Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๒

วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๒

Published by qacavalry, 2021-10-18 08:55:24

Description: วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๒
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๙๐๗๐๒
หลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง
แผนกวิชาอาวุธ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

- 97 - 4. การใชเ้ ครือ่ งหมุนปอ้ มปืน และเครอื่ งใหท้ างสงู 1. คนั บังคบั การใช้ปอ้ มปนื ของผ้บู ังคบั รถ คันบังคับการใช้ป้อมปืนของผู้บังคับรถ ติดต้ังอยู่ ทางด้านขวาของสถานีผู้บังคับรถ และเป็นแบบด้ามคัน บังคับเดี่ยว สำหรับใช้บังคับการยิง การหมุนป้อม และ การยกปืน วงจรการบังคับป้อมปืนของพลยิงจะถูกตัด เมื่อใช้คันบังคับของผู้บังคับรถ ทำให้ผู้บังคับรถสามารถ หมุนป้อมปืน หรือยกปืนเพื่อช้ีเปา้ หรอื กำหนดเป้าหมาย แก่พลยงิ 2. คันบังคบั การใช้ปอ้ มปนื ของพลยงิ คนั บงั คับการใช้ปอ้ มปืนของพลยงิ เป็นแบบด้ามคัน บังคับคู่ ติดต้งั อย่ตู รงหน้าท่ีน่ังพลยิงใช้สำหรับบังคับการ ทำงานของป้อมปืนและการยิงปืน ทด่ี ้ามคันบังคับของพล ยิงประกอบด้วยสวิตซ์ควบคุมและเครื่องนิรภัย ซึ่งทำงาน ร่วมกันจากสวิตซ์บังคับด้วยอุ้งมือเพื่อปลดเคร่ืองยึด ป้อมปืน และเปิดลิ้นควบคุมกระบอกสูบให้ทางสูง สวิตซ์ล่ันไกเพื่อยิงปืนใหญ่ หรือปืนกลร่วมแกน ที่ด้าม คันบังคับด้านซ้ายจะมีสวิตซ์ยิงลำแสงเลเซอร์หาระยะ ของเป้ าห มาย ซึ่งเป็ น อุป กรณ์ ป ระกอบ เสริม ประสิทธิภาพ และสวิตซ์ต้ังปืนอัตโนมัติ ของระบบ เคร่ืองควบคุมการยิง ( DFCS ) และสวิตซ์เลือกชนิด กระสุน 3. คันบังคับการใช้ป้อมปืนด้วยมือ ( Manual Turret Control ) ในกรณที ่กี ำลงั ขบั เคลื่อนป้อมปนื ขัดข้อง ปอ้ ม ปืนยังสามารถใชง้ านไดด้ ว้ ยคันหมุนป้อมปนื ด้วยมือ และคนั หมนุ เครื่องใหท้ างสูงด้วยมือ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 98 - 5. ระบบรักษาการทรงตัวของปืน เครื่องรักษาการทรงตัวของปืนใหญ่เป็นแบบ 2 แกน ทำงานด้วยแรงดันไฮดรอลิค ควบคุมด้วยไฟฟ้าจะ ประกอบอยู่ในระบบเคร่ืองให้ทางสูงและเครื่องหมุนป้อมปืนด้วยกำลัง เมื่อเปิดใช้งานระบบนี้จะรกั ษาแนวลำ กล้องปืนใหญ่ให้ชี้ไปยังเป้าหมายตลอดเวลา ตามมุมท่ีถูกกำหนด และภายในขอบเขตท่ีจำกัดไว้ โดยไม่ เกี่ยวข้องกับการเคล่ือนที่ของรถถัง แต่ปืนใหญ่จะไม่อยู่ในสภาวะรักษาการทรงตัวเม่ือป้อมปืนอยู่ในระบบ บงั คับใชง้ านดว้ ยมือ การใช้งานปฏิบัตดิ งั นี้ .- 1. เม่ือสวิตช์ควบคุมวงจรไฟฟ้าป้อมปืน (Turret Power) และสวิตช์ควบคุมการใช้ป้อมปืน (Turret Power) อยู่ในตำแหน่งเปิด \" ON \" ไฟเตือนสีเหลือง ( Power ) ท่ีแผงควบคุมเครื่องรักษาการทรงตัวของปืน จะติดสว่างข้นึ แสดงว่ามีกำลังไฟฟ้าป้อนเข้าแผงควบคุม และสวิตช์บังคับการใช้งานอย่ใู นตำแหน่งควบคมุ ด้วย ระบบปกติ ( Power Mode ) 2. สวิตช์บังคับใช้งานจะเปิดไปยังตำแหน่งใช้เครื่องรักษาการทรงตัวของปืนในเวลาใดก็ได้ เมื่อเปิดสวิตช์ ควบคมุ การใชป้ อ้ มปนื ( Turret Power ) ไวใ้ นตำแหน่ง “ON” แลว้ 2.1 ไฟเตือนสเี ขยี ว ( Stab ) จะตดิ สว่างขน้ึ เม่ือสวติ ช์อย่ใู นตำแหน่งบงั คบั ดว้ ยเครื่องรักษา การทรงตัว ของปืน ( Stab Mode ) 2.2 ไฟแสดงการพร้อมใช้งาน ( STAB RDY ) สีเขียวจะติดสว่างข้ึนเองโดยอัตโนมัติภายในเวลา 30 วนิ าที ของหว้ งเวลาอุน่ เคร่อื ง หลังจากเปิดสวิตชค์ วบคุมการใชป้ อ้ มปนื (Turret Power) ไปท่ีตำแหน่ง “ON” 2.3 การเลิกใช้งานเครื่องรักษาการทรงตัวของปืน กระทำด้วยการผลักสวิตช์บังคับใช้งานลงมายัง ตำแหนง่ บงั คบั ด้วยกำลังปกติ ( Power Mode ) 3. การปรับให้ปืนหยุดน่งิ ( Null ) เม่อื ปืนอยใู่ นการควบคุมของเคร่ืองรักษาการทรงตัว 3.1 การปรับใหป้ ืนหยุดเคล่ือนไหวทางสูง กระทำดว้ ยการหมนุ แป้นปรับทางสงู ( ELEV ) 3.2 การปรบั ให้ปนื หยดุ เคล่อื นไหวทางทิศ กระทำด้วยการหมุนแป้นปรบั ทางทิศ ( TRAV ) 6. เคร่ืองควบคุมการยิงเล็งตรง 1. กล้องเลง็ ของผบู้ ังคับรถ แบบ NV52 C เปน็ กล้องเล็งที่ใช้งานไดท้ ั้งเวลากลางวนั และกลางคนื 1.1 กล้องเล็งเวลากลางคืน เป็นกล้องแบบหัก ศอก มีหลอดทวคี วามเขม้ ของแสง กำลังขยาย 7 เท่า 1.2 กล้องเล็งเวลากลางวัน มีกำลังขยาย 8 เท่า มแี ป้นปรับทางทศิ และทางระยะ มมี าตราประจำ แกว้ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 99 - 2. กลอ้ งเลง็ ของพลยิง M36E1 SIRE 2.1 กลอ้ งกลางวัน มีกำลงั ขยาย 7 เทา่ 2.2 กลอ้ งกลางคืน มีกำลงั ขยาย 7 เท่า มาตราประจาแกว้ กลอ้ งเล็งเวลากลางวนั ของผบู้ งั คบั รถ และพลยงิ มาตราประจาแกว้ กลอ้ งเล็งเวลากลางคนื ของผบู้ งั คบั รถ และพลยิง 3. เครอื่ งควบคมุ การยิงแสดงค่าดว้ ยตัวเลข DFCS ( Digital Fire Control System ) เป็นระบบเคร่ืองควบคุมการยิงที่ช่วยให้สามารถทำการยิงอาวุธปืนใหญ่ประจำรถถัง ท้ังในขณะท่ีรถ กำลงั เคล่ือนท่หี รอื หยดุ อยู่กับที่ เพือ่ ทำลายเปา้ หมายเคลอ่ื นทหี่ รือเปา้ หมายท่อี ยู่กับที่ ดว้ ยความแม่นยำสูง วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 100 - ระบบเครอ่ื งควบคมุ การยงิ DFCS ประกอบดว้ ย 1. เครื่องคำนวณขีปนวิธี ( Digital Computer ) ท ำห น้าท่ี คำนวณ ข้อมูลขีป นวิธีการยิง และ จัดเตรียมหลักฐานเกี่ยวกับการกระโดดของปืนเมื่อยิง ด้วยกระสุนชนิดต่าง ๆ เก็บข้อมูลตายตัวของระบบ อาวธุ และกระสุน ที่ใช้ยิงไว้ในส่วนเก็บบนั ทึกขอ้ มลู 2. เครื่องจ่ายกำลังไฟฟ้า ( Power Supply ) ทำหน้าที่จ่ายกำลังไฟฟ้าให้แก่ระบบเคร่ืองควบคุมการ ยิง และจำกัดสัญญาณความถ่ีสูงจากระบบไฟฟ้า ของรถ ไม่ให้เข้าไปรบกวนการทำงานของระบบ เครอื่ งควบคมุ การยิง 3. แผงควบคุมเคร่ืองควบคุมการยิง ( DFCS ) เพ่ือให้ ผบ.รถ สามารถตรวจสอบการแสดงค่า ข้อมูลต่าง ๆ ที่ถูกป้อนเข้าหรือถูกส่งออกจาก เครอ่ื งคำนวณ 4. หีบควบคุมเคร่ืองต่อวงจรลั่นไก ( Firing Circuit Junction Box ) ทำหน้าที่เช่ือมต่อการทำงาน ระหวา่ งเคร่อื งคำนวณกบั วงจรล่นั ไกปนื เครอื่ งควบคุมและคันบงั คับของพลยงิ และเครอ่ื งหาระยะด้วยเลเซอร์ 5. เครื่องควบคุมการทำงานของหลอดแสดงภาพขอ้ มูลการยิง ( CRT Controller ) ทำหน้าที่ควบคุมการ ทำงานของหลอดแสดงภาพข้อมูลในกล้องเล็งพลยิง ควบคุมการสร้างภาพกรอบเล็ง และการแสดงหลักฐาน ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทสี่ ่งมาจากเครอื่ งควบคุมการยิง 6. ระบบสง่ ข้อมลู ย่อย ( Sensor Sub System ) ทำหน้าท่ีจดั ส่งข้อมูลต่าง ๆ ท่ีสง่ ผลกระทบต่อการยิง ใหแ้ ก่เครื่องคำนวณ ระบบส่งข้อมลู ย่อยประกอบด้วย. 6.1 เครอื่ งวดั สภาพอากาศ 6.2 เครอ่ื งวัดการเอียงของดมุ รบั ปืน 6.3 เครอ่ื งวดั ตำแหน่งปืน - เครือ่ งวดั อัตราการหมุนของป้อมปนื - เครือ่ งวดั อตั ราการใหท้ างสงู ( ตดิ ตงั้ ท่ีดุมปืนด้านซา้ ย ) 7. ระบบสว่ นประกอบย่อยของกล้องเล็ง 7.1 เคร่อื งหาระยะด้วยเลเซอร์ 7.2 หลอดแสดงภาพข้อมลู การยิง (CRT) ทำหน้าท่ีสรา้ งภาพกรอบเลง็ และหลกั ฐานขอ้ มลู การยิงใน กล้องเลง็ กลางวนั วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 101 - การเล็งเกาะเป้าหมาย และการตงั้ ปนื อตั โนมตั ิ เปา้ หมายอยู่กบั ท่ี 7. เครอ่ื งยิงลูกระเบิดขนาด 66 มม. 1. กลอ่ งควบคมุ เครือ่ งยิงลูกระเบดิ 1.1 ติดต้ังอยู่ท่ีผนังป้อมปืนทาง ด้านขวาของผบู้ ังคบั รถ 1.2 การจัดให้เคร่ืองยิงลูกระเบิด พ ร้ อ ม ยิ ง ก ร ะ ท ำ ด้ ว ย ก า ร จั ด ส วิ ต ซ์ ค ว บ คุ ม เค ร่ือ งยิ งลู ก ระ เบิ ด ไว้ใน ตำแหน่งต่อวงจร (ARM) ไฟเตือนสี เหลืองจะติดสว่างขึ้นพร้อมกัน เมื่อไม่ ต้องการใช้เครื่องยิงลูกระเบิดให้จัด สวิตซ์ไว้ในตำแหน่งตัดวงจร (SAFE) และไฟเตอื นสเี หลอื งจะดับ 1.3 ให้กดสวิตซย์ ิงลูกระเบิดด้านขวา เม่ือต้องการยิงลูกระเบิดชุดลำกล้องด้านขวา และให้กดสวติ ซ์ยงิ ลูก ระเบิดด้านซ้ายเม่ือต้องการยิงลูกระเบิดชุดลำกล้องด้านซ้าย และเม่ือต้องการยิงลูกระเบิดท้ังสองชุด ให้กด สวิตซ์ลน่ั ไกท้งั สองอันพร้อมกนั วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 102 - 2. การบรรจลุ กู ระเบดิ ยงิ คำเตือน หา้ มเปิดเคร่อื งส่งวิทยอุ อกอากาศภายในระยะ 2 เมตร จากเคร่ืองยงิ ลูกระเบดิ ในขณะบรรจลุ กู ระเบิดยงิ จะต้องปิดสวติ ซ์ควบคุมการใชป้ ้อมปนื ไว้ในตำแหนง่ “OFF” คำเตือน ควรบรรจุลกู ระเบิดยิงก่อนเวลาใชง้ านเล็กน้อย และทำการบรรจุในบริเวณทโ่ี ล่ง การเลิกบรรจุลูก ระเบดิ ยงิ เม่ือไม่ใช้งานใหก้ ระทำโดยเจา้ หน้าท่ีสรรพาวธุ หรอื บุคคลท่ีไดร้ บั การรับรองคุณวุฒแิ ล้ว 2.1 ปิดสวติ ซ์ควบคมุ เคร่ืองยิงลูกระเบิดไวใ้ นตำแหนง่ “SAFE” 2.2 ถอดฝาครอบปากลำกลอ้ งเคร่ืองยิงลูกระเบิดออก 2.3 ตรวจความสะอาดเรียบร้อยภายในลำกล้องเคร่ืองยิงลูกระเบิด และทำความสะอาดตามความจำ เปน็ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ที่เข็มแทงชนวนตอ้ งสะอาดหมดจด 2.4 สอดลูกระเบิดยิงลงในลำกล้องโดยเอาด้านท้ายลงก่อน กดลูกระเบิดให้แน่นและหมุนลูกระเบิด เล็กน้อย เพื่อใหเ้ กดิ การต่อวงจรทีด่ กี บั เขม็ แทงชนวน 2.5 ใส่ฝาครอบปากลำกล้องเครื่องยงิ ลูกระเบิดกลับเขา้ ที่เดมิ 3. การยงิ ลูกระเบดิ ยิง คำเตือน ปดิ ฝาปดิ ช่องทางเขา้ -ออก ทุกแห่งก่อนยงิ ลูกระเบดิ เพ่อื ป้องกันไม่ใหพ้ ลประจำรถเปน็ อนั ตราย จากสะเกด็ ระเบดิ คำเตอื น บุคคลภายนอกรถถังจะต้องอยหู่ ่างจากเครอื่ งยิงลูกระเบดิ อย่างน้อย 50 เมตร 3.1 เปดิ สวิตซค์ วบคุมการใชป้ อ้ มปืน และสวิตซ์ควบคมุ เครื่องยิงลูกระเบดิ ไปท่ีตำแหนง่ “ON” 3.2 ตกลงใจในการใช้เคร่ืองยิงลูกระเบดิ วา่ จะใชท้ างดา้ นไหนหรือใชพ้ ร้อมกนั ท้งั สองด้าน 3.3 กดสวิตซย์ งิ ลูกระเบิด เพ่ือยิงเครือ่ งยงิ ลูกระเบดิ ท่ีต้องการยิง หมายเหตุ ใหท้ ำความสะอาดเคร่อื งยิงลกู ระเบิดหลงั จากยิงแล้วโดยเรว็ ทีส่ ุดเทา่ ทจ่ี ะกระทำได้ 4. การเลกิ บรรจุลูกระเบดิ ยงิ คำเตอื น การถอดลูกระเบิดยงิ ออกจากลำกลอ้ งมีอนั ตราย และจะต้องปฏิบัติโดยเจ้าหน้าทสี่ รรพาวธุ หรอื บคุ คลท่ีได้รบั การรบั รองคุณวุฒแิ ล้ว เมือ่ กดสวิตซย์ งิ ลกู ระเบิดแล้วลกู ระเบิดไม่ขบั ออกจากลำ กล้อง และยังคงตกค้างอยภู่ ายในลำกล้อง จะตอ้ งรออย่างนอ้ ย 5 นาที จงึ จะเลกิ บรรจุได้ และใน ช่วงเวลานใ้ี หป้ ิดฝาปดิ ชอ่ งทางเข้า-ออกทัง้ ไว้หมด 8. การหล่อล่ืน 8.1 แผนการหลอ่ ลน่ื 1. แผนการหล่อล่ืนและวิธีปฏิบัติในการหล่อล่ืน จุดท่ีต้องให้การหล่อล่ืน ชว่ งระยะเวลา และวัสดุหล่อ ล่ืนท่ีถูกต้อง 2. เมื่อใช้งานครบ 1600 กิโลเมตร ( 1000 ไมล์ ) หรือทุก 1 เดือน หรือเมื่อเห็นว่าจำเป็นเนื่องจากใช้ งานมาก ใหท้ ำการหลอ่ ล่ืนจุดต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ให้ครบทุกจุด วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 103 - องคป์ ระกอบท่ี วสั ดุหลอ่ ล่นื ความจุ วิธีการปฏบิ ตั ิ ช่วงเวลาแล้วแตอ่ ย่างไหน ตอ้ งหลอ่ ลืน่ OH-MIL-H- จะครบกำหนดกอ่ น ก.อ่างนำ้ มันเคร่ือง 46170 B 15 ลิตร กำเนดิ กำลงั ไฮดรอลิค GAA (16 ควอท) ตรวจระดบั นำ้ มันและเติม ประจำวนั , ประจำปี หรอื ข. ลูกปืนรองรับ VV-L-800 ตามความ ถ่าย-เติมใหม่และเปลี่ยนไส้ 4,800 กม.(3,000 ไมล์) เฟืองวงแหวนปอ้ มปืน ต้องการ มจี ดุ อดั ไขขน้ 1 กรอง หรอื 300 ชม. ค. เครื่องยงิ ลกู ระเบดิ แห่ง ตามความ อัดไขขน้ พร้อมกบั หมนุ ประจำเดือน หรือ 400 กม. ตอ้ งการ ป้อมปนื ไปใหร้ อบ 360 (250 ไมล์) หรอื 25 ชม. องศา ทำความสะอาด และชโลม ประจำสัปดาห์ นำ้ มัน 3. ช่วงระยะเวลาให้การบริการหล่อลื่น ได้กำหนดไวใ้ ห้ปฏิบัติเม่ือใชง้ านตามสภาพปกติ ในภูมิประเทศที่มี ความช้ืน และสภาพภูมิอากาศปกติ หากใช้รถในสภาพแวดล้อมเป็นโคลน ทราย ฝุ่นมาก มีความช้ืนสูง และ ร้อนจัด หรือเมื่อใช้งานรถติดต่อกันเป็นเวลานาน ให้ทำการบริการและหล่อล่ืนบ่อยข้ึนกว่าท่ีกำหนดไว้ หลงั จากลุยขา้ มนำ้ ใหท้ ำการหล่อล่นื จุดหล่อลื่นภายนอกป้อมปืนทกุ จุด 4. วัสดุหล่อล่ืนต่าง ๆ ท่ีกล่าวถึงในคู่มือฉบับนี้ ใช้สำหรับอุณหภูมิ 0 องศา C (32 องศา F) และ อุณหภูมิ สงู กวา่ ระดับน้ี 8.2 คำแนะนำในการหลอ่ ลื่น 1. จุดท่ีต้องหล่อลื่นด้วยการหยอดน้ำมันทุก ๆ 1,600 กม. (1,000 ไมล์) ประจำเดือน หรือ เม่ือต้องหล่อ ลื่นตามสภาพการใช้งาน ใหก้ ารหล่อลืน่ บานพับตา่ ง ๆ กลอนยึด ข้อตอ่ สลัก คันบังคับ และชน้ิ สว่ นเคล่ือนไหว ของทน่ี ่ัง ด้วยนำ้ มนั หลอ่ ลื่นและป้องกนั สนิม 2. ลูกปืนรองรับเฟืองวงแหวนรอบป้อมปืน ใช้กระบอกอัดไขข้น GAA เข้าท่ีหัวอัดไขข้นพร้อมกับหมุน ปอ้ มปืนไปชา้ ๆ จนครบรอบ 360 องศา หมายเหตุ ใหท้ ำความสะอาดสง่ิ สกปรก และฝุน่ ผงบรเิ วณรอบเหล็กวัดน้ำมันก่อนตรวจระดับนำ้ มนั ไฮดรอลคิ 3. น้ำมันเคร่ืองกำเนิดกำลังไฮดรอลิค ตรวจระดับน้ำมันไฮดรอลิคในอ่างเก็บฯ ทุกวัน ปลดแรงดัน และ ไล่น้ำมันกลับลงอ่างเก็บฯ ด้วยการเปิดลนิ้ ปล่อยนำ้ มนั ของหมอ้ ตุนกำลังไฮดรอลิค ตรวจระดบั นำ้ มันที่เหล็กวัด และเติม นำ้ มันให้ถึงขีดเต็ม ( FULL ) ดว้ ยนำ้ มนั ไฮดรอลิค OH MIL-H-46170 B 4. อาวุธ การหล่อลน่ื อาวุธ ให้ปฏบิ ัติตามค่มู ือการใชอ้ าวุธนน้ั ๆ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 104 - 8.3 วัสดุหล่อล่ืน 1. ไขข้นสำหรับใช้กับยานยนต์ และปืนใหญ่ ( GAA ) ซ่ึงเป็นไขข้นเอนกประสงค์ และมีคุณภาพสูง ตรง กบั มาตรฐานไขขน้ หมายเลข MIL-G-10924 C 2. น้ำมันหล่อล่ืนและป้องกันสนิม (PL) ชนิดเอนกประสงค์ ซ่ึงตรงกับมาตรฐานน้ำมัน หมายเลข MIL-L-3150 ใชห้ ล่อลืน่ ตามจดุ ต่าง ๆ ท่ีตอ้ งการหล่อลื่นดว้ ยการหยอดนำ้ มนั หมายเหตุ ถ้าไม่มีนำ้ มนั หล่อลนื่ และป้องกันสนิม ( PL ) อาจใชน้ ำ้ มันหล่อล่ืนเครื่องยนต์ ( OE ) ซ่งึ ตรงกบั มาตรฐานของสถาบันกำหนดมาตรฐาน นำ้ มันปโิ ตรเลี่ยมของสหรัฐอเมริกา ( API ) หมายเลข CC MIL-L-2104 ทดแทนได้ 3. น้ำมันไฮดรอลิค ( OH ) เป็นน้ำมันไฮดรอลิคชนิดเอนกประสงค์ ตรงกับมาตรฐานน้ำมัน หมายเลข MIL-H-46170 สำหรบั เตมิ อา่ งเกบ็ น้ำมันไฮดรอลคิ 4. น้ำมันหล่อล่ืนป้องกันสนิม และการกัดกร่อน VV-L-800 สำหรับหล่อล่ืนภายในลำกล้องเคร่ืองยิงลูก ระเบิด - - - - - - - - - - ------------------------ - - - - - - - - - - วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 105 - ปนื กล MG 3 ขนาด 7.62 มม. 1. กล่าวนำ ปืนกล MG 3 ขนาด 7.62 มม.ติดตั้งเป็นปืนกลร่วมแกนและเป็นปืนประจำป้อมปืนรถเกราะ คอมมานโด V-150 สามารถตั้งยงิ บนพ้นื ดิน โดยประกอบขาทรายและสายสะพาย มีศูนย์เล็งดกั สำหรับยิงต่อสู้ อากาศยานท่ีร่อนต่ำ และเม่ือนำมาติดตั้งเป็นปืนกลร่วมแกนในป้อมปืนไม่ต้องใช้พานท้าย, ขาทราย และ สายสะพาย เรียกว่าปืนกล MG3A1 2. คณุ ลกั ษณะ 2.1 ทำงานด้วยแรงถอย 2.2 ปอ้ นกระสนุ ด้วยสายกระสุน (สายกระสุนเปดิ ) และปอ้ นกระสนุ ไดท้ างเดยี วคอื ทางซา้ ย 2.3 ระบายความร้อนด้วยอากาศ 2.4 ยิงเป็นอตั โนมตั ิ และยงิ จากตำแหนง่ หนา้ ลกู เลื่อนเปดิ (ลูกเล่ือนอยู่หลังสดุ ) 2.5 สามารถเปลยี่ นลำกล้องได้รวดเรว็ 2.6 ก่อนทำการยิงให้ปรับปลอกทวีการถอย 2.7 ลัน่ ไกด้วยไฟฟ้า โดยเครอื่ งแมเ่ หล็กลั่นไก (SOLENOID) และดว้ ยมือ 3. ข้อมูลอาวุธ - กว้างปากลำกล้อง 7.62 มม. - เกลยี วในลำกล้อง 4 เกลียว เวยี นขวา - ความเร็วตน้ ทป่ี ากลำกล้อง 820 เมตร/วินาที - ลำกลอ้ งยาว 565 มม. - ระยะยงิ ไกลสดุ 3,750 เมตร - อัตราการยิง 1150 ±150 นดั /นาที - เปลย่ี นลำกล้องหลังจากยิงไปแล้ว ประมาณ 150 นัด ไมว่ า่ จะยิงต่อเน่ือง หรอื ยงิ จังหวะเร็ว - ปนื ทง้ั กระบอกหนกั (ไม่รวมขาทรายและสายสะพาย) ประมาณ 10.2 กก. - น้ำหนกั ลำกลอ้ ง ประมาณ 1.8 กก. - นำ้ หนักลูกเลอ่ื น ประมาณ 0.5 กก. - ปนื ทง้ั กระบอกยาว (รวมพานท้าย) 1,225 มม. - ปืนทง้ั กระบอกยาว (ไม่รวมพานทา้ ย) 1,075 มม. ปก.MG3

- 106 - 4. ชอื่ ชิ้นส่วนภายนอก - ปลอกทวีการถอย - กลอนยดึ ปลอกทวกี ารถอย - ศนู ยห์ น้า - รองลำกล้อง - กลอนยึดลำกล้อง - ศนู ยห์ ลัง - ศนู ยต์ ่อสู้อากาศยาน - ฝาปิดห้องลกู เล่ือน - เครอ่ื งล่ันไก - กลอนยึดพานทา้ ย - ฝากันฝุ่น (อยู่ในตำแหน่งปิดเม่ือทำการเคล่ือนย้าย และตำแหน่งเปิดเม่ือทำการยิงปืน (เพ่ือเป็นช่องคัด ปลอกกระสนุ ) 5. ศนู ย์ - ศูนย์หน้า และศูนย์หลังเป็นศูนย์เปิด (สามารถพับเก็บได้) ศูนย์หน้าไม่สามารถปรับได้ ศูนย์หลังเป็นแบบ โครง ทศี่ นู ย์หลงั มมี าตราระยะยิงบอกไวข้ ดี ละ 100 เมตร เริม่ ตง้ั แต่ 200 ถงึ 1,200 เมตร - ศูนย์ต่อสู้อากาศยาน มีไว้สำหรับยิงต่อสู้อากาศยานท่ีร่อนต่ำ ยิงได้ทั้งเคร่ืองบินใบพัด และเครื่องบินไอพ่น (สามารถพับเก็บได้และมีฝาครอบปอ้ งกัน) 6. ปลอกทวีการถอย ปลอกทวกี ารถอย สามารถปรับได้ตามชนิดกระสุน คือ - กระสนุ ของปนื โดยตรง ( NATO ) 5 - 8 คลก้ิ - กระสุน ทบ.ไทย ( RTA ) 27 คล้ิก 7. การใช้ 7.1 การบรรจุ 1. เปดิ ฝาปิดห้องลกู เลอ่ื น 2. จัดห้ามไกให้อย่ใู นตำแหน่ง F 3. ดงึ คันรงั้ ลูกเล่อื นมาขา้ งหลังสุด 4. ดนั คันรัง้ ลกู เลื่อนกลับไปข้างหนา้ สุด 5. จัดห้ามไกให้อยู่ในตำแหน่ง S 6. คว่ำสายกระสนุ ด้านเปิดลง วางสายกระสุน บนเหล็กรองกระสนุ จัดใหก้ ระสนุ นัดแรก ยันกับเหลก็ กนั กระสุน 7. ใช้มอื ซ้ายประคองสายกระสุนไม่ใหห้ ลุดออกมา 8. ปิดฝาปดิ ห้องลกู เล่ือน 7.2 การเลิกบรรจุ 1. เปดิ ฝาปดิ หอ้ งลกู เล่อื น แลว้ ดงึ สายกระสุนออก 2. ยกเหลก็ รองกระสุนขนึ้ แล้วตรวจดูกระสนุ ในรังเพลงิ 3. เปิดฝาปดิ ห้องลูกเลือ่ น 4. ในกรณลี ูกเลือ่ นไม่ค้างอยู่ขา้ งหลงั ให้ดึงคันรัง้ ลกู เลอ่ื นมาขา้ งหลงั สดุ 5. เหน่ยี วไกและค่อย ๆ ประคองคันรั้งลูกเล่ือนไปข้างหนา้ 6. ดนั คันร้งั ลูกเล่ือนไปข้างหน้าใหเ้ ข้าทจี่ นสดุ ปก.MG3

- 107 - 8. การถอด/ประกอบ ก่อนทำการถอด/ประกอบ ต้องตรวจความปลอดภัยของปืนเสียกอ่ นโดยเปดิ ฝาปิดห้อง ลูกเล่อื นแล้วดึงให้ลูกเลื่อนคา้ งอยู่ข้างหลังสุด ตรวจดจู นแน่ใจว่าไมม่ ีกระสุนค้างอยู่ในรังเพลิง, ปลดใหล้ ูกเล่ือน กลบั ไปข้างหนา้ โดยจบั คนั รง้ั ลูกเล่อื นแล้วเหนี่ยวไก ปล่อยให้ลกู เลอื่ นว่ิงไปข้างหน้าอย่างช้า ๆ อย่าปล่อยให้ลูก เลื่อนวิ่งกลับไปอย่างรุนแรงเมื่อไม่ทำการยิง เพราะจะทำให้ชุดลูกเล่ือนและเหล็กรองกระสุนชำรุด (พับ ศูนยห์ น้า และศูนยห์ ลัง) การถอดแบบปกตสิ ามารถถอดแยกชน้ิ ส่วนใหญ่ ๆ ได้ ดงั นี้.- 8.1 ฝาปิดห้องลกู เล่ือนและเหลก็ รองกระสุน 8.2 แหนบรับแรงถอย, พานทา้ ย และเหลก็ ปิดท้าย 8.3 ลกู เลอื่ น (สามารถถอดแยกได้) 8.4 คันรั้งลูกเล่อื น 8.5 ลำกลอ้ ง (ใชใ้ นการปฏิบัตกิ ารรบจะประทบั อักษร \" S \" ไว้) 8.6 ปลอกทวีการถอย 8.7 ปลอกนำลำกล้อง 8.8 ทีเ่ หลอื จะเป็นห้องลูกเลอ่ื น, รองลำกลอ้ ง และเครอื่ งลน่ั ไก การประกอบใหท้ ำกลับกันกับการถอด 9. การทำงานของเคร่อื งกลไก มที งั้ หมด 8 ขัน้ ตอน 1. การข้นึ นก 2. การป้อนกระสุน 3. การบรรจกุ ระสนุ เขา้ รังเพลงิ 4. การขัดกลอน 5. การลนั่ กระสุน 6. การปลดกลอน 7. การรง้ั ปลอกกระสุน 8. การคัดปลอกกระสนุ 10. การแก้ไขเหตุติดขัดทันทีทันใด เม่ือกระสุนไม่ลั่นในขณะที่ปืนได้ยิงมาแล้วจนลำกล้องร้อน หน้าลูกเลื่อนยัง ปดิ ทา้ ยรังเพลิงอยู่ ต้องทง้ิ ปืนไว้ 5 นาที ก่อนทจ่ี ะดึงคนั รงั้ ลูกเลือ่ นมาขา้ งหลัง 11. การปรนนิบตั บิ ำรงุ - ปิดฝากนั ฝุ่นทุกครงั้ เมื่อเคล่อื นย้ายปืน - กอ่ นทำการยงิ แตล่ ะครงั้ ตอ้ งทำความสะอาดน้ำมนั ในลำกล้อง และในปลอกทวกี ารถอย - หลงั จากเลิกยงิ เม่ือสามารถจับลำกล้องด้วยมือเปล่าไดแ้ ล้ว ต้องทำความสะอาดลำกล้อง และปลอกนำ ลำกล้องทนั ที และต้องทำความสะอาดตดิ ต่อกัน 3 วนั หลังการยิง - หลังจากทำความสะอาดและทำการประกอบปืนเรียบร้อยแล้ว ต้องตรวจการทำงานของห้ามไก และ ช้ินส่วนเคลื่อนที่ของปืน ตอ้ งเป็นไปอยา่ งสะดวกและถกู ต้อง 12. กระสุน ใช้กระสนุ ขนาด 7.62 × 51 มม. ของ ทบ.ไทย และ กลุ่มนาโต้ เหมือนกับ ปก. M60 - - - - - - - - - - - - -------------------------------- - - - - - - - - - - - - - - ปก.MG3

- 108 - ระบบอาวธุ ปอ้ มปืนรถเกราะคอมมานโด V-150 หลักฐาน คมู่ ือการใชป้ ้อมปนื ใหญ่ขนาด 90 มม. รถเกราะ V-150 1. การทำความคุ้นเคยป้อมปืนรถเกราะคอมมานโด V-150 1.1 กล่าวนำ เพ่ือให้ทราบถึงการติดตั้งอาวุธยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ ท้ังภายในและภายนอกป้อมปืน ตลอดจน คุณลักษณะมาตราทาน 1.2 ลกั ษณะรายละเอียด 1. ป้อมปืนขนาด 90 มม. เป็นสถานีรบของพลยิงและ ผบ.รถ ที่ให้การป้องกันจากการยิงของปืนเล็ก และสะเก็ดระเบิดได้ อาวุธท่ีติดตั้งประจำรถได้แก่ปืนใหญ่ขนาด 90 มม. จำนวน 1 กระบอก ปก.ขนาด 7.62 มม. 2 กระบอก แยกเปน็ ปก.บนปอ้ ม 1 กระบอก, ปก.ร่วมแกน 1 กระบอก และ เคร่ืองยิงลูกระเบิดควันและ สังหาร 2 ชุด 12 ท่อยิง ติดต้ังอยู่ด้านข้างทางท้ายป้อม ข้าง ละ 6 ท่อยิง (ระเบิดควัน 3 ท่อ, สังหาร 3 ท่อ) และไฟฉายประจำรถติดตั้งอยทู่ ่ี โล่ปืนด้านหน้า 2. พลประจำรถ จำนวน 5 นาย 2.1 ดา้ นหนา้ - พลขบั - พลขบั ผูช้ ว่ ย 2.2 กระเชา้ ป้อม - ผบ.รถ - พลยิง 2.3 ท้ายปอ้ ม - พลกระสนุ (ทำหน้าทพี่ นักงานวทิ ยดุ ว้ ย) 1.3 การตดิ ต้ังยุทโธปกรณ์ต่าง ๆ 1. ชอ่ งทางเขา้ -ออกของพลยงิ - แท่งแกว้ ตรวจการณข์ า้ งป้อม 1 ชอ่ ง - กล้องพลยิง M 28 1 กล้อง - เคร่อื งหมุนป้อม และเครื่องให้ทางสงู ด้วยกำลงั - เครื่องหมนุ ป้อมด้วยมือ และสวิตช์ลน่ั ไก - เครื่องใหท้ างสูงด้วยมอื , สวติ ชล์ ั่นไก - กระบอกนำ้ มนั ชดเชย (ติดต้งั อยทู่ ผ่ี นังป้อมปืนภายในดา้ นขวามือ) - แผงควบคมุ การใช้ป้อมปนื - ปนื ใหญ่ขนาด 90 มม. - เครอ่ื งลั่นไกปนื ใหญ่ด้วยเท้า - หมอ้ ตนุ กำลงั ใช้สำหรบั ระบบหมนุ ปอ้ ม และ ให้ทางสงู (ตดิ ตัง้ อย่กู ับพ้ืนป้อม) 2. ชอ่ งทางเขา้ -ออกของ ผบ.รถ - แท่งแก้วตรวจการณ์ข้างป้อม 2 ช่อง - กล้องตรวจการณข์ อง ผบ.รถ และศนู ย์เล็งชนดิ ใบมดี - ปก.ร่วมแกนขนาด 7.62 มม.(ขวามือ) - คันบงั คับการใช้ปอ้ มปืนดว้ ยกำลังของ ผบ.รถ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (รถเกราะ V-150)

- 109 - - สวิตชพ์ ดั ลมระบายอากาศ (อยู่ทางขวาของสวติ ชไ์ ฟฉาย) - สวติ ช์ไฟฉายประจำรถ อยบู่ นหบี เคร่ืองควบคุมการใช้ป้อมปนื ผบ.รถ - พดั ลมระบายอากาศ (ด้านหนา้ ผบ.รถ) - แผงบังคบั การยิงลูกระเบิดควนั และสงั หาร (ข้างปอ้ มซ้ายมือ ผบ.รถ) - หบี ควบคมุ วงจรนริ ภยั ของพลบรรจุ (ผบ.รถ) ติดต้ังอย่ดู ้านหลงั ซา้ ยของ ผบ.รถ ใชก้ ดเพ่ือต่อวงจร ให้กับพลยิงเม่ือยิงปืนใหญ่ 3. กระสุนปืนใหญ่ ขนาด 90 มม.และปนื กล ทบ่ี รรทุกบนรถ - ปืนใหญ่ 41 นดั พรอ้ มรบ 10 นดั (ใตป้ ืนใหญ่ 8 นัด, ข้างป้อมซ้ายมือ ผบ.รถ 2 นัด) ในทเ่ี กบ็ บรรทุก 31 นัด - ปก.ขนาด 7.62 มม.จำนวน 3,400 นัด พรอ้ มรบ 400 นัด (กระบอกละ 200 นดั ) ในท่ีเกบ็ บรรทุก 3,000 นัด 2. ปนื ใหญร่ ถเกราะคอมมานโด V-150 2.1 กลา่ วนำ ปืนใหญ่ขนาด 90 มม.เป็นอาวธุ หลกั ประจำรถเกราะคอมมานโด V-150 2.2 คุณลักษณะมาตราทาน 1. กว้างปากลำกลอ้ ง 90 มม. 2. เครือ่ งปดิ ท้ายแบบล่มิ เปดิ -ปิดทางดิ่ง 3. ลนั่ ไกด้วยระบบไฟฟา้ และ ด้วยเท้า 4. ระยะถอย 50 ซม. 5. ยกปืนได้สูง 28 องศา, กดปืนต่ำสุด -8 องศา 6. หมุนได้รอบตวั 360 องศา 2.3 ปืนใหญ่ขนาด 90 มม. แบง่ ออกเปน็ สว่ นใหญ่ ๆ ได้ 3 สว่ น คือ. 1. ปลอกยั้งการถอย 2. ลำกล้อง 3. โครงเครื่องปิดท้าย 2.4 การถอดประกอบ การถอดแทง่ ลูกเล่ือนออกจากโครงเคร่ืองปิดท้าย 1. ถอดแหวนกันสลกั เหล็กหยดุ แท่งลูกเลื่อน 2. ถอดสลกั เหล็กหยดุ แท่งลกู เลอ่ื น 3. ถอดแหนบสลกั เหล็กหยดุ แทง่ ลูกเลื่อน 4. ถอดเหลก็ หยดุ แทง่ ลกู เล่ือน 5. ถอดแทง่ ลกู เล่ือน 2.5 การปรนนบิ ตั บิ ำรุง 1. ปลอกยง้ั การถอย 1.1 ตรวจสภาพก่อนทำการยงิ , ขณะทำการยิง, ภายหลงั การยิง และประจำสัปดาห์ 1.2 การทำความสะอาดก่อนการยงิ , ภายหลงั การยงิ และประจำสปั ดาห์ 2. ลำกล้อง 2.1 ทำความสะอาดกอ่ นทำการยงิ , ภายหลงั การยงิ และประจำสปั ดาห์ วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (รถเกราะ V-150)

- 110 - 2.2 ถ้าปืนไม่ได้ทำการยงิ ทำความสะอาดและหล่อลืน่ ทกุ สัปดาห์ 2.3 เมื่อทำการยิงกระสุนปนื ใหญ่ไปแล้วครบ 100 นัด ตอ้ งอดั ไขข้นซิลิโคนที่รองลำกล้อง ข้างละ 1 ลบ.ซม. ทง้ั สองขา้ ง 3. แท่งลกู เลื่อน 3.1 ทำความสะอาดกอ่ นทำการยงิ , ภายหลังการยิง และประจำสัปดาห์ 3.2 ถา้ ปนื ไมไ่ ด้ทำการยิง ให้ทำความสะอาดและหล่อลืน่ ทกุ 3 เดือน 3. เครอ่ื งรบั แรงถอยปืนใหญ่ขนาด 90 มม.รถเกราะ V-150 3.1 กลา่ วนำ เคร่ืองรับแรงถอยของปืน ใหญข่ นาด 90 มม. เป็นชนิดจุดศูนยก์ ลางร่วม แกนลำกล้องปืน ใช้ของเหลวประกอบแหนบ เคร่ืองรับแรงถอยประกอบด้วยเปลปืน , แหนบรับแรงถอย และลูกสูบรับแรงถอย, กระบอกนำ้ มันชดเชย 3.2 คุณลักษณะ เครื่องรับแรงถอยของปืนใหญ่ขนาด 90 มม. กระบอกเคร่ืองรับแรงถอยทำเป็น กระบอกลกั ษณะเรียวโดยทผ่ี ิวดา้ นนอกของเปลปืนจะหุ้มอย่กู บั ผิวด้านนอกของลำกล้องปืน มีแหนบสง่ ลำกลอ้ ง ปืนกลับเข้าท่ี 2 ขด สวมครอบผิวด้านนอกของลำกล้องปืน ซึ่งจะถูกหุ้มอยู่กับเปลปืนด้านใน ภายในจะมี น้ำมันรับแรงถอย ซึ่งบรรจุเต็ม 15 ลิตร จะต่อสายน้ำมันขึ้นไปยังป้อมปืนทางด้านขวาของพลยิงเข้ากับ กระบอกน้ำมันชดเชยซง่ึ บรรจุน้ำมันรับแรงถอยได้ 0.35 ลิตรและปลายด้านหลงั ของกระบอกน้ำมันชดเชยจะมี ก้านวัดปริมาณน้ำมนั (น้ำมนั ท่ใี ช้ AERO SHELL FLUID 4) 3.3 การทำงาน หน้าท่ีของเคร่ืองรับแรงถอย เพื่อยับยั้งการถอยของปืนใหญ่ให้เหลือการถอยมาข้างหลังให้น้อยที่สุด เพราะที่ว่างในป้อมปืนน้ันมีจำกัด เครื่องรับแรงถอยจะกำหนดการถอยในระหว่าง 450 - 500 มม. (50 ซม.) ซ่ึงจะข้ึนอยู่กับมุมสูงของการยิงและขึ้นอยู่กับชนิดกระสุนที่ใช้ยิงและท่ีอยู่ในตำแหน่งปกติ และ อุณหภูมิของ น้ำมันรับแรงถอยด้วย ความสมั พนั ธ์ของชิ้นส่วนต่าง ๆ ในชุดกระบอกสบู รบั แรงถอยในขณะท่ีอยู่ปกติ,ระหวา่ ง การถอยและการกลับเข้าท่จี ะได้กล่าวตอ่ ไป 3.4 ชิ้นส่วนต่าง ๆ ของเครอื่ งรบั แรงถอยในตำแหน่งปกติ กอ่ นท่ีจะยิงปืนใหญ่ขนาด 90 มม. ลูกสูบของกระบอกสูบเคร่ืองรับแรงถอยซึ่งยึดอยู่กับลำกล้องปืนจะ อยู่ปลายด้านหน้าของกระบอกรับแรงถอย แหนบรับแรงถอยและปริมาณน้ำมันรับแรงถอยทั้งหมดจะอยู่ ดา้ นหลังของลกู สูบ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (รถเกราะ V-150)

- 111 - 3.5 การทำงานของเครอ่ื งรับแรงถอยขณะปนื ถอยหลัง ขณะทำการยิงลูกกระสุนจะวิง่ ไปดา้ นหน้าของลำกล้องปืนโครงเคร่ืองปิดท้าย และลูกสูบเครื่องรับแรง ถอยจะเคล่ือนท่ีมาข้างหลัง และจะอัดนำ้ มันให้ไหลไปทางด้านหน้าโดยผา่ นกระบอกสบู พร้อมกันนั้นแหนบรับ แรงถอยท้ังสองตัวก็จะอัดตัว การท่ีน้ำมันรับแรงถอยและแหนบรบั แรงถอยอัดตัวจะทำให้การถอยของปืนใหญ่ ถอยมาข้างหลังชา้ ลง และสน้ิ สดุ การถอย 3.6 การทำงานของเครือ่ งรบั แรงถอยระหว่างปืนกลบั เขา้ ที่ ขณะการถอยของปืนใหญ่ส้ินสุดลง ปืนใหญ่จะอยู่ในตำแหน่งหลังสุด แหนบรับแรงถอยที่ถูกอัดตัวจะ ดันให้ลูกสูบเคลื่อนท่ีไปทางด้านหน้าเป็นการเร่ิมการกลับเข้าท่ี ขณะที่ลูกสูบและลำกล้องปืนเคล่ือนท่ีไป ข้างหน้าน้ำมันเครื่องรับแรงถอยซึ่งถูกอัดตัวอยู่ทางด้านหน้าของลูกสูบ (ระหว่างปืนถอยมาข้างหลัง) จะถูก บังคับให้ไหลมาทางด้านหลังผ่านกระบอกสูบ การทำงานเช่นนี้จะติดต่อกันจนกระทั่งปืนกลับไปอยู่ในตำแหน่ง พร้อมที่จะบรรจุกระสุนนัดต่อไป ในการกลับเข้าที่น้ำมันรับแรงถอยจะทำหน้าท่ียับย้ังไม่ให้แหนบรับแรงถอย ขยายตวั อยา่ งรนุ แรงในการกลบั เข้าท่ีไปทางด้านหน้าสุดของกระบอกรับแรงถอย 3.7 กระบอกนำ้ มันชดเชย กระบอกนำ้ มันชดเชยจะตดิ อยภู่ ายในป้อมปนื ด้านขวา ทำหน้าทีเ่ ป็นกระบอกน้ำมนั รบั แรงถอยสำรอง ต่อด้วยสายข้อต่อน้ำมันเข้ากับกระบอกสูบน้ำมันรับแรงถอย ภายในกระบอกชดเชยจะประกอบด้วยลูกสูบท่ีมี แหนบดันอยู่ ซ่ึงจะรักษาระดับน้ำมันในกระบอกน้ำมันรับแรงถอยไว้ ถ้าน้ำมันในกระบอกเคร่ืองรับแรงถอย น้อยไปกระบอกน้ำมันชดเชยจะทำหน้าที่ชดเชยทันที ในทางกลับกัน ถ้าปริมาณน้ำมันรับแรงถอยในกระ บอกรับแรงถอยมากเกนิ เนอ่ื งจากอณุ หภมู ิสูงข้ึนน้ำมนั ในกระบอกชดเชยจะมากขนึ้ ด้วย เคร่ืองแสดงปริมาณน้ำมันรับแรงถอย ก้านวัดน้ำมันรับแรงถอยจะติดอยู่ทางส่วนท้ายของลูกสูบของ กระบอกน้ำมันชดเชย เพ่ือแสดงค่าเฉล่ยี ของระดบั นำ้ มนั ชดเชย ปกตจิ ะยืน่ ออกมา 1-2 1/2 นว้ิ และ จะมีลิ้น ทางเดนิ น้ำมันตดิ อยู่กับเคร่อื งรบั แรงถอยไปยังกระบอกน้ำมนั ชดเชยระหวา่ งการเคลือ่ นของปนื 4. เครือ่ งควบคุมการใชป้ ้อมปนื ของรถเกราะ V-150 4.1 กล่าวนำ รถเกราะคอมมานโด V-150 สามารถหมุนป้อมปืนได้รอบตัว 360 องศา หมุนได้วินาทีละ 30 องศา ท้ัง สองทิศทาง ผู้ทำการใช้ป้อมปืน คือ ผู้บงั คับรถ, พลยิง ป้อมปืนรถเกราะ V-150 สามารถหมุนได้ด้วยมือและ ด้วยกำลัง การหมุนปอ้ มปนื และใหท้ างสงู ดว้ ยกำลงั วนิ าทีละ 30 องศา 4.2 การใช้ปอ้ มปนื ของพลยงิ ด้วยมอื พลยิงสามารถหมุนป้อมปืนได้ท้ังด้วยมือ และด้วยกำลัง เครื่องหมุนป้อมปืนด้วยมือติดต้ังอยู่ทางด้าน ขวามือของพลยิง ที่เคร่ืองหมุนป้อมด้วยมือของพลยิงจะมีคันหมุนยื่นออกมาทางด้านล่างและมีคันปลดแผ่น ความฝืดของป้อมปืน เม่ือจะหมุนป้อมปืนด้วยมือของพลยิงจะต้องดันคันปลดแผ่นความฝืดของป้อมปืนไป ข้างหน้าเสียก่อนจึงจะทำการหมุนป้อมปืนด้วยมือได้ เมื่อต้องการหมุนป้อมปืนไปทางขวาให้หมุน ตามเข็ม นาฬิกา วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (รถเกราะ V-150)

- 112 - 4.3 การใช้ป้อมปืนของพลยิงด้วยกำลงั คันบังคับการใช้ป้อมปืนด้วยกำลังของพลยิง ติดต้ังอยู่ทางด้านหน้าของพลยิง ท่ีคันบังคับน้ีจะมี ส่วนประกอบอยู่ - สวิตช์ลั่นไกด้วยไฟฟ้า ติดตั้งอยู่ด้านบนสุดของคันบังคับการหมุนป้อมปืนด้วยกำลังทั้งสองข้าง ตัว สวติ ช์ทาสีแดง - สวติ ชป์ ลดแผ่นความฝืดของป้อมปืน ติดต้ังอยู่ทางด้านล่างสุดของคันบังคับการหมนุ ป้อมปืนดว้ ยกำลัง 4.4 การใช้ 1. เปิด MASTER SWITCH \" ON \" 2. เปดิ สวติ ชค์ วบคุมวงจรบงั คบั ปอ้ มปืนด้วยกำลัง \" ON \" ทีห่ บี ควบคมุ การยิง 3. บบี สวิตช์ปลดแผ่นความฝืดของปอ้ มปนื ท้งั สองข้าง 4. ใช้คนั บงั คบั การใช้ปอ้ มปืนตามความต้องการ - เมือ่ ตอ้ งการหมุนป้อมปืนไปทางขวา ใหก้ ดคันบังคับการหมุนปอ้ มปนื ไปตามเขม็ นาฬิกา - เมือ่ ตอ้ งการหมนุ ป้อมปืนไปทางซ้าย ให้กดคันบังคับการหมนุ ป้อมปืนไปทวนเขม็ นาฬิกา หมายเหตุ 1. ในขณะท่ีหมุนป้อมปนื อยสู่ ามารถยกปนื ใหส้ งู ขึ้น หรือกดปืนใหต้ ำ่ ลงไดด้ ว้ ย 2. กดสวิตชล์ นั่ ไก เมื่อต้องการยงิ อาวธุ ทต่ี ้องการที่จะทำการยิง 3. เพื่อลดการสึกหรอที่จะเกิดขึ้นโดยไม่จำเป็น หรือป้องกันมิให้กลอนยึดป้อมปืนชำรุดเสียหาย ห้ามมิให้ปล่อยสวิตช์ปลดแผ่นความฝืดของป้อมปืนในขณะท่ีกำลังหมุนป้อมปืนอยู่ จะปล่อยสวิตช์ปลดแผ่น ความฝดื ของปอ้ มปืนได้ตอ่ เมื่อคันบังคบั การใช้ป้อมปนื ด้วยกำลังอยู่ในตำแหนง่ ปกติแล้วเท่านั้น 4.5 การใช้ปอ้ มปืนของ ผบ.รถ ผบ.รถ รถเกราะ V-150 สามารถหมุนป้อมปืนได้ด้วยกำลังเพียงอย่างเดียวเท่านั้น เมื่อ ผบ.รถ บีบ สวิตช์ปลดแผ่นความฝืดแล้วสามารถท่ีจะตัดการบังคับป้อมปืนด้วยกำลังของพลยิงได้ คันบังคับการหมุนป้อม ด้วยกำลังของ ผบ.รถ ติดตั้งอยู่ทางด้านหน้าของ ผบ.รถ มีลักษณะ และส่วนประกอบเหมือนกับของ พลยิง ทุกประการ 4.6 ระบบการขับเคลอื่ นป้อมปนื ของรถเกราะ V-150 ขับเคล่อื นปอ้ มปืนด้วยน้ำมันไฮดรอลิค และไนโตรเจนแหง้ - ความจุของนำ้ มนั ไฮดรอลิค 2 1/2 ควอ๊ ต - นำ้ มันทใี่ ช้ คือ น้ำมัน OH ( MIL-H-6083 ) - อา่ งนำ้ มันเปน็ รปู ส่เี หลี่ยมอย่ทู ี่กระเชา้ ของป้อมปืน - ความดนั ของไนโตรเจนอย่รู ะหว่าง 1900 ± 50 ปอนด์/ตร.นิ้ว มอเตอรจ์ ะเริ่มทำงาน - หมอ้ ตนุ กำลังหลัก ประจุไนโตรเจนแห้ง 1350 ± 50 ปอนด/์ ตร.น้วิ - หมอ้ ตุนกำลงั เครื่องให้ทางสูงดว้ ยมอื ประจไุ นโตรเจนแหง้ 100 ± 25 ปอนด์/ตร.น้วิ - หมอ้ ตุนกำลงั ถว่ งสมดุลยป์ ืน ประจไุ นโตรเจนแหง้ 300 ± 50 ปอนด/์ ตร.นิว้ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (รถเกราะ V-150)

- 113 - - ความดันของไนโตรเจนสงู 2200 ± 75 ปอนด/์ ตร.นิว้ มอเตอร์จะหยดุ ทำงาน - ความดันสูงถงึ 2425 ± 75 ปอนด/์ ตร.น้วิ ล้ินน้ำมนั กันความดันเกิน (Relief Valve) จะเปิด คำเตือน 1. ก่อนใชป้ อ้ มปืน ต้องเตือนพลประจำรถให้ทราบว่าจะใชป้ ้อมปนื ทุกคร้ัง 2. ตรวจดคู วามดันของไนโตรเจนว่าเพยี งพอหรือไมโ่ ดยเปดิ สวติ ช์ท่ีหม้อตนุ กำลังที่กระเช้า ปอ้ มปืน ถ้าน้ำมนั ไม่พอปม๊ั จะทำงาน 3. เปิดสวติ ช์ควบคมุ การหมนุ ป้อมปนื ด้วยกำลงั ทีแ่ ผงคันบงั คับการยงิ ของพลยงิ 4. บบี สวติ ช์ปลดแผ่นความฝดื ของปอ้ มปืนทุกคร้งั ทีใ่ ช้ 5. หมนุ ปอ้ มปืนตามความต้องการ 6. ในกรณีท่กี ดปากลำกล้องปืนลงตำ่ สดุ และหมนุ ปอ้ มปนื ด้วยกำลัง จะต้องตั้งสวติ ชป์ อ้ งกนั ปืน กระแทกท่แี ผงควบคุมการใชป้ อ้ มปืนไวท้ ตี่ ำแหน่งใชง้ าน เพอื่ ป้องกันปนื ใหญ่กระแทกกบั สว่ น ทา้ ยของห้องเคร่อื งยนต์ 5. เครอื่ งควบคุมการยิงเล็งตรงรถเกราะ V-150 5.1 กล่าวนำ เครื่องควบคุมการยิงเล็งตรงของรถเกราะ V-150 คือกล้องตรวจการณ์ของพลยิง ใช้เล็งที่ หมายให้กับปืนใหญ่ขนาด 90 มม. และปืนกลร่วมแกนขนาด 7.62 มม. (MG3) เป็นกล้องแบบตาเรือ มีระบบ ขยาย 1 เท่า และ 8 เท่า ในกลอ้ งเดียวกนั 5.2 ลกั ษณะ กล้องประกอบไปดว้ ยสว่ นใหญ่ ๆ 2 ส่วน คอื .- 1. หวั กลอ้ ง 2. ตวั กลอ้ ง หวั กล้อง ประกอบด้วย - กลอ้ งตรวจการณ์ระบบขยาย 8 เทา่ และ 1 เท่า - ร่องเสียบเครื่องให้แสงสว่างกล้องเล็ง M50 ให้แสงสว่างมาตราประจำแก้วของกล้องเล็ง ระบบ ขยาย 8 เท่า โดยใช้ไฟจากแบตเตอร่ีแห้ง 3 โวลต์ (หม่ันตรวจเสมอหากไม่ใช้ให้ถอดถ่านออกเก็บทันทีและอย่า ปล่อยท้งิ ไว้ในกระบอกเด็ดขาด ) มปี มุ่ เรง่ ความเขม้ ของแสงท่หี ัวกระบอก - กล้องตรวจการณ์ขยาย 1 เท่า มีช่องมองเป็นรูปสี่เหล่ียมผืนผ้า มีย่านการเห็นกว้างมีจุดเล็งเป็น วงกลมสีแดง ใช้สำหรบั ตรวจการณ์เพ่ือหาเป้าหมายครั้งแรก เมื่อได้เป้าหมายทางทิศและทางสูงให้ก่ึงกลางของ วงกลมทาบทบั เป้าหมาย เมือ่ มองในระบบ 8 เท่า กจ็ ะเหน็ เป้าหมายทนั ที - กล้องเล็งของพลยิงระบบขยาย 8 เท่า สามารถปรับเลนส์ตาได้ตามความต้องการ ของพลยิง จะมี หมายเลขบอกไว้ +1, +2, +3 และ -1, -2, -3 เพอ่ื ปรับให้เขา้ กบั ตาของแต่ละบุคคลภายในมีมาตราประจำแก้ว - ป่มุ ปรบั มาตราทางสูง (ระยะ) กอ่ นจะหมุนปุ่มปรับนี้ต้องปลดกลอนยดึ เสยี ก่อนทกุ ครั้ง - ป่มุ ปรับมาตราทางทศิ เหมือนกบั ปุม่ ปรบั มาตราทางสงู มกี ลอนยึดเช่นเดยี วกัน วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (รถเกราะ V-150)

- 114 - - มีปุ่มสีเหลือง 3 ตัว สำหรับอัดไนโตรเจนแห้ง อัดด้วยความดัน 7 ปอนด์/ตร.น้ิว เพ่ือไล่ความช้ืนใน กล้องทกุ ๆ 10 วนั จะมีการตรวจแกส๊ ไนโตรเจน สำหรบั ประเทศไทยควรตรวจทกุ ๆ เดือน - ก้านโยงกล้องจะมีนอ๊ ตอยู่ 2 ตวั สำหรับคลายเพ่ือปรับนอ๊ ตตวั กลางให้กล้องขยับได้เพื่อใช้ปรับจดุ สี แดงวงกลมของกลอ้ งตรวจการณร์ ะบบขยาย 1 เท่า ใหเ้ ขา้ ทห่ี มาย - มนี อ๊ ตอยทู่ ่เี พดานป้อมดา้ นขวา สำหรบั ปรบั กลอ้ งทางทศิ มาตราประจำแกว้ มาตราประจำแก้วของกล้องเล็งระบบขยาย 8 เท่านั้น ภายในมีมาตราระยะยิงแบ่งกระสุน อยู่ 3 ชนิด คือ กระสนุ ระเบดิ กะเทาะเกราะ (HESH), กระสนุ ระเบดิ ต่อสู้รถถงั (HEAT) และ กระสนุ ระเบิด (HE) HESH HEAT HE 50 40 30 20 10 0 10 20 30 40 50 4 42 86 8 12 10 10 12 16 14 20 14 16 24 18 26 6. เครื่องยิงลูกระเบิดขนาด 76 มม.รถเกราะ วี-150 22 6.1 กล่าวนำ เคร่ืองยิงลูกระเบิดขนาด 76 มม.รถเกราะ วี-150 ติดต้ังอยู่ข้างป้อมด้านหน้าท้ังสองข้าง เปน็ เครื่องยิงลูกระเบิดควันและสังหาร ผู้ทีท่ ำการยิงเครื่องยิงนี้คอื ผบ.รถ ซ่ึงมีแผงบังคบั การยิงติดต้ังอยภู่ ายใน ป้อมด้านซ้ายมอื วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (รถเกราะ V-150)

- 115 - 6.2 คุณลกั ษณะ เป็นลำกลอ้ งขนาด 76 มม.สองแถว แถวบน 3 ลำกลอ้ ง แถวลา่ ง 3 ลำกล้อง หน่งึ ชุดจะมี 6 ลำกลอ้ ง สองขา้ ง 12 ลำกล้อง แถวบน ทง้ั สองขา้ งเป็นลำกล้องยงิ ลกู ระเบิดควัน สว่ นแถวลา่ งเปน็ ลำกล้อง ยิงลูกระเบดิ สังหาร ลูกระเบิดควันสามารถบรรจุยงิ จาก ลำกล้องยิงสงั หารได้ แตล่ ูกระเบิดสังหารบรรจุยงิ จากลำกล้องยงิ ควนั ไมไ่ ด้ 6.3 ระยะยงิ ของลูกระเบดิ ยงิ ควันและสังหาร 1. ระเบิดควัน ยงิ ไกลสดุ 50 เมตร ระเบิดเหนือพื้นดนิ 5-8 เมตร 2. ระเบดิ สงั หาร ยงิ ไกลสุด 40 เมตร ระเบดิ เหนือพน้ื ดนิ 12 เมตร 6.4 แผงบังคบั วงจรการยิงลูกระเบิด 1. สวติ ชค์ วบคุมวงจรการยงิ ลูกระเบดิ 2. หลอดไฟเตือนควบคุมวงจรการยิง 3. สวิตช์เลอื กการยิงลูกระเบดิ ซา้ ย-ขวา 4. สวติ ชล์ ่ันไกเคร่อื งยงิ ลกู ระเบดิ ซา้ ย- ขวา 5. สวติ ช์ตดั ตอ่ วงจรอัตโนมัติ 6.5 การใช้ 1. ผลักสวิตชค์ วบคุมไปตำแหนง่ เปิด \"ON\" หลอดไฟเตอื นวงจรการยิงจะตดิ (สแี ดง) 2. ผลกั สวิตช์เลือกท่อยิงตามความต้องการ 3. กดสวติ ชล์ น่ั ไก จะกดท่ลี ะขา้ งหรือพร้อมกนั ทง้ั สองขา้ งก็ได้ 4. สวิตช์ตดั ตอ่ วงจร เมือ่ จะต่อวงจรให้กดสวิตชอ์ นั ท่ี 6.6 การเลือกเครอ่ื งยิงลูกระเบดิ คำเตือน - กอ่ นบรรจุลกู ระเบดิ ยงิ ใหป้ ิดสวิตชค์ วบคมุ ท่ีแผงบงั คับการยงิ - บรรจุลูกระเบิดยิงจากดา้ นนอกมายังด้านใน จากดา้ นหน้ารถมายงั ด้านหลังรถ - ก่อนยิงลกู ระเบิดยิง ตอ้ งปดิ ช่องทางเข้า-ออกทุกช่องทาง - หากต้องการยิงลูกระเบดิ ควนั พร้อมกันทงั้ 12 ทอ่ ยงิ ใหผ้ ลักสวิตช์เลอื กการยงิ ไว้ทีเ่ ลข 3 ท้งั สอง สวติ ช์ แล้วกดสวติ ชล์ ั่นไกทง้ั สองพร้อมกัน - เมื่อทำการยงิ ฯ แลว้ ลูกระเบิดไม่ลน่ั ออกไป ต้องรออยา่ งน้อย 5 นาที จึงทำการเลิกบรรจุนัด นนั้ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (รถเกราะ V-150)

- 116 - 6.7 การทำความสะอาดทอ่ ยิงลกู ระเบดิ ภายหลงั การยิง ลำกลอ้ ง - ใช้แปรงชบุ นำ้ มันโซลเว้น แปรงให้ทว่ั ลำกลอ้ งด้านใน แล้วใชผ้ ้าเช็ดให้แห้ง - ใชน้ ้ำมนั หล่อล่นื ปอ้ งกนั สนมิ VV-L 800 ทาชะโลมลำกล้องให้ท่วั - ทำติดต่อกนั 3 วัน - ถ้าไมไ่ ด้ทำการยิง ให้ทำความสะอาดและหล่อลน่ื ทกุ สัปดาห์ - หลังจากยงิ ไปแลว้ ให้ทำความสะอาดทนั ทเี มอ่ื ถงึ หนว่ ย 7. การหล่อลื่นปอ้ มปืนรถเกราะ V-150 7.1 กล่าวนำ แผนการหล่อลื่นได้กลา่ วถึงรายละเอียด และวิธีปฏิบตั ิในการหลอ่ ลืน่ จดุ ที่ต้องทำการหล่อลื่น ระยะเวลา และวัสดุท่ีใช้ในการหล่อล่ืนจุดต่าง ๆ อย่างถูกต้อง เมื่อใช้งานครบ 1,000 ไมล์ หรือ 1,600 กม. หรือทุก ๆ 1 เดือน หรือเม่ือเห็นว่าจำเป็นจะต้องทำการหล่อล่ืนจุดต่าง ๆ ท่ีกำหนดโดยท่ัวไป เพ่ือลดการสึก หรอของยทุ โธปกรณต์ า่ ง ๆ 7.2 ชนิดน้ำมนั หล่อล่ืน 1. ไขข้นสำหรับใช้กับปืนใหญ่ ( GAA ) เป็นไขข้นที่มีคุณภาพดี ใช้แบบเอนกประสงค์ตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-G-10924 2. น้ำมันหล่อล่ืนและป้องกันสนิม (PL) เป็นน้ำมันหล่อล่ืนใช้ทั่วไปตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-L- 3150 ใช้หลอ่ ลื่นจุดต่าง ๆ อาจใชน้ ำ้ มนั หลอ่ ล่ืนเคร่ืองยนต์เกรด 30 (OE-30) ทดแทนได้ แตจ่ ะต้องได้มาตรฐาน ของสถาบนั กำหนดมาตรฐานสหรฐั ฯ หมายเลข CC-MIL-2104 ใช้เติม 3. น้ำมันไฮดรอลิค แบบใช้งานท่ัวไป (OH) มาตรฐานหมายเลข MIL-H-6083 ใช้เติมอ่างน้ำมันเคร่ือง หมุนป้อมปืน 4. VV-L800 เปน็ น้ำมนั หล่อลน่ื ป้องกนั สนิมและกดั กร่อน ใช้หลอ่ ลนื่ ท่อยิงเคร่ืองยิงลกู ระเบดิ 7.3 ตารางการหลอ่ ลน่ื 1. ลกู ปนื ดุมรบั ปืน ใชไ้ ขขน้ GAA อัดโดยทำความสะอาดเสียกอ่ นแล้วอัดไขข้น ระยะเวลาในการอดั ประจำปี 2. เฟืองขับป้อมปืน ใช้ไขข้น GAA อัด ทำความสะอาดฟันเฟืองแล้วทาด้วยไขข้นโดยรอบ กระทำทุก ระยะ 6 เดือน 3. เคร่อื งลั่นไกด้วยเท้า ทาไขข้น GAA ตามส่วนเคลือ่ นท่ีต่าง ๆ กระทำทุกรอบเดือน 4. อ่างเก็บน้ำมันหมุนป้อม ใช้น้ำมัน OH (MIL-H-6083) ทำการตรวจระดับน้ำมันทุกวัน เปล่ียนไส้ กรองทุกระยะ 1 ปี ถ่ายและเปลี่ยนน้ำมันเมื่อใชง้ านครบ 1 ปี 5. ลูกปืนรองรับเฟอื งวงแหวนปอ้ มปนื ใชไ้ ขข้น GAA อัดทุกเดอื น 6. เฟอื งวงแหวนป้อมปืน ใชไ้ ขข้น GAA ทำความสะอาดและทาด้วยไขขน้ โดยรอบประจำ 6 เดือน หมายเหตุ - การตรวจระดบั น้ำมนั ในอ่างเกบ็ น้ำมัน เม่ือจัดสวติ ช์อยู่ในตำแหนง่ OFF ไม่จำเปน็ ต้องปิดสวติ ช์ ควบคุมวงจรประจำปอ้ มปืน - - - - - - - - - - - - ---------------------------- - - - - - - - - - - - - วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (รถเกราะ V-150)

- 117 - การปรบั เสน้ เล็งและการปรับทางปืน 1. กล่าวนำ การปรับเส้นเล็งของระบบอาวุธประจำรถถัง คือ การจัดให้เส้นแกนหลอดลำกล้องปืนใหญ่, ปืน กลร่วมแกน, เสน้ เล็งของกลอ้ งเลง็ และเครือ่ งควบคุมการยิงต่าง ๆ ทับบนจดุ เลง็ เดยี วกนั ตามระยะทกี่ ำหนด 2. วธิ ีการปรบั เส้นเล็ง กระทำได้ 2 วธิ ี คือ. 1) การปรับเส้นเล็งระยะไกล (ในสนาม) 2) การปรบั เส้นเลง็ โดยใชเ้ ปา้ สอบเสน้ เล็ง 3. การปฏิบตั ิ 1) จอดรถบนพืน้ ทรี่ าบเรียบ 2) การปรับเสน้ เลง็ ปนื ใหญใ่ ห้นำกากบาทท่ีปากลำกลอ้ งปนื ใหญ่ทบั บนจดุ เลง็ (ขอบบนซ้ายของเป้าหมาย) 3) การปรับกลอ้ งเลง็ หลักให้นำกากบาทของกลอ้ งเลง็ ทบั บนจุดเลง็ ของปืนใหญ่ (ขอบบนซา้ ยของเป้าหมาย) 4) การปรับกล้องเล็งรอง (ถ้ามี) ให้นำกากบาทของกล้องเล็งทับบนจุดเล็งของปืนใหญ่ (ขอบบนซ้ายของ เปา้ หมาย) 4. การปรับเส้นเลง็ และการปรับทางปนื 4.1 ถ.M41 - การปรับเส้นเลง็ และการปรบั ทางปนื ของปนื ใหญ่และ ปก.ร่วมแกนในสนามใชร้ ะยะ 1,500 หลา - การปรบั เส้นเลง็ โดยใชเ้ ป้าสอบเส้นเลง็ ใช้ระยะ 80 - 120 ฟุต 4.2 ถ. M48A5 - การปรบั เส้นเลง็ และการปรบั ทางปนื ของปนื ใหญ่ในสนามใช้ระยะ 1,200 เมตร - การปรบั เสน้ เล็งของ ปก.รว่ มแกน ใช้ระยะ 1,200 เมตร - การปรบั ทางปืนของ ปก.รว่ มแกน ใช้ระยะ 800 เมตร 4.3 ถ.M60A1 - การปรบั เส้นเล็งและการปรบั ทางปืนของปืนใหญ่ในสนามใชร้ ะยะ 1,200 เมตร - การปรับเส้นเล็งของ ปก.ร่วมแกน ใช้ระยะ 1,200 เมตร - การปรับทางปนื ของ ปก.ร่วมแกน ใชร้ ะยะ 800 เมตร - การปรบั เสน้ เล็งและการปรบั ทางปนื ปก.ประจำป้อม ผบ.รถ M 85 ใชร้ ะยะ 500 เมตร 4.4 ถ.M60A3 - การปรับเส้นเล็งและการปรบั ทางปนื ของปืนใหญ่ในสนามใช้ระยะ 1,200 เมตร - การปรบั เส้นเลง็ ของ ปก.รว่ มแกน ใช้ระยะ 1,200 เมตร - การปรบั ทางปนื ของ ปก.ร่วมแกน ใชร้ ะยะ 800 เมตร - การปรบั เสน้ เลง็ และการปรบั ทางปนื ปก.ประจำป้อม ผบ.รถ M 85 ใช้ระยะ 500 เมตร การปรับเส้นเลง็

- 118 - 4.5 ถ.เบา 21 (Scorpion) - การปรับเส้นเล็งและการปรบั ทางปนื ของปืน ใหญ่และ ปก.ร่วมแกน ในสนามใชร้ ะยะ 600 เมตร 4.6 ถ.เบา 32 สตงิ เรย์ - การปรับเส้นเล็งและการปรับทางปืนของปืน ใหญ่ และ ปก.ร่วมแกน ในสนามใช้ระยะ 1,100 เมตร - การปรบั เส้นเล็งโดยใชเ้ ปา้ สอบเส้นเล็ง ใช้ ระยะ 50 เมตร 4.7 ถ.30 (T 69-2 ) - การปรบั เสน้ เล็งปืนใหญใ่ นสนาม ใช้ระยะ 1,200 เมตร - การปรับเส้นเล็งโดยใช้เปา้ สอบเส้นเลง็ ใช้ ระยะ 50 เมตร 4.8 รถเกราะคอมมานโด V-150 - การปรบั เสน้ เล็งและการปรับทางปืนของปนื ใหญ่ และ ปก.รว่ มแกนในสนาม ใชร้ ะยะ 1,000 เมตร - การปรบั เส้นเล็งโดยใช้เปา้ สอบเส้นเลง็ ใช้ระยะ 50 เมตร - - - - - - - - - - ----------------------- - - - - - - - - - - การปรับเสน้ เลง็


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook