเร็วมีค่าตำ่ กวา่ 10 ปอนด/์ ตร.นว้ิ อณุ หภูมิเครื่องยนต์สูงถึง 240 องศา ฟ.หรอื อุณหภมู นิ ำ้ มนั เคร่ืองเปลย่ี นความเร็วสงู ถงึ 300 องศา ฟ.

ห น้ า | 46 หมายเหตุ ไฟเตือนหลกั อาจติดขึ้นไดเ้ ม่ือหมนุ พวงมาลยั บังคับเลย้ี ว ในขณะเครอ่ื งยนต์อยู่ในรอบเดนิ เบา 650 รอบ/นาที 6. คันดบั เครอื่ งยนต์ ใช้ดับเคร่ืองยนต์ด้วยการดงึ คนั ดบั เคร่อื งยนต์ ออกมาจนสดุ และ สามารถยึดไวไ้ ด้ในตำแหนง่ เดินเคร่ืองหรือตำแหน่งดบั เคร่ือง ด้วยการ บิดคันบงั คับ 7. แผงเคร่อื งวดั ตดิ ตั้งเคร่ืองวัด สวิตชค์ วบคุม และไฟเตอื นต่าง ๆท่ี จำเปน็ สำหรับตรวจการทำงานของระบบเคร่อื งกำเนิด กำลัง การควบคุมการทำงานของเครอ่ื งยนต์ และการขบั รถถงั 8. ระบบควบคมุ เครือ่ งดบั เพลิง ควบคมุ การทำงานของระบบเครื่องดับเพลงิ อัตโนมัตแิ ละ ประจำท่ี ระบบบังคับด้วยมือ สำหรับใชด้ ับเพลิงท่เี กิดภายในห้องเคร่อื งยนต์ 9. เคร่อื งวัดระดบั นำ้ มันเชอื้ เพลงิ แสดงระดบั นำ้ มันเช้ือเพลงิ ในถังนำ้ มนั ด้านหนา้ 10. ถงั น้ำมันเช้ือเพลงิ ด้านหนา้ เก็บนำ้ มนั เชอื้ เพลงิ สำรองจำนวน 151 ลิตร 11. คันหา้ มล้อจอดรถ ยดึ คนั หา้ มล้อเท้าไว้ในตำแหน่งจอดรถ 12. คนั ห้ามลอ้ ใช้บงั คบั การทำงานของระบบห้ามล้อ เพ่อื ลดความเรว็ และหยดุ รถ 13. คนั เร่งเครอ่ื งยนต์ ใชค้ วบคมุ ความเรว็ ของเคร่อื งยนต์ 14. คันเร่งมอื ใช้สำหรบั ยดึ คนั เรง่ เคร่อื งยนต์ไว้ในตำแหนง่ ที่ต้องการใชง้ าน 15. คันเกียรเ์ ปล่ยี นความเร็ว ใชเ้ ลือกตำแหนง่ เกียร์ทีต่ ้องการใชง้ าน มเี กยี รเ์ ดนิ หน้า 4 ต ำ แ ห น่ ง เกี ย ร์ ถ อ ย ห ลั ง 2 ต ำ แ ห น่ ง แ ล ะ เกี ย ร์ ว่ า ง 1 ตำแหน่ง ลำดับ ช่อื อุปกรณ์ หนา้ ท่ีและการใชง้ าน 16. เครือ่ งวัดการอุดตันของ แสดงสภาพของไสก้ รองในหมอ้ กรองอากาศ หมอ้ กรองอากาศ 17. ท่ีน่งั พลขับ ที่น่งั พลขบั สามารถปรบั เลอื่ นไปข้างหน้า หรอื ขา้ งหลงั ด้วยคันปรับเล่ือนทน่ี งั่ และปรับให้สูงหรือต่ำลงจนเหมาะ สมกบั การขับรถเปดิ ป้อม หรอื ขบั รถปดิ ป้อมได้ นอกจากน้ี โครงเสาท่นี ัง่ ยงั สามารถพับไปข้างหน้าไดด้ ว้ ยการปลด กระเดอื่ งยดึ โครงเสาที่น่ัง เพื่ออำนวยใหเ้ ขา้ ถงึ ช่องหลบหนี ซ่ึงอยู่ใตท้ ีน่ ัง่ เคร่อื งควบคุม คันบงั คับ เครอื่ งวดั และไฟเตอื นต่าง ๆในห้องพลขบั แผงเคร่อื งวดั ของพลขบั

ห น้ า | 47 - 11 - ลำดับ ชอ่ื อปุ กรณ์ หน้าที่และการใช้งาน 1. สวิตชค์ วบคุมวงจรไฟฟา้ ป้อมปืน เปดิ -ปิด วงจรไฟฟ้าภายในป้อมปืน เมื่อก้านสวิตช์อยู่ (TURRET POWER SWITCH) ด้านบนจะเปน็ ตำแหนง่ เปิด\"ON\" เมื่อก้านสวิตชอ์ ยู่ ดา้ นล่างจะเป็นตำแหน่งปิด\"OFF\" 2. ไฟเตือนสวติ ชค์ วบคุมวงจรไฟฟา้ เป็นไฟเตือนสีเหลืองอยู่เหนือสวิตช์ จะติดสว่างข้ึน ป้อมปืน (TURRET POWER เม่ือสวติ ชค์ วบคมุ วงจรไฟฟ้าป้อมปนื อยูใ่ นตำแหนง่ INDICATOR) เปิด\"ON\" หมายเหตุ ไฟเตอื นทกุ ดวงบนแผงเครือ่ งวัดเป็นแบบกดทดสอบ(PRESS TO TEST) การทดสอบสภาพวงจรและหลอดไฟเตอื นเหลา่ นี้กระทำโดยการกดฝาครอบ หลอดไฟ ๆจะตอ้ งตดิ สวา่ งขน้ึ 3. สวิตชค์ วบคมุ วงจรไฟฟา้ ตัวรถ เปิด-ปดิ วงจรไฟฟ้าตัวรถ และตดิ เครอ่ื งยนต์ และหมุนเคร่ืองยนต์ มี 3 ตำแหนง่ คือ ปดิ \"OFF\" เปดิ \"POWER ON\" (VEHICLE POWER/STARTER และติดเครือ่ งยนต์\"START\" SWITCH) - เมื่อจัดก้านสวติ ช์ไว้ด้านบนตำแหน่งแรก จะเป็น ตำแหนง่ เปดิ \"POWER ON\"เพ่ือจ่ายกระแสไฟฟ้าให้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook