Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชา ครูทหาร

วิชา ครูทหาร

Published by qacavalry, 2021-03-05 09:37:40

Description: วิชา ครูทหาร
รหัสวิชา ๐๑๐๒๐๕๐๔๐๓
หลักสูตรนายสิบอาวุโส
แผนกวิชาทั่วไป กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

โรงเรยี นทหารม้า วิชา ครทู หาร รหสั วิชา ๐๑๐๒๐๕๐๔๐๓ หลกั สตู รนายสิบอาวโุ ส แผนกวชิ าทว่ั ไป กศ.รร.ม.ศม. ปรัชญา รร.ม.ศม. “ฝกึ อบรมวชิ าการทหาร วทิ ยาการทนั สมัย ธารงไวซ้ ึ่งคุณธรรม” 1

ปรัชญา วิสัยทศั น์ พนั ธกิจ วตั ถุประสงค์การดาเนินงานของสถานศกึ ษา เอกลักษณ์ อตั ลักษณ์ ๑. ปรัชญา ทหารมา้ เป็นทหารเหลา่ หนึง่ ในกองทัพบกทใ่ี ชม้ ้าหรือส่ิงกาเนิดความเรว็ อน่ื ๆ เป็นพาหนะ เป็นเหล่าที่มีความสาคัญ และจาเป็นเหล่าหนึ่ง สาหรับกองทหารขนาดใหญ่ เช่นเดียวกับเหล่าทหารอ่ืน ๆ โดยมีคุณลักษณะ ท่ีมีความคล่องแคล่ว รวดเร็วในการเคลื่อนท่ี อานาจการยิงรุนแรง และอานาจในการทาลายและข่มขวัญ อันเป็นคณุ ลกั ษณะที่สาคญั และจาเป็นของเหลา่ โรงเรยี นทหารมา้ ศนู ย์การทหารม้า มปี รชั ญาดังนี้ “ฝึกอบรมวิชาการทหาร วิทยาการทันสมยั ธารงไว้ซ่งึ คณุ ธรรม” ๒. วสิ ัยทศั น์ “โรงเรียนทหารม้า ศูนย์การทหารม้า เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้วิชาการเหล่าทหารม้าท่ีทันสมัย ผลิตกาลงั พลของเหล่าทหารมา้ ใหม้ ลี กั ษณะทางทหารทด่ี ี มคี ุณธรรม เพ่ือเป็นกาลังหลักของกองทัพบก” ๓. พนั ธกิจ ๓.๑ วจิ ัยและพัฒนาระบบการศึกษา ๓.๒ พฒั นาคุณภาพครู อาจารย์ และบคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๓ จดั การฝึกอบรมทางวิชาการเหล่าทหารม้า และเหลา่ อนื่ ๆ ตามนโยบายของกองทพั บก ๓.๔ ผลติ กาลังพลของเหล่าทหารม้า ใหเ้ ปน็ ไปตามวตั ถปุ ระสงค์ของหลกั สูตร ๓.๕ พฒั นาสอ่ื การเรยี นการสอน เอกสาร ตาราของโรงเรยี นทหารมา้ ๓.๖ ปกครองบังคับบัญชากาลังพลของหน่วย และผู้เข้ารับการศึกษาหลักสูตรต่างๆ ให้อยู่บนพื้นฐาน คณุ ธรรม จริยธรรม ๔. วัตถปุ ระสงคข์ องสถานศึกษา ๔.๑ เพ่ือพัฒนาครู อาจารย์ และบุคลากรทางการศึกษา ให้มีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ให้กบั ผเู้ ขา้ รบั การศกึ ษาได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ ๔.๒ เพื่อพฒั นาระบบการศกึ ษา และจดั การเรยี นการสอนผ่านสอื่ อิเล็กทรอนกิ ส์ ใหม้ คี ุณภาพอย่างต่อเนอ่ื ง ๔.๓ เพื่อดาเนินการฝึกศึกษา ให้กับนายทหารช้ันประทวน ที่โรงเรียนทหารม้าผลิต และกาลังพลท่ีเข้ารับ การศกึ ษา ให้มคี วามรู้ความสามารถตามที่หน่วย และกองทัพบกตอ้ งการ ๔.๔ เพ่อื พัฒนาระบบการบริหาร และการจัดการทรพั ยากรสนบั สนนุ การเรียนรู้ ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ๔.๕ เพือ่ พฒั นาปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน เอกสาร ตารา ใหม้ ีความทนั สมยั ในการฝึกศึกษาอย่างต่อเน่ือง ๔.๖ เพ่อื พฒั นา วิจัย และใหบ้ ริการทางวิชาการ ประสานความร่วมมือ สร้างเครือข่ายทางวิชาการกับ สถาบนั การศกึ ษา หนว่ ยงานอ่ืนๆ รวมท้ังการทานบุ ารงุ ศลิ ปวัฒธรรม ๕. เอกลกั ษณ์ “เป็นศูนย์กลางแห่งการเรียนรู้ทางวิชาการ และผลิตกาลังพลเหล่าทหารม้าอย่างมีคุณภาพเป็นการ เพิ่มอานาจกาลังรบของกองทัพบก” ๖. อัตลกั ษณ์ “เด่นสงา่ บนหลงั มา้ เก่งกลา้ บนยานรบ” 2

คานา เอกสารตาราวิชาครูทหารเล่มน้ี ได้จัดทาข้ึนเพ่ือให้ผู้เข้ารับการศึกษา ได้ใช้ศึกษาหาความรู้ ทา ความเข้าใจในหลกั และการปฏบิ ัตใิ นหน้าท่ขี องครูทหาร พร้อมทั้งอธิบายถึงแนวการสอน และหลักการ สอนต่าง ๆ และได้รวบรวมถึงเทคนิคการพูด การถาม การตอบ บรรยายถึงคุณลักษณะต่าง ๆ ของการ เปน็ ครทู หารทีด่ ี หวังว่า เอกสารตาราวชิ าครูทหาร เล่มน้ี จะอานวยประโยชน์แก่ผู้เข้ารับการศึกษาทุกท่าน ที่จะ นาไปศึกษา และปฏิบัติงานในหน้าที่ให้ได้ผลดี หากปรากฏข้อบกพร่องด้วยประการใดก็ตาม ขอได้ให้ คาแนะนา เพอื่ ท่จี ะไดน้ ามาปรบั ปรุง แกไ้ ข ในโอกาสตอ่ ไป แผนกวชิ าท่ัวไป กศ.รร.ม.ศม. 3

สารบัญ บทที่ หน้า 1 5-7 2 8-10 3 11-23 4 24-25 5 26-29 6 30-60 .............................................. 4

บทท่ี ๑ ครทู หาร ๑. สคู่ วามเข้าใจเบ้อื งตน้ เกยี่ วกับวชิ าครูทหาร ๑.๑ เกย่ี วกบั ช่ือวิชา ๑.๑.๑ ทีเ่ รียกวา่ \" วชิ าครูทหาร \" กเ็ พราะเป็นหลักการสอนในวงการทหาร ผู้รับการสอน ก็เปน็ ทหารไมเ่ กย่ี วกับวชิ าครูทั่วไป ๑.๒ อาชีพนายทหาร หนีไมพ่ ้นจากตาแหนง่ ใหญ่ ๆ ๓ ประเภทคอื ๑.๒.๑ ผู้บังคบั บญั ชา หรือ ผู้บังคบั หนว่ ย ๑.๒.๒ ฝา่ ยอานวยการ หรอื ผชู้ ่วยผ้บู ังคบั บญั ชา ๑.๒.๓ ครู ( ผบ.หนว่ ยขนาดยอ่ ม (ผบ.หม,ู่ หมวด, กองรอ้ ย) จะตอ้ งเป็นครูไปในตัว และคนหนง่ึ อาจทาได้หลายหนา้ ท่ี ) ๑.๓ ทหารกบั การศกึ ษา ๑.๓.๑ การศกึ ษาทาใหเ้ ปน็ คนอยา่ งสมบูรณ์ ๑.๓.๒ การศกึ ษาท่เี หมาะสม ย่อมหมายถึงดุลยพินจิ ที่ดีขน้ึ ๑.๔ การศึกษาทางทหาร ๑.๔.๑ รากฐานอนั ม่นั คงของกองทัพบก อยู่ทกี่ ารศกึ ษา ๑.๔.๒ การฝึก - ศึกษา เป็นปัจจัยสาคัญของความสาเร็จในการปฏิบัติการทาง ทหารท้งั ปวง ๑.๔.๓ ระบบการศึกษาทเี่ หมาะสม ยอ่ มชว่ ยสรา้ งสรรค์ ผบู้ ังคับบัญชาท่สี ามารถ ฝ่ายอานวยการที่ทรงคุณวฒุ ิ และ เจ้าหนา้ ท่ีพเิ ศษท่ีเชี่ยวชาญ ๒. ความสาคัญของวิชาครทู หาร ๒.๑ มไี มน่ อ้ ยไปกว่าความสาคัญของการศึกษา ๒.๒ ครเู ปน็ จักรกลสาคัญยงิ่ ของการศกึ ษา ๒.๓ ครูเป็นผู้ใช้กรรมวิธีการถ่ายทอดความรู้ ความชานาญ แนวความคิด หลักการ และความ ฉลาดใหแ้ ก่ทหาร ๒.๔ ครูที่ดีจึงต้องรู้หลักครูทหาร หลักจิตวิทยาท่ัวไป และจิตวิทยาการศึกษาท่ีสอน และมีความ ชานาญในการสอน หรือถา่ ยทอดวิชาดว้ ย ๓. ความม่งุ หมายในการสอนวิชาครทู หาร ๓.๑ เพื่อสรา้ งสมใหบ้ ังเกิดคณุ ลกั ษณะของครูทหารทด่ี ี รู้หลกั วิชาครู ๓.๒ มีความชานาญในการสอน ๓.๓ เพ่อื จะไดด้ ารงอยใู่ นอาชพี ทหารดว้ ยดีตลอดไป ๔. เปา้ หมายของวชิ าครู ๔.๑ การฝึกสอนทกุ ชนดิ ต้องให้ทหารมคี วามเข้าใจ ๔.๒ เกิดความรู้ ๔.๓ สามารถนาไปปฏิบตั ิได้ ท้งั เป็นบคุ คลและเป็นชุด ๕. ขอบเขตของการศึกษา โดยธรรมดา การศึกษาวชิ าครทู หารทีส่ มบรู ณ์นน้ั จะต้องอนโุ ลมตามเป้าหมาย ข้างตน้ ด้วยเหมอื นกนั คอื จะต้องมีความเข้าใจจนเกิดความรู้ทางทฤษฎี และจะต้องฝึกปฏิบัติ คือ ฝึกทา การสอนและฝกึ ด้วย ๕.๑ วิชา ครูทหารตามหลกั สตู ร ของ ร.ร.ม.ศม. กาหนดใหท้ าในเร่ือง.- 5

๕.๑.๑ การเตรยี มตวั ของครู ๕.๑.๒ การทาหวั ขอ้ การสอน ๕.๑.๓ วิธสี อน ๕.๑.๔ เครือ่ งชว่ ยสอน ๕.๑.๕ หลักการพดู ให้ได้ผล ๕.๑.๖ แผนการสอน ** ดงั นนั้ การสอน จงึ จะดาเนินไปตามกาหนดน้ี ต่อจากนัน้ จะได้ฝกึ หาความชานาญตอ่ ไป ** ๖. กรรมวิธีของการศกึ ษา ผู้สอนจะตอ้ งเขา้ ใจสภาพของผ้เู รยี นและกระต้นุ ผเู้ รียนใหพ้ ร้อมเข้าสู่กระบวนการเรยี น การสอน ดังนี้ ๖.๑ ครูผ้สู อนจะตอ้ งเร่งเร้า การเรยี นอาจนิยามไดว้ า่ เป็นกระบวนการรับความรู้ใหม่,ความชานาญ, เทคนิค,แนวความคิดอันจะทาใหบ้ คุ คลสามารถทาส่ิงหนึ่งส่ิงใด ซึง่ ไมส่ ามารถทามาก่อนได้ การเร้านี้ครูจะต้อง เร้าท้ังทางร่างกายและจิตใจของผู้เรียน เช่นแสดงถึงความสาคัญ หรือความจาเป็นของวิชาท่ีสอน เพ่ือให้ ผู้เรยี นเกิดความสนใจ ๖.๒ ครผู สู้ อนจะตอ้ งสอนให้การเรียน ตอ้ งผ่านประสาทของผเู้ รียนหลายๆทาง เพื่อเป็นส่ือรับรู้เข้า ส่บู ุคคล โดยให้ผเู้ รียนไดใ้ ชป้ ระสาทสมั ผสั ทุกสว่ นใหม้ ากที่สดุ ประสาทสมั ผัสดังกลา่ วคอื ประสาทท้ังห้า ไดแ้ ก่ - การมองเห็น (ตา) - การได้ยิน (ห)ู - การดมกลิ่น (จมกู ) - การลม้ิ รส (ลิ้น) - การสัมผัส (มอื ) การทตี่ ้องใชป้ ระสาทสมั ผัสหลายๆทาง จึงเป็นสิ่งท่ีมีค่าย่ิง ต่อการเรียนของนักเรียน โดยดาเนินการ สอนเชิงแสดง(สาธิต) ใหม้ ากทีส่ ุด เพื่อให้การเรยี นบังเกิดผลมากที่สุด ๖.๓ ครูผู้สอนตอ้ งทราบความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผู้เรยี น ซึ่งประกอบไปดว้ ย ๖.๓.๑ ทางร่างกาย ร่างกายของคนเราไมเ่ หมอื นกัน บางคนใหญโ่ ตแข็งแรง บางคนเลก็ ซบู ผอม รวมทัง้ สขุ ภาพของเดก็ ก็แตกตา่ งกนั ถา้ บคุ คลมีความบกพร่องทางรา่ งกาย ก็จะทาให้การ รับการฝึก - สอนลดหย่อนลงไปด้วย ๖.๓.๒ ทางอารมณ์ อารมณ์ของคนไม่เหมือนกันทุกคน แม้คน ๆ เดียว ก็มี อารมณ์ไม่สม่าเสมอกันทุกเวลา อารมณ์ท่ีเกิดข้ึนย่อมบงการให้สาแดงท่วงทีกิริยาอาการออกมาภายนอก บางคนอาจระงบั ได้แต่อาจแสดงออกมาทางสีหน้าหรือแววตา ครูต้องเข้าใจ และคอยสังเกตอารมณ์ของผู้รับ การสอนอยู่ตลอดเวลา การดุด่าหรือใช้กิริยาหยาบคายไม่ใช่ของดี เพราะจะทาให้ผู้รับการสอนเกิดอารมณ์ หวาดกลวั เป็นเหตใุ ห้ขาดกาลังใจท่จี ะรับการฝึกสอน ๖.๓.๓ ทางสติปัญญาหรือไหวพริบ สติปัญญาของคนเราไม่เท่ากัน ในเร่ืองนี้มัก เกี่ยวกบั ความรเู้ ดมิ หากความรเู้ ดมิ คอ่ นข้างดี สติปญั ญาผู้นัน้ มกั จะดีดว้ ย ครจู ะทราบสติปัญญาของทหารได้ก็ ตอ่ เมอ่ื ได้ฝึกสอนไปบ้างแล้ว เม่อื ทราบแล้วก็ต้องหาวิธีแก้ไขให้ทหารมีระดับสติปัญญาใกล้เคียงกัน วิธีแก้ไข คือ - หาทางใหท้ หารได้ปฏิบตั ดิ ว้ ยตนเองใหม้ ากทสี่ ดุ อยเู่ สมอ - ให้ผ้ทู ี่มสี ติปญั ญาตา่ ต้องทางานมากข้ึน ๖.๓.๔ ทางประสบการณ์ ประสบการณ์หรือความชานาญในด้านต่าง ๆ ของทหาร กอ่ นเข้ารบั ราชการ ยอ่ มเปน็ ประโยชน์แกก่ ารฝกึ สอน เพราะจะเป็นรากฐานช่วยให้ทหารเข้าใจเรื่องที่ฝึกสอน ได้เร็ว ท้ังนี้ รวมทั้งความชานาญจากการฝึกสอนเรื่องที่แล้ว ๆ มาด้วย ซ่ึงจะเป็นรากฐานสาหรับความ 6

เข้าใจในการฝึกสอนเร่ืองใหม่ ๆ เสมอ ครูควรจะได้สอบประวัติทหารทุกคนไว้ เพราะจะช่วยให้ครูหาอุบาย หรือวธิ กี ารฝกึ สอนได้เหมาะสม หรือส่งเสริมกาลังใจของทหารผู้มีความชานาญน้ัน ให้กระตือรือร้นมากยิ่งขึ้น โดยกาหนดให้ผู้มีความชานาญปฏิบัติได้ดีเด่นออกมาแสดงให้ดู ทหารคนอ่ืน ๆ ก็อาจจะอยากดีเด่นบ้าง และพยายามขะมักเขมน้ ต้งั ใจรับการฝึกสอน ๖.๓.๕ ความอยากรู้อยากเรียน เป็นส่ิงสาคัญอย่างย่ิง เพราะจะทาให้ทหารสนใจและตั้งใจ รับการฝกึ สอนอยูต่ ลอดเวลา ถา้ ขาดความอยากรู้อยากเรียน ผลท่ีได้ก็จะไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย ความสนใจ และ ความตง้ั ใจ มลี กั ษณะแตกต่างกันคอื ๖.๓.๕.๑ ความสนใจ จะดารงอยู่ได้นาน เม่ือเกิดความสนใจแล้ว ย่อมทาให้มี ความใคร่ท่ีจะรู้ ใคร่ทจี่ ะมคี วามชานาญ ความตง้ั ใจทจี่ ะใหไ้ ดร้ ับผลสาเรจ็ กเ็ กดิ ตามมาดว้ ย ๖.๓.๕.๒ ความตงั้ ใจ เป็นของไมย่ ่ังยนื อาจเกดิ ขึ้นหรือมีขึ้นชั่วระยะเวลาหน่ึงแล้ว ก็หายไป แลว้ กเ็ กิดขึ้นใหม่อกี ได้ มเี หตหุ ลายประการท่ที าให้เสยี ความต้ังใจ เช่น สิ่งแวดลอ้ ม, การเจ็บไข้ ฯลฯ ครูจะต้องใช้ไหวพริบดารงรักษาความต้ังใจของทหารที่เกิดข้ึนให้คงอยู่ตลอดเวลาที่สอน และคอยสังเกตอยู่ ตลอดเวลา หากเหน็ วา่ เม่อื ใดทหารเสียความต้ังใจ ก็ควรหยุดสอนเสียช่ัวคราว หรือจัดการป้องกันเสียก่อน กอ่ นทีจ่ ะเสยี ความต้ังใจ เชน่ อากาศในหอ้ งเรยี นร้อนอบอ้าว ก็พาออกไปสอนนอกห้องตามแนวร่มไม้ เป็นต้น ความอยากรอู้ ยากเห็นในหมู่ทหารย่อมแตกต่างกัน บางคนก็อยากรู้อยากเรียน บางคนก็ไม่เต็มใจเรียน บาง คนก็เฉย ๆ นึกเสียว่าทาไปวัน ๆ หน่ึงให้เสร็จไปเท่าน้ัน ครูจะต้องระลึกเสมอว่าตนจะต้องทาให้ทหารอยากรู้ อยากเรยี น โดย. - ชแี้ จงให้ร้ถู ึงคณุ คา่ ของการเรียนเร่อื งน้นั ๆ - หาวิธีให้เกดิ ความสนใจ เชน่ จัดใหม้ กี ารแข่งขนั - ชแ้ี จงใหเ้ ห็นวา่ ทุกคนกส็ ามารถเรียนได้เหมือน ๆ กนั - ชมเชยผู้ตั้งใจเรียน และผเู้ รียนดี บางครงั้ อาจมีรางวัลให้บ้างก็ได้ 7

บทที่ ๒ ลักษณะของครทู ดี่ ี ๑. กล่าวทั่วไป ผลทีเ่ กดิ จากการสอน จะสมบูรณ์เพียงใด ย่อมข้ึนอยู่กับครูผู้สอนเป็นส่วนมากโดย หลกั ลกั ษณะของครูช่วยให้การสอนได้ผลถึง ๕๐ % ที่เหลืออีก ๕๐ % ก็ขึ้นอยู่กับความรู้ของครู,หลักวิชา ครู และส่งิ อ่ืน ๆ เขา้ เพมิ่ เติม ๒. ลักษณะของครู ในที่น้ีหมายถึง รปู ร่างและลักษณะอนั เปน็ คณุ สมบตั ปิ ระจาตัวของครู ๒.๑ รูปร่าง ได้แก่ ทรวดทรง, ผิวพรรณ, ขนาดของร่างกาย ซ่ึงมีส่วนช่วยในการโน้มน้าว จติ ใจของผูอ้ ื่นไดด้ หี รอื ไมด่ ี เชน่ เดียวกบั การเปน็ ผ้นู า ซึ่งได้ศกึ ษามาแลว้ ๒.๒ คณุ ลักษณะ คอื ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์สาหรบั การเปน็ ครู มดี ังนี้.- ๒.๒.๑ ความรแู้ ละดลุ ยพนิ จิ ๒.๒.๑.๑ ความรู้ โดยธรรมดาถือกันว่า การที่จะสอนผู้อื่นได้ ตนเองจะต้องรู้เร่อื งทจี่ ะสอนนนั้ ดแี ล้ว การขาดความรู้ย่อมเป็นการสุดวิสัยที่จะทาการสอนใคร ๆ ได้ ผู้มี ความรู้เลว หรอื ปานกลาง ย่อมทาการสอนให้ได้เต็มทีไ่ มไ่ ด้ มีกฎธรรมดาอยู่วา่ ความรู้ที่ทาการสอนไปนั้น ใน ตอนแรกๆ นักเรียนจะได้รับไปไม่ถึง ๑๐๐ % แต่จะค่อย ๆ มีเปอร์เซ็นต์สูงข้ึนเมื่อนักเรียนเอาใจใส่ พยายามหรือค้นคว้าหาความชานาญด้วยตนเองในภายหลัง ดังน้ัน จึงเห็นได้ว่า ตราบใดความรู้ของครูยัง บกพร่องแล้ว ก็เปน็ ทแ่ี นน่ อนวา่ ความร้ทู น่ี กั เรยี นท่ไี ด้รับไปก็มีส่วนบกพร่องด้วย จรงิ อยู่ ผู้มีความรใู้ ช่จะทา การสอนไดด้ ไี ปเสียทกุ คนไม่ แต่ความรู้ก็มีส่วนช่วยในการสอนเสมอ และผู้มีภูมิความรู้ดี ย่อมได้รับความ เลือ่ มใสศรัทธาอยแู่ ล้ว วทิ ยาการของโลกปจั จุบนั น้ี มีส่ิงแปลก ๆ ใหม่ ๆ เกิดข้นึ เสมอ โดยเฉพาะวทิ ยาการทางทหาร ดังน้นั บรรดาครูทหารจึงจาต้องขวนขวาย ตดิ ตาม และหาความรู้ใหม่ ๆ จากตาราหลาย ๆ เล่ม และซกั ถาม ผูเ้ ช่ียวชาญ ทาความเข้าใจให้แจ่มแจ้งเสียก่อน ก่อนท่ีจะทาการสอน นอกจากน้ันต้องรู้หลักวิชาครู ความ ต้องการของนักเรยี น รคู้ วามม่งุ หมายของบทเรียนนนั้ ดว้ ย สรปุ แล้วในเร่อื งของความรู้ ครจู ะตอ้ ง.- - ทันสมยั อยเู่ สมอ - เพม่ิ พนู ความรจู้ ากตาราหลายๆ เล่ม - ซักถามผู้รู้ หรือผเู้ ชย่ี วชาญ - ทาความเขา้ ใจในคูม่ ือการสอนหรือฝกึ หนังสือเรียน หรือเอกสารท่ีทางราชการประกาศใช้ รวมทั้ง นิตยสารอื่น ๆ ท่ีเก่ยี วข้อง - ร้หู ลักวิชาครู - รคู้ วามมุง่ หมายของบทเรียนท่จี ะทาการสอน ๒.๒.๑.๒ ดุลยพินิจ ครูก็ดี หรือผู้ฝึกก็ดี มักจะต้องใช้ดุลยพินิจ ตัดสินใจดว้ ยตนเองบอ่ ย ๆ กล่าวคือ ต้องตัดสินใจว่าจะฝกึ สอนเรื่องอะไร เพียงใด ด้วยวิธีสอนชนิดใด จึง จะบรรลุผลสมความมุ่งหมายท่ีกาหนดไว้ เพราะทางราชการอาจกาหนดวตั ถปุ ระสงค์ที่จะใหบ้ รรลุถงึ ไว้เท่านั้น แตค่ วามมุง่ หมายของแตล่ ะบทเรยี นอาจไม่ได้ระบุไว้ เมื่อเป็นเช่นนี้ ครูต้องใช้ดุลยพินิจตัดสินใจเอาเองเร่ืองท่ี จะต้องตดั สินใจแนน่ อน ก็คอื วิธสี อนใหไ้ ดผ้ ล อะไรควรจะตัดทอนเพราะไม่จาเป็น อะไรควรเพ่ิมข้ึน จึง จะเหมาะกับความมงุ่ หมายและเวลาทีก่ าหนดให้ อนึ่ง อุปสรรคในการฝึกสอนย่อมมีได้เสมอ ๆ การใช้ ดลุ ยพินจิ ตัดสินใจจงึ เปน็ เร่ืองของครูจะต้องกระทา เพอ่ื ให้การฝึกสอนบรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์เดิมหรือใกล้เคียง บางทีอาจต้องเปลี่ยนความมุ่งหมายใหม่ก็ได้ การใช้ดุลยพินิจนี้ ย่อมต่อเนื่องมาจากการพิจารณา สถานการณฝ์ ึกสอนเมื่อได้ตัดสนิ ใจแลว้ คอื ( เลือกเรอื่ งวิธสี อน, เครื่องช่วยฝึก, ครผู ชู้ ว่ ย และลูกมือ, เวลา, การ 8

แก้ไขเมือ่ มีอปุ สรรค ) กเ็ ร่ิมทาหลกั ฐานเตรียมการสอน และซักซอ้ มหลกั ฐานเตรยี มการสอนต่อไป ให้พึง ระลึกอย่เู สมอวา่ การตดั สนิ ใจนจี้ ะดเี พียงใดยอ่ มตอ้ งอาศยั ความรู้ของครูเขา้ ประกอบดว้ ย ๒.๒.๒ ความแนบเนียน หมายถงึ การท่ีจะพูดอะไร ทาอะไร อย่างไร ในโอกาส และ สถานทีอ่ นั เหมาะสม ซ่ึงอาจกลา่ วไดว้ า่ เป็นความเหมาะสมกับกาละเทศะ อันเป็นไหวพริบในเวลาทาการ สอนของครู จะต้องอาศยั ไหวพรบิ ของตนเอง สังเกตความเปน็ ไปของนักเรียน รู้จักผ่อนหนักผ่อนเบา แต่ ไมไ่ ดห้ มายความว่าจะปล่อยตามใจนกั เรยี น การรักษาระเบียบของห้องเรียนจะต้องมีอยู่เสมอ การแสดงกิริยา วาจาเหมอื นเพือ่ นสนทิ อ่อนโยนเกนิ ไป กเ็ ป็นลักษณะที่ไม่เหมาะสม ต้องปฏิบัติให้เหมาะสม คือ ไม่น้อย และ ไม่มากเกนิ ไป ๒.๒.๓ ความอดทนและความรเิ ร่ิม ๒.๒.๓.๑ ความอดทน ผเู้ คยทาหนา้ ทีค่ รมู าแล้วย่อมทราบดีว่า งานของครเู ป็นงานหนัก จะตอ้ งเหนด็ เหน่อื ยไม่นอ้ ย ต้องคิดหาคาพูดทเี่ ข้าใจง่าย และคิดล่วงหน้าถึงเร่ืองที่จะ พดู ตอ่ ไปในเวลาเดยี วกัน จะต้องใชเ้ สียงทก่ี ลา่ วนเี้ ฉพาะในเวลาทาการสอนเท่านั้น แต่ถ้าพูดถึงว่า กว่าจะทา การสอนได้แตล่ ะเร่อื งแลว้ ครูตอ้ งใช้ความอดทนเพ่ิมขนึ้ อกี มากมาย ตอ้ งใชส้ มองค้นคว้าความรู้เพ่ิมประกอบ ต้องเลือกหาวิธีสอน เพราะเมื่อมีเร่ืองสอนแตกต่างกันและผู้รับการสอนมีความรู้ไม่เหมือนกัน วิธีสอนก็ แตกต่างกนั ออกไป เพราะครเู องจะตอ้ งใช้ความอดทนเตรียมการสอนอีก เม่ือปรากฏว่า การสอนมีผลดี ความร้สู ึกภาคภูมิใจจะเกดิ ขึน้ มากกว่าความเหน็ดเหนื่อยทีไ่ ด้ลงทุนลงแแรงไปเสียอีก คุณสมบัติประจาตัวของ ครูท่ีสาคัญก็คือ กาลังความสามารถของจิตใจ ท่ีจะมุ่งทางานหนักเพื่อผลดีของนักเรียน อันจะทาให้เกิด ประโยชน์แกท่ างราชการ และประเทศชาติในกาลขา้ งหน้า ๒.๒.๓.๒ ความรเิ ร่ิม ความริเร่ิมจะทาให้เกิดความสาเร็จแก่งาน ทุกชนิด และทาให้ก้าวหน้าต่อไป ความริเร่ิมเป็นความคิดหาหนทางปฏิบัติงานให้บรรลุผลสาเร็จด้วยตนเอง ไม่ต้องอาศยั ความชว่ ยเหลอื ของผ้อู ่ืน หรือทางราชการ หรือรอให้ผอู้ ืน่ ส่ัง เช่น เครื่องช่วยสอนยังไม่มีแต่ต้องรีบ ทาการสอน ผูส้ อนก็คิดขึ้นใชเ้ พอ่ื พราง เปน็ ต้น ๒.๒.๔ ลักษณะทา่ ทาง ในที่น้ีหมายถึง กิรยิ ามารยาท, การแสดงท่าทางประกอบ คาพูด และการแต่งกายด้วย ครูตอ้ งทาตนเปน็ ตัวอยา่ งที่ดี เพราะระหว่างที่ทาการสอนนัน้ นักเรียนจะจับตา มองอยู่ จะจดจาท่าทางลักษณะของครู และนาไปปฏิบัติตามครู ครูจึงเท่ากับเป็นแม่พิมพ์ หรือกระจกเงา ของนักเรียน และ ถ้าครูมีความเรียบร้อยเหมาะสม ย่อมจะเป็นเคร่ืองเพาะความมีศรัทธาเลื่อมใสจาก นกั เรยี นได้มาก พึงจาไว้ว่า ลักษณะท่าทาง และความประพฤติของครูต้องเป็นไปสมกับความเป็นทหารทุก ประการ ต้องมีความเด็ดเดี่ยว เรียบร้อย ไม่อ่อนแอเชื่องช้า ไม่ออกท่าทางประกอบคาพูดจนเกินสมควร ( เรอ่ื งน้ี จะกล่าวโดยละเอียดภายหลงั ) ๒.๒.๕. ความกระตอื รือร้น เปน็ การแสดงออกซึง่ ความสนใจต่อการสอน และเรื่อง ที่ทาการสอนของครู กล่าวกันว่า ความกระตือรือร้นเป็นส่ิงท่ีติดต่อกันได้ เมื่อคนหนึ่งแสดงอาการ กระตอื รือรน้ ออกมาใหเ้ หน็ ผู้อน่ื ท่ีอยใู่ กลเ้ คียงหรอื ในหมูเ่ ดียวกัน ก็พลอยตืน่ ตวั แสดงความกระตือรือร้นออกมา ด้วย เม่ือทราบธรรมชาติเช่นน้ี ครูจึงควรนาความกระตือรือร้นไปใช้ให้เป็นประโยชน์ในการสอน ด้วยการ แสดงให้เห็นว่า ตนมีความเอาใจใส่ต่อการสอน และเร่ืองท่ีสอน ใส่ใจต่อความก้าวหน้าของนักเรียน นกั เรียนกจ็ ะเพิ่มความขวนขวายเอาใจใส่รับการสอน การสอนกม็ ชี ีวิตชีวาขึน้ ๒.๒.๖. ความจบั ใจในตวั ครู ในเวลาทาการสอน ครูต้องแสดงความชัดเจนในบทเรียน ด้วยคาอธิบายให้เข้าใจง่าย แสดงความนกึ คดิ ของตนเองออกมาใหช้ ัดเจน หรืออธบิ ายให้เข้าใจง่าย การแสดง เช่นน้ี นอกจากเป็นคุณลักษณะเฉพาะของแต่ละบุคคลแล้ว ( บางคนอธิบายอะไรได้แจ่มแจ้ง โดยใช้คาพูด เพยี งไม่กี่คา บางคนพูดเสยี ยดื ยาวแต่นักเรยี นไมร่ เู้ รอื่ ง ) ยังตอ้ งอาศัยความสจุ ริตใจของนกั เรยี นคอื เต็มใจจะ ถ่ายทอดความร้ใู หแ้ กน่ กั เรยี นอยา่ งแท้จริงดว้ ย เมอ่ื มีความสจุ ริตเชน่ นี้ ก็จะทาให้ครูพยายามทุกวิถีทางท่ีจะ 9

พดู ใหก้ ระจา่ งแจ้ง ตามความเข้าใจของตน หรือความนึกคิดของตน ขจัดความรู้สึกท่ีไม่ดีต่อนักเรียน เกิดผล คือ นักเรยี นเกิดความรู้สกึ จับใจในตัวครู ซง่ึ เปน็ ผลดีตอ่ นักเรียน ๓. หลักการปฏบิ ัติในการปรับปรงุ ตวั ของครู ใหด้ ยี ่งิ ขึน้ ๓.๑ รู้หลกั และเทคนิคการสอนดี ๓.๒ สังเกตการสอนท่ีดแี ละได้ผลของครูคนอนื่ ๆ ๓.๓ พิจารณาลักษณะของตนเอง เม่ือรู้สึกบกพร่องอย่างไร ก็จัดการแก้ไข และอาจขอให้ ผู้ชว่ ยชว่ ยพิจารณาตัวเราวา่ ดเี ลวเพยี งไร แล้วจดั การแกไ้ ขสงิ่ ทีไ่ มด่ ี ๓.๔ มคี วามมานะพยายามแกไ้ ขปรบั ปรงุ ตนเองให้ดีขึ้นอยู่เสมอ และถามตัวเองว่าคร้ังต่อไป จะทาอยา่ งไร เพอื่ ให้เกดิ ประสทิ ธิภาพในการสอนใหด้ ีข้ึน ๔. ขอ้ แนะนาสาหรับครตู ่อไปนีเ้ ปน็ “กฎการปฏิบตั ขิ องครพู ึงยึดถอื ในการสอน” ๔.๑ ไม่สอนอย่างขาดความรู้ ครูจะต้องรู้เรื่องท่ีสอนโดยตลอดแต่ก็อาจจะมีคาถามท่ีครูไม่สามารถ ตอบได้ กรณีเช่นนค้ี รจู ะตอ้ งยอมรับและหาคาตอบท่ีถูกตอ้ งมาให้ในวันตอ่ ไป โดยเร็วที่สดุ ๔.๒ ไมใ่ ชถ้ อ้ ยคาลามกหรือหยาบคาย การกระทาเช่นน้ีจะเป็นการเส่ือมเสียเกียรติศักด์ิของครูและ เสื่อมเสยี ความเคารพนบั ถือจากนักเรียน ๔.๓ ไมพ่ ดู เย้ยหยัน นักเรียนไม่มีทางที่จะตอบโต้ ทาให้เกิดอารมณ์ขุ่นมัวจิตใจ ก็ไม่รับรู้ เร่ืองท่ีครู สอน ๔.๔ ไม่ยกตนเอง ครูจะต้องทาให้นักเรียนรู้สึกว่าครูเป็นผู้โชคดี ได้รับเกียรติให้เป็นผู้มาถ่ายทอด ความรู้ประสบการณแ์ กน่ กั เรยี นเพือ่ นรว่ มอาชีพเดียวกัน ๔.๕ ไมล่ ดความพยายาม ความชา้ หรอื ความไมส่ ามารถทจี่ ะเขา้ ใจบทเรียนท่คี รูสอนได้ อาจหมายถึง ครูจะต้องใชว้ ิธกี ารสอนและเทคนคิ อยา่ งอนื่ 10

บทที่ ๓ ขน้ั การสอน การสอนที่จะใหบ้ ังเกิดผลดนี ัน้ ควรจะตอ้ งดาเนนิ การตามลาดับขั้น ดังตอ่ ไปนี้.- ๑. ขน้ั ท่ี ๑ การเตรียมตัวของครู คือ ข้ันที่ครูต้องเตรียมทุกสิ่งทุกอย่างสาหรับทาการสอน ผลที่ เกดิ จากการเตรียมตวั ของครคู ือ แผนบทเรียนและหัวข้อการสอน อันจะใช้เปน็ แนวสาหรับทาการสอน ๒. ข้ันที่ ๒ การสอน เป็นข้ันที่ครูถ่ายทอดความรู้ให้แก่นักเรียนด้วยการพูดให้เข้าใจ หรือ แสดงใหเ้ ห็นเปน็ การกระทา เพื่อให้นักเรียนมพี ืน้ ความรสู้ าหรบั นาไปปฏิบัตติ ่อไป ๓. ขั้นท่ี ๓ การนาความรู้ท่ีสอนไปปฏิบัติ เป็นขั้นท่ีนักเรียนนาเอาความรู้ความเข้าใจ ไปปฏิบัติ ดว้ ยตนเองและอยใู่ นความตรวจตราของครู เป็นขน้ั ทมี่ ีความสาคญั มาก ๔. ขน้ั ท่ี ๔ การสอบ เป็นขั้นทดสอบเพ่ือทราบค่าของการสอนของครู และค่าการเรียนของ นกั เรียน ๕. ขน้ั ท่ี ๕ การชแ้ี จงหรอื การวจิ ารณ์ เป็นข้ันการทบทวนเร่ืองที่สอน ชี้ความกระจ่างแจ้งในข้อ สาคัญตา่ ง ๆ ให้ชัดเจนยงิ่ ขนึ้ ๑. ขั้นที่ ๑ การเตรียมตัวของครู กล่าวทัว่ ไป ข้อนีเ้ ป็นอันดบั แรกของการสอน เปน็ ขน้ั ท่ีครูจะต้องกระทาเพื่อให้การสอนบังเกิดผลดี เพราะการปฏิบัติใดๆ จะเกิดผลดีไม่ได้ถ้าไม่มีการเตรียมตัว แม้จะเตรียมตัวได้ไม่ครบถ้วน ก็ไม่ทาให้ถึงกับ ลม้ เหลวเสียทเี ดียว แตผ่ ลทไี่ ด้รบั จะให้สมบูรณ์เหมือนกับได้เตรียมตวั อย่างครบถว้ นย่อมเป็นไปไม่ได้ โดยหลกั วชิ าครู ถอื ว่า กอ่ นจะเขา้ ทาการสอน ครูทุกคนจะต้องเตรียมตัวเสมอ จะถือว่าเคยสอน มานานไมจ่ าเป็นต้องเตรยี มตัวอีก เป็นการไม่เหมาะ เพราะอาจหลงลืม ถ้ามีการลืมระหว่างการสอนการสอนก็ จะชะงัก ถา้ ชะงักบ่อย ๆ ก็จะทาให้นักเรียนเบ่ือหน่ายขาดความสนใจ ขาดความเชื่อถือ ขาดความเคารพใน ตัวครูและดงั ไดก้ ล่าวมาแลว้ ความรขู้ องผรู้ ับการสอนของแต่ละคนไม่เหมือนกัน ย่อมต้องใช้วิธีสอนแตกต่าง กันออกไป นัน่ คอื จะตอ้ งเตรียมตวั ก่อนเสมอ หากครูได้เตรียมตวั อย่างรอบคอบดแี ล้ว การสอนก็จะดาเนิน ไปดว้ ยความเรียบรอ้ ยตลอดเวลา และได้ผลสมความมงุ่ หมาย ๑.๑ ประเภทการเตรียมตัวของครู มีอยู่ ๒ ประเภท คอื .- ๑.๑.๑. การเตรียมตวั ของครูเอง ได้แก่ การเตรียมเพิ่มพูนความรู้จากหลักฐาน หรือตารา ต่าง ๆ ดังได้กลา่ วมาแล้วในเร่ืองลกั ษณะของครูท่ดี ี จึงไมน่ ามากล่าวซา้ อกี ๑.๑.๒ การเตรียมแผนบทเรียน ได้แก่ การเตรียมเร่ือง และสิ่งต่าง ๆ ท่ีจะสอน มีข้อที่ จะต้องทราบ และปฏบิ ัติ ดงั น้ี.- ๑.๑.๒.๑ ตรวจตารางสอน ก่อนเตรียมการใด ๆ จะต้องตรวจดูตารางสอน เสียกอ่ น เพราะเปน็ จดุ เร่มิ ตน้ ของการเตรยี มการสอนจากตารางสอน จะไดร้ ายละเอียดตา่ ง ๆ เช่น เร่ืองท่ีจะ สอน, ผู้รบั การสอน, เวลา, สถานท่ี และระบุหลักฐาน, เอกสาร หรอื ตาราท่ีจะใช้สอนไวด้ ้วย ๑.๑.๒.๒ พิจารณาเร่ืองที่จะสอน โดยธรรมดา เร่ืองที่จะสอนแต่ละ เรอื่ ง ยอ่ มแยกออกไปเรียกวา่ \" บทเรยี น \" เร่อื งใดจะมีบทเรียนมากน้อยเพียงใด ย่อมแล้วแต่ความสาคัญ ของเรอ่ื ง และวตั ถปุ ระสงค์ที่จะใหบ้ รรลถุ ึง, เวลา เชน่ เร่อื ง วชิ าครู ก็แบ่งออกเปน็ บทเรยี นมากมาย ๑.๑.๒.๓ ประมาณสถานการณ์การสอน โดยพิจารณาว่า สอนเร่ืองและ บทเรียนอะไร ด้วยวิธสี อนอย่างไร คร้ันแลว้ จึงเริม่ เตรยี มแผนบทเรียนให้ได้ประโยชน์มากท่ีสุด ๑.๒ ขนั้ ในการเตรยี มแผนบทเรียน แบง่ เปน็ ๕ ขน้ั ดงั นี้.- 11

๑.๒.๑ ขน้ั ที่ ๑ วางหรอื กาหนดความมุ่งหมายไว้ในใจให้แน่นอนก่อนท่ีจะสอนเรื่องใด เรื่องหนึ่ง จาต้องรู้ความมุ่งหมายของเรื่องน้ันเสียก่อน การที่ไม่ทราบความมุ่งหมาย ทาให้ยากแก่การ กาหนดเวลา และขอบเขตของเร่อื ง การสอนก็จะมีวงกว้างเกินไป เป็นเหตุให้กระทบกระเทือนเวลาท่ีจะสอน เรอ่ื งอน่ื ๆ ด้วย ผลทีส่ ดุ ก็จะไมบ่ รรลุถงึ วตั ถปุ ระสงค์ท่กี าหนดไว้ ฉะนนั้ ขนั้ แรก ครจู ะต้องพิจารณาวาง ความมุ่งหมายของแตล่ ะบทเรยี นให้แน่นอน และตอ้ งกาหนดด้วยว่าควรจะเรม่ิ ต้นด้วยเรื่องอะไร เพราะเหตุใด เพอ่ื จะได้ลาดบั เรอื่ งให้สัมพนั ธ์ตอ่ เน่ืองกัน และทาให้สะดวกแกก่ ารสอน การวางความมงุ่ หมายน้นั นอกจากจะ ให้แน่นอนแลว้ ยงั ตอ้ งจากัดใหแ้ คบลงไป และตอ้ งแจม่ แจ้งดว้ ย สมมติวา่ กาหนดความมุง่ หมายว่าจะสอนเร่ือง \" ผู้นาทางทหาร \" เช่นน้ีนับว่ากว้างมาก กลายเป็นว่าต้องสอนถึงเร่ืองผู้นาทางทหารทั้งหมด รวมทั้ง ประวตั ขิ องผูน้ าทางทหารทง้ั โลก ถ้าจะกาหนดว่าเร่อื ง \" ลักษณะผนู้ าทางทหาร \" ย่อม เป็นความมุ่งหมายที่ ชดั เจนแจม่ แจ้งและแคบเข้า สะดวกในการเตรยี มการสอน และการดาเนินการ ความมุ่งหมายที่ดีจะต้องวาง ใหพ้ อทาการสอนได้ทันเวลา มีเครอ่ื งมอื เครือ่ งใช้ และความสะดวกเพยี งพอ ๑.๒.๒ ข้นั ที่ ๒ รวบรวมหลกั ฐานและอปุ กรณ์การสอนที่จาเป็น เม่ือได้กาหนดความ ม่งุ หมายดังกลา่ วแล้ว ครจู ะต้องพิจารณาวา่ ตนจะได้อะไรหรือสิ่งใดมาชว่ ยให้การสอนบังเกิดผลดี ซึ่งมีส่ิงต่าง ๆ ดังน้ี.- ๑.๒.๒.๑ ตารางสอน (ตารางฝึก) เพราะจากตารางสอน ครูจะทราบรายการ เก่ียวกับ - เวลาสาหรบั เตรยี มการ - ความยาวของบทเรียน - ผ้ทู จี่ ะรบั การสอน - สถานทท่ี ่จี ะใชท้ าการสอน - การแตง่ กายและเครื่องอุปกรณ์ - ส่ิงอปุ กรณ์พเิ ศษ ๑.๒.๒.๒ ประวตั ิผู้รับการสอน จากประวัตนิ ี้จะทราบถึงพ้ืนความรู้ ผลการศึกษา หรือความชานาญท่นี ักเรยี นมมี าแตก่ อ่ นตาแหน่งหน้าท่ีเวลารับราชการฯลฯ ซ่ึงครูจะได้คิดพลิกแพลงการสอน ให้เหมาะสมได้ อนึ่ง ระดับความรู้ของนักเรียนในช้ันก็มีความสาคัญ เพราะจะช่วยให้ครูรักษาระดับ ปานกลางในเวลาสอน คอื ให้นักเรียนมีความเขา้ ใจทวั่ ถึงทกุ คนในเรือ่ งท่ีครสู อน ๑.๒.๒.๓ เอกสารทเ่ี ก่ยี วกับการสอน ได้แก่ เอกสารทางราชการตา่ ง ๆ เชน่ แบบฝึกราชการสนาม คาแนะนาท่ีทางราชการประกาศใช้ หนังสือคู่มือต่าง ๆ แผนบทเรียนเดิมที่ทามาก่อน ภาพยนตร์ ภาพน่ิง ฯลฯ ครูต้องทาความเข้าใจในหลักฐานเหล่าน้ีให้รอบรู้เสียก่อน ท้ังต้องแน่ใจว่า เรื่องทค่ี น้ หา และรวบรวมมาน้ัน ทนั สมัย ไม่ใชข่ องเก่าที่เลกิ ใชไ้ ปแล้ว ๑.๒.๒.๔ เครื่องช่วยสอน เป็นสิ่งจาเป็นเก่ียวกับการสอนในปัจจุบันเป็นอย่าง มาก เพราะ ทาใหเ้ ขา้ ใจงา่ ย ประหยดั เวลาในการสอนไดม้ าก ครตู อ้ งรวบรวมเครื่องชว่ ยสอนทีเ่ หมาะกับเรื่องที่ เตรยี มไว้ ใหพ้ รอ้ มเพรียง ๑.๒.๓ ขน้ั ท่ี ๓ ทาแผนบทเรยี น แผนบทเรยี นคอื บันทึกย่อที่ครูใช้ทาการสอน ซ่ึง แสดงถงึ สว่ นใหญๆ่ คือ ๑.๒.๓.๑ เรือ่ งทจี่ ะทาการสอน ๑.๒.๓.๒ ลาดบั ข้ันการสอน ๑.๒.๓.๓ วธิ ีทใี่ ช้สอน ๑.๒.๓.๔ สิง่ อุปกรณก์ ารสอน 12

๑.๒.๔ ขั้นที่ ๔ ซักซ้อมและแก้ไขแผนบทเรียน เป็นการกระทาเพื่อให้ การ เตรียมแผนบทเรยี นมผี ลสมบรู ณ์ก่อนทจี่ ะไปทาการสอน เพราะเมือ่ ทาการซักซ้อมปรากฏข้อบกพร่องก็จะ ไดท้ าการแก้ไข การซกั ซ้อมต่อหนา้ ผู้ทีเ่ คยผ่านการสอนมามาก ย่อมได้ประโยชนค์ ือ จะได้รับข้อแนะนาให้แก้ไข เพ่อื ใหก้ ารสอนดีข้ึน และในการซอ้ มน้นั ควรจะให้ครูผู้ช่วยได้ร่วมในการซักซ้อมด้วย เมื่อไม่มีเวลาจะซักซ้อม ไดท้ งั้ หมด อยา่ งน้อยท่สี ุดกค็ วรซักซ้อมเฉพาะบางสว่ นทส่ี าคัญ หรือซ้อมในใจของตนเอง ๑.๒.๕ ขนั้ ท่ี ๕ สารวจการเตรียมการสอนคร้ังสุดท้าย เป็นขั้นสุดท้ายของ การเตรยี มแผนบทเรียนต่อจากนก้ี ็จะถงึ ขน้ั ทาการสอน มสี ิง่ ท่จี ะต้องตรวจดังนี้. ๑.๒.๕.๑ สถานทที่ ่ีใช้ทาการสอน ตรวจล่วงหนา้ อยา่ ให้สิง่ ใดรบกวนการสอน มีเคร่ืองใช้ประกอบการสอน เช่น กระดานดา,ไม้ชี้ ฯลฯ ที่เรียบร้อยใช้การได้ การจัดท่ีน่ังของนักเรียน เหมาะแก่ ( การเหน็ - การไดย้ ิน ) ถา้ เป็นการสอนในห้องเรียน ตอ้ งตรวจดสู ง่ิ ที่จะทาให้นักเรียนขาดความ สนใจ เช่น อากาศไม่โปรง่ มแี สงสว่างนอ้ ย ๑.๒.๕.๒ เครื่องช่วยสอน ตรวจเคร่ืองช่วยสอนตามแผนบทเรียนว่า มี ครบถ้วน จดั วางไว้ถูกท่ตี ามการใชก้ อ่ น - หลัง สงิ่ ทย่ี ังไม่ไดใ้ ชใ้ หป้ กปิดไวก้ อ่ น ๑.๒.๕.๓ ครูผู้ช่วย บรรดาผู้แสดงให้ดูและผู้ใช้เคร่ืองมือพิเศษ เช่น ผู้ฉาย ภาพนงิ่ หรือ ภาพยนตร์ นบั เปน็ ครผู ูช้ ว่ ยทง้ั ส้ิน ซึ่งจะตอ้ งสอบถามความเข้าใจ กาหนดสัญญาณเริ่มปฏิบัติ ตามขั้นตอนไวล้ ่วงหน้าทั้งสน้ิ ๑.๒.๕.๔ อุปกรณ์การสอนพิเศษ เป็นต้นว่า แผนท่ี ต้องตรวจดูคว าม เรยี บรอ้ ย มจี านวน มากพอท่ีจะใหน้ กั เรียนฝึกปฏบิ ัติ ๑.๒.๕.๕ ยานพาหนะ ถ้าต้องออกไปทาการสอนห่างจากท่ีตั้ง พาหนะท่ีขอไว้ อาจไม่มี หรือ ไมม่ าตามกาหนด ต้องมกี ารยืนยนั สอบเส้นทาง สอบเวลาไปกลับ ๑.๒.๕.๖ การประสานงาน อาจมีการเปล่ียนแปลงส่ิงต่างๆ ได้เสมอ จะตอ้ งตรวจดตู ารางสอนวา่ มกี ารเปลยี่ นแปลงอะไรอีกหรือไม่ อย่างไร ๑.๒.๕.๗ ส่ิงท่ีครูต้องการ คือยอดนักเรียน จาเป็นต้องทราบจานวนทราบช่ือผู้ ขาดการเรียน และเก่ยี วกบั สถติ ิ และบางครัง้ อาจตอ้ งรายงาน ผบู้ ังคบั บัญชา เม่ือมาตรวจ ๒. การทาและการใช้แผนบทเรียน แผนบทเรียนเป็นแบบหัวข้อทเี่ ขยี นขน้ึ แบง่ เป็น ๒ ชนิด ๒.๑ ชนดิ ทีเ่ ป็นข้อความ เปน็ แผนบทเรียนทใี่ ช้กนั มากทีส่ ดุ แผนบทเรียนแบบน้ี ท้ังหัวข้อ ใหญ่และหัวข้อย่อย จะเขยี นแต่หัวข้อไว้เทา่ น้ัน ๒.๒ ชนิดท่ีเป็นใจความ ในแตล่ ะเรื่องจะเขยี นไว้เป็นข้อความชัดเจนสมบูรณ์ รายละเอียด ในแผนบทเรียน ท่ีเปล่ียนจากสถานการณ์สอนอย่างหน่ึงไปอีกอย่างหน่ึง ย่อมข้ึนอยู่กับความมุ่งหมายและ ลักษณะของบทเรยี น ๒.๓ ประโยชน์ของแผนบทเรียนใช้เปน็ แนวสาหรับครูทเี่ ปลีย่ นตัวผู้สอน ๒.๔ แผนบทเรียนประกอบดว้ ยส่วนประกอบสาคญั ๒ สว่ น คือ ๒.๔.๑ ส่วนหลักฐานเตรยี มการสอน เป็นรายการหลักฐานที่ครูผู้สอนจะต้องทราบ ประกอบด้วย - บทเรียนเร่อื ง - วชิ าท่สี อน - ชว่ั โมงการสอนท้งั ส้นิ - การสอนครงั้ ท่ี - วัน,เดือน,ปี ทีส่ อน 13

ครู ประกอบดว้ ย - เวลาทีส่ อน - สถานท่สี อน - หลกั สูตรชนั้ - จานวนนกั เรยี น - วิชาสอน - ครู - ครูผูช้ ว่ ย - หลกั ฐานท่ใี ชอ้ า้ งอิง - เคร่ืองช่วยฝกึ - ยานพาหนะ - การแต่งกาย - ซอ้ มทดลอง - ความม่งุ หมาย ๒.๔.๒ ส่วนหวั ขอ้ การสอน เป็นย่อเร่ืองของบทเรียน ใช้เป็นคู่มือทาการสอนของ -หวั เรื่องทส่ี อน(กลา่ วนา,ความม่งุ หมายของบทเรียน,วธิ สี อน) -หวั ขอ้ อธบิ าย -ข้อสรปุ ------------------------------------------------------------------------ ตัวอยา่ งแผนบทเรียน ๑. สว่ นหลักฐานเตรยี มการสอน แผนบทเรยี น บทเรียนเรือ่ ง วิชาแผนที่ เครอ่ื งหมายแผนท่ี, เครอื่ งหมายทางทหาร วชิ าทสี่ อน ๑ ช่ัวโมง ๑ ชว่ั โมงสอนท้งั ส้ิน การสอนคร้งั ท่ี ๑๒ ก.ย. ๑๑ วนั ,เดือน,ปี ท่ีสอน ๐๘๐๐ – ๐๙๐๐ เวลาทส่ี อน สถานทสี่ อน หอ้ งเรยี นหมายเลข ๑๓ หลักสูตรชั้น พลทหาร จานวนนกั เรยี น วิธสี อน ๓๐ นาย ครู ครุผูช้ ่วย สช.สด. ป. หลกั ฐานท่ีใชส้ อน ร.ต. กาลา้ แก่นแกว้ เครื่องชว่ ยฝึก ยานพาหนะ ส.อ.เดช เด่นดวง การแตง่ กาย ร.๒๑-๒๕ ขอ้ ๑-๒๑ กระดานดา,ชอลก์ ,แปรง,ไม้ชี้ แผนที่ ๕ แผน่ ไมม่ ี ชุดฝึก 14

ซ้อมทดลอง ๙ ก.ย. ๑๑ ๑๖๐๐ ห้องเรียน หมายเลย ๑๓ ความมุ่งหมาย ใหท้ หารรจู้ ักแผนท่ี ทหาร,เครือ่ งแผนที่ และเครื่องหมาย ทางทหาร ๒. สว่ นหัวขอ้ การสอน ๑. กล่าวนา ( ๕ นาที ) ๑.๑ ความจาเปน็ ที่ต้องมแี ผนที่ และการอ่านแผนท่ี ถาม ทาไมจงึ เรียกการอา่ นแผนที่ ตอบ พยายามใหท้ หารได้ช้แี จง ๑. ช่วยในการหาหนทาง ( แสดงแผนท่ีเสน้ ทางธรรมดาเพือ่ ช้ีใหท้ หารดู ) ๒. ชว่ ยให้รอดชีวิตอยูไ่ ด้ ๓. ช่วยใหท้ หารในบังคับบญั ชาปลอดภัยในการรบ ๑.๒. ความมงุ่ หมายในการสอน ๑. ใหท้ หารรู้จักแผนท่ี ๒. ให้ทหารรู้จกั เครอ่ื งหมายแผนที่ และ เครื่องหมายทางทหาร ๒. แผนทค่ี ืออะไร ๒.๑ เปน็ ภาพของภมู ิประเทศและวตั ถุ ท่ีมนษุ ยส์ ร้างข้นึ บนผวิ พภิ พ ๒.๒ เป็นภาพทีม่ องจากทางสงู ตรงดิง่ ๒.๓ เป็นภาพทเ่ี ขียนแทนภมู ิประเทศ ไม่ใชภ่ าพถ่าย ๓. บนแผนทมี่ ีอะไรบา้ ง ๓.๑ อธบิ ายถึงความมงุ่ หมายของเครือ่ งหมายแผนท่ี และเครือ่ งหมายทางทหาร ๓.๒ เขียนเครื่องหมายเปรยี บเทียบระหวา่ งของจริง กับท่แี สดงในแผนที่ลงบนกระดานดา ๔. เครื่องหมายแผนทีค่ ืออะไร ๔.๑ จะใชท้ าไม อยา่ งไร และใชเ้ มอื่ ใด ๔.๒ เขยี นเคร่อื งหมายแผนท่ลี งบนกระดานดา เครือ่ งหมายท่ใี ชแ้ ทนสิ่งท่ีม่ันคงถาวร อาคารต่างๆ ส่ิง ที่เป็นสว่ นประกอบ....รัว้ ลวดหนาม สง่ิ ทเ่ี ขยี นขึน้ เหมือนของจรงิ ...โบสถ์ หรือวัด สิ่งท่ีไม่เหมือนของจริง.สายลา นา้ แห้งเป็นตอน ๆ ๔.๓ แบ่งทหารในช้ันออกเป็นพวกเท่า ๆ กัน แต่ละพวกมีครูและแผนที่ยุทธวิธี ครูชี้และอธิบาย เครอ่ื งหมายแผนที่ ตามทเ่ี ขยี นใหด้ ูบนกระดานดา อธิบายใหท้ กุ พวกฟังแล้วให้ทหารทุกคนชี้เคร่ืองหมายแผนท่ี อย่างอนื่ ที่ปรากฎในแผนทนี่ น้ั ( หยดุ พกั ๒ นาที ) ๕. เครอ่ื งหมายทางทหารคอื อะไร (๑๕ นาที) ๕.๑ อธิบายถึงการใช้ทาไม อย่างไร และเมือ่ ใด ๕.๒ เขียนเคร่อื งหมายทางทหารอย่างง่ายๆ ลงบนกระดานดา และอธิบายถึงวธิ จี า (ลบกระดานดา) ๕.๓ เขยี นเคร่ืองหมายอีกครั้ง แลว้ เวยี นให้ทหารตอบว่าเปน็ เคร่ืองหมายอ ๕.๔ ให้ทหารเขยี นดว้ ยดนิ สอลงบนกระดานดา โดยครูบอกใหเ้ ขยี น ครผู ู้ชว่ ยตรวจทหารทุกคน ๖. สรุป ( ๕ นาที ) ๖.๑ ทาความแจม่ กระจ่างในข้อทที่ หารสงสยั ๖.๒. สรปุ เปน็ ขอ้ ส้นั ๆ จงจาไว้ว่า แผนท่ีเป็นภาพชนิดหนึ่ง ไม่ใช่เป็นปริศนาที่อ่านได้ยาก ในเวลา รบทหารจะต้องรู้จักการอ่านแผนท่ีและการใช้แผนที่ เพ่ือให้มีชีวิตอยู่รอดได้ เคร่ืองหมายแผนที่และ เครื่องหมายทางทหารนั้น เขยี นขน้ึ ใหอ้ า่ นหรือใชง้ ่าย ในตอนเช้าวันนี้ ทหารได้รู้จกั แผนท่ีทหาร เคร่ืองหมาย 15

แผนที่ และเคร่อื งหมายทางทหารแล้ว ในชั้นน้ี ทหารได้เรียนถึงการอ่านและการใช้แผนท่ีในเวลารบ การ สอนครัง้ ตอ่ ไปจะสอนถงึ จดุ พกิ ดั ระยะทาง และมาตราส่วนในแผนท่ี (เลิกเรียน ๑๘๒๐) ๓. การตรวจสอบหลักฐานเตรียมการสอน เพื่อเป็นที่แน่ใจว่า การทาหลักฐานเตรียมการสอนมิได้ขาด ตกบกพร่องในหัวข้อสาคัญๆ ครูจะต้องตอบรับในคาถามต่อไปนี้ได้ทุกข้อ ถ้าตอบปฏิเสธหรือตอบไม่ได้ก็ แสดงว่า การเตรียมบทเรียนของครูยังใช้ไม่ได้ ครูควรจัดการปรับปรุงแก้ไขหลักฐานเตรียมการสอนเสียใหม่ คาถามมีดังนี้.- ๓.๑ บทเรียนนี้ กล่าวถึงเร่อื งท่สี อนโดยเฉพาะหรือไม่ ๓.๒ ความมุ่งหมายของบทเรียนกล่าวไวช้ ัดเจนกระทดั รดั หรือไม่ ๓.๓ ความสะดวกและส่ิงอปุ กรณก์ ารสอนเท่าท่ีจาเปน็ มคี รบและพอเพียงหรือไม่ ๓.๔ การสอนในบทเรยี นนี้ ดาเนินจากพื้นความรู้ทไ่ี ด้สอนมาแล้ว ไปหาเรื่องท่ียังไม่ไดส้ อน และ จากงา่ ยไปยากหรอื ไม่ ๓.๕ การแบง่ เวลาเหมาะสมหรือไม่ ๓.๖ วธิ สี อนเหมาะกบั เรื่อง และนกั เรยี นในชน้ั หรือไม่ ๓.๗ เนน้ ในข้อสาคญั ๆ หรือเปล่า ๓.๘ หลักฐานเตรยี มการสอนเหมาะสมกบั ความมุ่งหมายของบทเรยี นหรือไม่ ๔. สรุป ข้ันเตรียมการสอนของครูท่คี วรพงึ ระลึก ๔.๑ พึงจาไว้ว่านักเรยี นทกุ คนหรือนายทหารทกุ คนจะเรียนร้ดู ้วยการเห็น การดม การชมิ การสมั ผัส และวิธีท่ีดีท่ีสุดก็คือ ให้นักเรียนปฏิบัติด้วยตนเองตามที่ได้เรียนมา เพราะเม่ือไม่มีการปฏิบัติด้วยตนเองอย่าง หนึ่งอยา่ งใดแลว้ การศกึ ษาจะนับว่าไดผ้ ลสมบรู ณ์ไม่ได้ ๔.๒ การเรียนที่จะไดผ้ ลดเี พียงใดอยู่ที่ตวั ครู ครจู งึ ตอ้ งมคี ณุ สมบตั ิจะทาให้การเรยี นการสอนบงั เกิด ผลดีคือ มีลักษณะดี มีความรู้ดี รู้หลักวิชาครูโดยเฉพาะวิธีสอน รู้จักใช้เคร่ืองช่วยฝึกสอนให้เป็น ประโยชน์ ๔.๓ ผลการเตรียมตัวของครูคือ หลักฐานเตรียมการสอน ซึ่งเป็นแนวทางสาหรับดาเนินการสอน ๔.๔ การซักซ้อมทดลองการสอน ย่อมไดป้ ระโยชน์ทท่ี าให้เกิดความมนั่ ใจ ------------------------------------------------- ๒. ขั้นท่ี ๒ . การสอน ๒.๑. กล่าวนา เม่ือได้เตรียมทุกสิ่งทุกอย่างในข้ันที่ ๑ คือ การเตรียมตัวของครู แล้วก็ มาถงึ ขน้ั ท่ี ๒ คือ การสอนหรือการดาเนินการสอน เป็นข้ันเริ่มให้บทเรียน ให้ความรู้ แนวความคิดใหม่ ๆ และสิง่ ทคี่ วรทราบแกน่ ักเรียน ทั้งนี้ดว้ ยการอธิบาย การแสดงให้ดู รวมทง้ั ข้อสรุป นอกจากนั้นการสอนยังเป็น การเตรยี มนักเรียนใหป้ ฏิบัตดิ ้วยตนเองในขนั้ ตอ่ ไป ในการฝกึ ครูควรใช้คาอธบิ าย ( ด้วยปากเปลา่ ) ให้นอ้ ยท่ีสดุ เพราะการพดู บางทยี ากท่จี ะเขา้ ใจให้ ซาบซ้ึงได้ ครูบางคนก็ไม่สามารถพูดให้คนฟังเข้าใจได้ง่าย ๆ ที่สาคัญคือ โอกาสที่คนจะลืมนั้นมีมาก เน่ืองจากมิไดใ้ ช้ประสาทตาเข้าช่วย วธิ ีท่ีจะทาให้เกิดความสนใจอยากจะปฏิบัติด้วยตนเองก็คือ การแสดงให้ดู ความสาคญั ของการสอนกลา่ วโดยยอ่ มดี งั น้ี.- - เปน็ งานข้นั แรกทเ่ี รม่ิ ให้บทเรยี น - เป็นการให้ความรู้ แนวความคดิ ใหม่ ๆ และเรอ่ื งทค่ี วรทราบ - เปน็ การเตรียมนกั เรียนใหป้ ฏบิ ัติด้วยตนเองในข้นั ตอ่ ไป 16

๒.๒. วธิ สี อน กระทาไดห้ ลายวธิ ี คอื .- ๒.๒.๑ การบรรยาย ๒.๒.๒ การสอนเชงิ ประชมุ ๒.๒.๓ การแสดงให้ดู ๒.๒.๔ ผสมวธิ ตี ่างๆ ท่กี ลา่ วมาแลว้ เข้าดว้ ยกัน ๒.๓ ลาดับการสอนในทุก ๆ วิธี ไมว่ า่ การสอนวิธใี ด ย่อมดาเนนิ เปน็ ขนั้ ๆ ตามลาดบั ดงั น้ี.- ๒.๓.๑ กล่าวนา ๒.๓.๒ คาอธบิ าย หรอื ตวั เรอ่ื ง ๒.๓.๓ สรุป ๒.๔ กล่าวนา เปน็ การเตรียมในด้านสมอง คอื เตรยี มจติ ใจของผู้รับการสอนให้พรอ้ มทีจ่ ะรบั ความรู้ หรือกลา่ วง่าย ๆ คอื การปลุกใหผ้ เู้ รยี นต่ืนเสยี ก่อน แล้วจงึ หยบิ ย่นื ความรูใ้ ห้ ท้งั น้ดี ว้ ยความมุ่งหมายเพื่อ ๒.๔.๑ กระตุ้นเตือนเรา้ ความสนใจ ๒.๔.๒ ใหค้ วามแจม่ แจ้งในความมงุ่ หมายของบทเรียนนัน้ ๆ ๒.๔.๓ ให้เห็นความต่อเนื่องจากความรู้ที่ได้เรียนมาแล้ว หรือจากความชานาญท่ีมีอยู่ เพอ่ื ให้สมั พันธก์ บั ความร้เู ดิม ๒.๔.๑.๑ การเรา้ ความสนใจ โดยธรรมดาเม่ือจะทาการสอน ครูจะต้องทาให้ผู้รับ การสอนเกดิ ความสนใจเสยี ก่อน ถ้าเริม่ เรือ่ งทันทอี าจไมเ่ ข้าใจเรอื่ งท่สี อน หรือตอ้ งนึกทบทวนอยู่นาน ถ้าได้ทา ให้เกิดความสนใจเสียกอ่ น ผูร้ บั การสอนกจ็ ะเข้าใจแตเ่ ริ่มต้น นอกจากนั้นระหว่างการสอน ความตั้งใจอาจลด น้อยลงด้วยเหตหุ ลายประการ ดงั นนั้ ครูจึงต้องหาทางเรง่ เรา้ ความสนใจใหเ้ กดิ ขน้ึ อยเู่ ร่อื งๆ โดย.- - กล่าวให้ทราบถงึ ความสาคัญของบทเรียน หรือความจาเป็นท่ีทหารต้องทราบ - เลา่ เรื่องความจรงิ ทีเ่ กดิ ขน้ึ นยิ าย เรอื่ งขบขันอันจะเป็นทางนาเขา้ สบู่ ทเรยี น - ใหร้ ะลึกถงึ ช่อื เสียงของกรมกอง หากทกุ คนเรียนดี ๒.๔.๑.๒ การใหค้ วามแจ่มแจ้งในความมุ่งหมายของบทเรียน บอกให้ผู้รับการสอน ทราบว่าจะต้องเรียนอะไรบ้าง ด้วยความมุ่งหมายอะไร เพ่ือให้เตรียมตัวรับการสอน และพยายามรับการ สอนให้ถงึ ขีดทีต่ อ้ งการ ๒.๔.๑.๓ การใหเ้ ห็นความตอ่ เนอื่ งจากความร้ทู ไี่ ด้เรียนมาหรือจากความชานาญที่มี อย่แู ลว้ การกลา่ วให้เห็นความต่อเน่อื งเช่นน้ี ผรู้ ับการสอนจะได้ระลึกร้นื ฟืน้ ความจาเดิม หรือความชานาญเดมิ ขึ้นมาได้ ทาให้เข้าใจเร่ืองต่อเนอื่ งเกีย่ วกบั ความร้ทู ี่จะได้รบั ใหม่ การตอ่ เนอ่ื งกันระหวา่ งบทเรียน เป็น จุดมุ่งหมายของการสอนทุกเรื่อง เพราะการสอนทาไปเป็นขั้นตอนอยู่แล้ว หากแต่ละข้ันไม่ต่อเนื่องกัน จะมี ความเขา้ ใจในเรือ่ งทัง้ หมดด้วยดีไมไ่ ด้ ขอ้ ควรระมัดระวังในการกล่าวนา - ช้แี จงความม่งุ หมายในขนาดเทา่ ท่ีผู้รบั การสอนพึงจะสามารถเขา้ ใจได้ อย่าวาง ความม่งุ หมายสงู เกนิ ไป ใหถ้ อื ระดบั ความรขู้ องผูร้ บั การสอนเป็นเกณฑ์ - ควรกล่าวนาเพยี งสัน้ ๆ แตบ่ างครงั้ อาจกลา่ วยาวบ้าง ทั้งนี้แลว้ แตเ่ รือ่ งท่ีจะสอน และ ความร้คู วามชานาญของผูร้ ับการสอน โดยปกติ กล่าวนามกั ใชเ้ วลาไม่เกนิ ๑๐ นาที ๒.๕ คาอธิบายหรือตัวเรื่อง การอธิบายตัวเรื่อง กระทาโดยวิธีสอน ซ่ึงมีวิธีต่าง ๆ ดังทไ่ี ด้กลา่ วมาแลว้ และจะได้พิจารณาถงึ วธิ ีเหล่าน้นั ดงั ตอ่ ไปน้ี.- 17

๒.๕.๑ การบรรยาย เป็นการสอนด้วยปากเปล่า คือ ครูพูดคนเดียว เป็นวิธีท่ีใช้กันมาก และ ถา้ มีเครื่องชว่ ยสอนประกอบการบรรยายดว้ ยก็จะไดผ้ ลดยี ง่ิ ข้นึ แต่ถ้าจะกลา่ วถึงผลท่ีจะได้รับแล้วได้ผลน้อย เพราะ ผ้บู รรยายพดู คนเดียวตั้งแต่ต้นจนจบ ไม่มีโอกาสทราบวา่ คาบรรยายของตนมีผลเพียงใด ๒.๕.๑.๑ ผลการบรรยาย จะมมี ากน้อยเพยี งใด ยอ่ มขึ้นอยู่กับ.- - เร่ืองท่บี รรยาย( ยาก – ง่าย ) และการลาดับขั้น - ตอน - ความรู้ การเตรยี มตวั และการเอาใจใส่ของผูบ้ รรยาย - บุคลกิ ลักษณะของผู้บรรยาย ๒.๕.๑.๒ ประโยชนข์ องของการบรรยาย - ผสู้ อนสามารถแสดงความคดิ เหน็ ของตนได้อยา่ งกว้างขวางแจม่ แจง้ - ใชค้ วามเร็วได้ตามความพอใจ - ใช้สอนคนจานวนมากได้ ๒.๕.๑.๓ เทคนคิ การพูด - สมั ผสั กบั นกั เรยี นตลอดเวลา - ไม่แกต้ ัว...- ข้อบกพรอ่ งในการสอน - ระงับความประหมา่ ตื่นเต้นได้ - ข้อบกพรอ่ งในความรู้ - รกั ษาลกั ษณะท่าทางของทหาร -ข้อบกพร่องใน ความสามารถ - ไมแ่ สดงอากปั กิรยิ าทล่ี อ่ ใจนักเรียน (ถกู บังคบั ใหส้ อน) - มคี วามกระตอื รอื รน้ - พูดให้นักเรยี นทงั้ ชน้ั ได้ยิน - พูดให้เขา้ ใจ ๒.๕.๑.๔. วิธีการปรับปรุงการพูด - คน้ ควา้ ทาความเข้าใจเรื่อง หลักการพูดที่ดี - ฝกึ ฝนการพดู อยเู่ สมอ ๒.๕.๒. การสอนเชิงประชุม คือ การสอนไล่เลียงซ่ึงกันและกัน ระหว่างครูกับนักเรียน หรือ ระหว่างนักเรียนกับนักเรียนในความควบคุมของครู เป็นการเพิ่มเติมหรือแลกเปล่ียนความคิดเห็นเก่ียวกับ บทเรียน หรอื เป็นการแนะนาขอ้ เท็จจริงและความคดิ และทาใหค้ รูทราบความเขา้ ใจของผูร้ ับการสอนด้วย ๒.๕.๒.๑ ผลการสอนเชิงประชุม - ต้องมเี วลามาก - ครตู ้องมีความรูก้ วา้ งขวาง มีเทคนคิ ในการตัง้ คาถาม เทคนคิ ในการตอบ และ ไหวพริบในการตัดทอน รวบรดั ให้เขา้ แนวทีต่ ้ังไว้ - ผู้รบั การสอนมีความรูใ้ นเรื่องน้นั มาบ้างแลว้ - จานวนผรู้ ับการสอนมีไม่มาก ประโยชน์ - ทาใหผ้ ู้รับการสอนต้องใช้ความคิดทุกคน เพราะอาจถูกครูหรือนักเรียนคนใดคน หนึ่งถามได้ - ทาให้เกิดความสนใจ และมีความเขา้ ใจทกุ แง่ทุกมุม - สามารถแก้ไขขอ้ บกพร่อง หรือความเขา้ ใจผดิ ได้ทันที - ทาใหค้ รูทราบความรคู้ วามเข้าใจของนักเรยี น - ทาให้ครูมีโอกาสใกล้ชดิ กบั นกั เรียน ๒.๕.๒.๒ ขอ้ พงึ ระมัดระวัง - ครตู อ้ งเตรยี มตัวอย่างกวา้ งขวาง และรอบครอบ 18

- ระมัดระวังการเสยี ระเบยี บของหอ้ งเรยี น ๒.๕.๒.๓ ขอ้ พงึ ยึดถือ - ครตู อ้ งมีความอดกล้ัน - ครูต้องรักษาแนวของตนไว้ตลอดเวลา ตัดการโต้ตอบหรือการซักถามนอกเรื่อง และการพูดนอกเรอ่ื ง และหาทางจงู เขา้ แนวทางของตน - ครูต้องจูงให้นกั เรียนเกดิ ความคิดด้วยการซักถาม และไล่เลียงใหไ้ ด้ความชดั เจน หรือใช้คาถามของนักเรยี นเอง ซกั ถามนกั เรยี นคนอืน่ ๆ ต่อไป - ครูต้องกล่าวสรุปผลการถกเถียงในตอนท้าย โดยเลือกข้อความหรือใจความท่ี สาคัญมากล่าว เพ่ือกระชบั ความเข้าใจใหแ้ นน่ แฟน้ ยง่ิ ข้ึนอกี ๒.๖ เทคนิคการถาม ความสาเร็จของการสอนเชิงประชุม ส่วนมากข้ึนอยู่กับความชานาญ ในการถามของครู เม่ือปรากฏว่าผู้รับการสอนมีความคิดคืบหน้า ครูต้องฉวยโอกาสกระทาตนเป็นผู้นา ความคิดของผู้รับการสอนนั้นให้เกิดผลด้วยการซักถาม ครูเป็นผู้ตั้งคาถามเสียเอง ดีกว่าตอบเสียเอง เม่ือ นกั เรยี นถาม กใ็ หน้ กั เรียนคนอ่ืนตอบเสยี บ้าง ทัง้ น้ีเป็นวิธีที่จะใหน้ กั เรยี นใชค้ วามคดิ เห็นไดม้ าก ๒.๖.๑ ลักษณะคาถามทด่ี ีตอ้ ง - มีความมงุ่ หมายท่แี น่นอน - ชัดเจน สน้ั ใช้ภาษาเข้าใจง่าย และทุกคนเขา้ ใจคาถามนน้ั - มกี ารเนน้ เสยี งตรงข้อความใดข้อความหนง่ึ ทีส่ าคัญ .๒.๖.๒ ระเบยี บการถาม - ตัง้ คาถามขนึ้ กอ่ น - หยดุ ช่วั ครู่หน่งึ เพอื่ ใหน้ ักเรยี นไดใ้ ชค้ วามคิดทกุ คน - เรยี กใหน้ ักเรยี นคนใดคนหนง่ึ ให้ตอบ หรอื ใหโ้ อกาสตอบโดยยกมือ .๒.๖.๓ ระเบยี บการตอบ - นกั เรียนตอบด้วยเสียงดังพอทีจ่ ะใหท้ กุ คนในห้องไดย้ ินทว่ั ถงึ กัน - ไมใ่ ห้ตอบพรอ้ มกัน ไม่ลุกขึ้นตอบเองโดยที่ครูยังไม่ได้เรียก เมื่อผู้ใดอยากจะตอบ กช็ มู ือให้ครูเหน็ - ตอ้ งจาคาถามทั้งหมดใหไ้ ด้ - ไมก่ ล่าวคาตอบซา้ อกี เวน้ แตเ่ มื่อครูให้ตอบใหม่อีกคร้ังเพ่ือให้นักเรียนได้ยินทั่วถึง กัน - ไม่ควรให้นกั เรียนทข่ี ยนั ลกุ ข้นึ ตอบเสียคนเดยี วทุกข้อ ๒.๖.๔ ประโยชน์ของการตงั้ คาถาม - เพ่มิ พนู ความสนใจแกน่ ักเรียน - จูงใหน้ กั เรียนรจู้ กั ใชค้ วามคดิ วิเคราะห์คาถามเปน็ ขนั้ ๆ - เป็นการตรวจสอบความเข้มแขง็ และจดุ ออ่ น ในการเรยี นของนกั เรียนแต่ละคน - การถามบอ่ ยๆ เป็นการเน้นข้อสาคญั ๆ เพ่อื ให้นกั เรียนจดจาไดง้ า่ ย - เปน็ การตรวจสอบประสทิ ธิภาพในการสอนของครู ๒.๗ การแสดงให้ดู การแสดงให้ดูหรือการแสดงการปฏิบัติให้เห็น เป็นวิธีสอนอย่างหน่ึง เพราะเป็นการแสดงให้เห็นวา่ สงิ่ ทีส่ อนนั้นจะปฏบิ ัติอยา่ งไร การแสดงให้ดูเท่ากับเป็นการเตรียมนักเรียนให้ใช้ ความรู้ปฏิบัติด้วยตนเอง การแสดงให้ดูทาได้ทั้งเป็นบุคคลและเป็นพวก และใช้การอธิบายประกอบเพื่อให้ เข้าใจง่าย ก่อนแสดงจะต้องซักซ้อมเสียก่อนเพ่ือให้ใกล้กับความเป็นจริงที่สุด ชัดเจน เสร็จตามกาหนดเวลา และตอ้ งใหน้ กั เรียนเห็นทั่วถึงทุกคน รวมทั้งต้องช้ีแจงข้อที่จะต้องเพ่งเล็งด้วย เม่ือการแสดงจบลง ต้องมี 19

การสอบถามข้อสาคญั ๆ เพื่อความเข้าใจ ถ้าการแสดงมีข้อบกพร่อง ต้องแสดงซ้าใหม่ เพื่อให้เข้าใจถูกต้อง ทันที ต้องระมัดระวังการแสดงผิด เพราะนักเรียนจะจดจาภาพที่ผิดไป เมื่อการแสดงจบลงแล้ว ให้ นักเรียนกระทาตามทันทีหรือยังไม่กระทาทันทีก็ได้ การแสดงการปฏิบัติบางตอนหรือตลอดเร่ืองหรือทาง เทคนิคบางประการ อาจใช้ผู้แสดงเป็นตัวประกอบ ให้แสดงท่าทางขบขัน เพื่อเร้าความสนใจ หรือผ่อนคลาย อารมณข์ องผรู้ บั การสอนบ้างกไ็ ด้ ๒.๗.๑ ประโยชน์ของการแสดงให้ดู - เพิม่ ความสนใจ - ทาใหก้ ารเรยี นใกลก้ ับเรอื่ งที่เป็นจรงิ - ทาให้อยากรอู้ ยากเหน็ - เป็นการทดแทนการอธิบายได้มาก ๒.๗.๒ ขอ้ พงึ ยึดถือ - ต้องเตรยี มการ และซกั ซอ้ มอยา่ งรอบครอบ - ต้องอธิบายประกอบการแสดง - เมื่อต้องการทาหลายตอนประกอบกนั ตอ้ งทาให้สัมพันธ์ตอ่ เนอื่ งกนั ดว้ ย - เลือกเอาแต่เร่ืองท่ีเกี่ยวข้องท่ีจะให้นักเรียน รู้ และปฏิบัติเท่าน้ัน ( ถ้ามีเวลามาก พอก็อาจจะมีการสลับการแสดงขบขนั ก็ได้ ) ๒.๘ การสรปุ คอื การลงทา้ ยของบทเรยี น เปน็ การทบทวนเน้นข้อสาคญั ที่ไดเ้ รียนมาแล้ว ทาให้เข้าใจง่ายและจดจาไดด้ ี ทาใหน้ ักเรียนได้ทราบว่า การเรยี นในบทเรียนน้นั ๆ ไดจ้ บลง และบรรลุจดุ มุง่ หมายของบทเรียนตามทีค่ รูได้กลา่ วนาไว้ในตอนต้นนั้นแล้ว หลักการสรุป - สรุปสน้ั ๆ ไม่ยืดยาว และใหม้ แี ต่เน้ือเร่อื งแท้ ๆ - ถา้ เป็นการสอนเร่ืองเดยี วติดตอ่ กนั หลายบทเรยี นก็ใชส้ รปุ ตอนทา้ ยของแตล่ ะบทเรยี น สาหรบั เปน็ เครื่องนาของบทเรียนทจี่ ะสอนตอ่ ไป - เปน็ การเรา้ สญั ชาตญิ าณความอยากรอู้ ยากเหน็ ๓. ขัน้ ท่ี ๓ การนาไปปฏบิ ตั ิ การนาไปปฏิบัตหิ รอื การให้นักเรียนทาตามความรู้ท่ีได้เรียนมา เป็นลาดับท่ี ๓ ของข้ันการสอน เป็น การนาความรทู้ ไ่ี ด้เรียนมาแลว้ ไปปฏิบตั ิ นับว่าเป็นขั้นสาคัญมากของผู้เรียน เพราะการสอนจะได้ผลสมบูรณก็ ตอ่ เม่ือผเู้ รียนสามารถนาไปปฏิบตั ิไดถ้ กู ต้อง ทุกบทเรียนถา้ สามารถทาได้ ต้องให้มีการปฏิบัติด้วยเสมอ โดยมี ครคู อยแนะนาตรวจตราในขัน้ ต้น จนกวา่ นักเรียนจะเกิดความชานาญ เวลาทาการสอน ตอ้ งผสมการอธิบาย และ การแสดงให้ดูเข้ากับการปฏิบัติของนักเรียน คือ อธิบายพร้อมกับครูแสดงให้ดู นักเรียนก็ทาตามไปด้วย ต่อไปใหน้ ักเรยี นลองทาเองดบู า้ ง ตอ่ จากนนั้ ก็แยกไปปฏบิ ัติ การนาไปปฏบิ ตั แิ ยกออกได้เป็น ๒ อย่าง คอื .- ๓.๑ การนาไปปฏบิ ตั เิ ปน็ บุคคล ๓.๒ การนาไปปฏบิ ตั ิเปน็ ชดุ - อยใู่ นความควบคมุ ของครู - การฝึกทางเทคนิค - โดยผลัดเปลย่ี นกันเป็นครู - การฝกึ ทางยุทธวิธี - ปฏิบัตติ ามลาพัง ๔. ข้นั ท่ี ๔ การสอบ ทาให้ทราบค่าการสอนของครู และค่าการเรียนของนักเรียน กลา่ วทัว่ ไป การสอบ ( หรืออาจเรยี ก \" การตรวจสอบ \" ) เป็นการวดั ผลการฝกึ - สอนที่กระทามาแล้ว ครูก็ดี, ผบช.ก็ดี ต้องรับผิดชอบในการตรวจสอบหรือการสอบ สาหรับครู การสอบจะทาให้ทราบ ประสิทธิภาพของการสอนของตนด้วย สาหรับ ผบช. เป็นผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบ เพื่อทราบผล ก้าวหน้าของการฝึกทุกอย่าง เพื่อจะได้แก้ไขข้อบกพร่องเมื่อเกิดมีข้ึน หรือเพ่ือเตรียมรับการตรวจสอบจาก ผบช.ชั้นสงู ต่อไป 20

๔.๑ ความมงุ่ หมายของการสอบ ๔.๑.๑ เพ่ือวัดผลการเรียน หรือการฝึกท่ีกระทาไปแล้ว ว่ามีข้อบกพร่องในเรื่อง อะไรบ้าง เปน็ การหาช่องโหวอ่ นั ใดอนั หนง่ึ ซง่ึ จะตอ้ งแก้ไขเพม่ิ เติม หรอื ช้แี จงใหก้ ระจา่ งยิง่ ขึ้น ๔.๑.๒ ชว่ ยใหก้ ารเรยี นดีข้ึน คอื จะทาใหน้ กั เรียนเอาใจใสแ่ ละไมท่ อดทงิ้ การเรียน ๔.๑.๓ ทราบขอ้ บกพรอ่ งในการสอนของครเู อง ๔.๑.๔ เปน็ ทางพิจารณาคัดเลือกตัวบคุ คล เพื่อบรรจุให้เหมาะสมกับตาแหน่งหน้าท่ี การงาน ประเภทการสอบ การสอบ การทดสอบความถนดั การทดสอบความรู้ การสอบปากเปลา่ การสอบโดยให้ปฏิบัติ การสอบข้อเขียน แบบรอ้ ยแกว้ แบบจากดั ความมุง่ หมาย ( ปรนัย ) แบบ เทจ็ - จรงิ แบบเติมความ แบบเปรียบเทยี บ แบบความจาธรรมดา แบบเลอื กขอ้ ถกู - ผิด แบบกรอกรายการ แบบให้แสดงความหมาย ๔.๒ การสอบแบง่ ออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ๒ ประเภท คอื .- ๔.๒.๑ การทดสอบความถนดั เปน็ การกระทาเพื่อทราบความถนัดหรือความเหมาะสมสาหรับใช้ เป็นข้อมูลฐาน ในการแบ่งประเภททหารใหม่ เพ่ือดาเนินการฝึกในข้ันต่อไปตามระเบียบ ทบ.ว่าด้วยการ ทดสอบเพ่ือแบ่งประเภททหารใหม่ พ.ศ. ๒๕๓๐ ในหน้าท่ีพิเศษ เช่น พลวิทยุ, ช่างเครื่องยนต์ เป็นต้น ส่วนมากกระทาในตอนเรมิ่ เข้ารบั ราชการทหาร เป็นเร่อื งของผู้เช่ยี วชาญโดยเฉพาะ จึงไม่สอนในเรื่องนี้ ๔.๒.๒ การทดสอบความรู้ เป็นการกระทาเพื่อทราบผลในการฝึกสอนที่กระทาไปแล้ว แบ่ง ออกเป็น ๓ วิธี จะเลอื กใช้วธิ ีใดตอ้ งใครค่ รวญใหเ้ หมาะสม คือ.- ๔.๒.๒.๑ การสอบปากเปล่า เป็นการสอบทท่ี าให้ทราบความรู้ของทหารได้ดี ใช้ได้ ดีเมอ่ื มที หารนอ้ ย ถา้ มที หารมากจะเสยี เวลามาก อาจเสร็จไมท่ ันตามความต้องการ การสอบปากเปล่านี้ใช้ได้ เกือบทกุ ประเภทของการฝึกสอน โดยเรียกใหต้ อบทลี ะคน ไม่ใช่ให้ตอบพร้อม ๆ กนั หลายคน 21

๔.๒.๒.๒ การสอบ ( โดยให้ปฏิบัติ ) เป็นการสอบโดยให้ปฏิบัติจริง จะได้รู้ทันทีว่า ทหารปฏิบตั ไิ ด้หรือไม่เพยี งใด เหมาะในกิจการท่เี กี่ยวกับเทคนิคในการหัด การฝึกทางยุทธวิธี หรือการปฏิบัติ อย่างอื่น ๆ เป็นวิธีเบ้ืองต้น ท่ีจะทดลองความพร้อมรบของหน่วยและของบุคคล และเพื่อรับการ ตรวจสอบจากผบู้ ังคบั บัญชาช้ันเหนอื ดว้ ย นอกจากน้ันยังถือว่าเป็นวิธีที่ดีท่ีสุด ที่จะได้ทราบความสามารถของ ทหารและของหนว่ ย ถา้ ทาไดก้ ็ใหใ้ ช้วธิ นี เี้ สมอ และอาจใชว้ ิธอี ่ืนควบดว้ ยก็ได้ ๔.๒.๒.๓ การสอบข้อเขยี น เป็นการสอบท่ีนกั เรียนตอ้ งตอบด้วยการเขียน คาตอบของนักเรียนจะเปน็ บันทึกที่เป็นประโยชน์ในการวัดคุณค่าของการสอนและการศึกษา โดยมากใช้วิธีน้ี ในโรงเรียนต่าง ๆ และใช้เมอื่ มีนกั เรยี นจานวนมาก แตก่ ารสอบข้อเขยี นบางทีก็ให้มีการปฏิบัติควบคู่กันไป ด้วย เชน่ ให้ร่างคาสั่งยุทธการแล้วให้ปฏิบัติหน้าท่ีของฝ่ายอานวยการ ให้คานวณดินระเบิดแล้วให้ปฏิบัติการ ระเบิดด้วย ฯลฯ การร่างคาสั่งยุทธการ, การคานวณดินระเบิด เป็นการสอบข้อเขียนเพื่อดูความรู้ การ ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีฝา่ ยอานวยการ และ การนาดินระเบิดไปจัดการระเบดิ เปน็ การสอบปฏบิ ตั ิเพ่ือความชานาญ การ สอบขอ้ เขียนยังแบ่งออกไดเ้ ป็น ๒ อย่างคอื .- ๔.๒.๒.๓.๑ แบบร้อยแก้ว (อตั นัย) การสอบแบบน้ี ต้องตอบด้วยการเขียนมาก ๆ บรรทัด ต้องแสดงความคิดเห็นแสดงวิธีทาท่ีเห็นว่าเหมาะ เปรียบเทียบลักษณะหรืออธิบายข้อสาคัญใน คาถาม การสอบวธิ ีนมี้ ปี ระโยชน์ คอื นกั เรียนมีโอกาสเลอื กแสดงความคดิ เห็นได้อย่างกว้างขวาง แต่เป็นวิธีที่ ไมเ่ หมาะสาหรับทหารท่ีมีการศึกษาน้อย และการตรวจให้คะแนนย่อมต้องใช้เวลา และความละเอียดถี่ถ้วน ของผู้สอนมาก ๔.๒.๒.๓.๒ แบบจากัดความมุ่งหมาย (ปรนัย) เป็นการสอบซ่ึงต้องใช้ความ พิจารณาคาถาม แล้วเขียนตอบลงไปส้ัน ๆ เช่น ถูก หรือ ผิด หรือเลือกคาตอบที่ถูกจากข้อความหลาย ๆ ข้อ ฯลฯ วิธีน้ีสามารถตอบคาถามจานวนมากได้ในเวลาอันสั้น และการตรวจก็กระทาได้รวดเร็ว แต่ต้อง เตรียมการอย่างรอบครอบเพ่ือให้เข้าใจคาถามได้ง่าย ใช้ประโยคที่ไม่ทาให้เกิดความสงสัย และตรงไปตรงมา การสอบแบบน้ียงั แบง่ ออกเปน็ ๗ แบบ ๔.๓. การปฏิบัติการสอบ ต้องปฏิบตั ิด้วยความรอบครอบต้ังแต่ต้นจนจบ จึงต้องมีการเตรียมการอยา่ ง ดแี ละดาเนินการปฏิบตั ิเป็นขั้น ๆ คอื .- ๔.๓.๑ ตงั้ ความมงุ่ หมายในการสอบ คือ จะต้องการทราบผลในเร่ืองอะไร ครู จะตอ้ งพจิ ารณาความมุ่งหมายในการฝึกหรือบทเรียนแต่ละเร่ือง แล้วมาแยกความมุ่งหมายของตนเองแต่ละ เรอ่ื งไว้ โดยระลกึ ถงึ ความสาคัญของเร่อื งท่ีจะนาไปปฏิบตั ิ หรือความจาเป็นต้องร้ตู อ้ งใช้ เป็นเกณฑ์ ๔.๓.๒ เลือกวธิ สี อน เลือกใหต้ รงกบั ความมงุ่ หมาย เพราะถ้าต่างความมุ่งหมาย วิธี สอนก็ตา่ งออกไปด้วย ๔.๓.๓ เรียบเรยี งข้อสอบ และคาถาม ๔.๓.๓.๑ ลักษณะของขอ้ สอบทีด่ ตี ้อง สั้น, ชดั เจน, เข้าใจง่าย อยู่ในกรอบความ มงุ่ หมายของการสอบใหค้ ะแนนสะดวก และเหมาะกบั คะแนนทีต่ ้งั ไว้พอดีกบั เวลาท่ีกาหนด ๔.๓.๓.๒ คาตอบ ต้องทาไว้ตรงกับคาถาม ถ้าตอบได้หลายทางก็ต้องเตรียมไว้ ดว้ ย รวมท้งั กาหนดคะแนนให้แกค่ าตอบแต่ละขอ้ ตามความเหมาะสมด้วย ๔.๓.๓.๓ การเตรียมอืน่ ๆ ต้องคิดการเตรียมลูกมือ เครื่องมือเครื่องใช้ และ การ ป้องกนั อันตราย ๔.๓.๔ การดาเนินการสอบ ให้เร่ิมสอบตามกาหนด อยู่ในความควบคุมของครู อยา่ งใกล้ชดิ และดาเนินไปตามเวลาท่ีกาหนดจริงๆ กบั มีข้อแนะนาในการดาเนนิ การสอบ ดังนี้.- ๔.๓.๔.๑ ทาความเข้าใจขอ้ สอบ หรือ แนะนาวิธีทจ่ี ะตอบเสียก่อนเริม่ สอบ ๔.๓.๔.๒ ทาการสอบในลกั ษณะเปน็ การเปน็ งาน 22

๔.๓.๔.๓ รักษาระเบยี บการสอบและระเบยี บหอ้ งสอบ ๔.๓.๔.๔ มีครูผู้ช่วยหรือกรรมการคอยช่วยเหลือ (ซ่ึงได้รับการแนะนามา ก่อนแลว้ ) ๔.๓.๔.๕ ปอ้ งกนั การทุจรติ ๔.๓.๕ การตรวจผลการสอบ เป็นข้ันของครูโดยเฉพาะ การให้คะแนนคงเป็นไปตามที่ กาหนดไว้ และการตรวจผลการสอบ ครจู ะตอ้ ง.- ๔.๓.๕.๑ ยุตธิ รรม ไมล่ าเอียง ๔.๓.๕.๒ ทาการตรวจเมอื่ อารมณ์ดี ๔.๓.๕.๓ แยกคาตอบเปน็ พวกๆ เพื่อให้คะแนนได้ถูก ๔.๓.๕.๔ ถา้ ทาไดค้ วรตรวจหลาย ๆ คน ต่างคนต่างให้คะแนน แล้วเฉล่ีย ผล ๔.๓.๖ การชี้แจงการสอบ เมื่อตรวจเสรจ็ แลว้ ครคู วรชแี้ จงผลการสอบ และเฉลยคาตอบ ท่ีถูกต้องอย่างแจ่มแจ้ง และให้นักเรียนสังวรณ์ในการตอบซ่ึงบกพร่อง และระมัดระวังในการสอบคร้ังต่อไป ถ้าเป็นการสอบแบบจากัดความมงุ่ หมาย เม่ือไดเ้ ก็บใบตอบหมดแล้ว จะเฉลยคาตอบกท็ าได้ ๕. ขนั้ ท่ี ๕ การชแี้ จงหรอื การวจิ ารณ์ ๕.๑ กลา่ วนา ๕.๑.๑ การชีแ้ จง เปน็ การทบทวนหรอื ให้ความกระจา่ งแจง้ ในข้อสาคัญๆ ของบทเรยี น จะทาเมอื่ ใดกไ็ ดเ้ ม่อื เหน็ ว่ามกี ารสงสยั โดยธรรมดา กระทาหลงั การสอบแลว้ ทาแบบสอนเชิงประชมุ ให้ นกั เรียนได้ยนิ ทวั่ ถึงเพื่อได้ใชค้ วามคิดและซักถาม อาจถามนาใหต้ อบ ทาใหน้ กั เรียนตอ้ งแสดงความคดิ เห็น หรือขยายความรใู้ ห้กว้างขวาง ถ้าจาเป็นกส็ อนเพ่ิมเตมิ การช้ีแจงขอ้ บกพรอ่ งต้องชีใ้ ห้เหน็ ว่า บกพร่องอะไร ที่ไหน เมอ่ื ไร และอย่างไร ๕.๑.๒ การวจิ ารณ์ เปน็ การสรปุ ผลหลงั จากทหารหรอื หน่วย ได้ปฏบิ ัตกิ าร หรอื รบั การตรวจสอบแล้วทาโดยการบรรยาย ( ถ้าทหารมคี วามรู้อยู่บ้างหรือมเี วลานอ้ ย ) โดยทวั่ ไปใชว้ ธิ ีสอนเชิง ประชุม การวิจารณ์ควรกระทาดังน้ี.- ๕.๑.๒.๑ กล่าวทบทวนการปฏิบัตอิ ย่างยอ่ ๆ ๕.๑.๒.๒ กลา่ วถึงการปฏิบัตทิ ่ีดีท่ีเหมาะ ท่เี ขาได้ทาไปแลว้ ๕.๑.๒.๓ ช้ีข้อบกพรอ่ งทส่ี าคัญ รวมทั้งข้อแนะนาถึงวธิ แี กไ้ ขทถ่ี ูกตอ้ ง ๕.๑.๒.๔ ทาใหเ้ ขามคี วามกล้าที่จะซกั ถาม เพ่ือความเข้าใจแจม่ แจง้ ๕.๑.๒.๕ สรุปบทเรยี นทไ่ี ด้สอนมาแล้ว ๕.๑.๒.๖ ให้ทหารสานึกว่า ตนได้เรียนสาเร็จไปตอนหนึ่งแล้ว และจะก่อให้เกิด อยากเรยี นตอ่ ไป ๕.๑.๓ ความมุ่งหมายของการช้ีแจงและการวิจารณ์ ๕.๑.๓.๑ สรปุ หรือให้ความกระจา่ งแจ้ง ชี้ใหเ้ ห็นข้อทีถ่ กู และผิด ๕.๑.๓.๒ ให้เห็นภาพทว่ั ไป ๕.๑.๓.๓ ชี้ให้เหน็ ขอ้ บกพร่องและวธิ แี ก้ไข ๕.๑.๓.๔ เน้นให้เหน็ ข้อสาคญั ๆ ของบทเรยี น ๕.๑.๓.๕ ให้สานึกในการรวมกันเป็นชุด การประสานงานและทางานเป็น ชดุ ขอ้ ควรระลกึ อย่าวิจารณ์อย่างรุนแรงตอ่ บุคคลหรือหน่วย หรือตอ่ หนา้ คนมาก ๆ 23

บทท่ี ๔ เครือ่ งช่วยฝกึ (สอน) ๑. กล่าวนา ดังไดก้ ล่าวมาแลว้ การเรยี นจะใหเ้ กิดผลดีตอ้ งอาศยั ประสาททง้ั ๕ เครอ่ื งชว่ ยฝกึ ( สอน ) เปน็ สง่ิ ประกอบการเห็น การฟงั ซงึ่ บางครั้งอาจไดส้ ัมผสั ไดก้ ล่นิ และรรู้ ส ชว่ ยใหค้ รูพดู หรืออธิบายนอ้ ยลง พอเหน็ ก็พอจะเขา้ ใจได้ เมื่ออธบิ ายประกอบเล็กน้อย ก็เข้าใจดขี น้ึ ชนดิ เครอ่ื งช่วยสอน ภาพฉาย ภาพขีดเขยี น มีทรวดทรง ทาข้นึ โดเฉพาะ รวมทั้งสงิ่ ประกอบอื่นๆ - บคุ คลหรือหน่วย ( ลูกมอื ) - กระดานดา - ชอล์ก - ไม้ชี้ - โต๊ะทราย - ตาราต่าง ๆ ฯลฯ เครอื่ งชว่ ยฝกึ สอนมีมากชนิด แตล่ ะชนดิ ก็อาจเหมาะกับบทเรยี นอยา่ งหน่ึง ๆ และอาจมีหลายชนิดท่ี อาจใชร้ ่วมความมุ่งหมายกันได้ เครื่องช่วยฝึกสอนนี้อาจหายาก ราคาแพง แต่มีผลคุ้มค่า ถ้าหาเคร่ืองช่วยฝึก ตามแบบไมไ่ ด้ ก็ต้องใชป้ ฏิภาณไหวพริบ หรือความริเริ่มหา หรอื ใช้สิ่งทีพ่ อจะชว่ ยได้ เพ่ือให้การฝึกสอน บกร่องน้อยท่ีสดุ ๑.๑ ความมุ่งหมายของเคร่ืองช่วยฝึก ( สอน ) คือ บรรดาส่ิงต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นของจริงหรือ ประดษิ ฐข์ นึ้ ทีน่ ามาใช้ประกอบการฝึก( สอน ) เพื่อชว่ ยให้เขา้ ใจได้ง่ายและเรียนรู้ได้รวดเร็วขึน้ ๑.๒ ประโยชน์ ๑.๒.๑ ทาให้เข้าใจไดง้ า่ ย ติดหูติดตา ๑.๒.๒ มีสภาพคลา้ ยของจรงิ หรอื การปฏบิ ตั ิจริง ๆ ๑.๒.๓ ช่วยให้เกิดความสนใจและประหยัดเวลา ๑.๓ ลักษณะเคร่ืองช่วยฝึก ( สอน ) ที่ดีน้ัน ไม่ใช่วัดกันด้วยราคา แต่วัดด้วยผลของการช่วยให้ผู้รับ การฝึกเขา้ ใจง่ายในเวลาอันรวดเร็ว ลักษณะท่ดี ีควรจะมีดงั นี้.- ๑.๓.๑ ขนาดใหญพ่ อเห็นได้ทัว่ ถึง ๑.๓.๒ ตรงเรอ่ื งท่ีสาคัญ เหน็ ได้เดน่ ชัด ๑.๓.๓ มีสิง่ สาคัญเท่าทจี่ าเปน็ เทา่ นนั้ ๑.๓.๔ ใช้กบั ความมุง่ หมายไดเ้ ฉพาะอยา่ ง หรือหลายอยา่ ง 24

๑.๓.๕ ทนทาน ๑.๓.๖ นาไปมาสะดวก ๒. ชนิดของเครือ่ งช่วยฝกึ ( สอน ) มีมากมายหลายชนดิ ประกอบการฝกึ แตล่ ะเร่อื ง ซ่งึ จะดไู ดจ้ าก คู่มือของเร่อื งนนั้ ๆ เทา่ ทใี่ ช้กนั อยู่ มปี ระเภทใหญ่ ๆ ดงั นี้.- ๒.๑ ชนดิ ภาพฉาย เป็นเคร่ืองช่วยฝึกที่ฉายให้เห็นการปฏิบัติหรือภาพต่างๆ ที่ปรากฏอยู่ในฟิล์ม หรอื กระจก ไมว่ า่ จะเป็นการเคล่อื นไหวหรอื ภาพน่ิง ไดแ้ ก่ ภาพยนตรฝ์ ึก ภาพยนตรอ์ น่ื ๆ ภาพเลื่อน ภาพ โปร่งและ เครอ่ื งฉายสะท้อนแสงอืน่ ๆ ๒.๒ ชนิดภาพเขียน ชนิดน้ีมีมากกว่าอย่างอ่ืน เป็นภาพที่เขียนหรือพิมพ์ข้ึน เช่น แผนผัง ภาพ โฆษณาแผนที่ ภาพแบบแปลน รปู ภาพ และ ส่งิ ทีเ่ ปน็ ภาพ ๒.๓ ชนิดที่มีทรวดทรง ทาเป็นรูปร่างท่ีมีทรวดทรง หรือทาให้เห็นการทางานและการต่อเนื่อง ภายในซึง่ ตามธรรมดาเห็นไดย้ ากหรือเหน็ ไม่ได้ เช่น รปู จาลองเทา่ ของจริง ห่นุ จาลอง และสง่ิ ทค่ี ลา้ ยกนั น้ัน ๒.๔ ชนิดทาขนึ้ โดยเฉพาะ เช่น เคร่ืองช่วยฝึกที่ทาเทียมของจริง เครื่องคานวณ เครื่องจาลอง ในสนามรบ และเครอ่ื งอื่น ๆ ในทานองนี้ อนึ่ง บุคคลหรือหน่วยที่ใช้เป็นลูกมือแสดงการปฏิบัติ ก็นับว่า เปน็ เคร่อื งช่วยฝึก( สอน ) ชนดิ หน่ึงเหมอื นกนั นอกจากน้นั ยังมกี ระดานดา ชอล์ก ไม้ช้ี โต๊ะทราย และตารา ฯลฯ ๓. การใชเ้ ครอื่ งชว่ ยฝกึ ( สอน ) ต้องใช้เป็น และเหมาะสมกับการสอนแต่ละขัน้ มีขอ้ แนะนาคือ.- ๓.๑ เลอื กใชใ้ ห้เหมาะกบั เรอื่ งท่ีสอน ๓.๒ เตรยี มการใชแ้ ละทดลองว่า จะใช้อะไรก่อนหลัง ๓.๓ อธิบายให้ถกู ความหมายของเคร่ืองช่วยสอน ๓.๔ เม่อื ยังไม่ใชใ้ หป้ กปิดไว้ก่อน ๓.๕ อธิบายโดยหันหนา้ ไปทางผรู้ บั การสอน และไม่บงั ผู้รับการสอน ๓.๖ ใชไ้ ม้ชปี้ ระกอบ ๓.๗ ใชค้ รูผชู้ ว่ ย หรอื ลูกมือเหมาะกบั จงั หวะ ๓.๘ ใชด้ ว้ ยความทะนุถนอม ( การใชเ้ ครอ่ื งชว่ ยฝกึ ( สอน) แตล่ ะอยา่ งมคี าอธิบายอยู่แลว้ ใน FM. 21 - 5 หรอื รส. 21 –5 ) 25

บทท่ี ๕ หลกั การพดู และการปฏบิ ตั ขิ องครู ๑. กลา่ วทวั่ ไป การพดู และการปฏิบัตขิ องครมู ีความสาคัญตอ่ การสอนเปน็ อย่างยง่ิ จะต้องพูดใหด้ ี และกอ่ ใหเ้ กิดสมั ผัสทัง้ ๕ ขน้ึ ในบรรดาผรู้ บั การสอน ๑.๑ ว่าด้วยทางตา บางแห่งใช้คาว่าจักษุสัมผัสคือ ต้องใช้สายตาจับอยู่ที่ตาของผู้รับการสอนในชั้น จาก แถวหนา้ สู่แถวหลัง และ จากซา้ ยไปขวา อย่ามองอยู่กับที่ ๑.๑.๑ อาการภายนอก - แสดงอาการสภุ าพ - มีลักษณะทา่ ทางอย่างทหารอยู่เสมอ ๑.๑.๒ กริ ิยาทา่ ทาง - ควรให้เป็นไปตามธรรมชาติซ่ึงแสดงถึงจิตใจท่ีต่ืนตัวอยู่เสมอ ไม่ยืนตัวงอ หรือท่าตรงแข็ง ทื่อซงึ่ ไมใ่ ชธ่ รรมชาติ - วางตวั ดี และรักษาความเป็นสง่าราศรี ๑.๑.๓ อาการเคลือ่ นไหว - ควรเปน็ ไปตามธรรมชาติ เคล่อื นไหวไปตามอาการทจี่ าเป็น ( อธิบายแผนผงั แสดงเครอื่ ง ช่วยฝกึ เปลีย่ นทย่ี ืน ) - อยา่ ยืนอยู่กับที่เฉยๆ ทหารจะง่วง ควรเปลยี่ นท่ียืนบา้ งบางขณะ เพราะจะทาใหท้ หารเกิด ความสนใจ และเกิดความคิดใหม่ ๆ - อยา่ แสดงอาการประหลาดอยา่ งไร้ความหมาย ๑.๑.๔ การใชแ้ ขน - การแสดงท่าทางประกอบการอธบิ าย ทาให้การสอนมีชีวิตชีวาขึน้ - จงแสดงทา่ ทางท่มี คี วามหมายเหมาะสมกับคาพูด เป็นการเน้นหรือบอกความมุ่งหมาย ซึ่ง โดยธรรมดามกั ใชแ้ ขนใชใ้ นเรอื่ งนไี้ ดด้ ี แตค่ วรใช้ใหพ้ อเหมาะกบั เรอ่ื ง อย่าใชพ้ ร่าเพรอื่ หรอื ซา้ ซาก ๑.๑.๕ อากัปกิรยิ า - อย่าใชอ้ ากปั กริ ิยาทเี่ คยทาตดิ เป็นนิสยั ซา้ ๆ อยเู่ สมอ ( ขยับกางเกง, หมุนพวงกุญแจ, กระเดาะชอลก์ , ลบู รมิ ฝปี ากหรือผม ) เพราะจะจูงความสนใจของนักเรียนไปทางอ่นื ซ่ึงมิใช่เรื่องทีส่ อน ๑.๑.๖ อาการตนื่ เต้น - ต้องไมป่ ระหมา่ และต่นื เต้นเมือ่ อยู่ตอ่ หน้าผู้รบั การสอน - การระงับความประหม่าต่ืนเต้น อาจทาได้โดยการเตรียมการสอนอย่างรอบคอบและ ชานาญ และ สอนให้เพ่งเลง็ อยกู่ บั การสอน และสอนใหต้ รงกับความมุ่งหมาย ก่อนสอนให้เหยียดแขนตรง ย่อ เข่าลงให้ต่า ๆ ( ทาให้กล้ามเนื้อคลายตัว ) และอ้าปากกวา้ ง ๆ หลาย ๆ ครั้ง เม่ือเข้าห้องสอนอย่าเร่ิมพูดทันที มองดทู หารใหท้ ัว่ ถึงเสยี ก่อน รอใหท้ หารน่ังใหเ้ รยี บรอ้ ย หายใจลกึ ๆ สักหนง่ึ หรอื สองครง้ั แล้วเร่ิมพูด ๑.๑.๗ การใช้หวั ขอ้ การสอน - อย่าสอนโดยการอา่ นหนงั สือให้ฟงั เพราะขาดสมั ผัสทางตา ให้อ่านเพียงขอ้ ทจ่ี ะพูดถูก ไมผ่ ดิ พลาด - การเตรยี มเรอ่ื งทจ่ี ะสอน ต้องทาอย่างมีระเบียบ จัดให้เรยี บร้อย ไมค่ วรใชค้ วามจาเพราะ อาจพลาดได้ 26

- หัวข้อการสอน อาจถือหรือวางท่ีโต๊ะ ทาหัวข้อให้อ่านง่าย อักษรโตพอ อาจใช้สี ประกอบด้วยพิมพใ์ นกระดาษธรรมดา หรอื กระดาษแข็งขนาดย่อมก็ได้ ๑.๒ วา่ ด้วยทางหู ๑.๒.๑ การปรบั ปรงุ การพูด - จะพดู ใหไ้ ดผ้ ล จะต้องหัดพูดใหเ้ ข้าใจงา่ ย และแสดงแนวความคิดท่ีแจ่มแจง้ - ฝกึ ออกสาเนยี งพดู ให้ถูกตอ้ งโดยอ่านดัง ๆ ใช้คาพูดธรรมดาทเี่ ข้าใจงา่ ยไม่มีศพั ทม์ าก - จงแก้ไขตนเองโดยวธิ ไี ม่พดู คาพูดทเี่ คยชิน - ใชไ้ วยากรณใ์ หถ้ กู พูดแบบตรงไปตรงมา ๑.๒.๒ ลักษณะของเสียง - ฝึกได้ดว้ ยการหัดแลว้ ให้ผอู้ ่ืนฟัง แล้ววิจารณใ์ ห้เราแกไ้ ข - เลอื กใช้เสยี งที่เหมาะสมและดังพอสมควรกับจานวนผู้ฟัง( รวมถึงแถวหลังด้วย ) ท่ีจะทา ให้คลา้ ยการสนทนา ระหวา่ งผู้สอนกับผฟู้ งั - อย่าใชเ้ สยี งหนักเบาตามจังหวะของการพูด เนน้ เสยี งเฉพาะหัวข้อสาคญั อย่าตะโกนหรือใช้ เสยี งระดับเดยี วกนั ตลอดเวลา - ถ้าใช้เคร่อื งขยายเสียง จะชว่ ยให้ผูท้ ี่มีเสียงเบาไดด้ ี แต่กอ่ นใชต้ อ้ งปรับเสยี งครูใหด้ ี และ ปรับเคร่ืองใหด้ ังพอดเี สยี ก่อน ๑.๒.๓ จังหวะการพดู - อยา่ พดู เร็วเกนิ ไป เพราะทหารจะฟังไม่เข้าใจ ติดตามไม่ทัน ดังนั้น เม่ือสอนข้อสาคัญ ไปแล้วอาจตอ้ งเวน้ ระยะบ้าง - การลากเสยี งเนบิ นาบ ย่อมก่อความราคาญ ควรพดู จงั หวะธรรมดา พยายามแกไ้ ขอย่า พูดเร็วหรือชา้ เกินไป ( ๑๒๐ - ๑๕๐ คา/นาที ) ๑.๒.๔ การใช้สาเนยี ง - ใช้สาเนียงใหช้ ดั ถกู ตอ้ งและเปน็ ไปโดยธรรมชาติ เพ่ือช่วยให้เกดิ ความตง้ั ใจฟังว่าพดู อะไร ๑.๒.๕ การออกเสยี ง - มีการใช้เสียงหนักและเสยี งเบา ออกเสยี งให้ชดั เจน - ใชถ้ ้อยคาธรรมทร่ี ้กู ันท่วั ไป ไมค่ วรใชค้ าพดู ทที่ าให้เกิดฉงนสนเท่ห์ ยาว หรือคาพูดเทคนิค ซึง่ ใชก้ นั เฉพาะวงการ ( ถ้าไม่จาเป็น ) ๑.๒.๖ การใชป้ ระโยค - ไม่ควรใช้ประโยคที่ยาวและซบั ซอ้ น - ในประโยคเดยี วกัน ต้องใช้ข้อความที่ตอ่ เนอื่ งกัน - ใชป้ ระโยคง่ายๆ ภาษาสามญั ตรงๆ พอให้เข้าใจความหมายทีเ่ ราคดิ วา่ จะให้เขาทราบ ๑.๒.๗ การเน้น - การเน้น ตอ้ งให้ผู้ฟังจับแนวความคดิ ได้ เชน่ \" ขอ้ ทีส่ าคญั คือ...\" แล้วตามด้วยถ้อยคาท่ี แนน่ อน นา้ หนกั เสียง - ก่อนเน้น ควรเวน้ จงั หวะเลก็ น้อย แสดงอาการท่ีน่าสนใจ หรือดว้ ยนา้ เสยี งทผ่ี ิดจากปกติ ๑.๓ ว่าด้วยทางจติ ใจ ๑.๓.๑ กล่าวโดยท่วั ไป ผู้รบั การสอนอาจเห็นหรือได้ยนิ ครูสอน แต่จติ ใจมไิ ดร้ บั รูเ้ รื่องท่ีสอนก็ ไดด้ งั นัน้ ครูควรจะต้องรู้วธิ ีทาใหผ้ ู้รับการสอนเกดิ ความรู้สึกนกึ คดิ ตามเร่อื งท่สี อนดว้ ยความตั้งใจ ขั้นแรก ครู ควรตอ้ งทาให้ \" เกดิ ความพอใจ \" จิตใจผู้ฟงั จึงจะม่ันอยู่กับการสอน ซงึ่ สร้างความพอใจไดก้ อ่ นการสอน 27

ผู้ฟังจะเกิดความสนใจทันที อาจชี้แจงถึงความจาเป็น ประโยชน์ หรือความสาคัญของเรื่องที่ปรึกษา ต่อจากนัน้ รกั ษาความสนใจนั้นไว้โดยการแสดงความสนใจต่อผู้ฟัง อย่าใช้เสียงระดับเดียว แสดงกิริยาที่สุภาพ และเน้นขอ้ สาคญั อาจตั้งคาถามแลว้ ช้ใี หต้ อบ หรอื ใหย้ กมือสมัครตอบ ๑.๓.๒ การจดั ระเบียบเรอ่ื งทีส่ อน - จัดระเบยี บเรอื่ งท่สี อนเป็นขัน้ ๆ จากงา่ ยไปหายาก และตอ้ งให้แน่ใจวา่ ผู้ฟังเข้าใจทุกๆ ขน้ั - ก่อนสอนข้ันใหม่ๆ ทุกข้ัน ควรจะอ้างขั้นที่แล้ว และพยายามให้เหตุผลต่างๆ รับและ สอดคลอ้ งกับปฏบิ ัติได้ ๑.๓.๓ สอนโดยให้มกี ารนาไปปฏบิ ตั ิ - กลา่ วมาแล้ววา่ เป็นความมงุ่ หมายของวิชาครูทหาร คือความเข้าใจในความรู้ และ นาไปปฏบิ ตั ิได้ ดังน้นั จงึ มุง่ ใหเ้ ขาได้ปฏิบัติ ซึง่ เป็นวิธีทด่ี ีทสี่ ุดสาหรับการสอนทุกเร่อื ง - การแสดงให้ดูกเ็ ป็นวิธที ด่ี ี ใชท้ ดแทนการอธิบายได้ดี และจะนาไปส่กู ารปฏบิ ตั ิตนเอง ของ ผ้รู ับการสอน ๑.๓.๔ การเลือกคาพูด - ใช้คาพูดท่ีเขา้ ใจงา่ ย เพราะถ้าผู้ฟังมัวหยุดนึกคิดถึงความหมายของคาพูดท่ีเข้าใจยากก็ทา ใหล้ ืมเรอ่ื งได้ - ถา้ จะใช้ศัพท์ใหม่ ๆ ก็ตอ้ งอธิบายความหมายใหเ้ ข้าใจ ๑.๓.๕ ความขบขัน - ผ้เู รียนมักชอบฟังเรอ่ื งขบขัน ครจู งึ ควรนาเรอ่ื งทานองน้ี ทม่ี คี วามเกีย่ วโยงกบั เรื่องทสี่ อน มาเล่าให้ฟงั ก่อนเร่มิ สอน เพอื่ เรียกความสนใจ และช่วยใหม้ ีความตัง้ ใจเรียนตลอดเวลา - ระหว่างการสอน ถ้ารู้สกึ ว่าผ้รู บั การสอนงว่ ง อาจแทรกเร่อื งขบขันทเ่ี หมาะสมเล็ก ๆ นอ้ ย ๆถา้ ไม่หายงว่ ง อาจลงโทษทางวินยั ๑.๓.๖ พรรณาโวหาร - ใช้พรรณาโวหารทีด่ ี เพื่อทาให้เกิดภาพและความเขา้ ใจท่ีถูกต้อง - อย่าพรรณาถงึ รายละเอียดท่ีไม่สาคญั ๑.๓.๗ คติพจน์ - คาพูดท่ีเป็นคติพจน์ ทาให้เกิดการประทับใจ การนามาใช้ย่อมมีประโยชน์ แต่ครูต้อง อธบิ ายใหเ้ ขา้ ใจไดด้ ้วย ๑.๓.๘ การยกตัวอย่าง - การสอนเร่อื งใหม่ ควรทา้ วความถงึ เรอ่ื งท่ีเรยี นรเู้ ปน็ ตวั อยา่ ง หรือนามาเปรยี บเทยี บ แล้ว จึงเริม่ เรื่องใหม่ - การสอนโดยมกี ารเปรียบเทียบและยกตวั อยา่ ง จะชว่ ยให้ผฟู้ งั เข้าใจไดแ้ จม่ แจง้ และจาไดดี ๑.๓.๙ ตวั อยา่ งการรบ - ตวั อยา่ งหรือประวตั กิ ารรบ เปน็ เรอื่ งท่คี วรนามายกตวั อย่างของการสอนวิชา ครูทหาร แต่ ควรเป็นเรอ่ื งสัน้ ๆ ท่ีนา่ ตื่นเตน้ ตรงเป้าหมายท่ีจะสอน และทนั สมัยดว้ ย หลกั การพูดและการปฏบิ ตั ิของครูผ้สู อน ครจู ะตอ้ งใช้ลกั ษณะการแสดงออกของตน ในเร่ืองดังน้ี ๑. ทางตา ( จกั ษุสมั ผัส ) ๒. ทางหู ( โสตสัมผสั ) ๓. ทางจิตใจ ( จติ สัมผัส ) ๑.๑ อาการภายนอก ๒.๑ การปรับปรุงการพูด ๓.๑ จดั ระเบยี บเร่ืองทีส่ อน 28

๑.๒ กิริยาท่าทาง ๒.๒ ลักษณะของเสียง ๓.๒ สอนให้มีการนาไป ปฏิบัติ ๒.๓ จังหวะการพดู ๓.๓ การเลอื กคาพดู ๑.๓ อาการเคลอื่ นไหว ๒.๔ การใช้สาเนยี ง ๓.๔ ความขบขนั ๑.๔ การใช้แขน ๒.๕ การออกเสียง ๓.๕ พรรณาโวหาร ๑.๔ อากปั กริ ิยา ๒.๖ การใช้ประโยค ๓.๖ คติพจน์ ๒.๗ การเน้น ๓.๗ การยกตวั อย่าง ๑.๖ อาการตืน่ เต้น ๓.๘ ตัวอยา่ งการรบ ๑.๗ การใชห้ วั ขอ้ การสอน ๔. นอกจากน้นั อาจมี ๔.๑ การดม - เชน่ ดินระเบิด แก๊ส ๔.๒ การชิม - เช่น น้ากระด้าง วตั ถเุ คมี ๔.๓ จับต้อง - เช่น ผิวเกลด็ ลายกนั ล่ืน ๔.๔ อ่ืน ๆ ในทานองนี้ และควรมลี ักษณะดงั นี้.- ๕. วธิ กี ารใช้กระดานดา ๕.๑ เขา้ ใจง่าย ไมย่ ุ่งยากซบั ซอ้ น ๕.๒ ตวั อกั ษรใหญ่ และชัดเจน ๕.๓ มีเฉพาะถ้อยคา หรือประโยคทีส่ าคญั ๕.๔ ตัดรายละเอยี ดท่ีไมเ่ กย่ี วขอ้ งออก 29

บทท่ี ๖ แผนการสอน ๑. แผนการสอน คือ การวางแนวทางการสอนของครู ว่าต้องการใหผ้ ู้เรียนได้เปล่ียนแปลงพฤติกรรม ตามทห่ี ลักสูตรกาหนดไว้ ซึ่งในแผนการสอนจะประกอบด้วย ๑.๑ ชอ่ื เรือ่ ง บทเรยี น ๑.๒ ครผู ้สู อน ๑.๓ วธิ สี อน ๑.๔ วัตถุประสงคข์ องบทเรยี น ๑.๕ วตั ถุประสงคเ์ ชิงพฤติกรรม ๑.๖ เนื้อหาของบทเรียน ๑.๗ หลกั ฐานอา้ งองิ ๑.๘ สื่อการสอน ๑.๙ กจิ กรรมการเรยี นการสอน ๑.๑๐ การประเมินผล ความสาคัญของแผนการสอน แผนการสอนจะช่วยใหก้ ระบวนการเรียนการสอนเป็นไปอย่างราบร่ืน อนั จะสง่ ผลใหผ้ ู้เรยี นเกิดการเรยี นรู้ตามจดุ มุ่งหมายหรอื วัตถปุ ระสงค์ของหลักสูตร ตามกาหนดเวลา ๒. วิธีเตรยี มการเขยี นแผนการสอน ข้อควรปฏิบตั กิ ่อนเขยี นแผนการสอน มี ๘ ประการ คอื ๒.๑ กาหนดวตั ถุประสงค์ของบทเรยี น ๒.๒ พิจารณาเน้อื หา ๒.๓ เลือกวิธสี อนทเี่ หมาะสม ๒.๔ กาหนดรปู แบบแผนการสอน ๒.๕ เรยี งลาดบั บทเรยี น ๒.๖ เลือกหลกั ฐานสนับสนนุ ทเ่ี หมาะสม ๒.๗ เตรียมการนาเขา้ สู่บทเรยี นและการลงท้ายบทเรยี น ๒.๘ เตรียมโครงร่างครั้งสดุ ท้าย ๒.๑ กาหนดวัตถุประสงคข์ องบทเรียน ประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๔ ประการ คือ ๒.๑.๑ เน้นตวั ผู้เรียน ๒.๑.๒ บอกระดับการเรียนรู้ ๒.๑.๓ บอกเรือ่ งท่จี ะสอน ๒.๑.๔ ประโยชน์ ๒.๒ พิจารณาเน้อื หาวิชา เนือ้ หาต้องสอดคลอ้ งกับวตั ถุประสงค์ ครูสามารถหาข้อมูล ( เนอื้ หาวิชา) ไดจ้ าก ๒.๒.๑ การสารวจตนเองวา่ มคี วามรทู้ จ่ี ะสอนหรือไม่ ๒.๒.๒ ผูร้ ู้ คือ ผเู้ ชีย่ วชาญในเรื่องท่ีครจู ะสอน ผู้เชี่ยวชาญ อาจให้ความรู้ ขอ้ เท็จจริง หลักฐาน แนะนาแหลง่ ค้นคว้า ฯลฯ 30

๒.๒.๓ ห้องสมดุ ๒.๓ เลือกวิธสี อนท่เี หมาะสม ไม่มวี ธิ สี อนวิธใี ดเพียงวิธใี ดทเ่ี หมาะสมกับสภาพการสอนทุกๆอย่างได้ ถ้าครูต้องการให้เกิด ความรู้ กจิ กรรมทค่ี วรใหผ้ ้เู รียนกระทาคือ การสังเกต การฟังและการอ่าน ถ้าต้องการให้ผู้เรียน เรียนรู้เรื่อง รจู้ ักการประยกุ ตห์ ลักการอย่างใดอย่างหน่ึง ครูจะต้องตงั้ คาถามหรอื ปญั หาใหผ้ ู้เรียนแกห้ รอื ให้ทากิจกรรม ขอ้ พจิ ารณาเลอื กวธิ ีสอน - เหมาะกับผเู้ รยี น - เหมาะกบั เนือ้ หาวิชา - เหมาะกับเวลาและอปุ กรณก์ ารสอน - ให้ประสบการณท่ีมีความหมายแกผ่ ูเ้ รียน ๒.๔ กาหนดรูปแบบแผนการสอน แผนการสอนที่ดคี วรตอ้ งประกอบดว้ ยลกั ษณะทจี่ าเปน็ ดังนี้ สว่ นประกอบหลกั ขอ้ ความ ส่วนที่ ๑ แผน่ ปก หลกั สูตร ช้นั ช่ือบทเรียน ชื่อครู วธิ สี อน วตั ถุประสงคข์ องบทเรยี น หวั ขอ้ การสอนทส่ี าคัญ/ข้นั ตอนการปฏิบัติ หลกั ฐานอา้ งองิ อุปกรณ์การสอน เอกสารแจกจา่ ย สว่ นท่ี ๒ การสอน โครงรา่ งเน้อื หา วธิ กี ารถา่ ยทอด การใช้อุปกรณ์การสอน ข้อวจิ ารณ์แผนการสอนหลังจากสอนแล้ว สว่ นที่ ๓ การประเมนิ ผล ข้อสอบ บนั ทกึ ผลการทาขอ้ สอบของผู้เรียน การวิเคราะหท์ างสถติ ิ การบันทกึ เก่ียวกบั การปรบั ปรุงขอ้ สอบ ส่วนที่ ๔ เอกสารและอุปกรณท์ ่ีใช้ คู่มือ/เอกสารแจกจ่าย การบ้าน (งานมอบ) การอา่ นหนังสือล่วงเวลา เอกสารสนับสนุน อปุ กรณ์การสอนท่ใี ช้ ตาราที่ใช้ หมายเหตุ โดยทั่วไปแลว้ สว่ นท่ี ๓ และ ๔ มกั ทาแยกจากส่วนท่ี ๑ 31

๒.๕ เรียงลาดบั บทเรยี น การเรยี งลาดบั บทเรียน/เรียบเรียงเนื้อหาวิชา บทเรียนส่วนมากจะประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๓ สว่ น คือ การนาเขา้ สู่บทเรียน , เน้อื หาวิชาและการลงท้ายบทเรียน ควรเตรียมเน้ือหาวิชา ซ่ึงเป็นส่วนสาคัญ ของบทเรยี นเสยี ก่อน ๒.๖ เลอื กหลกั ฐานสนบั สนนุ ท่เี หมาะสม หลักฐานสนับสนุน คือ เคร่ืองมือสาหรับขยายให้ชัดเจน พิสูจน์ แสดง เน้นให้เห็น ความสาคญั และเพิม่ เติมส่งิ ทจ่ี าเปน็ ในเรือ่ งทคี่ รกู าลงั สอน หลักฐานสนับสนุนการสอน ได้แก่ - คาจากดั ความ - ตัวอย่าง - สถติ ิ - การอ้างองิ พดู /ขอ้ เขยี น - อุปกรณ์การสอน ๒.๗ เตรียมการนาเขา้ สู่บทเรียนและการลงท้ายบทเรยี น การนาเขา้ สู่บทเรียนความมงุ่ หมายดังต่อไปนี้ - เพอ่ื วางพื้นฐานความเข้าใจร่วมกันระหว่างครูและผู้เรยี น - เพอ่ื เรยี กความสนใจและดารงความสนใจน้นั ไว้ - เพื่อนาผู้เรยี นเขา้ สเู่ นอ้ื หาของบทเรียน - เพอื่ สร้างความพร้อมของความคดิ - เพอ่ื สรา้ งบรรยากาศ ความอยากรอู้ ยากเหน็ และอยากทางานรว่ มกัน ๒.๗.๑ การนาเขา้ สู่บทเรยี น ๒.๗.๑.๑ ขั้นเรียกความสนใจ ๒.๗.๑.๒ ขั้นกระตนุ้ ใหอ้ ยากเรยี นรู้ ๒.๗.๑.๓ ขน้ั บอกเนือ้ หาวชิ า ๒.๗.๒ การลงท้ายบทเรยี น การลงทา้ ยบทเรียนมี ๓ ขั้นตอน คือ ๒.๗.๒.๑ ขั้นสรปุ บทเรียน ๒.๗.๒.๒ ข้ันกระตนุ้ ซ้า ๒.๗.๒.๓ ขั้นจบบทเรยี น ก. ขนั้ สรุปบทเรียน หมายถึง การรวบรวมใจความ/เน้ือเรื่องท่ีสาคญั ๆท่คี รูตอ้ งการจะให้ผู้เรียนรู้ เข้า ดว้ ยกัน ควรกระทาหลงั จากทคี่ รสู อนจบบทเรียนแล้วมี ๒ แนวทางคือ ๑. สรุปเรอื่ ง/ใจความทสี่ าคญั เข้าดว้ ยกนั ๒. สรุปแนวทางความคิดเห็นของผู้เรียนในแง่ประสบความสาเร็จ ตลอดจนปัญหาและอุปสรรคท่ี ประสบในการเรยี น ประโยชน์ของการสรุปบทเรยี น ๑. ประมวลเรอ่ื งราวทส่ี าคัญ ท่ีเรียนไปแลว้ เขา้ ด้วยกนั ๒. เชอื่ มโยงกิจกรรมการสอนเขา้ ด้วยกนั ๓. รวบรวมความสนใจของผเู้ รยี นเขา้ ดว้ ยกันอีกคร้ังหนึง่ ๔. สร้างความเข้าใจในบทเรยี นให้ดีขนึ้ ๕. ส่งเสรมิ ความคดิ ริเรมิ่ สร้างสรรคใ์ หก้ ับผเู้ รียน 32

วิธีการสรปุ บทเรียน - สรุปโดยเรยี งลาดบั เนอื้ หา - เนน้ สาระสาคัญของเนื้อหาวิชา - ควรใชส้ อ่ื ประกอบการสรุปบทเรียน ข.ขั้นการกระตุ้นซ้า เป็นการเน้นย้าให้ผู้เรียนเห็นประโยชน์ของบทเรียน ตามความมุ่งหมาย วัตถุประสงค์ของบทเรียนน้ันๆ นอกจากน้ีครูต้องเน้นย้าให้ผู้เรียนทราบถึงประโยชน์ทางอ้อมของบทเรีย นท่ี สามารถนาไปใชไ้ ด้ ขณะเดียวกนั ครตู อ้ งใชท้ กั ษะการเสรมิ กาลังใจ เพ่ือให้ผู้เรียนเห็นว่าตนเองก็สามารถทาได้ ประการสดุ ทา้ ยคอื บอกแนวทางการศึกษาหาความรู/้ ความชานาญเพ่ิมเตมิ ค.ข้ันจบบทเรียน การจบบทเรียนท่ีดีน้ันควรให้สอดคล้อง นุ่มนวล และสร้างสรรค์กับเรื่องท่ีสอน, เป็นไปอย่างตอ่ เนอื่ ง ไม่ตดิ ขดั และสบั สน,ประทับใจอยู่ในความทรงจาของผู้เรียน ท่ีนิยมใช้กันมากได้แก่ คา ประพันธ์ สุภาษิต คาคม คาพูดหรือประโยคคาถามท่ีมีเนื้อความเกี่ยวกับเนื้อเรื่องโดยตรง/คาถูดทีมี ความหมายในเชงิ ทา้ ทาย ๒.๘ เตรียมโครงรา่ งครัง้ สุดทา้ ย หลังจากครูไดเ้ ตรียมการสอนตามลาดับขั้น ๘ ประการ เรียบร้อยแล้ว ครูก็พร้อมท่ีจะเขียน แผนการสอนได้ ครูอาจเขยี นแผนการสอนได้ ๒ แบบ คอื ๑. แผนการสอนฉบับสมบรู ณ์สามารถใชเ้ ปน็ ตน้ ฉบบั ได้ ๒. แผนการสอนแบบสน้ั ๆ อาจยาวเพียงหน้ากระดาษเดียว/กระดาษแผ่นเล็กๆ ซึ่ง ครสู ามารถนาติดตวั ไปในชั้นเรยี น ๓. การทดลองใช้แผนการสอน การซอ้ มสอนกระทาเพอ่ื หาขอ้ บกพรอ่ งของแผนการสอนก่อนนาไปใชส้ อนจริงควรกระทาเหมือนการสอน จริง และควรมเี พ่อื นครชู ว่ ยกนั แนะนาด้วยจะดกี ว่าการซ้อมสอนเพียงคนเดียวสาหรับผู้พ่ึงสอนใหม่ๆควรเขียน การสอนแบบละเอียดเพราะยังไม่ชานาญในการสอนส่วนครูที่มีความชานาญประสบการณ์สูง อาจเขียน แผนการสอนอย่างยอ่ ๆได้ ตวั อย่างการเขยี นแผนการสอน แผนการสอน วชิ าแผนที่-เขม็ ทศิ -เคร่อื งหมายทางทหาร (หลักสูตร ชนั้ นายพัน ปี ๕๕) ๑.เรอ่ื ง ระบบพกิ ดั แผนท่ี ( 60 นาที) ๒.ผู้สอน พ.ท.ศริ ชิ ัย สนริ้ว ๓.วิธีสอน -ใช้บรรยาย ประกอบ Power point เร่ือง ระบบพิกัด จานวน 100 ภาพ เรื่อง แผนท่ียุทธการร่วม จานวน 37 ภาพ การดาเนินการสอน ๑. ขน้ั นา (5 นาที) - ช้ีแจงความมงุ่ หมายของบทเรยี น ๒. ขนั้ การสอน 45 นาที ๑. ภาพ Power point หมายเลข 1 – 2 - บรรยายเรื่องความหมายของระบบพกิ ดั ๒. ภาพ Power point หมายเลข 37 – 58 - บรรยายเรอื่ ง ระบบพิกดั UTM. 33

๓. ภาพ Power point หมายเลข 59 – 97 - บรรยายเร่อื ง ระบบพิกดั กริดทางทหาร ๔. ภาพ Power point หมายเลข 98 – 100 - บรรยายเรอื่ ง ระบบพิกัด UPS. ๓. ขน้ั สรุป ( 10 นาที ) ให้นกั เรียนสรุปสาระสาคัญของบทเรยี นนลี้ งในสมดุ บนั ทกึ ของ นร. ๔.วัตถุประสงค์ของบทเรียน - ให้นักเรียนมีความรใู้ นเร่ือง ระบบกรดิ ทใี่ ชบ้ นแผนที่ มาตราส่วน 1 : 50,000 ชุด L 7017 ๕.วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม: เมือ่ ได้ศกึ ษาบทเรียนแลว้ นร. จะสามารถ ๑. สามารถวัดและอ่านพิกัดกรดิ บนแผนท่ี มาตราสว่ น 1 : 50,000 ชุด L 7017 ได้ถูกตอ้ ง ๖.เนอ้ื หา ๑. ระบบพกิ ดั เปน็ ระบบที่สร้างข้ึนสาหรับใช้อ้างอิง ในการกาหนดตาแหน่งหรือบอกตาแหน่งบนพ้ืนโลก จากแผนท่ี ๒. ระบบพิกัดกริดมี 3 ระบบ คอื ระบบ UTM ระบบกรดิ ทางทหาร MGRS และระบบ UPS ๗. หลักฐานการสอน - ตาราวิชาแผนที่ รร.ผท.ผท.ทหาร ฯ - ตาราวชิ าแผนที่-เข็มทิศ รร.สธ.ทบ. - FM. 3-25,26 ๘. ส่อื การสอน - COMPUTER - PROJECTOR - POWER PIONT - เคร่ืองขยายเสยี ง - กระดานดา , ชอล์ก ๙. กิจกรรมการเรยี นการสอน ก.กจิ กรรมครู -บรรยายและตอบข้อซักถาม,ตั้งคาถาม,เตรียมคาตอบ ข.กจิ กรรมนักเรยี น -ฟังการบรรยาย,ซกั ถาม ๑๐. การวดั และประเมินผล - แบบทดสอบชนดิ เลือกข้อ จานวน 5 ข้อ (อยู่ในชอบเขตของวตั ถุประสงค์) 34

ตวั อยา่ งการเขียนแผนการสอนของครผู ู้สอน แผนการสอน วชิ า แผนทเี่ ข็มทิศ หลักสูตร ชน้ั นายพนั ปี ๕๕ เร่อื ง ปฐมนเิ ทศวชิ าแผนทฯ่ี ผู้สอน พ.ท.ศริรชิ ยั สนริ้ว เวลาศกึ ษา ๖๐ นาที วธิ ีสอน บ.สช. วัตถปุ ระสงคข์ องบทเรียน ให้ผเู้ ข้ารับการศกึ ษามคี วามรใู้ นวิชาแผนที่เขม็ ทศิ เพิม่ มากข้ึน วตั ถุประสงค์เชิงพฤตกิ รรม หลังจากนักเรยี นไดร้ บั การศึกษาแล้วจะสามารถ ๑. อธบิ าย การแบง่ ชนิด/ประเภทของแผนทีไ่ ดถ้ กู ต้อง ๒. อธบิ าย ประโยชน์ของแผนทีไ่ ด้ถกู ต้อง ๓. อธบิ าย การนาแผนทไ่ี ปใชง้ านร่วมกบั ข้อมลู ทท่ี นั สมยั อนื่ ๆได้ถกู ตอ้ ง ๔. อธิบาย การส่งกาลงั แผนทีไ่ ดถ้ กู ตอ้ ง เนือ้ หา ๑. ในประเทศมหี นว่ ยงานท่รี บั ผิดชอบในการผลิตแผนท่ี ๓ หนว่ ย คือ ผท.ทหาร บก.กทท.ผลติ แผนท่ที างบกกรมอทุ กศาสตร์ ทร.ผลิตแผนทที่ างทะเล กรมท่ีดินผลติ แผนทีจ่ ัดสรรท่ีทากิน ๒. แผนทใ่ี ห้ประโยชนท์ ้งั ทางการเมอื ง,เศรษฐกิจ และสงั คม เชน่ การปักปันแนวพรมแดน ระหว่างประเทศทง้ั ทางบกและทางทะเล การสร้างนิคมอตุ สาหกรรม การสร้างเข่ือน การสร้างถนน การทา ผงั เมือง ฯลฯ ๓. การแบง่ ชนิด/ประเภท ของแผนท่ี มี ๒ ลักษณะ คือการแบง่ ตามขนาดมาตรสว่ น (ทางทหาร แบง่ แบบน้)ี และการแบ่งตามประเภทของแผนที่ ๔. การแบง่ ตามขนาดมาตราสว่ น แบ่งเปน็ ๓ ชนดิ คือ ๔.๑ แผนทม่ี าตราส่วนเล็ก (Small Scale Map) ได้แก่แผนที่ท่ีมมี าตราสว่ น ๑:๑,๐๐๐,๐๐๐ และเล็กกว่าใช้งานวางแผนท่ัวไปและการวางแผนทางยุทธศาสตร์ แผนท่ีมาตราส่วนนี้ครอบคลุมพ้ืนท่ีอย่าง กว้างขวางแต่แสดงรายละเอยี ดนอ้ ยแผนทมี่ าตราสว่ นเล็กมาตรฐานคอื แผนทีม่ าตราสว่ น ๑:๑,๐๐๐,๐๐๐ หนว่ ยใช้ ระดับ ทบ./ท.สนาม ๔.๒ แผนทม่ี าตราส่วนปานกลาง (Medium Scale Map) ได้แผนที่ที่มีมาตราสว่ นใหญก่ ว่า ๑:๑,๐๐๐,๐๐๐ และเล็กกวา่ ๑:๗๕,๐๐๐ ใช้งานวางแผนทางยุทธวิธี แผนท่ีมาตราส่วนน้ีมีรายละเอียดปาน กลางเหมาะสมนามาใช้วเิ คราะหภ์ ูมิประเทศรว่ มกับแผนทม่ี าตราส่วนใหญ่แผนท่ีมาตราสว่ นปานกลางมาตรฐาน คือ แผนที่มาตราสว่ น ๑:๒๕๐,๐๐๐ หน่วยใช้ ระดบั ทภ./ทน. แต่มีบางชนดิ ที่หน่วย บ.ทบ.ใช้ ๔.๓ แผนที่มาตราสว่ นใหญ่ ได้แก่แผนท่ีทม่ี ีมาตราสว่ น ๑:๗๕,๐๐๐ และใหญก่ ว่าใชง้ าน ปฏิบัติการทางยุทธวิธีและงานส่งกาลังบารุง เป็นแผนที่ท่ีทหารระดับผู้นาหน่วยขนาดเล็กและระดับผู้ปฏิบัติ นามาใช้ในการปฏิบัติงานจริง แผนท่ีมาตราส่วนใหญ่มาตรฐานคือแผนท่ี มาตราส่วน ๑:๕๐,๐๐๐ หน่วยใช้ ระดบั กองพลลงมา ๕. ปัจจุบัน งานแผนที่ได้รับความสนใจมากขึ้น สาเหตุมาจาก การขัดแย้งตามแนวพรมแดน กับ ประเทศเพ่ือนบ้านซ่ึงมีสาเหตุมาจากสนธิสัญญาในอนาคต การบุกรุกพ้ืนท่ีป่า/เขตหวงห้าม การสารวจ ทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นวิชาแผนท่ีจึงมีความสาคัญ และมีการเรียนการสอนตามสถานศึกษา หลายแห่ง เช่น ม.ศิลปากร,จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย ฯลฯ ๖. แผนทที่ หาร จะผลติ ตามแผนและงป. ไมส่ ามารถผลติ ไดท้ กุ ๆปี ดงั น้ันเม่ือนาแผนที่ไปใช้งาน จะ เหน็ วา่ ข้อมูลบางอยา่ งไมต่ รงกนั โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ สง่ิ ท่มี นษุ ยส์ รา้ งขนึ้ เวลานาแผนท่ไี ปใช้งานจึงจาเป็นต้องมี ขอ้ มูลอ่นื ที่ทนั สมยั มาพิจารณาประกอบ เช่น ภาพถา่ ยทางอากาศทีท่ นั สมัย,แผนท่ีเส้นทางที่มีการปรับปรุงแล้ว สรปุ แลว้ คือ การพฒั นาประเทศอย่างรวดเรว็ เป็นปัจจัยสาคญั ท่ีทาใหแ้ ผนทลี่ ้าสมัย 35

๗. ในหนว่ ยทหาร ระดับ กรมขึ้นไปจะมีอัตรา น.แผนที่ สักกัดเหล่า ผท. เป็น ฝอ กิจการพิเศษ สามารถชว่ ยเหลอื ผบ. หนว่ ยในงานแผนท่ีได้ ๘. การส่งกาลังแผนท่ี และเข็มทิศเป็นความรับผิดชอบ ของ กช. ส่วนเครื่องหาพิกัดด้วยดาวเทียม เป็นความรับผิดชอบของ กรมการทหารสอื่ สาร หลกั ฐานการสอน รส. ๒๑ – ๒๖,ตาราวชิ าแผนท่ี รร.สธ.ทบ. สอื่ การสอน Computer ,Projector,เครอ่ื งขายเสียง,กระดานดา,ชอลค์ ,Lazer point กจิ กรรมของครู - บรรยายและตอบขอ้ ซกั ถาม,ตัง้ คาถาม,เตรยี มคาตอบ ฯลฯ กิจกรรมของ นร. - ฟังการบรรยาย - ซกั ถาม การวัดผล (อยู่ในขอบเขตของวตั ถุประสงค์) - คะแนน ๕ คะแนน - ขอ้ สอบแบบเลือกขอ้ จานวน ๕ ข้อๆละ ๑ คะแนน 36

ตวั อย่าง แผนการสอน วิชา ครทู หาร ๑. เร่ือง วิชาครทู หาร ๒. ผู้สอน พ.ต. เวลา ศกึ ษา ๔ ช่ัวโมง ๓. วิธีสอน บ,สช. ๔. วัตถปุ ระสงคข์ องบทเรียน ให้นักเรยี นมีความรใู้ นเรอื่ ง ลกั ษณะครูทีด่ ี,ข้นั การสอน,วิธีสอนแบบต่างๆ,การ เขียนแผนการสอน,การใชเ้ ครอ่ื งฝึกสอน,หลักการพดู และปฏิบัตขิ องครูท่ถี กู ต้อง,แผนการสอน ๕. วตั ถปุ ระสงค์เชิงพฤตกิ รรม หลงั จากนักเรียน ไดร้ บั การศึกษาแลว้ จะสามารถ ๑. อธิบาย ความสาคัญของวิชาครูทหาร ความมุ่งหมายและเป้าหมายในการสอนวชิ าครูทหาร ๒. อธิบาย คุณลักษณะของครทู ่ดี ี ๓. อธบิ าย ขนั้ การสอน ๔. อธิบาย เคร่อื งชว่ ยฝึก ๕. อธบิ าย หลกั การพดู และการปฏบิ ัตขิ องครู ๖. อธิบาย แผนการสอน ๖. เนื้อหา ชวั่ โมงที่ ๑ ความสาคัญ , ความมงุ่ หมาย , เปา้ หมายในการสอน และคณุ ลกั ษณะของครทู ่ีดี ชั่วโมงท่ี ๒ ขน้ั การสอน , เครอ่ื งช่วยฝึกสอน ชั่วโมงท่ี ๓ หลกั การพดู และการปฏบิ ัติของครู ชวั่ โมงที่ ๔ การสอบและวิจารณ,์ แผนการสอน ๗. หลักฐานการสอน รส. 21 – 5 ๘. สอื่ การสอน คอมพิวเตอร์ , โปรเ์ จค็ เตอร์, เครือ่ งขยายเสยี ง, กระดานดา, ชอล์ก ,Lazer point ๙. กิจกรรมการเรียนการสอน ก. กจิ กรรมครู – บรรยายและตอบข้อซกั ถาม, ตง้ั คาถาม,เตรียมตวั ตอบ ข. กจิ กรรมนักเรยี น – ฟงั การบรรยาย,ซักถาม ๑๐. การวัดผล (อยใู่ นขอบเขตของวตั ถุประสงค)์ - คะแนน ๔๐ คะแนน - ขอ้ สอบแบบเลอื กข้อ แต่ละข้อๆละ๑ คะแนน 37

(ตัวอยา่ งแผนบทเรียน) ๑. ส่วนหลกั ฐานเตรียมการสอน แผนบทเรียน บทเรียนเรื่อง ภารกิจ,การจดั ,หลกั นยิ มและวธิ กี ารรบของทหารม้า วิชาทีส่ อน ยุทธวธิ ทหารม้า ชั่วโมงทั้งสนิ้ ๒๔ ชว่ั โมง การสอนครงั้ ที่ ๑ วนั เดือนปีท่ีสอน ๑๒ ก.ย. ๕๐,๐๘๓๐ เวลาท่ีสอน ๒ ชั่วโมง สถานท่ีสอน ห้องเรยี น หลกั สตู รชนั้ นายสบิ อาวโุ ส จานวนนักเรียน ๖๒ นาย วธิ ีสอน สช.สด. ครู นายทหาร ๑ นาย (ยศ,ช่ือ,สกลุ ) ครผู ูช้ ว่ ย นายสบิ ๑ นาย (ยศ,ชอื่ ,สกุล) หลักฐานการสอน รส.๑๗-๑ เครอื่ งชว่ ยฝกึ คอมพวิ เตอร์,โปรเจ็คเตอร์,กระดานดา,ชอล์ก ยานพาหนะ ไม่มี การแตง่ กาย ชดุ ฝึก ซอ้ มทดลอง ๙ ก.ย.๕๐,๐๘๓๐ ความมุ่งหมาย ใหท้ หารรจู้ กั การจดั ของทหารมา้ ท้ัง ๓ ประเภท ภารกิจ,บทบาท, คุณลักษณะ ของทหารม้าและการปฏบิ ตั กิ ารยทุ ธของเหล่าทหารมา้ ๒.สว่ นหวั ข้อการสอน หวั ขอ้ การสอน ชั่วโมงท่ี ๑ กล่าวนา...........๑๐...............นาที ความจาเป็นในการศึกษา ชแ้ี จงบทเรยี น ๑. ภารกจิ การจดั ,ขดี ความสามารถ,การตดิ ต่อสื่อสาร ๔๐ นาที -ภารกิจ ขีดความสามารถ,การจดั -วิธีติดตอ่ สอื่ สารในหมวดรถถัง .............................พักประจาชั่วโมง ๑๐ นาที............................ 38

ชัว่ โมงที่ ๒ กล่าวนา....................๑๐.....................นาที ๒. หลกั นยิ ม และวธิ ีรบของทหารมา้ ๔๐ นาที -กล่าวทั่วไป -ทหารม้า -บทบาทของทหารม้า -ภารกจิ ของทหารมา้ -การแบ่งประเภทของทหารม้า ตามภารกจิ -คุณลกั ษณะของทหาร -การปฏิบตั กิ ารยุทธ ของทหารม้า สรุป -สรุป หลักนิยมของทหารมา้ -ซกั ถามปัญหาข้อสงสัยของ (นทน. ,นสน. ,นนส. ,นศท.) แผนการสอน วชิ า ครทู หาร หมายเลขวชิ า ทป......................... หลักสตู ร ช้นั นายพนั จดั ทาโดย พ.ต. ...................................................... แผนกวชิ าทั่วไป กศ.รร.ม.ศม. เมื่อ ............................................................. 39

ตวั อย่าง แผนการสอน วชิ า ครูทหาร ๑. เร่ือง วิชาครทู หาร ๒. ผู้สอน พ.ต. เวลา ศกึ ษา ๔ ช่ัวโมง ๓. วิธีสอน บ,สช. ๔. วตั ถุประสงคข์ องบทเรียน ให้นกั เรยี นมคี วามรู้ในเร่อื ง ลกั ษณะครูทด่ี ,ี ขนั้ การสอน,วิธีสอนแบบต่างๆ,การ เขยี นแผนการสอน,การใชเ้ ครอ่ื งฝกึ สอน,หลกั การพูดและปฏิบัตขิ องครทู ี่ถกู ตอ้ ง,แผนการสอน ๕. วตั ถุประสงค์เชงิ พฤตกิ รรม หลังจากนกั เรียน ไดร้ บั การศกึ ษาแลว้ จะสามารถ ๑. อธบิ าย ความสาคญั ของวชิ าครูทหาร ความมุ่งหมายและเป้าหมายในการสอนวชิ าครูทหาร ๒. อธิบาย คุณลักษณะของครูทีด่ ี ๓. อธบิ าย ขนั้ การสอน ๔. อธิบาย เคร่อื งช่วยฝึก ๕. อธิบาย หลกั การพดู และการปฏิบัติของครู ๖. อธิบาย แผนการสอน ๖. เนอ้ื หา ช่วั โมงที่ ๑ ความสาคัญ , ความม่งุ หมาย , เปา้ หมายในการสอน และคณุ ลกั ษณะของครทู ่ีดี ชวั่ โมงท่ี ๒ ขน้ั การสอน , เครื่องช่วยฝึกสอน ชว่ั โมงที่ ๓ หลกั การพดู และการปฏบิ ัติของครู ช่ัวโมงท่ี ๔ การสอบและวิจารณ,์ แผนการสอน ๗. หลักฐานการสอน รส. 21 – 5 ๘. ส่ือการสอน คอมพิวเตอร์ , โปรเ์ จค็ เตอร,์ เคร่อื งขยายเสียง, กระดานดา, ชอลก์ ,Lazer point ๙. กจิ กรรมการเรียนการสอน ก. กจิ กรรมครู – บรรยายและตอบข้อซักถาม, ตั้งคาถาม,เตรียมตวั ตอบ ข. กิจกรรมนกั เรยี น – ฟังการบรรยาย,ซักถาม ๑๐. การวดั ผล (อยใู่ นขอบเขตของวัตถุประสงค์) - คะแนน ๔๐ คะแนน - ขอ้ สอบแบบเลอื กข้อ แตล่ ะข้อๆละ๑ คะแนน 40

ตัวอย่างแผนการสอน วิชา ครทู หาร จานวน ๔ ชว่ั โมง ๑. หลกั ฐาน รส. ๒๑-๕, รส. ๒๑-๖, เอกสาร ยศ.ทบ. คู่มอื ครฝู กึ ทหารเชงิ ปฏบิ ัติการ ๒. กล่าวทัว่ ไป ใช้เวลาในการสอน ๔ ชม. โดยสอนวิชาการ ๓ ชม. การสอบและการวจิ ารณ์ ๑ ชม. ๓. ความม่งุ หมาย เพ่อื ให้ นายทหารนักเรยี นได้ทราบถงึ คุณลักษณะของครูท่ีดี,ขน้ั การสอน,วธิ สี อน แบบต่าง ๆ, การเขยี นแผนการสอน,การใช้เคร่อื งชว่ ยฝึกสอน,หลกั การพดู และการปฏบิ ัตขิ องครูที่ถกู ต้อง ๔. วธิ ีดาเนินการสอน สอนเชิงประชุม ๓ ชม. สอบและวิจารณ์ ๑ ชม. ๕. จดุ สาคัญของบทเรียน ๕.๑ ความสาคัญของวชิ าครทู หาร ความม่งุ หมายและเป้าหมายในการสอนวชิ าครทู หาร ๕.๒ คณุ ลกั ษณะของครทู ี่ดี ๕.๓ ข้นั การสอน ๕.๔ เครอ่ื งช่วยฝึก ๕.๕ หลักการพดู และการปฏบิ ตั ขิ องครู ๕.๖ แผนการสอน ๖. ตารางใช้เวลาในการสอน ๖.๑ ชม.ท่ี ๑ ความสาคญั , ความมงุ่ หมาย, เป้าหมายในการสอน และ คณุ ลกั ษณะของครทู ีด่ ี ๖.๒ ชม.ที่ ๒ ข้นั การสอน เครื่องช่วยฝกึ สอน ๖.๓ ชม.ท่ี ๓ หลักการพดู และการปฏิบัตขิ องครู ๖.๔ ชม.ที่ ๔ การสอบและการวจิ ารณ์ ๗. แผนการแจกจา่ ยเอกสาร ๗.๑ แจกจา่ ยกอ่ นเข้าช้ันเรียน ๗.๒ แจกจ่ายระหวา่ งเรียนในชนั้ เรียน ตัวอย่างแผนการสอน ๘. เคร่ืองชว่ ยฝกึ สอน ๘.๑ แผน่ ใส ๘.๒ เครื่องฉายแผน่ ใส ๘.๓ กระดานดา ชอลก์ ไมช้ ี้ เครือ่ งขยายเสียง ๙. แบบฝกึ หัด ตามที่อาจารย์มอบหมาย ๑๐. การวัดผลการศึกษา ๑๐.๑ คะแนนรวม ๑๐ คะแนน ๑๐.๒ การทดสอบ ทดสอบวิชาการด้วยคณะกรรมการ ๑๐ คะแนน รร.ม.ศม. หมายเลขวชิ า ทป.............. บทเรยี นท่ี ๑ เรือ่ ง ความสาคัญของวิชาครูทหาร ทุกคนทราบและรู้จกั คาวา่ \"ครู\" แต่มบี างคนไม่เข้าใจและทราบความหมายของคาวา่ \" ค ร\"ู คาวา่ ครู ให้อ่านควบกล้า ถ้าเป็นภาษาบาลี ให้อ่านว่า \" คะรุ \" ถ้าเป็นภาษาสันสกฤต ให้อ่านว่า \" คุรุ \" ถ้าเป็น ภาษาไทย อ่านว่า \" ครู \" เป็นคานามมีความหมายคือ เป็นผู้มีความหนักแน่น เป็นผู้ที่ศิษย์ควรเคารพ และ เป็นผู้ท่ีส่ังสอนศิษย์ ส่วนคาว่า \" อาจารย์ \" ถ้าเป็นภาษาบาลี ให้อ่านว่า \" อาจาริยะ \" ถ้าเป็นภาษา สนั สกฤต ใหอ้ ่านวา่ \" อาจารย์ \" ภาษาไทยนามาใช้เปน็ คานาม มคี วามหมายคอื เป็นผู้ส่ังสอนวิชความรู้แก่ ศิษย์ 41

บางคนเคยเป็นผูช้ ่วยครฝู ึกสอนมาบา้ งแลว้ บางคนอาจจะยังไม่เคย ดังนัน้ วนั นี้เราจะมาทบทวนในการ นาเอาหลักการของวิชาครู หรอื หวั ใจของวชิ าครใู หน้ ักเรียนทกุ คนนาไปปฏบิ ัติ โดยมคี วามมงุ่ หมายจะให้ นกั เรยี นทุกคนเปน็ ครูทหารใหไ้ ด้และดีทีส่ ดุ ดงั น้นั เมอื่ ทุกคนจะเปน็ ครูทหารที่ดี จะตอ้ งเป็นผู้ที่มคี วาม หนกั แน่น อดทน ทาตนให้เปน็ ท่ีเคารพของศษิ ย์ และ เป็นผูอ้ บรมสง่ั สอนศิษย์ทุกคนให้เป็นครูทหารที่ดี และ เปน็ กาลงั พลทดี่ มี ีประสิทธิภาพของกองทัพบกต่อไป ๑. ความสาคัญของวชิ าครูทหาร ๑.๑ มไี มน่ ้อยไปกวา่ ความสาคญั ของการศึกษาในสาขาอืน่ ๆ ๑.๒ เพราะครทู หารเป็นจกั รกลสาคญั ยิง่ ของการศึกษา ๑.๓ ครูทหาร เปน็ ผู้ให้กรรมวธิ ีถ่ายทอดความรู้ ความชานาญ หลกั การ และความเฉลียวฉลาด ให้แก่ทหาร ๑.๔ ครทู หาร ตอ้ งร้หู ลกั วิชาครู หลกั จติ วทิ ยา และมีความชานาญในการสอนจึงจะเป็นครูทีด่ ไี ด้ ๒. ความมงุ่ หมายในการสอนวิชาครูทหาร เพื่อสรา้ งสมใหบ้ ังเกิด คณุ ลกั ษณะของครทู หารทีด่ ี ร้หู ลกั วิชาครู มคี วามชานาญในการสอน จะดารงอยู่ในอาชพี ทหารดว้ ยดตี ลอดไป ๓. เป้าหมายของวิชาครูทหาร การฝกึ สอนทกุ ชนดิ จะตอ้ งใหท้ หารมคี วามเข้าใจ เกดิ ความรคู้ วาม สามารถ นาไปปฏิบตั ิได้ท้งั เป็นบุคคลและเป็นชดุ ๔. กรรมวธิ ใี นการศึกษาทางทหาร ๔.๑ ครูผสู้ อนจะตอ้ งเร่งเร้าผู้เรยี น ทัง้ ทางรา่ งกายและจติ ใจ ๔.๒ ครูผูส้ อนจะต้องสอนให้การเรยี น ต้องผา่ นประสาทของผู้เรียนหลายๆทาง (ประสาทสัมผัสท้ัง ๕) ๔.๓ ครูผู้สอนตอ้ งทราบความแตกตา่ งระหว่างบคุ คลของผูเ้ รียน สรปุ ความมงุ่ หมายในการสอนวิชาครทู หาร และ เป้าหมายของวชิ าครทู หาร\\2.0\\ รร.ม.ศม. หมายเลขวิชา ทป.................. บทเรยี นที่ ๒ เรอื่ ง ลกั ษณะของครทู ี่ดี ผลที่เกิดจากการสอน จะสมบูรณ์เพียงใด ย่อมขึ้นอยู่กับครูผู้สอนเป็นส่วนมาก โดยหลักการลักษณะ ของครชู ว่ ยใหก้ ารสอนไดผ้ ลถึง ๕๐ % ท่ีเหลืออีก ๕๐ % ข้ึนอยู่กับความรู้ของครู หลักวิชาครูและส่ิงอ่ืน ๆ เขา้ เพ่ิมเติม ลักษณะของครู ในที่นหี้ มายถึง รูปรา่ ง และคุณลักษณะอันพงึ ประสงคส์ าหรับการเป็นครู รปู ร่าง มีส่วนชว่ ยในการโนม้ นา้ วจิตใจของผ้อู ื่น ได้แก่ ๑. ทรวดทรง ๒. ผวิ พรรณ ๓. ขนาดของรา่ งกาย คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ สาหรับการเป็นครู ๖ ประการ ๑. ความร้แู ละดุลยพนิ จิ ๒. ความแนบเนยี น 42

๓. ความอดทนและความริเรมิ่ ๔. ลักษณะท่าทาง ๕. ความกระตือรือร้น ๖. ความจับใจในตวั ครู ขอ้ แนะนาสาหรบั ครู ทีพ่ งึ ยึดถ้อในการสอน ๕ ข้อ ๑. ไม่สอนอยา่ งขาดความรู้ ๒. ไมใ่ ช้ถ้อยคาลามกหรอื หยาบคาย ๓. ไมพ่ ูดเย้ยหยนั ๔. ไม่ยกตนเอง ๕. ไม่ลดความพยายาม หลกั การปฏิบัตใิ นการปรบั ปรงุ ตวั ของครู ให้ดียิ่งข้ึน ๑. รู้หลักวชิ าครู ๒. สังเกตการสอนท่ดี ีและไดผ้ ลของครคู นอ่นื ๓. พิจารณาลักษณะของตนเอง หรือให้ผอู้ นื่ พิจารณาตนเอง ๔. มคี วามมานะพยายามแกไ้ ขปรบั ปรุงตนเองให้ดีขน้ึ เสมอ รร.ม.ศม. หมายเลขวิชา ทป................. บทเรยี นที่ ๓ เร่ือง ขัน้ การสอน การสอนทจ่ี ะให้เกิดผลดีต้องดาเนินการสอนตามลาดบั ๕ ขั้นตอน ดังน้ี.- ขนั้ ท่ี ๑ การเตรียมตัวของครูคือ ข้ันที่ครูจะต้องเตรียมทุกส่ิงทุกอย่างสาหรับทาการสอน ผลท่ีเกิด จากการเตรยี มตัวของครูคือ แผนการสอนและหัวข้อการสอน อนั จะเปน็ แนวสาหรบั การสอน แบ่งเปน็ .- ๑. การเตรียมตวั ของครู ๒. การทาหลักฐานเตรียมการสอน ขน้ั ที่ ๒ การสอน เปน็ ข้ันท่คี รถู า่ ยทอดความรู้ให้แก่นกั เรยี นด้วยการพูดใหเ้ ข้าใจ หรอื แสดงให้เหน็ เป็นการกระทา เพ่อื ใหน้ ักเรยี นมีพ้นื ความรู้สาหรบั นาไปปฏิบตั ติ อ่ ไป แบ่งเป็น.- ๑. วธิ กี ารสอน ๔ วธิ ี คอื ๑.๑ การสอนแบบบรรยาย ๑.๒ การสอนแบบเชิงประชมุ ๑.๓ การสอนแบบแสดงใหด้ ู ๑.๔ การสอนแบบผสมวิธตี า่ ง ๆ เขา้ ดว้ ยกัน ๒. ลาดับการสอนในทุก ๆ วิธี ยอ่ มดาเนินการสอนเป็นขนั้ ตามลาดับ ดงั นี้.- ๒.๑ กล่าวนา ๒.๒ คาอธบิ ายหรือตวั เรอื่ ง ๒.๓ สรุป ขั้นท่ี ๓ การนาความรทู้ ่สี อนไปปฏิบัติ เปน็ ขัน้ ทีน่ ักเรียนนาเอาความรู้ความเข้าใจไปปฏิบตั ดิ ้วย ตนเอง และอย่ใู นความตรวจตราของครู เปน็ ขัน้ ที่มีความสาคัญมาก แบ่งเปน็ ๒ อย่าง คอื .- ๑. การนาไปปฏิบตั ิเปน็ บุคคล ๒. การนาไปปฏิบตั ิเป็นชดุ 43

ข้ันที่ ๔ การสอบ เป็นข้ันทดสอบเพื่อทราบค่าของการสอนของครู และค่าการเรียนของ นกั เรียน แบ่งออกเปน็ ประเภทใหญ่ ๆ ได้ ๒ ประเภท คือ.- ๑. การทดสอบความถนัด เป็นหนา้ ทขี่ องผู้เชี่ยวชาญโดยเฉพาะ เช่น พลวิทยุ, ช่างเคร่ืองยนต์, ช่างอาวุธ ๒. การทดสอบความรู้ เปน็ หน้าที่ของครู มี ๓ วธิ ีคอื .- ๒.๑ การสอบปากเปลา่ ๒.๒ การสอบโดยใหป้ ฏบิ ตั ิ รร.ม.ศม. หมายเลขวิชา ทป................ ๒.๓ การสอบขอ้ เขยี น มี ๒ วิธคี อื .- ๒.๓.๑ แบบรอ้ ยแก้ว (อัตนัย) ๒.๓.๒ แบบจากัดความมุง่ หมาย (ปรนยั ) มี ๗ แบบ คือ.- - แบบจรงิ - เทจ็ - แบบเลอื กข้อถูก – ผดิ ( ขอ้ เดียว ) - แบบเติมคา - แบบกรอกรายการ - แบบเปรยี บเทียบ - แบบใหแ้ สดงความหมาย - แบบความจาธรรมดา ข้ันท่ี ๕ การช้ีแจงหรือการวิจารณ์ เป็นขั้นการทบทวนเรื่องท่ีสอน ช้ีความกระจ่างแจ้งในข้อ สาคญั ตา่ ง ๆ ใหช้ ัดเจนยิง่ ข้นึ ๑. การชแ้ี จง เปน็ การทบทวนให้ความกระจ่างแจ้งข้อสาคัญๆ ของบทเรียน เม่ือมีข้อสงสัย หรอื ขอ้ บกพรอ่ ง ต้องชี้แจงใหเ้ ห็นว่าข้อบกพรอ่ งอะไร ที่ไหน เม่ือไร อยา่ งไร ๒. การวิจารณ์ เปน็ การสรปุ หลกั จากทหารหรอื หน่วยได้ปฏิบัติการหรือรับการตรวจสอบแล้ว กระทาโดยการบรรยายสรุปบทเรยี นที่สอนมาแล้ว ช้ีขอ้ บกพร่องสาคัญ ๆ พรอ้ มท้ังแนะนาวิธแี กไ้ ขทีถ่ ูกต้อง บทเรยี นที่ ๔ เร่ือง เคร่อื งช่วยฝึก - สอน การเรียนจะให้ได้ผลดีต้องอาศัยประสาททั้ง ๕ เครือ่ งช่วยฝกึ สอนเป็นส่วนประกอบการเหน็ การฟงั บางคร้งั อาจได้สมั ผัส ไดก้ ลิน่ และไดร้ ้รู ส ซง่ึ จะชว่ ยให้ครูพดู หรืออธิบายน้อยลง พอเห็นเครื่องช่วยฝกึ สอน ก็พอจะเข้าใจ เม่อื อธิบายเลก็ น้อยกเ็ ขา้ ใจดขี ึ้น ซ่ึงเราจะตอ้ งเข้าใจเก่ียวกับเร่ือง ๑. ความหมายของเครือ่ งช่วยฝึกสอน ๒. ประโยชนข์ องเครือ่ งชว่ ยฝึกสอน ๓. ลักษณะของเครือ่ งช่วยฝึกสอน ๔. ชนดิ ของเครือ่ งช่วยฝกึ สอน ๕. การใช้เครือ่ งช่วยฝกึ สอน 44

รร.ม.ศม. หมายเลขวิชา ทป................ บทเรียนที่ ๕ เรือ่ ง หลกั การพูดและการปฏบิ ัตขิ องครู การพดู และการปฏิบัตขิ องครมู ีความสาคญั ต่อการสอนเป็นอยา่ งย่ิง จะตอ้ งพดู ใหด้ ีและก่อให้เกิดการ สมั ผสั ทง้ั ๕ ข้นึ ในบรรดาผ้รู บั การสอน ซึ่งจะต้องใหผ้ ้รู บั การสอนได้รับรู้ ๓ ทาง คอื .- ๑. ทางตา ( จักษุสมั ผสั ) ครตู ้องใชล้ กั ษณะการแสดงออกของตน ในเรื่อง ๑.๑ อาการภายนอก ๑.๒ กิรยิ าท่าทาง ๑.๓ อาการเคล่ือนไหว ๑.๔ การใชแ้ ขน ๑.๕ อากัปกิริยา ๑.๖ อาการต่นื เต้น ๑.๗ การใช้หัวขอ้ การสอน ๒ ทางหู ( โสตสมั ผัส ) ครูตอ้ ง ๒.๑ ปรับปรุงการพูด ๒.๒ ลักษณะของเสียง ๒.๓ จังหวะการพดู ๒.๔ การใชส้ าเนียง ๒.๕ การออกเสียง ๒.๖ การใชป้ ระโยค ๒.๗ การเน้น ๓. ทางจติ ( จิตสมั ผัส ) ครูต้อง ๓.๑ จดั ระเบียบเร่ืองท่ีจะสอน ๓.๒ สอนให้มกี ารนาไปปฏบิ ตั ิ ๓.๓ การเลอื กคาพดู ๓.๔ ความขบขนั ๓.๕ พรรณาโวหาร ๓.๖ คติพจน์ ๓.๗ การยกตัวอยา่ ง ๓.๘ ตวั อยา่ งการรบ รร.ม.ศม. หมายเลขวชิ า ทป................ บทเรยี นท่ี 6 แผนการสอน ๑. แผนการสอน คอื การวางแนวทางการสอนของครู ว่าตอ้ งการให้ผู้เรยี นไดเ้ ปลีย่ นแปลงพฤติกรรม ตามทหี่ ลกั สตู รกาหนดไว้ ซ่งึ ในแผนการสอนจะประกอบด้วย ๑.๑ ชอ่ื เรอ่ื ง บทเรยี น ๑.๒ ครผู ู้สอน ๑.๓ วธิ สี อน ๑.๔ วตั ถุประสงค์ของบทเรยี น 45

๑.๕ วัตถปุ ระสงค์เชงิ พฤตกิ รรม ๑.๖ เน้ือหาของบทเรียน ๑.๗ หลักฐานอา้ งอิง ๑.๘ สือ่ การสอน ๑.๙ กิจกรรมการเรียนการสอน ๑.๑๐ การประเมนิ ผล 46

สรปุ แผ่นใสประกอบการสอน บทที่ ๑ ครูทหาร ความสาคัญของวชิ าครทู หาร (๑) ๑. มไี ม่น้อยไปกว่าความสาคญั ของการศึกษาในสาขาอ่นื ๆ ๒. เพราะครูเป็นจกั รกลสาคัญยงิ่ ของการศึกษา ๓. ครเู ปน็ ผูใ้ ชก้ รรมวธิ ีถา่ ยทอดความรู้ ความชานาญ หลกั การ และ ความฉลาดใหแ้ กท่ หาร ๔. ตอ้ งรหู้ ลักวิชาครู หลกั จิตวิทยา มีความชานาญในการสอน จึงจะเป็นครทู ีด่ ี ความม่งุ หมายในการสอนวิชาครูทหาร (๒) เพื่อสร้างสมใหเ้ กิดคณุ ลักษณะของครูทหารทีด่ ี ๑. รู้หลักวชิ าครู ๒. มีความชานาญในการสอน ๓. จะได้ดารงอยู่ในอาชีพทหารด้วยดีตลอดไป เป้าหมายของวชิ าครูทหาร (๓) การฝึกสอนทุกชนิด จะต้องให้ทหารมี ๑. ความเข้าใจ ๒. เกดิ ความรู้ ๓. ความสามารถ ๔. การนาไปปฏบิ ตั ไิ ด้ทัง้ เป็นบุคคล และเปน็ ชดุ ขอบเขตการศกึ ษา (๔) ๑. การเตรยี มตัวของครู ๒. การทาหัวข้อการสอน ๓. วิธกี ารสอน ๔. เครื่องช่วยสอน ๕. หลักการพดู ใหไ้ ดผ้ ล ๖. แผนการสอน ข้อแนะนา “กฎการปฏิบัติ” ของครูพงึ ยึดถอื ในการสอน ๕ ขอ้ (๕) ๑ ไม่สอนอยา่ งขาดความรู้ 47 ๒ ไม่ใช้ถอ้ ยคาลามกหรือหยาบคาย ๓ ไม่พดู เย้ยหยนั ๔ ไม่ยกตนเอง ๕ ไม่ลดความพยายาม

กรรมวธิ ขี องการศกึ ษา (๖) ๑. เร่งเร้าผู้เรียนทง้ั ทางรา่ งกายและจิตใจ ๒. สอนใหก้ ารเรยี นตอ้ งผา่ นประสาทผู้เรียนหลายๆทาง ๓. ทราบความแตกต่างระหวา่ งบุคคลของผเู้ รียน บทเรยี นท่ี ๒ คุณลกั ษณะของครทู ด่ี ี (๗) ลกั ษณะของครทู ่ดี ี หมายถึงรปู รา่ ง และ ลกั ษณะอนั เปน็ คุณสมบตั ปิ ระจาตวั ครู ๑. รปู ร่าง มีสว่ นชว่ ยในการโนม้ น้าวจิตใจของผ้อู น่ื ๑. ทรวดทรง ๒. ผวิ พรรณ ๓. ขนาดของร่างกาย ๒. คุณลกั ษณะอนั พึงประสงคส์ าหรบั การเปน็ ครู ๖ ประการ (๘) ๑. ความรู้ และดลุ ยพินจิ ๔. ลักษณะท่าทาง ๒. ความแนบเนยี น ๕. ความกระตือรอื รน้ ๓. ความอดทน และความรเิ ร่มิ ๖. ความจบั ใจในตัวครู หลักการปฏิบตั ิในการปรับปรุงตัวของครูใหด้ ยี ่งิ ขน้ึ (๙) ๑ รู้หลักและเทคนิคการสอนดี ๒ สังเกตการสอนทดี่ ีและไดผ้ ลของครูคนอ่ืน ๆ ๓ พจิ ารณาลักษณะของตนเอง เม่ือรูส้ ึกบกพรอ่ งอย่างไร กจ็ ัดการแก้ไข และอาจ ขอให้ผู้ช่วยชว่ ยพจิ ารณาตัวเราวา่ ดีเลวเพยี งไร แลว้ จัดการแกไ้ ขสิ่งทไ่ี ม่ดี ๔ มีความมานะพยายามแกไ้ ขปรับปรุงตนเองให้ดขี ึน้ อย่เู สมอ และถามตวั เองวา่ ครั้ง ต่อไปจะทาอย่างไร เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการสอนให้ดีข้ึน 48

บทท่ี ๓ ขน้ั การสอน ๕ ขัน้ ขน้ั การสอนตามลาดับ ๕ ข้นั ( ๑๐ ) ขั้นที่ ๑ การเตรียมตัวของครู ขั้นท่ี ๒ การสอน ข้นั ที่ ๔ การสอบ ข้ันท่ี ๓ การนาความรทู้ ี่สอนไปปฏบิ ัติ ขั้นที่ ๕ การช้ีแจงหรอื การวิจารณ์ ข้ันท่ี ๑ การเตรียมตัวของครู ( ๑๑ ) คอื ขน้ั ท่คี รตู อ้ งเตรียมทกุ สง่ิ ทุกอยา่ งสาหรบั ทาการสอน ผลทีเ่ กดิ จากการเตรียมตวั ของครคู ือ แผนบทเรียน และหัวข้อการสอน อันจะใช้เป็นแนวทางสาหรับการสอน แบง่ เปน็ .- ๑. การเตรียมตวั ของครู ๒. การทาแผนบทเรยี น แผนบทเรยี นคือ บนั ทกึ ย่อท่ีครูใชท้ าการสอนซ่ึงแสดงส่วนใหญๆ่ คือ (๑๒) ๑. เร่ืองท่ีจะทาการสอน ๒. ลาดับขน้ั การสอน ๓. วธิ กี ารสอน ๔. ส่ิงอุปกรณ์การสอน การทาและการใช้แผนบทเรยี น (๑๓) แผนบทเรยี นมี ๒ ชนดิ ๑. ชนิดทเี่ ปน็ ข้อความ ๒. ชนดิ ทเ่ี ปน็ ใจความ แผนบทเรยี นประกอบด้วยส่วนสาคัญ ๒ สว่ นคือ ๑. สว่ นหลกั ฐานเตรียมการสอน ๒. ส่วนหัวข้อการสอน ข้ันที่ ๒ การสอน ( ๑๔ ) การสอน เป็นข้ันเร่ิมให้บทเรียน ให้ความรู้ แนวความคิดใหม่ ๆ และสิ่งที่ควร ทราบ แกน่ ักเรียน ด้วยการอธบิ าย การแสดงใหด้ ู ขอ้ สรุป ความสาคัญของการสอน กล่าว โดยยอ่ มดี ังน้ี.- ๑. เป็นงานขน้ั แรกที่เร่มิ ให้บทเรยี น ๒. เปน็ การใหค้ วามรู้ แนวความคิดใหม่ ๆ และเรอื่ งทค่ี วรทราบ ๓. เปน็ การเตรียมนกั เรียนให้ปฏิบัตดิ ว้ ยตนเองในข้นั ต่อไป 49

วิธสี อน การดาเนินการสอน กระทาได้หลายวิธี ( ๑๕ ) ๑. การบรรยาย ๒. การสอนเชงิ ประชุม ๓. การแสดงให้ดู ๔. การผสมวิธีต่าง ๆ เข้าดว้ ยกัน ลาดบั การสอนทกุ ๆ วธิ ี ย่อมดาเนินเป็นขั้น ๆ ตามลาดบั ดงั น้ี.- ( ๑๖ ) ๑. กลา่ วนา ๒. คาอธบิ าย หรอื ตวั เร่อื ง ๓. สรปุ ขน้ั ที่ ๓ การนาความรูท้ ่ีสอนไปปฏบิ ัติ ( ๑๗ ) การนาความรูท้ ีส่ อนไปปฏิบตั ิ แบ่งออกเปน็ 2 อยา่ ง คอื ๑. การนาไปปฏบิ ตั ิเป็นบคุ คล ๒. การนาไปปฏบิ ัติบัติเปน็ ชุด ข้ันที่ ๔ ขน้ั การสอบ ( ๑๘ ) เปน็ ขั้นทดสอบเพ่ือทราบคา่ การสอนของครู และคา่ การเรยี นของนกั เรียน แบง่ เป็น ๒ ประเภทใหญ่ ๆ คือ ๑. ทดสอบความถนัด ๒. ทดสอบความรู้ มี ๓ วธิ ี ๒.๑ ปากเปล่า ๒.๒ ใหป้ ฏิบัติ ๒.๓ ข้อเขยี น มี ๒ วิธี คือ.- ๒.๓.๑ แบบรอ้ ยแก้ว ( อัตนยั ) ๒.๓.๒ แบบจากดั ความมุ่งหมาย ( ปรนยั ) ขนั้ ที่ ๕ การชแ้ี จงหรือการวิจารณ์ ( ๑๙ ) ๑. การชีแ้ จง เปน็ การทบทวนให้ความกระจา่ งแจ้งข้อสาคญั ๆ ของบทเรยี น เมอื่ มีขอ้ สงสัยหรอื บกพรอ่ ง ต้องชีใ้ หเ้ หน็ ว่าบกพรอ่ งอะไร ที่ไหน เมอื่ ไร อยา่ งไร ๒. การวจิ ารณ์ เปน็ การสรุปหลังจากได้ปฏิบตั ิ หรือได้รบั การตรวจสอบแล้ว การวจิ ารณ์ กระทาได้ดังนี้.- ๒.๑ กล่าวทบทวนการปฏิบตั อิ ย่างยอ่ ๆ ๒.๒ กล่าวถึงการปฏิบตั ทิ ่ีดี ท่เี หมาะสม ทเ่ี ขาไดก้ ระทาไปแลว้ ๒.๓ ชี้ข้อบกพร่องท่สี าคญั รวมท้งั แนะนาวธิ ีแก้ไขทถ่ี ูกตอ้ ง ๒.๔ ทาให้เขามีความกลา้ ท่จี ะซกั ถามเพื่อความเข้าใจ ๒.๕ สรปุ บทเรยี นทีไ่ ดส้ อนมาแลว้ ๒.๖ ใหท้ หารไดส้ านึกวา่ ตนเรยี นสาเรจ็ ไปตอนหน่งึ แลว้ และกอ่ ให้เกิดการอยากเรยี น ต่อไป 50


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook