Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๒

วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๒

Published by qacavalry, 2021-10-18 08:55:24

Description: วิชาผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง เล่ม ๒
รหัสวิชา ๐๑๐๒๒๙๐๗๐๒
หลักสูตร ผู้เชี่ยวชาญการใช้อาวุธรถถัง
แผนกวิชาอาวุธ กศ.รร.ม.ศม.

Search

Read the Text Version

- 47 - 7.62mm M13 links ( OPEN LOOP ) - - - - - - - - - - ----------------------------------- - - - - - - - - - - ปก.M60 D

- 48 - ปืนกล M 240 ขนาด 7.62 มม. หลักฐาน TM 9-1005-313-10 ลง 19 JULY 1996 1. คณุ ลักษณะ - ทำงานดว้ ยแกส๊ - ป้อนกระสุนดว้ ยสายกระสุน - ระบายความร้อนด้วยอากาศ - ยิงแบบอตั โนมัติ - ลน่ั ไกด้วยมือ หรอื ดว้ ยไฟฟา้ - เปลีย่ นลำกล้องได้รวดเร็ว - ระยะหนา้ ลกู เล่ือนแบบตายตัว (ไม่มีการปรับ) ปจั จุบนั ปก. M240 มีอยู่ 5 แบบ คือ 1) ปก.M240 ป้อนกระสุนทางด้านซ้าย ใช้ประจำการใน ทบ.ไทย สำหรับเหล่า ม. ใช้ติดตั้งเป็น ปก.ร่วมแกน ประจำ ถ.M48A5/ ถ.M60A1/ ถ.M60A3 ส่วน ถ.เบา 32 ติดต้ัง ปก.ร่วมแกน M240 T ซึ่งแตกต่างจาก ปก.M240 เกี่ยวกับการติดต้ังเคร่ืองแม่เหล็กล่ันไกด้วยไฟฟ้า (SOLENOID) ปก.M240 SOLENOID อยู่ท่ีฐาน ติดตั้งปืน, ปก.M240 T SOLENOID อยูท่ ีต่ ัวปืน 2) ปก.M240 B ป้อนกระสุนทางดา้ นซ้าย ออกแบบใหต้ ้ังยิงบนขาหย่ัง, ขาทราย และมศี นู ย์หน้า ปก.M240 B และศนู ย์หลัง ใช้ในการยิงสนบั สนุนโดยหน่วยทหารทางภาคพน้ื ดิน 3) ปก.M240 C ปอ้ นกระสนุ ทางดา้ นขวา ใชต้ ิดตั้งบนยานเกราะขนาดเบา ปก.M240 C 4) ปก.M240 E1 ปอ้ นกระสนุ ทางด้านซ้าย มศี ูนย์หน้าและศนู ยห์ ลัง เครอื่ งลั่นไกคลา้ ยกบั ปก.M60 D ใชต้ ดิ ตง้ั บนยานเกราะขนาดเบา ปก.M240 E1 5) ปก.M240 G ใช้ติดตั้งบน รยบ.ฮมั วี่ คณุ ลักษณะเหมือนกบั ปก.M240 B ซ่งึ ปจั จบุ นั ทบ.ไทยได้จดั หามาทดแทน ปก.M60 ปก.M240 G 2. การปรับกรวยจัดแก๊ส (เป็นปืนกลท่ีได้รับการออกแบบให้สามารถปรับให้มีอัตราเร็วในการยิงคงที่ภายใต้ สภาพส่งิ แวดลอ้ มที่แตกตา่ งกนั ) รูท่ี 1 ประมาณ 650 นดั /นาที รูท่ี 2 ประมาณ 750 นัด/นาที รูท่ี 3 ประมาณ 950 นัด/นาที สภาพปกติให้ปรับกรวยจัดแก๊สไว้ที่รูท่ี 1 เม่ือยิงไปแล้วปืนเกิดการติดขัดขึ้นเน่ืองจากมีคราบคาร์บอน หรอื ฝนุ่ , ทราย ให้ปรับมาไว้ทร่ี ูที่ 2 หรือ 3 ตามลำดับ แต่เม่ือจบการยิงหลังจากทำความสะอาดแล้วให้ปรับมา ไวท้ ีร่ ูที่ 1 ตามปกติ - การยิงเปา้ หมาย ยิงเปน็ ชดุ ๆ ละ 20 - 30 นัด - ระยะยงิ หวงั ผล 900 เมตร (ดินส่องวถิ ีเผาไหมห้ มด) - ระยะยิงในการปรบั ทางปนื 800 เมตร ปก.M240

- 49 - - ระยะยงิ ไกลสุด 3,725 เมตร - นำ้ หนกั ปนื รวม 22.2 ปอนด์ (10.3 กก.) 3. การตรวจความปลอดภัยของปืน - มัน่ ใจวา่ ห้ามไก อยูใ่ นตำแหนง่ \" F \" - ข้นึ นก โดยการดงึ คนั ร้ังลูกเลือ่ นมาข้างหลงั - จัดให้ห้ามไก อยใู่ นตำแหน่ง \" S \" - เปดิ ฝาปดิ หอ้ งลกู เลื่อน - ถ้ามีกระสนุ ใหน้ ำออก - ยกเหล็กรองกระสุนข้ึน - ตรวจดู หรอื สมั ผสั ในรงั เพลิง - วางเหลก็ รองกระสนุ ลง - จดั ให้หา้ มไก อยใู่ นตำแหน่ง \" F \" - ค่อย ๆ ปลอ่ ยใหส้ ่วนเคล่อื นทว่ี งิ่ ไปขา้ งหนา้ โดยการดงึ คันรงั้ ลกู เล่ือนช่วย พร้อมกับเหนย่ี วไก - ปดิ ฝาปิดห้องลูกเลื่อน 4. การถอด หมายเหตุ การถอดปืน เน่ืองดว้ ยเหตุผล 5 ประการ คือ ทำความสะอาด, ทำการหลอ่ ลืน่ , ทำการตรวจสภาพ, ทำการเปล่ียนชิ้นสว่ น และ เพอื่ การศกึ ษา การถอดแบบปกติ โดยผู้ใช้ สามารถถอดได้ 8 ชิน้ สว่ นใหญ่ คอื 4.1 ชุดลำกล้อง 4.2 ชุดเรือนเครอื่ งล่ันไก 4.3 ชุดเหลก็ ปิดท้ายห้องลกู เล่ือน 4.4 ชดุ แหนบและแกนแหนบส่งลกู เล่อื น 4.5 ชุดลูกเลอื่ นและกา้ นสูบ 4.6 ชุดฝาปดิ ห้องลกู เล่อื น 4.7 เหล็กรองกระสนุ 4.8 โครงปนื 5. การประกอบ ใหท้ ำกลับกันกบั การถอด 5.1 โครงปืน 5.2 เหล็กรองกระสุน 5.3 ชดุ ฝาปดิ หอ้ งลูกเลื่อน 5.4 ชดุ ลกู เลือ่ นและกา้ นสูบ 5.5 ชุดแหนบและแกนแหนบส่งลกู เลอ่ื น 5.6 ชดุ เหล็กปิดทา้ ยห้องลูกเล่ือน 5.7 ชุดเรือนเครอ่ื งล่นั ไก 5.8 ชดุ ลำกลอ้ ง หมายเหตุ เม่ือประกอบลำกลอ้ ง จะต้องมั่นใจว่าได้ล็อกคันยึดไว้ ระหว่าง 2-7 คลก๊ิ เพ่ือแสดงว่าประกอบ ลำกล้องเขา้ ที่ถูกต้อง ปก.M240

- 50 - 6. การทำงาน 8 ข้ันตอน 6.1 การป้อนกระสนุ การป้อนกระสนุ เป็นการวางกระสุนนัดแรกบนเหลก็ รองกระสุน และใหช้ นกบั เหล็ก หยุดกระสุน พร้อมทจี่ ะบรรจเุ ขา้ รังเพลงิ 6.2 การบรรจกุ ระสุนเขา้ รังเพลงิ การบรรจกุ ระสนุ เข้ารงั เพลิงเปน็ การดันใหก้ ระสุนออกจากสายและผลกั ให้เข้ารงั เพลงิ , ปดิ ท้ายรงั เพลิงไว้ 6.3 การขัดกลอน การขัดกลอน กลอนลกู เล่อื นตกเข้าไปอยดู่ า้ นหน้าของลาดขัดกลอน เป็นการลอ็ กใหล้ กู เลอ่ื นอยู่ด้านหน้า 6.4 การลัน่ กระสนุ การลัน่ กระสุน เขม็ แทงชนวนจะวิ่งไปชนจอกกระทบแตกบนจานทา้ ยปลอกกระสนุ 6.5 การปลดกลอน กลอนลูกเลอ่ื นยกตัวข้ึนจากดา้ นหนา้ ของลาดขดั กลอน 6.6 การรั้งปลอกกระสุน การรง้ั ปลอกกระสุน เปน็ การดงึ ปลอกกระสุนออกจากรังเพลิง 6.7 การคัดปลอกกระสุน การคดั ปลอกกระสุน เปน็ การถอดปลอกกระสุนออกจากโครงปืน 6.8 การขึ้นนก การขึน้ นก กระเดื่องไกขัดกับร่องบากของกา้ นสูบ, ทำให้ก้านสูบและลกู เลื่อนค้างอยู่ข้างหลัง 7. การใช้เคร่ืองมือพเิ ศษ ดู TM 9-1005-313-23, หน้า 2-16 ถึงหน้า 2-35 8. การตรวจสอบการทำงาน - มนั่ ใจว่าห้ามไก อยู่ในตำแหนง่ \" F \" - ขึน้ นก โดยการดึงคันร้งั ลูกเลื่อน, เป็นการลอ็ กให้สว่ นเคล่ือนที่ค้างอยูข่ ้างหลงั - จัดใหห้ า้ มไก อยู่ในตำแหน่ง \" S \" - เหนยี่ วไก (จะต้องเหนย่ี วไกไมไ่ ด้) - จดั ให้หา้ มไก อยใู่ นตำแหน่ง \" F \" - เหน่ียวไก และ ค่อย ๆ ปลอ่ ยใหส้ ว่ นเคลอื่ นที่วิ่งไปข้างหนา้ โดยดึงคันรัง้ ลกู เล่ือนช่วย 9. การระวังรักษาและการทำความสะอาด 9.1 กอ่ นทำการยงิ - ชโลมนำ้ มนั บาง ๆ ส่วนเคลื่อนที่ทั้งหมด ดว้ ยน้ำมัน BREAKFREE (CLP) - เช็ดแห้งรูหลอดลำกล้อง และรังเพลิง ดว้ ยผ้าแหง้ ท่สี ะอาด หมายเหตุ ห้ามชโลมน้ำมนั ช้ินสว่ นท่เี กี่ยวข้องกับแก๊ส เช่น กรวยจดั แกส๊ , ลกู สูบ, หนา้ ลกู เลอ่ื น และ กระบอกสบู เป็นต้น 9.2 หลงั ทำการยิง - ทำความสะอาดพื้นผิวที่มีคราบคาร์บอนท้ังหมด ด้วยน้ำมัน BREAKFREE (CLP) - ทำความสะอาดสว่ นประกอบท้ังหมด ดว้ ยน้ำมัน BREAKFREE (CLP) เช็ดแหง้ และชโลม ดว้ ยน้ำมัน BREAKFREE (CLP) หมายเหตุ หา้ มแช่ชดุ เหล็กปิดท้ายห้องลูกเลอื่ นในของเหลวใด ๆ ปก.M240

- 51 - 10. การแกไ้ ขเหตตุ ิดขดั โดยฉบั พลนั 10.1 ปืนเย็น (ยงิ นอ้ ยกว่า 200 นัด ภายใน 2 นาท)ี - ดึงคันรง้ั ลกู เล่อื นมาขา้ งหลงั เพือ่ ขึน้ นก - ทำการยิง - ถา้ ปนื ไม่ล่นั ให้ทำการตรวจความปลอดภยั และตรวจสภาพปนื 10.2 ปืนร้อน (ยงิ มากกวา่ 200 นัด ภายใน 2 นาท)ี - ดงึ คนั รง้ั ลูกเล่อื นมาข้างหลงั เพือ่ ขึน้ นก - ทำการยงิ - ถา้ ปนื ไม่ลั่น ปล่อยใหป้ ืนช้ีไปยงั เป้าหมาย เป็นเวลา 15 นาที จงึ ถือว่าปืนเย็น และให้ทำการตรวจ ความปลอดภัย เพ่ือตรวจสภาพของปืนต่อไป 11. อตั ราการยิง (RATE OF FIRE) - ยิงตามวงรอบการทำงาน (CYCLE) 650-950 นัด/นาที ปก.ตระกลู M240 ไม่ได้ออกแบบให้ทำการ ยิง ณ ความเร็ว 950 นดั /นาที เพราะจะทำให้ปนื ชำรุดสึกหรอเร็วยง่ิ ขนึ้ โดยเฉพาะลำกล้อง - ยิงตอ่ เน่อื ง (SUSTAINED) 100 นัด/นาที (4-5 วินาทีระหวา่ งชุด) เปล่ยี นลำกลอ้ งทกุ 10 นาที - ยิงเรว็ (RAPID) 200 นดั /นาที (2-3 วนิ าทีระหวา่ งชดุ ) เปลย่ี นลำกลอ้ งทุก 2 นาที - - - - - - - - - - ----------------------- - - - - - - - - - - ( ตารางข้อมูลกระสนุ หน้าถัดไป ) ปก.M240

- 52 - ตารางขอ้ มูล กระสนุ ปืนกล M240 ขนาด 7.62 มม. (TM 43-0001-27 ฉบับ APRIL 1994) ลำดบั ชนิดกระสนุ รหัสสี ความมุง่ หมายในการใช้ 1. กระสุนธรรมดา (BALL) 1.1 M80 หัวไม่ทาสี สงั หารบคุ คล/ทำลายเป้าหมายท่ไี ม่หุ้มเกราะ 1.2 M80 ( OVER HEAD FIRE หัวไม่ทาสี ยงิ ขา้ มศรี ษะหนว่ ยทหารฝ่ายเดยี วกนั APPLICATION ) 2. กระสุนทดสอบความดนั สงู ปลอกกระสนุ สเี งนิ ยงิ ทดสอบอาวธุ ในระหวา่ งการผลติ หรอื การ HIGH PRESSURE TEST ซ่อมบำรุงอาวธุ ( HPT ) M60 3. กระสุนเจาะเกราะ ARMOR PIERCING ( AP ) 3.1 M61 หัวกระสนุ สีดำ สงั หารบคุ คล/ ทำลายยานเกราะขนาดเบาหรือ เป้าหมายทไ่ี มห่ มุ้ เกราะ/ เปา้ หมายคอนกรีต 3.2 M993 มแี ถบสดี ำล้อมรอบหวั มขี ีดความสามารถในการเจาะเกราะ ใช้เป็น กระสนุ (ใช้ประกอบกบั กระสุนมาตรฐาน สำหรบั ปนื ขนาด 7.62 มม. กระสุนส่องวถิ ี M62) 4. กระสุนส่องวถิ ี ( TRACER ) 4.1 M62 หัวกระสุนสีสม้ ตรวจตำบลกระสนุ ตก 4.2 M62 ( OVER HEAD FIRE หวั กระสุนสีแดง ยิงข้ามศรี ษะหน่วยทหารฝา่ ยเดียวกนั MISSION ) 5. กระสนุ ฝึกบรรจุ ( DUMMY ) 5.1 M63 ลอนลกู ฟกู 6 ลอนบน ฝึกบรรจุ/ ตรวจสภาพและทดสอบกลไกอาวธุ ปลอกกระสุน 5.2 M172 กระสนุ ทง้ั นัดสีดำ, ไมม่ ี ทดสอบกลไกและสายกระสุน ปนื กลขนาด ชนวนทา้ ย 7.62 มม. 6. กระสุนสอ่ งวถิ ี ( DIM TRACER ) หัวกระสุนสีเขยี วมแี ถบ ใชก้ ับหน่วยทม่ี ีกล้องเลง็ เวลากลางคืน M276 สีชมพูคาด 7. กระสุนซอ้ มรบ ( BLANK ) M82 ไมม่ ลี กู กระสนุ และคอ ยงิ แทนกระสนุ จริงในการฝึก/ ยิงสลตุ กระสุนสอบสองช้นั 8. กระสนุ หวั เปราะ ( FRANGIBLE ) หัวลูกกระสุนสเี ขยี ว ลกู กระสนุ ออกแบบใหย้ งิ ได้ทลี ะนดั เพอ่ื ใชฝ้ ึก M160 มีแถบสีขาวคาด วิชาหลักยิง * ปก. M240 ใชส้ ายกระสุน M13 ข้อตอ่ สายกระสนุ เปดิ ( OPEN LOOP ) - - - - - - - -------------------------- - - - - - - - ปก.M240

- 53 - ระบบอาวุธป้อมปืนรถถงั M48A5 หลักฐาน คท. 9-2350-258-10, คท.43-0001-28, คำสง่ั การหลอ่ ลนื่ LO 9-2350-258-12 1. การทำความคนุ้ เคยปอ้ มปืน ถ. M48A5 1.1 กลา่ วนำ รถถัง M48 A5 เป็นรถถงั หลัก (MAIN BATTLE TANK) ป้อมปืนสร้างด้วยเหล็กกล้า โดยหล่อเป็น เนอื้ เดียวกนั ออกแบบใหม้ มี ุมลาดสามารถป้องกันอาวธุ ขนาดเล็กและสะเก็ดระเบดิ จากกระสุนปนื ใหญ่ - อาวุธหลัก ปถ.ขนาด 105 มม. M68 1 กระบอก - อาวธุ รอง ปก.ร่วมแกน M240 ขนาด 7.62 มม. 1 กระบอก - อาวธุ ตอ่ สู้อากาศยาน ปก.M60 D ขนาด 7.62 มม. 2 กระบอก - อาวุธป้องกันตนเอง เครอื่ งยิงลกู ระเบิดควนั M239 ขนาด 66 มม. 12 ลำกลอ้ ง 1.2 จำนวนกระสุนทบ่ี รรทุกบนรถ - กระสุนปืนกล ขนาด 7.62 มม. จำนวน 10,000 นดั - กระสุนปืนใหญ่ ขนาด 105 มม. จำนวน 54 นัด - ลูกระเบิดควนั ขนาด 66 มม. จำนวน 24 นดั 1. กระสนุ ทใี่ ชก้ ับปนื ใหญข่ นาด 105 มม. M 68 - กระสนุ เจาะเกราะพิเศษ (APDS/APFSDS) - กระสนุ ระเบดิ พลาสติก (HEP) - กระสนุ ระเบิดต่อสู่รถถัง (HEAT) - กระสุนควัน (WP) - กระสนุ สงั หารบคุ คล (APERS) 2. การเก็บกระสุนปนื ใหญ่ขนาด 105 มม. ภายในป้อมปนื - ราวเตรยี มพร้อม จำนวน 19 นัด - ใตป้ นื ใหญ่ จำนวน 5 นดั - ข้างหลังพลบรรจุ จำนวน 9 นดั - ขวามือพลขบั จำนวน 9 นดั - ซา้ ยมอื พลขับ จำนวน 12 นัด 1.3 การทำงานของหมเู่ คร่ืองล่นั ไก มี 2 ระบบ 1. การทำงานด้วยระบบไฟฟ้า 2. การทำงานด้วยระบบล่ันไกฉุกเฉนิ ดว้ ยมือ (MANUAL FIRING DEVICE) สวติ ช์ล่นั ไก - พลยิง มสี วิตชล์ ่นั ไกทคี่ ันบังคับการใช้ป้อมปนื ดว้ ยกำลังขา้ งละหน่ึงอัน และที่คันหมนุ เคร่อื งให้ ทางสงู ดว้ ยมอื หนึ่งอนั - ผบ.รถ มีสวิตชล์ น่ั ไกอยู่ดา้ นหนา้ คนั บังคบั การใช้ป้อมปนื ดว้ ยกำลงั หน่ึงอัน วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M48A5)

- 54 - 2. ปืนใหญร่ ถถังขนาด 105 มม. M68 2.1 กล่าวนำ ปืนใหญ่รถถัง ขนาด 105 มม. M68 เป็นอาวุธหลักของ ถ. M48A5 2.2 ลกั ษณะมาตราทาน 1. ขนาดกวา้ งปากลำกล้อง 105 มม. (มีเกลยี ว 28 เกลยี ว เวียนขวา) 2. เครอ่ื งปดิ ทา้ ยเป็นแบบลิ่มเล่ือน เปิด-ปิด ในทางด่งิ 3. เครื่องรับแรงถอย เป็นแบบจดุ ศนู ย์กลางรว่ มแกนลำกลอ้ งปนื ใชข้ องเหลวประกอบแหนบ 4. ลั่นไกดว้ ยระบบไฟฟ้าจากแบตเตอร่ีรถ หรือจากเคร่ืองลัน่ ไกฉุกเฉนิ ดว้ ยมือ (ระบบ MAGNETO) 5. ระยะถอยของปนื ใหญ่ 10 – 13 นิ้ว 2.3 ส่วนประกอบของปืนใหญ่ 1. ลำกล้อง 2. โครงเครื่องปิดท้าย 3. เครื่องระบายแกส๊ ตกค้างภายในลำกลอ้ ง หมายเหตุ - อายุการใชง้ านของลำกลอ้ งปนื ใหญ่ทยี่ ังคงมีความแมน่ ยำ ประมาณ 400 EFC ROUNDS (เคร่อื งคำนวณการยงิ M13A4 สามารถชดเชยคา่ ความสึกหรอของลำกล้องปืนใหญ่ได้เพียง 400 EFC ROUNDS) - อายกุ ารใช้งานของลำกลอ้ งปืนใหญ่ ประมาณ 1,000 EFC ROUNDS 3. เคร่อื งรบั แรงถอยปนื ใหญ่ ถ. M48A5 3.1 กล่าวนำ เครือ่ งรับแรงถอยปืนใหญ่ขนาด 105 มม. ถ.M48A5 เปน็ แบบจุดศูนย์กลางร่วมแกน ลำกล้องปืน ใช้ ของเหลวประกอบแหนบ น้ำมันท่ใี ช้ คือ FRH สีเหลอื ง ตดิ ไฟยาก ความจุ 5.5 แกลลอน (รวมนำ้ มนั ใน กระบอกชดเชยด้วย) 3.2 วตั ถุประสงค์ 1. ควบคุมการถอยของปนื ใหญ่ 2. ควบคุมให้ปืนใหญ่กลบั เข้าท่ีอยา่ งถกู ต้อง 3. ลดอาการสน่ั สะเทือน 3.3 การตรวจแถบหมายปริมาณน้ำมนั 1. กอ่ นทำการยงิ 2. ขณะทำการยงิ 3. หลงั จากการยิง หมายเหตุ ถา้ ปนื ไม่ได้ทำการยิง ให้ออกกำลงั ปืนใหญ่ทุก 180 วนั วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M48A5)

- 55 - 4. เครือ่ งควบคุมการใชป้ ้อมปืน 4.1 กล่าวนำ ป้อมปืน ถือว่าเป็นส่วนประกอบที่สำคัญ ของรถถัง ซึ่งพลประจำรถจะต้องรู้ถึงการทำงาน และ วธิ ีการใช้เครือ่ งควบคมุ การใช้ปอ้ มปนื อยา่ งถกู ต้องและถูกวิธี 4.2 คุณลักษณะ เครื่องหมนุ ปอ้ มปนื และเครอื่ งใหท้ าง สูงใช้นำ้ มนั ไฮดรอลคิ FRH ร่วมกัน พลยิง - หมนุ ปอ้ มปนื และให้ทางสูงปืนใหญ่ด้วยกำลัง - ใหท้ างสูงปืนใหญ่ด้วยมือ, หมุนปอ้ มปืนดว้ ยมอื ผบ.รถ - หมุนป้อมปืนและให้ทางสูงปืนใหญ่ด้วยกำลัง มีสวิตช์ ลั่นไก และสวิตช์กระเดื่องนิรภัย (0VERRIDE SWITCH) เม่ือ ผบ. รถ บบี กระเดอ่ื งนิรภัยท่ีคันบังคับการใช้ปอ้ มปนื จะตัดการทำงาน การใช้ป้อมปืนของพลยิงและพลยิงไม่สามารถล่ันไกปืนใหญ่และ ปืนกลร่วมแกนด้วยไฟฟ้าได้ หมายเหตุ การใชป้ อ้ มปืนจะตอ้ งตรวจความดนั ไนโตรเจนให้ ได้ความดนั 525  25 ปอนด์/ตร.นิว้ และระดับน้ำมนั ไฮดรอลคิ ท่ีอา่ งเก็บนำ้ มนั ต้องอย่ทู ่ี FULL หรอื ระหวา่ งขีด FULL และ ขดี ADD โดยการทำ ZERO PRESSURE CHECK ก่อน 5. เครอื่ งควบคุมการยิงเล็งตรง 5.1 เครอ่ื งควบคุมการยิงเลง็ ตรงหลัก ประกอบด้วย. เคร่ืองควบคมุ การยงิ แบบ FCS-10 ระบบเครอื่ งควบคมุ การยงิ แบบ FCS-10 แบง่ ออกเป็นระบบได้ 2 ระบบ ดังน.ี้ - 1. ระบบเครื่องคำนวณ ( Computer System ) 2. ระบบตรวจการณแ์ ละเลง็ ยงิ เปา้ หมาย ( Observation and Aiming ) DIU 1. ระบบเคร่อื งคำนวณ ประกอบดว้ ย. 1.1 หน่วยคำนวณสำหรบั คอมพวิ เตอร์ M13A1 ( Digital Interface Unit ) M13A4 1.2 เครอ่ื งคำนวณขปี นวธิ ี M13A4 (ดดั แปลง) ( Ballistic Computer ) วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M48A5)

- 56 - DCU 1.3 หน่วยแสดงและควบคุมเคร่ืองตรวจวัด มมุ เอยี งของรถถัง ( Display and Control Unit ) 1.4 เครื่องตรวจวดั มมุ เอียงของรถถัง ( Cant Angle Sensor ) 2. ระบบตรวจการณ์และเลง็ ยิงเป้าหมาย ประกอบด้วย 2.1 กลอ้ งเลง็ กลางวันและกล้องเล็งกลางคนื ของพลยงิ แบบ M32 MS (ดัดแปลง) ซง่ึ รวมเอา เครอื่ งวดั ระยะดว้ ยแสงเลเซอร์ และกลอ้ งเลง็ กลางคืน เขา้ ไว้ด้วย มกี ำลงั ขยาย 8 เท่า MIRF M32 MS PNE 2.2 ชุดเลนส์ตาของกลอ้ งวดั ระยะ ORF ( Optical Range Finder Eyepiece ) 2.3 กล้องถา่ ยทอดของ ผบ.รถ ( Commander’s Laser and Optical Relay ) วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M48A5)

- 57 - EBM 2.4 เคร่อื งกลไกปรบั เสน้ เลง็ กลอ้ งเลง็ พลยิง ( Elevation Boresight Mechanism ) 2.5 สวติ ชค์ วบคุมการใชเ้ ครอ่ื งหาระยะดว้ ย แสงเลเซอร์ และวดั ความเร็วเปา้ หมายเคลือ่ นทขี่ อง พลยิง (Gunner’s Laser and Follow-up Switches ) 2.6 สวิตชค์ วบคุมการใชเ้ ครอ่ื งวัดระยะด้วยแสงเลเซอร์ และวัดความเรว็ เปา้ หมายเคลื่อนท่ีของ ผบ.รถ (Commander’s Laser and Follow-up Switches ) 5.2 เคร่ืองควบคุมการยงิ เล็งตรงรอง (พลยงิ ) - กล้องเลง็ M105 D ( M105 D Telescope ) ลักษณะรูปทรงกระบอก มีกำลงั ขยาย 8 เท่า ติดต้งั อยทู่ างดา้ นขวา ของปนื ใหญ่ มีคันเลือกมาตราประจำแก้วสำหรับกระสุน APDS, HEP หรอื HEAT 6. เครอ่ื งควบคุมการยิงเพิ่มเติม 6.1 กล่าวนำ เคร่ืองควบคุมการยิงเพิ่มเติม เป็นเครื่องมือสำหรับจัดเตรียมแผ่นจดระยะในเวลากลางวัน เพื่อให้พลประจำรถสามารถเล็งยิงเป้าหมายด้วยเครื่องควบคุมการยิงเพ่ิมเติมในเวลากลางคืน หรือ ในขณะ ทัศนะวสิ ยั จำกัดได้ 6.2 เครื่องควบคุมการยงิ เพมิ่ เติม ประกอบดว้ ย. 1. เครือ่ งตัง้ มุมยงิ ประณตี บ.1 หรอื บ.1 ป.1 2. เครื่องตัง้ มุมยิง M13B1 (ประจำปืน) 3. เคร่ืองกำหนดมุมทิศ M28A1 7. การหลอ่ ลนื่ ภายในปอ้ มปืน 7.1 กล่าวนำ คำสั่งการหล่อลื่นเป็นเอกสารที่กำหนดวิธีการหล่อล่ืน, จุดที่ต้องการหล่อลื่น, ระยะเวลา และวสั ดุที่ใชใ้ นการหลอ่ ลน่ื อย่างถกู ตอ้ ง วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M48A5)

- 58 - 7.2 ชนดิ ของนำ้ มนั หล่อลื่น 1. GAA ไขข้นสำหรับอัดโครงรถและปืนใหญ่ ใช้แบบอเนกประสงค์ ตามมาตรฐาน หมายเลข MIL- GAA-10924 2. GG ไขข้นแกรไฟท์ชนิดอ่อน ใช้ทาส่วนที่เป็นเกลียวของเคร่ืองระบายแก๊สตกค้าง ตามมาตรฐาน หมายเลข VV-GG-671-D 3. PL (Preservative Lubricating Oil) น้ำมันหลอ่ ล่ืนป้องกันสนมิ ใช้หล่อล่ืนทั่ว ๆ ไป ตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-L-3150 4. RBCC (Rifle Bore Cleaning Compound) CR (Cleaning Rifle Bore) น้ำมันทำความสะอาด ชำระลำกล้องและชำระลา้ งสว่ นที่สัมผสั เขมา่ ดินสง่ กระสุนตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-C-372 5. FRH ( Hydraulic Fluid, Rust-Inhibited, Fire Resistant ) นำ้ มันไฮดรอลิค ชนิดปอ้ งกนั สนมิ และตดิ ไฟยาก สงั เคราะหจ์ ากสารคารบ์ อน ตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-H-46170 ข้อควรระวงั !! อย่าชโลมนำ้ มนั สะพานตอ่ วงจรลน่ั ไก, ฉนวน หรอื เขม็ แทงชนวน - - - - - - - - ------------------------ - - - - - - - - - - - - - - วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M48A5)

- 59 - ระบบอาวธุ ป้อมปื นรถถัง M60A1 หลกั ฐาน ค่มู ือ TM 9-2350-257-10, คาส่ังการหล่อลื่น LO 9-2350-257-12 1. การทาความคุ้นเคยป้อมปื น ถ. M60A1 1.1 กล่าวนา ถ.M60A1 เป็นรถถงั หลกั ป้อมปื นสร้างดว้ ยเหลก็ กลา้ โดยหลอ่ เป็นเน้ือเดียวกนั ออกแบบใหม้ ีมมุ ลาด สามารถป้องกนั อาวธุ ขนาดเลก็ และสะเก็ดระเบิดจากกระสุนปื นใหญ่ - อาวุธหลกั ปถ.ขนาด 105 มม. M68 1 กระบอก - อาวุธรอง ปก.ร่วมแกน M240 ขนาด 7.62 มม. 1 กระบอก - อาวุธต่อสู้อากาศยาน ปก. M85 ขนาด .50 นิ้ว 1 กระบอก - อาวุธป้องกนั ตนเอง เคร่ืองยงิ ลกู ระเบิดควนั M239 ขนาด 66 มม. 12 ลากลอ้ ง 1.2 จานวนกระสุนทีบ่ รรทุกบนรถ - กระสุนปื นกล ขนาด 7.62 มม. จานวน 6,000 นดั - กระสุนปื นกล ขนาด .50 นิ้ว จานวน 900 นดั - กระสุนปื นใหญ่ ขนาด 105 มม. จานวน 63 นดั - ลูกระเบิดขวา้ ง จานวน 8 นดั - ลูกระเบิดควนั ( UK L8A1, RP ) จานวน 24 นดั 1.2.1 กระสุนที่ใชก้ บั ปื นใหญข่ นาด 105 มม. - กระสุนเจาะเกราะพิเศษ (APDS, APFSDS) - กระสุนระเบิดพลาสติก (HEP) - กระสุนระเบิดต่อสู้รถถงั (HEAT) - กระสุนควนั (WP) - กระสุนสงั หารบคุ คล (APERS) 1.2.2 ที่เกบ็ กระสุนปื นใหญข่ นาด 105 มม. ภายในป้อมปื น - ราวเตรียมพร้อม จานวน 13 นดั - ใตป้ ื นใหญ่ จานวน 3 นดั - โพรงทา้ ยป้อมปื น จานวน 21 นดั - ดา้ นซา้ ยตวั รถ จานวน 15 นดั - ดา้ นขวาตวั รถ จานวน 11 นดั วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.M60A1)

- 60 - 1.3 การทางานของเคร่ืองลนั่ ไก มี 2 ระบบ 1. ทางานดว้ ยระบบไฟฟ้าประจารถ 2. ทางานดว้ ยระบบลนั่ ไกฉุกเฉิน ดว้ ยการหมุนเคร่ืองลน่ั ไกฉุกเฉินดว้ ยมือ (MANUAL FIRING DEVICE) ตามเขม็ นาฬิกาอยา่ งเร็ว (ระบบแมก็ นีโต) สวิตชล์ น่ั ไก - พลยงิ มีสวิตชล์ น่ั ไกท่ีคนั บงั คบั การใชป้ ้อมปื นดว้ ยกาลงั ขา้ งละหน่ึงอนั และท่ีเคร่ืองใหท้ างสูง ดว้ ยมือหน่ึงอนั - ผบ.รถ มีสวิตชล์ นั่ ไกอยดู่ า้ นหนา้ คนั บงั คบั การใชป้ ้อมปื นดว้ ยกาลงั หน่ึงอนั 2. ปื นใหญ่รถถังขนาด 105 มม. M68 2.1 กล่าวนา ปื นใหญ่รถถงั ขนาด 105 มม. เป็นอาวุธหลกั ของ ถ. M60A1 2.2 ลกั ษณะมาตราทาน 1. ขนาดกวา้ งปากลากลอ้ ง 105 มม. 2. เครื่องปิ ดทา้ ยเป็นแบบลิ่มเลื่อน เปิ ด-ปิ ด ในทางด่ิง 3. เครื่องรับแรงถอย เป็นแบบจุดศูนยก์ ลางร่วมแกนลากลอ้ งปื น ใชข้ องเหลวประกอบแหนบ 4. ลน่ั ไกดว้ ยระบบไฟฟ้าจากแบตเตอร่ี และ แมก็ นีโต 5. ระยะถอยของปื นใหญ่ - ปกติ 12 นิ้ว - สูงสุด 13.5 นิ้ว 2.3 ส่วนประกอบของปื นใหญ่ 1. ลากลอ้ ง ภายในมีเกลียว 28 เกลียว เวียนขวา 2. โครงเครื่องปิ ดทา้ ย 3. เคร่ืองระบายแก๊สตกคา้ งภายในลากลอ้ ง หมายเหตุ - อายกุ ารใชง้ านของลากลอ้ งปื นใหญ่ ประมาณ 1,000 EFC ROUNDS - อายกุ ารใชง้ านของลากลอ้ งปื นใหญท่ ่ียงั คงมีความแม่นยา ประมาณ 400 EFC ROUNDS (เคร่ืองคานวณการยงิ M13A4 สามารถชดเชยคา่ ความสึกหรอของลากลอ้ งปื นใหญ่ไดเ้ พียง 400 EFC ROUNDS) 3. เคร่ืองรับแรงถอยปื นใหญ่ ถ.M60A1 3.1 กล่าวนา เคร่ืองรับแรงถอยปื นใหญข่ นาด 105 มม. ถ.M60A1 เป็นแบบจุดศนู ยก์ ลางร่วมแกนลากลอ้ งปื น ใชข้ องเหลวประกอบแหนบ น้ามนั ไฮดรอลิคที่ใช้ คือ FRH สีเหลือง ติดไฟยาก ความจุ 5.5 แกลลอน วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.M60A1)

- 61 - 3.2 วตั ถปุ ระสงค์ 1. ควบคุมการถอยของปื นใหญ่ 2. ควบคมุ ใหป้ ื นใหญ่กลบั เขา้ ท่ีอยา่ งถูกตอ้ ง 3. ลดอาการส่ันสะเทือน 3.3 การตรวจแถบหมายปริมาณนา้ มัน เหมือนกบั ปื นใหญ่ ถ. M41A2/A3 1. ก่อนทาการยงิ 2. ขณะทาการยงิ 3. หลงั ทาการยงิ หมายเหตุ ถา้ ปื นไมไ่ ดท้ าการยงิ ใหอ้ อกกาลงั ปื นทุก 180 วนั 4. เคร่ืองควบคมุ การใช้ป้อมปื น 4.1 กล่าวนา ป้อมปื น ถือวา่ เป็นส่วนประกอบที่สาคญั ของรถถงั ซ่ึงพลประจารถจะตอ้ งรู้ถึงการทางาน และวธิ ีการใชเ้ คร่ืองควบคมุ การใชป้ ้อมปื นอยา่ งถูกตอ้ งและถกู วธิ ี 4.2 คณุ ลกั ษณะ เคร่ืองหมุนป้อมปื นและเคร่ืองใหท้ างสูงใชน้ ้ามนั ไฮดรอลิค FRH ร่วมกนั พลยงิ - หมุนป้อมปื นและใหท้ างสูงปื นใหญ่ดว้ ยกาลงั - ใหท้ างสูงปื นใหญด่ ว้ ยมือ, หมนุ ป้อมปื นดว้ ยมือ ผบ.รถ - หมุนป้อมปื นและให้ทางสูงปื นใหญ่ด้วยกาลงั มีสวิตช์ลน่ั ไก และสวิตช์กระเดื่องนิรภยั (0VERRIDE SWITCH) เมื่อ ผบ.รถ บีบกระเดื่องนิรภยั ที่คนั บงั คบั การใช้ป้อมปื น จะตดั การทางานการใช้ ป้อมปื นของพลยงิ และพลยงิ ไม่สามารถลน่ั ไกปื นใหญแ่ ละปื นกลร่วมแกนดว้ ยไฟฟ้าได้ หมายเหตุ การใชป้ ้อมปื นจะตอ้ งตรวจความดนั ไนโตรเจนใหไ้ ดค้ วามดนั 525 ± 25 ปอนด์/ตร.นิ้ว และ ระดบั น้ามนั ไฮดรอลิค ที่อ่างเกบ็ น้ามนั ตอ้ งอยทู่ ่ี FULL หรือระหวา่ งขดี FULL และ ขดี ADD โดยการทา ZERO PRESSURE CHECK ก่อน 5. เคร่ืองรักษาการทรงตัวของปื น ( STABILIZATION ) ระบบรักษาการทรงตวั ของปื น จะประกอบอยใู่ นระบบเคร่ืองใหท้ างสูง และเครื่องหมุนป้อมปื นดว้ ย กาลงั เมื่อเปิ ดใชง้ านระบบน้ีจะรักษาแนวลากลอ้ งปื นใหญ่ใหช้ ้ีไปยงั เป้าหมายตลอดเวลา ตามมมุ ที่ถูกกาหนด และภายในขอบเขตที่จากัดไว้ โดยไม่เกี่ยวขอ้ งกับการเคลื่อนท่ีของรถถงั แต่ปื นใหญ่จะไม่อยู่ในสภาวะ รักษาการทรงตวั เม่ือป้อมปื นอยใู่ นระบบบงั คบั ใชง้ านดว้ ยมือ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.M60A1)

- 62 - 6. เคร่ืองควบคุมการยิงเลง็ ตรง 6.1 เครื่องควบคมุ การยิงเลง็ ตรงหลกั แบบ FCS-10 MS ระบบเคร่ืองควบคุมการยิงแบบ FCS-10 MS เป็ นเคร่ืองควบคุมการยิงปื นใหญ่รถถังท่ีได้รับการ ออกแบบเพือ่ 1. เพม่ิ โอกาสในการยงิ ถูกเป้าหมายจากการยงิ ในนดั แรก 2. ปรับปรุงใหส้ ามารถใชง้ านไดง้ า่ ย 3. ลดเวลาในการเลง็ เป้าหมาย ระบบเครื่องควบคมุ การยงิ แบบ FCS-10 MS ประกอบดว้ ย 1. ระบบคอมพิวเตอร์ FCS-10 MS 2. ระบบตรวจการณ์และเลง็ ยงิ เป้าหมาย 3. ระบบรักษาการทรงตวั ป้อมปื น (ปรับปรุง) 1.ระบบคอมพวิ เตอร์ FCS-10 MS ประกอบดว้ ย 1.1 หน่วยคานวณเชิงตวั เลข (DIU) ประกอบอยบู่ น เคร่ืองคานวณขีปนวธิ ี M13A4 1.2 เครื่องคานวณขปี นวิธี M13A4 (ดดั แปลง) (มีกระสุน HEAT, APERS, HEP, APDS, APFSDS) 1.3 เครื่องตรวจวดั มมุ เอียงของรถถงั (CAS) 1.4 หน่วยแสดงและควบคุมเครื่องตรวจวดั มมุ เอียงของรถถงั (DCU) 2. ระบบตรวจการณ์และเลง็ ยงิ เป้าหมาย ประกอบดว้ ย 2.1 กลอ้ งเลง็ กลางวนั /กลางคนื ของพลยงิ แบบ M32-MS ปรับปรุงรวมท้งั เครื่องวดั ระยะดว้ ยแสงเลเซอร์ และกลอ้ งเลง็ กลางคืน ( Night Elbow ) มีกาลงั ขยาย 8 เท่า 2.2 ชุดเลนส์ตา (ดดั แปลง) กลอ้ งวดั ระยะแบบ M17B1C 2.3 กลอ้ งถา่ ยทอดจากกลอ้ งเลง็ กลางคนื ของพลยงิ ไปยงั ท่ีนงั่ ผบ.รถ 2.4 เครื่องกลไกปรับเสน้ เลง็ กลอ้ งเลง็ พลยงิ ( EBM ) 2.5 สวิทชค์ วบคุมการใชเ้ คร่ืองวดั ระยะดว้ ยแสงเลเซอร์และสวิทชว์ ดั ความเร็วเป้าหมายเคลื่อนท่ีของพลยงิ 2.6 สวทิ ชค์ วบคุมการใชเ้ ครื่องวดั ระยะดว้ ยแสงเลเซอร์และสวิทชว์ ดั ความเร็วเป้าหมายเคล่ือนท่ีของ ผบ.รถ หมายเหตุ ระยะที่วดั ไดด้ ว้ ยแสงเลเซอร์ 300 - 9,990 เมตร ความเที่ยงตรง ± 10 เมตร มีอตั ราเร็วสูงสุดใน การวดั ระยะ 6 วินาที/คร้ัง หรือ 3 คร้ังในเวลา 5 วนิ าที แลว้ พกั 13 วินาที วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.M60A1)

- 63 - มาตราประจาแกว้ ของพลยงิ มาตราประจาแกว้ ของ ผบ.รถ วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.M60A1)

- 64 - 3. ระบบรักษาการทรงตัวป้อมปื น (ปรับปรุง) การปรับปรุงระบบรักษาการทรงตวั ป้อมปื นทาโดยการ เปลี่ยนอิเลกทรอนิกส์โมดุลของเดิม ซ่ึงอยู่ในหน่วยอิเล็กทรอนิกส์ ระบบรักษาการทรงตวั ป้อมปื น ด้วย โมดุลที่ไดร้ ับการพฒั นาข้ึนใหม่ซ่ึงมีความไวในการตอบสนองสัญญาณไฟฟ้าดีกว่าเดิม เป็ นผลให้ระบบ รักษาการทรงตวั ของรถถงั มีขีดความสามารถสูงข้ึนกวา่ เดิม หีบควบคุมการยงิ 1) สวิตชค์ วบคุมการยงิ ปื นกลร่วมแกน (Machine Gun) (ดา้ นขวาของหีบควบคุมการยงิ ) 2) สวติ ชค์ วบคุมการยงิ ปื นใหญ่ (Main Gun) (ดา้ นซา้ ยของหีบควบคุมการยงิ ) 3) สวติ ชค์ วบคมุ การใชป้ ้อมปื น (ELEV/TRAV Power) (ดา้ นลา่ งของหีบควบคุมการยงิ ) หีบควบคุมเครื่องรักษาการทรงตวั ของปื นใหญ่ ระบบเคร่ืองรักษาการทรงตวั ของปื น เป็ นระบบท่ีช่วยให้ปื นใหญ่ช้ีตรงบริเวณเป้าหมายอยู่ตลอดเวลา ถึงแมว้ า่ รถถงั จะเคล่ือนที่ในภมู ิประเทศที่ขรุขระกต็ าม 6.2 เครื่องควบคมุ การยิงเลง็ ตรงรอง กลอ้ งเลง็ M105 D ลกั ษณะรูปทรงกระบอก มีกาลงั ขยาย 8 เท่า ติดต้งั อยู่ด้านขวาของปื นใหญ่ มีคนั เลือกมาตรา ประจาแกว้ สาหรับกระสุน APDS, HEP หรือกระสุน HEAT กลอ้ งเลง็ ยงิ ปื นกล (ป้อม ผบ.รถ) กลอ้ งเลง็ M36 E1 (กลางวนั /กลางคนื ) - กาลงั ขยาย 7 เทา่ - ใชเ้ ลง็ ยงิ ปก.ขนาด .50 นิ้ว บนป้อม 7. เคร่ืองควบคมุ การยิงเพมิ่ เติม 7.1 กล่าวนา เคร่ืองควบคุมการยิงเพ่ิมเติม เป็ นเครื่องมือสาหรับจดั เตรียมแผ่นจดระยะในเวลากลางวนั เพ่ือให้พลประจารถสามารถเล็งยิงเป้าหมายดว้ ยเคร่ืองควบคุมการยิงเพิ่มเติมในเวลากลางคืน หรือในขณะ ทศั นะวสิ ัยจากดั ได้ 7.2 เครื่องควบคมุ การยิงเพ่ิมเตมิ ประกอบดว้ ย. 1. เคร่ืองต้งั มุมยงิ ประณีต บ.1 หรือ บ.1 ป.1 2. เครื่องต้งั มมุ ยงิ M13A3 (ประจาปื น) 3. เคร่ืองกาหนดมมุ ทิศ M28E2 วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.M60A1)

- 65 - 8. เคร่ืองยิงลูกระเบดิ ควนั เครื่องยิงลูกระเบิดควนั M239 ติดต้งั อย่ทู ้งั สองขา้ งของป้อมปื น เป็นควนั ฟอสฟอรัสแดงแตเ่ วลายิง ไปแลว้ ทาปฏิกิริยากบั อากาศจะกลายเป็นควนั ฟอสฟอรัสขาว เพ่อื ทาฉากควนั กาบงั ตนเองในระยะใกล้ และ ในเวลาจากดั ตวั อยา่ ง เช่น ต่อตา้ นการจู่โจมของขา้ ศึกในระยะใกล้ หรือ จะทาการถอนตวั เม่ือถกู ขา้ ศึกกดดนั โดยรถถงั ของขา้ ศึกน้นั จะตอ้ งไม่มีกลอ้ งจบั ภาพดว้ ยรังสีความร้อน (TTS.) เครื่องยิงลูกระเบิดควนั จะทาการ ยงิ จากตาแหน่ง ผบ.รถ (ลูกระเบิดควนั แบบ UK L8A1) 9. การหล่อลื่นภายในป้อมปื น 9.1 กล่าวนา คาส่งั การหลอ่ ล่ืน เป็นเอกสารที่กาหนดวิธีการหล่อลื่น, จุดท่ีตอ้ งการหล่อล่ืน, ระยะเวลา และ วสั ดุที่ใชใ้ นการหลอ่ ลื่นอยา่ งถกู ตอ้ ง 9.2 ชนดิ ของนา้ มันหล่อลื่น 1. GAA ไขขน้ สาหรับอดั โครงรถและปื นใหญ่ ใชแ้ บบเอนกประสงคต์ ามมาตรฐาน หมายเลข MIL- G-10924 2. GG ไขขน้ แกรไฟทช์ นิดอ่อน ใช้ทาส่วนที่เป็ นเกลียวของเครื่องระบายแก๊สตกคา้ ง ตาม มาตรฐาน หมายเลข VV-GG-671-D 3. PL (Preservative Lubrication Oil) น้ามนั หล่อล่ืนป้องกันสนิมใช้หล่อลื่นท่ัวๆ ไป ตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-L-3150 4. RBCC (Rifle Bore Cleaning Compound) CR (Cleaning Rifle Bore) น้ ามันทาความสะอาด ชาระลากลอ้ งและชาระลา้ งส่วนท่ีสัมผสั เขมา่ ดินส่งกระสุน ตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-C-372 5. FRH ( Hydraulic Fluid, Rust-Inhibited, Resistant ) น้ามันไฮดรอลิคชนิดป้องกันสนิม และติดไฟ ยาก สงั เคราะห์จากสารคาร์บอน ตามมาตรฐานหมายเลข MIL-H-4617 ขอ้ ควรระมดั ระวงั !! อยา่ ชโลมน้ามนั ท่ีสะพานต่อวงจรลนั่ ไก, ฉนวน หรือท่ีบริเวณเขม็ แทงชนวน - - - - - - - - - - ------------------- - - - - - - - - - - วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.M60A1)

- 66 - ปื นกล M 85 ขนาด .50 นวิ้ กล่าวนา ปื นกล M 85 ขนาด .50 นิ้ว ติดต้งั เป็นปื นกล ประจาป้อมตรวจการณ์ M19 ของ ผบ.รถ บนรถถงั M60A1/A3 เพ่ือใชย้ งิ ต่อสู้อากาศยาน, หน่วยทหาร และยานยนตไ์ ม่หุ้มเกราะ 1. คุณลกั ษณะ - ทางานดว้ ยแรงถอย - ป้อนกระสุนดว้ ยสายกระสุนได้ 2 ทาง - ระบายความร้อนดว้ ยอากาศ - ยงิ เป็นอตั โนมตั ิ - สามารถยงิ ดว้ ยมือหรือดว้ ยไฟฟ้า - เปลี่ยนลากลอ้ งไดร้ วดเร็ว - มีระยะหนา้ ลูกเล่ือนแบบตายตวั และมีการปรับอตั ราการยงิ มี 2 อตั ราการยงิ 2. ขีดความสามารถ 2.1 อตั ราการยงิ ตามวงรอบการทางาน - อตั ราการยงิ ต่า ( LOW RATE ) ต่าสุด 450 นดั /นาที - อตั ราการยงิ สูง ( HIGH RATE ) ต่าสุด 625 นดั /นาที 2.2 วธิ ีการยงิ ต่อเป้าหมาย - เป้าหมายบนพ้ืนดิน ยงิ เป็นชุด ๆ ละ 10-15 นดั ในตาแหน่งอตั ราการยงิ ต่า ( LOW RATE ) - เป้าหมายบนอากาศ ยงิ ตอ่ เนื่องในตาแหน่ง อตั ราการยงิ สูง ( HIGH RATE ) 2.3 ระยะไหมห้ มดของดินส่องวิถี - กระสุนส่องวถิ ี M20 APIT ประมาณ 1,450 เมตร - กระสุนส่องวถิ ี M17 ประมาณ 2,150 เมตร 2.4 ระยะยงิ ไกลสุด 6,703 เมตร 2.5 น้าหนกั รวมลากลอ้ ง 65 ปอนด์ (29.48 กก.) 2.6 ระยะยงิ หวงั ผลไกลสุด 2,196 เมตร 2.7 ระยะเลง็ ยงิ ตอ่ เป้าหมายทางพ้ืนดิน 2,000 เมตร (กลอ้ งเลง็ M36E1) 3. ระเบียบปฏิบตั ิประจาเกย่ี วกบั ปื นกล M 85 3.1 การตรวจความปลอดภยั ของปื น - ตอ้ งแน่ใจวา่ แผน่ หา้ มไกอยใู่ นตาแหน่งยงิ ( F ) แลว้ ดึงคนั ร้ังลกู เล่ือนมาขา้ งหลงั (ชุดลูกเล่ือนจะตอ้ ง คา้ งอยขู่ า้ งหลงั ) - จดั แผน่ หา้ มไกใหอ้ ยู่ในตาแหน่ง หา้ มไก ( S ) - เปิ ดฝาปิ ดหอ้ งลูกเลื่อน (โดยหมนุ กลอนยดึ ฝาปิ ดหอ้ งลกู เลื่อนข้ึนขา้ งบน) - ถา้ มีกระสุนใหน้ ากระสุนออกจากเหลก็ รองกระสุน ปก.M85

- 67 - - ยกเหลก็ รองกระสุนข้ึน - ตรวจภายในรังเพลิง จะตอ้ งไม่มีกระสุน - วางเหลก็ รองกระสุน - จดั แผ่นหา้ มไกใหอ้ ยู่ในตาแหน่ง ยงิ ( F ) - ดึงคนั ร้ังลูกเล่ือนมาขา้ งหลงั เหน่ียวไกแลว้ ปล่อยลกู เล่ือนกลบั ไปขา้ งหนา้ - ปิ ดฝาปิ ดหอ้ งลูกเล่ือน 3.2 การถอดประกอบแบบปกติ หมายเหตุ - วางชิ้นส่วนตามลาดบั ในการถอด (จากซา้ ยไปขวา) - การถอดปื นกระทาเพ่ือ ทาความสะอาด, หล่อล่ืน, ตรวจสภาพและเปล่ียนชิ้นส่วนที่ชารุด ตลอดจนการศึกษาเกี่ยวกบั ปื นทุกชนิด - ก่อนการถอดปื นทกุ คร้ัง จะตอ้ งตรวจความปลอดภยั ของปื นเสียก่อน (ขอ้ 3.1) - จะตอ้ งแน่ใจวา่ ชุดลกู เล่ือนเคล่ือนท่ีไปขา้ งหนา้ สุด การถอดแบบปกติ สามารถถอดได้ 8 ชิ้นส่วนใหญ่ ๆ ตามลาดบั ดงั น้ี.- 1. ชุดลากลอ้ ง 2. หม่เู คร่ืองปิ ดทา้ ยห้องลกู เล่ือน 3. แหนบและแกนแหนบส่งลกู เลื่อน 4. ชุดเหลก็ ป้อนกระสุนและเหลก็ คดั ปลอกกระสุน 5. กระเดื่องไก 6. ชุดโครงต่อทา้ ยลากลอ้ ง และลกู เลื่อน 7. ชุดฝาปิ ดห้องลูกเล่ือน เหลก็ รองกระสุนและปลอกย้งั การถอย (ACCELERATOR) 8. คนั ร้ังลูกเล่ือน การประกอบ ใหท้ ากลบั กนั กบั การถอด 3.3 การตรวจสอบการทางานของแผ่นหา้ มไก จะตอ้ งตรวจสอบทุกคร้ังหลงั จากท่ีประกอบปื นเรียบร้อยแลว้ โดย 3.3.1 ตรวจสอบวา่ แผ่นหา้ มไกอยใู่ นตาแหน่ง ยงิ ( F ) 3.3.2 ข้ึนนก (ดึงคนั ร้ังลูกเลื่อนมาขา้ งหลงั ) 3.3.3 จดั แผน่ หา้ มไกใหอ้ ยใู่ นตาแหน่ง หา้ มไก ( S ) 3.3.4 เหน่ียวไก (ถา้ ลกู เล่ือนเคลื่อนท่ีไปขา้ งหนา้ แจง้ ใหช้ ่าง ซบร.อาวธุ ฯ ทราบ) 3.3.5 จดั แผน่ หา้ มไกใหอ้ ยใู่ นตาแหน่ง ยงิ ( F ) 3.3.6 เหน่ียวไก (ชุดลูกเล่ือนจะตอ้ งเคล่ือนท่ีไปขา้ งหนา้ โดยไม่ติดขดั ) ปก.M85

- 68 - 3.4 การบรรจุ - จดั หา้ มไกให้อยใู่ นยงิ (F) แลว้ ข้นึ นก - จดั แผน่ หา้ มไกใหอ้ ยใู่ นตาแหน่งหา้ มไก (S) แลว้ เปิ ดฝาปิ ดหอ้ งลกู เลื่อน - ถา้ มีกระสุนใหน้ าออก แลว้ ยกเหลก็ รองกระสุนข้ึน - ตรวจสอบรังเพลิง วางเหลก็ รองกระสุนลง - จดั หา้ มไกให้อยใู่ นตาแหน่ง F แลว้ เหน่ียวไก คอ่ ย ๆ ปลอ่ ยใหส้ ่วนเคล่ือนที่ไปขา้ งหนา้ - วางสายกระสุนลงบนเหลก็ รองกระสุน โดยคว่าใหส้ ายกระสุนดา้ นเปิ ดลงขา้ งลา่ ง แลว้ ปิ ดฝาปิ ดห้อง ลูกเลื่อน 3.5 การแกไ้ ขเหตุติดขดั ทนั ทีทนั ใด หมายเหตุ ปื นกล M 85 ท่ีถือวา่ ปื นร้อน มีสาเหตดุ งั น้ี.- - ยงิ เกินกวา่ 200 นดั ภายใน 2 นาที - ยงิ เป็นชุดตอ่ เนื่องยาว ๆ (อาจจะไม่ถึง 200 นดั /นาที กถ็ ือวา่ ปื นร้อน) - หลงั จากปื นร้อนแลว้ หยดุ พกั ทาการยงิ เป็นเวลานอ้ ยกวา่ 15 นาที ก็ถือวา่ ปื นยงั คงร้อนอยู่ การแกไ้ ขเหตุติดขดั เม่ือปื นยงั เยน็ อยู่ หลงั จากลนั่ กระสุนแลว้ กระสุนไมล่ น่ั ข้นั ตอนที่ 1 - ข้ึนนก - ลนั่ กระสุนใหม่ ข้นั ตอนที่ 2 - ถา้ กระสุนไม่ลน่ั ตรวจความปลอดภยั ของปื น - ตรวจฝาปิ ดหอ้ งลูกเลื่อน (ชิ้นส่วนเก่ียวกบั กลไกในการป้อนกระสุน) - ตรวจชุดแหนบส่งลกู เล่ือน, ตรวจสอบการเคล่ือนท่ีของลกู กระสุนในสายกระสุน - บรรจุกระสุนใหม่ - ลนั่ กระสุน ข้นั ตอนท่ี 3 - ถา้ กระสุนไม่ลนั่ ตรวจความปลอดภยั ของปื น - คน้ หาสาเหตตุ ิดขดั - ถา้ ไม่พบสาเหตุ หรือพบสาเหตกุ ารติดขดั สามารถแกไ้ ขได้ ใหท้ าการบรรจุและทาการยงิ ต่อไป - ถา้ ไมส่ ามารถแกไ้ ขสาเหตกุ ารติดขดั ได้ หรือปื นยงั คงทาการยงิ ไม่ได้ แจง้ ใหช้ ่างซ่อม บารุงอาวุธประจาหน่วยทราบ การแกไ้ ขเหตุติดขดั เมื่อปื นร้อนหลงั จากลนั่ กระสุนแลว้ กระสุนไมล่ น่ั ปฏิบตั ิดงั น้ี. - ข้นึ นก - ลน่ั กระสุน ปก.M85

- 69 - - ถา้ กระสุนไมล่ น่ั หนั ปากลากลอ้ งปื นไปในที่ปลอดภยั คอย 15 นาที หลงั จากน้นั ปฏิบตั ิเหมือนกบั การแกไ้ ขเหตตุ ิดขดั เม่ือปื นยงั เยน็ อยทู่ ้งั 3 ตอน 3.6 การบารุงรักษาและทาความสะอาด หมายเหตุ หา้ มแช่ชุดเหลก็ ปิ ดทา้ ยหอ้ งลูกเลื่อน, ชุดกระเด่ืองไก และชุดลกู เล่ือนในของเหลวใด ๆ 3.6.1 การเตรียมปื นกล M 85 ก่อนทาการยงิ - ทาความสะอาดและเช็ดแหง้ ตลอดจนตรวจสอบชิ้นส่วนประกอบท้งั หมด - ชโลมส่วนเคล่ือนท่ีดว้ ยน้ามนั CLP บาง ๆ 3.6.2 ระหวา่ งทาการยงิ - ถา้ โอกาสอานวยใหค้ วรทาความสะอาด, ตรวจสอบ และชโลมปื นไปดว้ ยโดยเฉพาะฝ่นุ ละอองตา่ ง ๆ ควรจะสนใจเป็นพเิ ศษในการทาความสะอาด ฝาปิ ดหอ้ งลูกเลื่อน ควรจะเปิ ดเป็นระยะเพอ่ื ทาความสะอาด คราบเขม่าตา่ ง ๆ และชโลมน้ามนั ส่วนเคลื่อนที่ดว้ ย 3.6.3 หลงั ทาการยงิ (ทาติดตอ่ กนั 3 วนั ) - ทาความสะอาดคราบเขมา่ ตา่ ง ๆ ดว้ ยน้ามนั RBC หรือ CLP - ถอดปื นและทาความสะอาดชิ้นส่วนดว้ ยน้ามนั SD หรือ CLP - เชด็ แหง้ - ชโลมชิ้นส่วนของปื นดว้ ยน้ามนั PL SPECIAL LAW หรือ CLP หมายเหตุ น้ามนั CLP สามารถใชท้ าความสะอาด และชโลมปื นไดท้ ้งั สองกรณี 4. ส่ิงชี้สอบ ขอ้ ต่อสายกระสุน ปก.M85 (สายเปิ ด) - ชุดลกู เลื่อนตอ้ งอยตู่ าแหน่งหนา้ สุด เม่ือทาการบรรจุ - หา้ มสบั เปล่ียนชุดลกู เล่ือน, โครงต่อทา้ ยลากลอ้ งหรือชุดลากลอ้ ง จากกระบอกหน่ึงไปยงั อีก กระบอกหน่ึง เพราะอาจทาใหร้ ะยะหนา้ ลกู เล่ือนเปล่ียนแปลงไป ทาใหเ้ กิดอนั ตรายเวลาทาการยงิ - หา้ มเปล่ียนอตั ราการยงิ ในขณะทาการยงิ จะทาใหป้ ื นชารุดได้ - จะตอ้ งมนั่ ใจวา่ คนั เลือกอตั ราการยงิ ไดล้ อ็ คไวใ้ นตาแหน่งใดตาแหน่งหน่ึงก่อนทาการยงิ - หา้ มข้ึนนกปื น (ดึงคนั ร้ังลูกเลื่อนมาขา้ งหลงั ) เมื่อหา้ มไกอยใู่ นตาแหน่ง หา้ มไก (S) จะทาใหช้ ุด หา้ มไกชารุด - เมื่อทาการยงิ และปื นร้อนมาก หา้ มเปิ ดฝาปิ ดหอ้ งลูกเล่ือน อาจทาใหก้ ระสุนระเบิดในรังเพลิง ( COOK OFF ) 5. กระสุน ( ดูรายละเอียดในวิชา ปื นกล 93 ) - - - - - - - - - - ----------------------- - - - - - - - - - - - ปก.M85

- 70 - ระบบอาวธุ ป้อมปื นรถถงั M60A3 หลกั ฐาน TM 9-2350-253-10, LO 9-2350-253-12, FM 17-12-3 1. การทาความคุ้นเคยป้อมปื น ถ. M60A3 มาตราทานและขดี ความสามารถ 1. นา้ หนกั - น้าหนกั รถ (พร้อมรบ) 113,200 ปอนด์ ( 56.6 ตนั ) ( 51,392 กก.) 2. ระบบอาวธุ อาวธุ หลกั ปื นใหญข่ นาด 105 มม. M68 1 กระบอก อาวุธรอง ปื นกลร่วมแกน M240 ขนาด 7.62 มม. 1 กระบอก อาวุธตอ่ สู้อากาศยาน ปื นกล M85 ขนาด .50 นิ้ว 1 กระบอก อาวธุ ป้องกนั ตนเอง เคร่ืองยงิ ลูกระเบิดควนั M239 ขนาด 66 มม. 12 ทอ่ ยงิ 3. จานวนกระสุนทบ่ี รรทกุ บนรถ - กระสุนปื นใหญ่ ขนาด 105 มม. 63 นดั - กระสุนปื นกล ขนาด .50 นิ้ว 900 นดั - กระสุนปื นกล ขนาด 7.62 มม. 6,000 นดั - ลูกระเบิดยงิ ควนั ขนาด 66 มม. 24 นดั 2. ปื นใหญ่รถถังขนาด 105 มม. M68 2.1 กล่าวนา ปื นใหญ่รถถงั ขนาด 105 มม. เป็นอาวธุ หลกั ของ ถ.M60A3 2.2 ลกั ษณะมาตราทาน 1. ขนาดกวา้ งปากลากลอ้ ง 105 มม. 2. เคร่ืองปิ ดทา้ ยเป็นแบบลิ่มเลื่อน เปิ ด-ปิ ด ในทางด่ิง 3. เคร่ืองรับแรงถอย เป็นแบบจุดศูนยก์ ลางร่วมแกนลากลอ้ งปื น ใชข้ องเหลวประกอบแหนบ 4. ลน่ั ไกดว้ ยระบบไฟฟ้าจากแบตเตอรี่ และแมก็ นีโต 5. ระยะถอยของปื นใหญ่ ปกติ 12 นิ้ว สูงสุด 13.5 นิ้ว 2.3 ส่วนประกอบของปื นใหญ่ 1. ลากลอ้ ง ภายในมีเกลียว 28 เกลียว เวยี นขวา ภายนอกมีปลอกรักษาอุณหภูมิ 2. โครงเคร่ืองปิ ดทา้ ย 3. เครื่องระบายแก๊สตกคา้ งภายในลากลอ้ ง หมายเหตุ อายกุ ารใชง้ านของลากลอ้ งปื นใหญ่ ประมาณ 1,000 EFC ROUNDS วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M60A3)

- 71 - 3. เครื่องรับแรงถอยปื นใหญ่ ถ. M60A3 3.1 กล่าวนา เคร่ืองรับแรงถอยปื นใหญข่ นาด 105 มม. ถ.M60A3 เป็นแบบจุดศูนยก์ ลางร่วมแกนลากลอ้ ง ปื น ใชข้ องเหลวประกอบแหนบ น้ามนั ไฮดรอลิคท่ีใชค้ ือ FRH (Fire Resistant Hydraulic) สีเหลือง ติดไฟ ยาก ความจุ 5.5 แกลลอน (รวมน้ามนั ที่กระบอกชดเชยดว้ ย) 3.2 วัตถปุ ระสงค์ 1. ควบคุมการถอยของปื นใหญ่ 2. ควบคุมใหป้ ื นใหญ่กลบั เขา้ ท่ีอยา่ งถกู ตอ้ ง 3. ลดอาการส่ันสะเทือน 3.3 การตรวจแถบหมายปริมาณนา้ มัน 1. ก่อนทาการยงิ 2. ขณะทาการยงิ 3. หลงั ทาการยงิ หมายเหตุ ! ถา้ ปื นไมไ่ ดท้ าการยงิ ใหอ้ อกกาลงั ปื นทุก 180 วนั 4. เครื่องควบคุมการใช้ป้อมปื น 4.1 กล่าวนา ป้อมปื น ถือวา่ เป็นส่วน ประกอบท่ีสาคญั ของรถถงั ซ่ึงพลประจารถ จะตอ้ งรู้ถึงการทางาน และวิธีการใชเ้ ครื่อง ควบคมุ การใชป้ ้อมปื นอยา่ งถูกตอ้ งและถกู วิธี 4.2 คุณลกั ษณะ เคร่ืองหมุนป้อมปื นและเคร่ืองใหท้ างสูงใชน้ ้ามนั ไฮดรอลิค FRH ร่วมกนั พลยงิ - หมนุ ป้อมปื นและใหท้ างสูงปื นใหญ่ดว้ ยกาลงั - ใหท้ างสูงปื นใหญ่ดว้ ยมือ, หมุนป้อมปื นดว้ ยมือ ผบ.รถ - หมุนป้อมปื นและใหท้ างสูงปื นใหญด่ ว้ ยกาลงั มีสวติ ชล์ นั่ ไก และสวิตชก์ ระเด่ืองนิรภยั (OVERRID SWITCH) เมื่อ ผบ.รถ บีบกระเด่ืองนิรภยั ท่ีคนั บงั คบั การใชป้ ้อมปื น จะตดั การทางานการใชป้ ้อมปื นของพลยิงและพลยงิ ไมส่ ามารถลนั่ ไกปื นใหญแ่ ละปื นกลร่วมแกนดว้ ยไฟฟ้าได้ หมายเหตุ การใชป้ ้อมปื นจะตอ้ งตรวจความดนั ไนโตรเจนใหไ้ ด้ ความดนั 525  25 ปอนด์/ตร.นิ้ว และระดบั น้ามนั ไฮดรอลิค ที่ อ่างเกบ็ น้ามนั ตอ้ งอยทู่ ี่ FULL หรือระหวา่ งขดี FULL และ ขีด ADD โดยการทา ZERO PRESSURE CHECK ก่อน วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M60A3)

- 72 - 5. ระบบรักษาการทรงตวั ของปื นใหญ่ ( STABILIZATION ) ระบบรักษาการทรงตวั ของปื น จะประกอบอยใู่ นระบบเครื่องให้ ทางสูง และเครื่องหมนุ ป้อมปื นดว้ ยกาลงั เมื่อเปิ ดใชง้ านระบบน้ีจะรักษา แนวลากลอ้ งปื นใหญ่ใหช้ ้ีไปยงั เป้าหมายตลอดเวลา ตามมมุ ที่ถูกกาหนด และภายในขอบเขตท่ีจากดั ไว้ โดยไมเ่ ก่ียวขอ้ งกบั การเคล่ือนที่ของรถถงั แต่ปื นใหญ่จะไมอ่ ยใู่ นสภาวะรักษาการทรงตวั เมื่อป้อมปื นอยใู่ นระบบ บงั คบั ใชง้ านดว้ ยมือ 6. เคร่ืองควบคมุ การยิง แบง่ ออกเป็น 3 ชนิด คือ. 1. เคร่ืองควบคมุ การยงิ เลง็ ตรงหลกั 2. เครื่องควบคุมการยงิ เลง็ ตรงรอง 3. เครื่องควบคุมการยงิ เพมิ่ เติม 6.1 เคร่ืองควบคมุ การยิงเลง็ ตรงหลกั ประกอบดว้ ย.- 1. เครื่องหาระยะดว้ ยแสงเลเซอร์ แบบ AN/VVG-2 หาระยะไดต้ ้งั แต่ 200 - 4,700 เมตร ประกอบดว้ ย 1.1 เคร่ือง รับ-ส่ง แสงเลเซอร์ ( Receiver - Transmitter ) 1.2 หน่วยควบคมุ เครื่องหาระยะดว้ ยเลเซอร์ ( Electronic Unit ) วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M60A3)

- 73 - 2. เครื่องคานวณขีปนวิธี M21 ประกอบดว้ ย. 2.1 เคร่ืองวดั ความเร็วลมทางขา้ ง ( Crosswind Sensor Probe ) 2.2 ฐานติดต้งั เครื่องวดั ความเร็วลม และเคร่ืองกรองคล่ืนสัญญาณรบกวน ( Crosswind Sensor Mast & EMI Filter ) 2.3 เครื่องวดั ความเร็วการหมุนป้อม (Rate Tachometer) 2.4 เครื่องวดั มมุ เอียงของดุมรับปื น (Cant Unit) 2.5 กล่องเลือกชนิดกระสุน (Ammo Select Unit) 2.6 หีบควบคุมของพลยงิ (Gunner's Control) 2.7 เคร่ืองคานวณทางขีปนะ (Computer Unit) 2.8 หน่วยส่งกาลงั ออก (Output Unit) 3. เครื่องขบั มาตราทานทางขีปนะวิธี M10A3 วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M60A3)

- 74 - 4. ชุดกลอ้ งเลง็ TTS แบบ AN/VSG-2 ประกอบดว้ ย. 4.1 เครื่องแปลงกระแสไฟฟ้า (Power Converter) 4.2 จอภาพของ ผบ.รถ (Commander's Display) 4.3 ชุดหวั กลอ้ ง (Head Assembly) 4.4 จอภาพของพลยงิ (Gunner's Display) 4.5 ชุดฐานติดต้งั (Mount Assembly) กลอ้ งเลง็ ความร้อน TTS ของพลยงิ ชุดกลอ้ งเลง็ TTS แบบ AN/VSG-2 กลอ้ งเลง็ ความร้อน (TTS) ของ ผบ.รถ วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M60A3)

- 75 - 6.2 เคร่ืองควบคุมการยิงเลง็ ตรงรอง กลอ้ งเลง็ M105 D (เหมือน ถ.M48A5, ถ.M60A1) 6.3 เครื่องควบคมุ การยิงเพมิ่ เตมิ ประกอบดว้ ย. 1. เคร่ืองกาหนดมุมสูง M13A3 2. เคร่ืองกาหนดมุมทิศ M28E2 3. เครื่องต้งั มมุ ยงิ ประณีต M1A1 เครื่องต้งั มุมยงิ ประณีต M1 เครื่องกาหนดมมุ สูง M13A3 เคร่ืองกาหนดมมุ ทิศ M28E2 7. เคร่ืองยิงลูกระเบิดควนั เคร่ืองยงิ ลูกระเบิดควนั M239 ติดต้งั อยทู่ ้งั สอง ขา้ งของป้อมปื น เป็นควนั ฟอสฟอรัสแดง แตเ่ วลายงิ ไป แลว้ ทาปฏิกิริยากบั อากาศจะกลายเป็ นควนั ฟอสฟอรัส ขาว เพื่อทาฉากควนั กาบงั ตนเองในระยะใกล้ และใน เวลาจากดั ตวั อยา่ ง เช่น ต่อตา้ นการจู่โจมของขา้ ศึกใน ระยะใกล้ หรือ จะทาการถอนตัวเมื่อถูกข้าศึกกดดัน โดยรถถงั ของข้าศึกน้ันจะตอ้ งไม่มีกล้องจบั ภาพด้วย รังสีความร้อน (TTS) เคร่ืองยิงลูกระเบิดควนั จะทาการ ยงิ จากตาแหน่งของ ผบ.รถ วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M60A3)

- 76 - 8. การหล่อลื่นภายในป้อมปื น 8.1 กล่าวนา คาสั่งการหล่อล่ืน เป็ นเอกสารที่กาหนดวิธีการหล่อล่ืน, จุดที่ตอ้ งการหล่อล่ืน, ระยะเวลา และวตั ถุท่ีใช้ในการหล่อล่ืนอย่างถูกตอ้ ง สาหรับ ถ. M60A3 ใช้คาสั่งการหล่อลื่น LO 9-2350-253-12 ลง วนั ท่ี 30 มีนาคม 1993 ยกเลิกคาสั่งการหล่อลื่น ลง วนั ที่ 23 กนั ยายน 1983 8.2 ชนดิ ของน้ามันหล่อล่ืน 1. GAA ( Grease, Automotive and Artillery ) ไขข้นสาหรับอัดโครงรถและปื นใหญ่ ใช้แบบ อเนกประสงคต์ ามมาตรฐาน หมายเลข MIL-G-10924 2. GG ( Grease, Graphite, Soft ) ไขขน้ แกรไฟต์ชนิดอ่อน ใช้ทาส่วนท่ีเป็ นเกลียวของเคร่ืองระบาย แกส๊ ตกคา้ ง ตามมาตรฐาน หมายเลข VV-G-671-D 3. CLP ( S-758 ) หรือ Break Free ( Cleaner, Lubricant, Preservative ) น้ามนั ทาความสะอาดชาระ ลากลอ้ ง และชาระลา้ งส่วนท่ีสัมผสั เขม่าดินส่งกระสุน และใช้หล่อลื่นป้องกันสนิม ใช้หล่อล่ืนทว่ั ๆ ไป แบบเอนกประสงค์ ตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-L-63460 4. OE/HDO-10 ( Oil, Engine Heavy Duty ) น้ามันเครื่องยนต์ชนิดใช้งานหนักเกรด 10 ใช้เติมหีบ เฟื องหมนุ ป้อมปื น ตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-L-2104 5. FRH ( H-544 ) ( Hydraulic Fluid, Rust Inhibited, Fire Resistant, Synthetic Hydrocarbon Base ) น้ามนั ไฮดรอลิคชนิดป้องกนั สนิม และติดไฟยาก สังเคราะห์จากสารคาร์บอน ใชเ้ ติมในระบบเครื่องรับแรง ถอยของปื นใหญ่ และเคร่ืองกาเนิดกาลังไฮดรอลิค (ระบบหมุนป้อมและยกปื นข้ึนลง) ตามมาตรฐาน หมายเลข MIL-H-46170 ขอ้ ควรระมดั ระวงั อยา่ ชโลมน้ามนั ท่ีสะพานตอ่ วงจรลน่ั ไก, ฉนวน หรือที่บริเวณเขม็ แทงชนวน - - - - - - - - - - - -------------------------- - - - - - - - - - - - วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.M60A3)

- 77 - ปืนกล L43A1 ขนาด 7.62 มม. 1. กล่าวท่ัวไป ปืนกล L43A1 ขนาด 7.62 มม. เป็นปนื กลตระกูล FN ติดตงั้ เปน็ ปนื กลร่วมแกนใน ถ.เบา 21 2. คณุ ลกั ษณะ 2.1 ทำงานด้วยแก๊ส 2.2 ระบบการทำงานของปืน เปน็ แบบอัตโนมตั ิ 2.3 มีอัตราในการยงิ สงู , ระบายความร้อนด้วยอากาศ 2.4 การถอดประกอบง่ายและรวดเรว็ 2.5 ป้อนกระสนุ ดว้ ยสายกระสนุ 2.6 ยงิ จากหน้าลูกเลอื่ นเปิด ซ่ึงนบั วา่ เป็นลักษณะใหค้ วามปลอดภยั ของปนื อนั หน่งึ 3. ข้อมูลอาวธุ 3.1 ขนาดกวา้ งปากลำกล้อง 7.62 มม. 3.2 เกลียวภายในลำกลอ้ ง 4 เกลยี ว เวียนขวา 3.3 ความเรว็ ต้นทีป่ ากลำกลอ้ ง 850 เมตร/วินาที 3.4 ระยะยิงไกลสดุ (ขน้ึ อยู่กับมาตรา) 2,000 เมตร 3.5 อตั ราการยิง 750 นดั /นาที (เมอ่ื จัดแก๊สรูท่ี 2) 3.6 ความยาวของปนื 1,041 มม. (41 นิว้ ) 3.7 น้ำหนกั ปืน 10.43 กก. (23 ปอนด์) 3.8 น้ำหนกั ลำกล้อง 2.6 กก. (5 3/4 ปอนด)์ 3.9 ลำกลอ้ งยาว 629 มม. (24.75 นวิ้ ) 4. สว่ นประกอบหลกั ก. ปนื กล L43A1 ประกอบดว้ ยชนิ้ สว่ นหลัก ดังน้ี.- 1. ห้องลูกเล่ือน (โครงปนื ) 2. หม่ลู ำกล้อง 3. หมเู่ ครื่องรบั แรงถอย (เคร่อื งรับแรงกระแทก) 4. หมเู่ ครื่องล่ันไก และเครอื่ งแม่เหลก็ ลน่ั ไก (เครือ่ งล่ันไกดว้ ยไฟฟ้า L 1 A 1) ข. หมายเลข ทุกกระบอกมหี มายเลขประทบั ไว้ท่ีชนิ้ สว่ นใหญ่ 3 ช้ินสว่ น คอื . 1. ตัวปืน (หอ้ งลกู เลอ่ื น) ด้านซ้าย 2. ลำกล้อง ด้านขวาหน้ากลอนยึดลำกล้อง 3. แทง่ ลูกเล่ือน ด้านขวา ปก.L43A1

- 78 - หมายเหตุ เมื่อประกอบปืน โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อใชป้ ืนร่วมกันหลายกระบอกต้องตรวจให้หมายเลขตรงกนั อยา่ ใหส้ ับปนื หากไม่ระมัดระวงั อาจเปน็ เหตใุ ห้เกิดการชำรดุ เสียหาย, บาดเจ็บและอนั ตราย 5. การใชง้ าน 5.1 กง่ึ บรรจุ - ส่วนเคลอื่ นท่อี ยู่หนา้ สุด และเหล็กกดเหล็กยึดกระสุน (แผน่ ปลดสายกระสุน) อยู่ทางซา้ ยมือ - เปิดฝาปดิ หอ้ งลูกเล่ือนวางสายกระสนุ บนถาดปอ้ นกระสุน ใหก้ ระสุนนดั แรกชดิ เหลก็ กันกระสนุ - จบั สายกระสุนให้อยู่กบั ท่ีแลว้ ปิดฝาปดิ ห้องลูกเล่ือน 5.2 การบรรจุจากกึ่งบรรจุ ดงึ คนั รง้ั ลูกเลือ่ นมาข้างหลงั จนสุดเพือ่ ขน้ึ นก หา้ มไกแลว้ ปลอ่ ยคันร้งั ลูกเล่ือน 5.3 การเลกิ บรรจุ - ดงึ คนั รั้งลูกเล่ือนมาข้างหลงั จนสุดเพอื่ ข้ึนนก - ห้ามไกแล้วปลอ่ ยคันรง้ั ลูกเล่ือน - เปิดฝาปิดหอ้ งลกู เลื่อน นำกระสนุ และสายกระสุนออก - ยกถาดปอ้ นกระสนุ ขนึ้ และตรวจรงั เพลงิ , หนา้ ลกู เลื่อน และห้องลูกเลื่อนวา่ ไม่มีกระสุน - ลดถาดป้อนกระสนุ และปดิ ฝาปิดหอ้ งลูกเลือ่ น - ปลดหา้ มไกและดึงคันรัง้ ลูกเลอ่ื นมาขา้ งหลงั สุด เหนีย่ วไกแล้วผอ่ นคนั ร้งั ใหส้ ่วนเคลอื่ นที่ไปขา้ งหน้า 6. การถอดแบบปกติ สามารถถอดแยกเป็นส่วนใหญ่ ๆ ดังน้ี (ใหต้ รวจความปลอดภัยของปืนเสียก่อน ในขอ้ 5.3) 6.1 หมลู่ ำกล้อง 6.2 ปลอกจดั แกส๊ 6.3 เคร่ืองลนั่ ไก 6.4 เครื่องรับแรงกระแทก 6.5 แหนบส่งลกู เลื่อน 6.6 ลูกเลอื่ น 6.7 ลกู สูบ 6.8 เหลก็ ร้ังกระสนุ 6.9 เครื่องปอ้ นกระสุน 7. การประกอบ ใหท้ ำกลับกันกบั การถอด 8. การทดสอบ การทดสอบ 8 ประการ เพ่ือเป็นการทดสอบว่าปืนทำงานได้ถูกต้องก่อนท่ีจะใช้ปืนทำการยิง ต้องทดสอบตามวธิ ดี ังกล่าวตอ่ ไปนี้.- 8.1 แท่งลูกเล่ือน ประกอบส่วนต่าง ๆ ของลูกสูบก้านสูบให้สมบูรณ์ แต่ไม่ต้องประกอบเข้ากับห้องลูกเล่ือนใช้ มอื ขา้ งหนึง่ จบั ก้านสูบ ใช้อีกมือดึงลูกเล่ือนมาข้างหลังสุด เขม็ แทงชนวนต้องโผล่ไปพ้นหนา้ ลูกเล่ือน 8.2 ลกู สูบ โดยยังไม่ต้องประกอบหมูล่ ูกสบู เข้ากบั ปืน เมอ่ื หมุนก้านสูบเบา ๆ กา้ นสูบต้องเลื่อนตัว โดยการ ทำงานของก้านตอ่ ก้านสบู 8.3 ความคล่องตัวของหัวลูกสูบ ประกอบหมู่ลูกสูบเข้ากับตัวปืนโดยไม่ต้องประกอบแหนบส่งลูกสูบผลัก หมู่ลกู สูบไปขา้ งหน้าสดุ แล้วดงึ กลับ เพอื่ ตรวจความคล่องตวั ของลูกสบู ทีเ่ คลื่อนที่ภายในกระบอกสบู ปก.L43A1

- 79 - 8.4 เคร่อื งรบั แรงกระแทก (เหล็กปิดทา้ ยห้องลูกเล่ือน) ก. ตรวจหวั เคร่ืองรับแรงกระแทก ตอ้ งประกอบโดยติดแน่นกับแหวนรองและกลอนยึดต้องทำงานได้คล่อง ข. ตรวจสภาพร่องนำใหเ้ รียบร้อย 8.5 หมู่เคร่ืองลัน่ ไก ก. เมอื่ ประกอบปืนเรียบร้อยแลว้ ขนึ้ นกห้ามไกแล้วทดลองเหน่ียวไกชิน้ สว่ นเคล่อื นท่ตี อ้ งถูกยึดอยกู่ บั ที่ ข. ปลดห้ามไก แล้วทดลองเหน่ียวไก ช้ินสว่ นเคลื่อนท่ีตอ้ งเคล่อื นไปข้างหน้า 8.6 เครือ่ งป้อนกระสุน เปดิ ฝาปิดหอ้ งลูกเล่ือนแลว้ ทดสอบดงั ต่อไปน้ี. ก. กลอนยึดฝาปิดต้องทำงานไดโ้ ดยมีแรงดนั ของแหนบ ข. แหนบคนั เลือ่ นสายกระสุนดนั ต่อคันเลื่อน ค. แหนบคนั เล่อื นสายกระสนุ เข้าทีเ่ รยี บรอ้ ย ง. เม่อื เลื่อนเหลก็ ป้อนกระสนุ คนั เล่ือนสายกระสุนต้องเล่อื นไปตามจังหวะ จ. แหนบเหล็กป้อนกระสุนใชก้ ารได้และดันต่อเหล็กปอ้ นกระสนุ ฉ. แหนบเหล็กนำและเหล็กปลดกระสุนใช้การได้ดี ช. ลาดบังคับหัวกระสุน, รอ่ งกระสุน, เหล็กกนั กระสุน, ถาดป้อนกระสุนตอ้ งยึดแน่น ไมม่ ีรอยชำรดุ หรอื เยนิ ซ. ลูกกลิง้ บังคับคนั เล่อื นสายกระสุนติดกับลกู เลอื่ นแน่น และแหนบใชก้ ารได้ 8.7 กระบอกจัดแกส๊ ถอดลำกล้องออกตรวจดูว่ากระบอกจดั แก๊สจัดไวท้ ่รี ูหมายเลข 2 สลกั จัดแกส๊ ขันติดแน่น 8.8 ปลอกลดแสง ตรวจดปู ลอกลดแสง ต้องประกอบตดิ แนน่ มีแหวนรองและย้ำติดแนน่ 9. การทำงาน มีทง้ั หมด 8 ขั้นตอนเหมือนปืนกลท่ัวไป มีปลอกจัดแก๊สควบคุมอตั ราความเร็วในการยงิ ปกติจัด ไว้ที่ช่องหมายเลข 2 เมื่อปล่อยไกปืนจะหยุดยิง โดยลูกเลื่อนค้างอยู่ข้างหลังและจะไม่มีลูกกระสุนค้างอยู่ในรัง เพลิง 10. การแก้ไขเหตุติดขดั ทันทีทันใด เมื่อกระสนุ ไม่ลนั่ ให้ขนึ้ นกใหมแ่ ล้วยิงไปอกี ถา้ ไม่สามารถขึ้นนกได้ ก็ให้ดึง คันรัง้ มาเท่าทด่ี งึ มาไดแ้ ลว้ อย่าปล่อยคนั รงั้ กลับไปข้างหน้า ทง้ั นีเ้ พ่อื ค้นหาสาเหตุและแก้ไขต่อไป 11. การปรนนบิ ตั บิ ำรุง 11.1 ก่อนการยิง เชด็ ชน้ิ ส่วนตอ่ ไปนี้ให้แหง้ คอื . - ภายในลำกลอ้ งและรงั เพลงิ - ปลอกลดแสง - ในกระบอกสูบและปลอกจดั แกส๊ - หน้าลูกเลอ่ื น - ลูกสูบ โดยเฉพาะอย่างย่ิงตรวจหัวลูกสูบ และระหว่างแหวนลูกสูบ 11.2 ระหว่างการยิงเมื่อมีโอกาส ในระหว่างท่ีมีการพักการยิงให้เปิดฝาปิดห้องลูกเลื่อน หยอดน้ำมันล่ัน หล่อลน่ื ประมาณ 2-3 หยด ทก่ี ลอนลกู เลือ่ น ข้อตอ่ กลอนลูกเล่อื น และลาดกลอนทขี่ อ้ ต่อกลอนลูกเลือ่ น ปก.L43A1

- 80 - 11.3 ภายหลังการยิง ทำความสะอาดภายในลำกล้อง รังเพลิง, กระบอกสูบ และส่วนที่ถูกแก๊สให้สะอาด ตรวจสภาพแลว้ ชโลมน้ำมนั โดยปฏบิ ัตดิ งั กล่าวตดิ ตอ่ กนั ไมน่ ้อยกวา่ 5 วัน (วันละ 1 ครั้ง) 12. กระสนุ ใชก้ ระสนุ ขนาด 7.62 × 51 มม.ของ ทบ.ไทย และกลุ่มนาโต้ เชน่ เดียวกับ ปก.M60 - - - - - - - - - ----------------------------- - - - - - - - - - - ปก.L43A1

- 81 - ระบบอาวุธป้อมปืน ถ.เบา 21 สกอรเ์ ปย้ี น หลกั ฐาน คูม่ อื การใชง้ านและการปรนนบิ ตั ิบำรุงอาวธุ ถ.เบา 21 หมายเลข 24 1. การทำความคนุ้ เคยปอ้ มปืน ถ.เบา 21 1.1 กล่าวนำ ถ.เบา 21 สกอร์เปี้ยน เป็นรถถังสำหรับลาดตระเวณและยิงสนับสนุนการยิงเล็งตรงด้วยปืนใหญ่ กว้างปากลำกล้อง 76 มม. 1 กระบอก ป้อมปืนสามารถหมุนได้รอบตัว และติดต้ังปก.ร่วมแกน ขนาด 7.62 มม. 1 กระบอก ทั้งยังติดต้ังเคร่ืองยิงลูกระเบิดควันข้างป้อมปืนข้างละ 4 ลำกล้อง ถ.เบา 21 มีพลประจำรถ 3 นาย ไดแ้ ก่ 1. ผบ.รถ (ทำหน้าทีเ่ ปน็ พลบรรจุด้วย) 2. พลยิง 3. พลขับ 1.2 มาตราทาน 1. ขนาด - ความยาว 4.55 เมตร - ความสูง 2.10 เมตร - ความกว้าง 2.18 เมตร 2. น้ำหนกั พร้อมรบ 7,928 กก. 3. นำ้ หนักกดพ้นื ดิน 5 ฟุตปอนด/์ ตารางน้วิ 1.3 ขีดความสามารถ - ระยะห่างใตท้ ้องรถ 0.35 เมตร - ขา้ มเครอ่ื งกดี ขวางทางดิ่ง 0.50 เมตร - ข้ามคูกว้าง 2.06 เมตร - ไต่ลาด 60 เปอร์เซน็ ต์ 1.4 เคร่ืองทศั นะ ผู้บังคบั รถ - กล้องตรวจการณ์หมายเลข 71 MK 1 มกี ำลังขยาย 10 เทา่ และ 1 เท่า - กล้องตรวจการณ์ AV หมายเลข 43 หรอื 48 MK 3 จำนวน 7 กลอ้ ง รอบป้อมปืน มีกำลัง ขยาย 1 เทา่ พลยงิ - ศนู ย์เล็งชนิดกลอ้ งตรวจการณ์ (เวลากลางวัน) AV หมายเลข 54 MK 1 หรือ L 20 มีกำลงั ขยาย 10 เทา่ และ 1 เท่า - กล้องตรวจการณ์หมายเลข 43 จำนวน 2 กล้อง มีกำลังขยาย 1 เทา่ - ศนู ย์เลง็ ชนดิ กล้องตรวจการณ์ (เวลากลางคนื ) AV II L3A1 มกี ำลงั ขยาย 5.8 เทา่ พลขบั - กล้องตรวจการณ์ (เวลากลางวัน) AV หมายเลข 44 MK2 - กลอ้ งตรวจการณ์ (เวลากลางคืน) AV II L5A1 1.5 เครอื่ งควบคุมการใช้ป้อมปนื 1. การหมนุ ป้อมปืน มี 2 ระบบ - หมุนดว้ ยมอื มี 2 ความเรว็ (ความเร็วสงู และ ความเร็วต่ำ) - หมุนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้า (มีบางคนั ) 2. การใหท้ างสงู - ใหท้ างสงู ด้วยมือ วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.เบา 21)

- 82 - 1.6 อาวุธ 1. อาวธุ หลกั ปนื ใหญ่ขนาด 76 มม. L 23 A.1 - มุมยกของปืน + 600 มิลเลยี ม - มุมกดของปืน - 180 มิลเลียม 2. ปืนกลรว่ มแกนขนาด 7.62 มม. L43A1 3. จำนวนกระสุนบรรทกุ บนรถ 3.1 กระสุนปืนใหญ่ ขนาด 76 มม. 40 นดั - กระสนุ ระเบดิ กะเทาะเกราะ (HESH) - กระสนุ ระเบิด (HE) - กระสนุ ควนั (SMOKE BE) - กระสุนลูกปราย (CANISTER) - กระสุนซอ้ มยิง (PRACTICE) 3.2 กระสุนปืนกลร่วมแกนขนาด 7.62 มม. 3,000 นดั 3.3 ลกู ระเบดิ ควนั 16 ลกู 3.4 ลูกระเบดิ สงั หาร 6 ลูก 4. การทำฉากควนั มีชุดเครือ่ งยงิ 2 ชุด ๆ ละ 4 ลำกลอ้ ง ติดตั้งขา้ งป้อมฯ 5. การทำงานของหมเู่ ครือ่ งล่ันไก มี 2 ระบบ 5.1 ล่ันไกด้วยไฟฟ้า พลยงิ มีสวิตชล์ น่ั ไกท่ีด้ามคนั บังคับเครอ่ื งให้ทางสูง 5.2 ลน่ั ไกด้วยเชิงกล พลยิง ใชเ้ ทา้ ซ้ายกดแผน่ ลัน่ ไก 1.7 เครื่องรับแรงถอย มี 2 ระบบ 1. ระบบเครอ่ื งรบั แรงถอยใชน้ ำ้ มนั 2. ระบบเคร่ืองสง่ ปืนกลับเข้าที่ ใช้อากาศท่ีมีความดนั และน้ำมนั 1.8 เครอื่ งต้งั มุมยงิ ประจำปนื QFC. No.16 MK 1 1.9 เครอื่ งกำหนดมุมภาคทศิ แบบ แรงขับด้วยเชิงกล 2. ปืนใหญ่ขนาด 76 มม. L23A1 2.1 กล่าวทั่วไป ปืนใหญ่ขนาด 76 มม.พร้อมฐานติดต้ังและเคร่ืองเล็ง ใช้เป็นอาวุธหลักของรถถังเบา สกอร์เปี้ยน ปืนใหญ่สามารถหมุนได้รอบตัว ให้มุมสูงได้ + 600 มิลเลียม และ -180 มิลเลียม ออกแบบให้ สามารถใช้ยงิ ด้วยกระสุนท่ีมีความเร็วต้นตำ่ และความเรว็ ตน้ ปานกลางได้ ใชก้ ระสุนดงั ตอ่ ไปน้ี คอื . - กระสนุ ระเบิดกระเทาะเกราะ (HESH) - กระสุนระเบิด (HE) - กระสนุ ควนั (SMOKE BE) L32 - กระสนุ ลกู ปราย (CANISTER) และมกี ระสุนซ้อมยงิ อกี 2 ชนิด วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.เบา 21)

- 83 - 2.2 คุณลักษณะ รายละเอียดและการทำงาน ก. ช่อื ปนื ใหญข่ นาด 76 มม. L23A1 ข. ขนาดกว้างปากลำกลอ้ ง 76 มม. ค. ความเร็วตน้ ที่ปากลำกลอ้ ง - ความเร็วตน้ ปานกลาง 533 เมตร/วนิ าที - ความเรว็ ต้นต่ำ 290 เมตร/วินาที ง. ระยะยิงไกลสุด - ยิงเล็งตรง 2,200 เมตร - กึ่งยิงเล็งตรง 5,000 เมตร จ. การทำงาน - การบรรจุ ในขนั้ แรกต้องเปิดเครื่องปิดท้ายดว้ ยมอื - การยงิ , การลน่ั ไก กระทำไดโ้ ดยล่นั ไกดว้ ยไฟฟ้า และด้วยเชงิ กล (ด้วยเทา้ ) - การถอย เมื่อทำการยิงปืนใหญ่ปืนจะถอยมาขา้ งหลงั ประมาณ 11 นวิ้ หรอื 28 ซม. - การเลกิ บรรจุ ปืนกลบั เขา้ ท่ีแท่งลูกเล่ือนจะเปิดโดยอัตโนมัติ 2.3 ปนื ใหญ่ ประกอบด้วยชน้ิ ส่วนหลัก ๆ ดังต่อไปน้ี.- 1. ลำกลอ้ งปนื ลำกล้องปนื ท่ีใชอ้ ยู่มี 3 แบบ คือ แบบ L1A1, L1A2, L1A3 2. โครงเครื่องปิดทา้ ย เซาะเป็นร่องเพ่ือรับแท่งลกู เล่ือน เปิด-ปดิ ในทางด่ิง มีคันข้ึนนกอยู่ทางด้านซ้าย มี ตำแหน่งหา้ มไก, ยิง และ ข้ึนนกได้ 3. ข้อต่อเคร่ืองรับแรงถอย ยึดติดอยู่กับโครงเคร่ืองปิดท้ายทำหน้าที่เช่ือมโยงระหว่างปืนกับระบบ เครื่องรับ แรงถอย 4. แท่งลกู เลื่อน ใช้เป็นเครื่องปดิ ท้ายลำกล้องปืน แท่งลูกเล่ือนจะเปิดออกเมื่อทำการยิงไปแล้ว พร้อมกับ คดั ปลอกกระสุน 3. ระบบเครอ่ื งรับแรงถอย 3.1 กล่าวนำ ระบบเครื่องรับแรงถอยประกอบด้วย เครื่องรับแรงถอยและเครื่องส่งปืนกลับเข้าท่ี แบบใช้อากาศ และน้ำมัน พร้อมท้ังกระบอกรับน้ำมันชดเชย การทำงานของ ระบบเคร่อื งรับแรงถอย คอื .- ก. ช่วยใหป้ ืนใหญ่อยู่ในตำแหน่งใชท้ ำการยิงได้ทุกมุมยงิ ข. รับแรงถอยของปนื ค. จำกัดระยะถอยของปืน ให้มรี ะยะถอยเท่ากันทุกมมุ ยิง วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.เบา 21)

- 84 - ง. ส่งปนื กลบั เข้าทใี่ ห้อยู่ในตำแหนง่ พรอ้ มทำการยงิ ได้ทุกมมุ ยิง 3.2 ลักษณะรายละเอียด ก. เคร่ืองรับแรงถอย ประกอบด้วยกระบอกเครื่องรับแรงถอย ซึ่งติดต้ังอยู่ข้างเปลปืน ในตำแหน่ง ประมาณ 11 นาฬิกา มีจุกเกลียวช่องเติมน้ำมัน ตรงด้านหน้ามีท่อน้ำมันต่อออกไปยังกระบอกรับน้ำมัน ชดเชย กระบอกเคร่ืองรับแรงถอยภายในมีลูกสูบและก้านสูบต่ออกมาทางด้านหลัง ภายในกระบอกเคร่ืองรับ แรงถอยเตมิ ดว้ ยนำ้ มนั OM-13 หรอื AERO SHELL FLUID-1 ข. กระบอกรับน้ำมันชดเชย ประกอบด้วย กระบอกสูบ ติดต้ังอยู่ตำแหน่งประมาณ 1 นาฬิกาของ เปลปืน ภายนอกมีจุกเติมน้ำมันและท่อน้ำมันต่อไปยังกระบอกเคร่ืองรับแรงถอย ภายในกระบอกสูบมี ลกู สบู และก้านสูบตอ่ ออกมาข้างหลงั เพ่ือเปน็ เครอื่ งหมายบอกปริมาณนำ้ มนั ในเครอื่ งรับแรงถอย ค. เคร่ืองสง่ ปนื กลับเข้าทแ่ี บบใช้น้ำมนั และ อากาศ ประกอบดว้ ย.- 1. กระบอกเครื่องส่งปืนกลับเข้าท่ี ติดตั้งอยู่ประมาณ 4 นาฬิกาของเปลปืน ภายใน มีลูกสูบ และก้านสูบ เติมด้วยน้ำมัน OM-13 หรือ AERO SHELL FLUID-1 2. กระบ อ กรับ อากาศ และน้ ำมั น เครื่องส่งปืนกลับเข้าท่ี ติดตั้งอยู่ประมาณ 7 นาฬิกาของเปลปืน ก้านสูบที่โผล่ออกมาทาง ด้านหลังสามารถตรวจปริมาณน้ำมันจากเครื่องหมายที่ก้านสูบ คือ N และ C/F กระบอกสูบส่วนหลังเติม น้ำมนั OM-13 ส่วนหน้าเตมิ ไนโตรเจน หมายเหตุ 1. เมื่อเครื่องรบั แรงถอยไม่ร้อนก้านวดั นำ้ มันท่ีกระบอกรบั น้ำมันชดเชยควรโผลอ่ อกมา ประมาณ 4 1/2 นิ้ว (11.4 ซม.) 2. การตรวจเครื่องส่งปืนกลับเข้าที่ตรวจดูความดันอากาศในเคร่ืองส่งปืนกลับเข้าท่ีต้องไม่ต่ำ กวา่ 200 ปอนด/์ ตร.นว้ิ 4. เคร่อื งบงั คับปืน 4.1 เคร่ืองใหท้ างทิศ เครอื่ งให้ทางทิศดว้ ยมือ ประกอบดว้ ยส่วนสำคัญ คือ คันบังคับการหมนุ ปอ้ มปืนดว้ ยมือ และหีบเฟอื ง เครอ่ื งหมุนป้อม มี 2 ความเร็ว คอื ความเรว็ สงู (ตำแหน่งบน) และ ความเรว็ ตำ่ (ตำแหนง่ ลา่ ง) 4.2 เครื่องใหท้ างสงู เครื่องใหท้ างสูง ประกอบดว้ ยส่วนสำคญั 2 สว่ น คือ ล้อควงบงั คบั เครื่องให้ทางสูง และหม่เู ฟืองเครื่องใหท้ างสูง วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.เบา 21)

- 85 - 4.3 เครอ่ื งลน่ั ไก 1. เคร่ืองลั่นไกปืนใหญ่ขนาด 76 มม. และปืนกลร่วมแกนขนาด 7.62 มม. เป็นแบบใช้ไฟฟ้าร่วมกับ แรงกล นอกจากน้ันปืนใหญ่ขนาด 76 มม.ยังมีเคร่อื งล่ันไกแบบใช้แรงกลต่างหาก อีกดว้ ย 2. วงจรล่ันไกของปืนใหญ่และปืนกลรว่ มแกน จะมีหีบควบคุมการยิง ติดตั้งอยู่บนผนังป้อมปืนทางด้านขวากล้องเล็งของพลยิง ที่หีบควบคุมการยิงมี สวติ ช์บังคับการยิง 3 ตำแหน่ง คือ CO-AX, OFF และ MAIN 5. เครอ่ื งเล็ง เครอ่ื งควบคมุ การยิง และเครอื่ งมือตรวจการณ์ 5.1 กลา่ วทั่วไป 1. เครือ่ งเล็งและเคร่ืองควบคุมการยิงของรถถังสกอร์เปีย้ น ถกู ออกแบบให้พลประจำรถสามารถใชท้ ำ การยงิ ตอ่ เป้าหมายได้อย่างรวดเรว็ และแม่นยำ 2. เครื่องมือเหลา่ นี้ แบง่ ออกได้เป็น 2 ประเภท คือ.- ก. เครอ่ื งเล็ง ข. เครื่องควบคมุ การยงิ และเครื่องมือตรวจการณ์ 1. เคร่อื งเล็งของ ผบ.รถ ผู้บังคบั รถมีเคร่ืองเล็งแบบกลอ้ งตรวจการณ์ แบบ AV No.71 และกล้องตรวจการณ์ AV No.43 และ 48 เครื่องเลง็ สามารถหมุนทางทศิ ไดข้ า้ งละ 500 มิลเลียมจากกง่ึ กลาง ท้ังซา้ ย และ ขวา AV No.71 2. เครื่องเลง็ ของพลยิง พลยิงมเี ครอื่ งเล็งแบบกล้องตรวจการณ์ AV No.54 หรือ L 20 และ AV No.43 อีก 2 กลอ้ ง และมีกล้องเลง็ เวลากลางคนื AV II L3A1 อกี หนงึ่ กล้อง AV No.54 AV II L3A1 L20 วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.เบา 21)

- 86 - 3. เครอ่ื งกำหนดมุมภาค พลยงิ มเี ครอ่ื งกำหนดมุมภาคแบบแรงขบั ดว้ ยเชิงกล เพอ่ื ใชต้ ้ังปืน ตามทิศทางที่ ผบ.รถ สงั่ 4. เครื่องต้ังมุมยิง เครื่องตัง้ มุมยิง QFC No.16 ประกอบติดอยูท่ างด้านขวาของเปลปืน ประกอบดว้ ยมาตราต้ังมมุ และหลอดระดบั การใช้ ใช้วัดมมุ พ้นื ท่ี และ ใช้ในการตัง้ ปืน 5.2 กล้องหาระยะด้วยแสงเลเซอร์ L20 กล้องหาระยะด้วยแสงเลเซอร์ L20 เป็นกล้องหาระยะแบบหักศอก ออกแบบสำหรับพลยิงประจำรถถัง เบาสกอรเ์ ป้ยี น และรถทใ่ี ช้ป้อมปนื ของรถถงั สกอร์เป้ยี น 5.3 การทำงานของกล้องหาระยะด้วยแสงเลเซอร์ L20 คำเตอื น ! แสงเลเซอร์อาจทำอนั ตรายต่อดวงตาได้ จะต้องถือเสมือนวา่ การใช้แสงเลเซอร์ คือการใช้อาวุธ ชนิดหนึง่ ฉะน้ันจึงต้องมีความเข้มงวดในการใช้ ผู้ทใ่ี ชก้ ลอ้ งหาระยะดงั กล่าวจะต้องเปน็ ผู้ทม่ี ี ความชำนาญโดยเฉพาะ โดยเฉพาะในเร่ืองการทดสอบและการซ่อมบำรงุ 1. เปิดสวติ ช์เครื่องหาระยะ 1.1 ตรวจสอบว่ามีการจา่ ยพลังงานเขา้ เคร่ือง และล่นั ไกด้วยเท้า และตรวจสอบว่าขั้วตอ่ หนว่ ยบอก ระยะของ ผบ.รถ ต่อเข้ากนั อย่างเรยี บรอ้ ย 1.2 ตรวจสอบว่าชดุ อิเล็กทรอนิกส์และชุดเคร่ืองหาระยะต่อเข้ากนั อย่างเรยี บร้อย วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.เบา 21)

- 87 - 1.3 สอดกุญแจและบดิ ไปตำแหน่ง “ON” ไฟสีแดงจะปรากฏ การประจแุ สงเลเซอร์จะต้องเปน็ แบบ อัตโนมตั ิ และใช้เวลาเพียงเส้ียววินาที 1.4 เครื่องหาระยะพรอ้ มใชง้ าน 2. การใชเ้ คร่ืองหาระยะ 2.1 เปดิ สวติ ชเ์ ครอื่ งหาระยะ (โดยใช้กญุ แจ) 2.2 บดิ สวิตช์ FIRST/LAST LOGIC ไปตำแหน่ง “ FIRST ” 2.3 เล็งใหจ้ ุดปรับเสน้ เล็ง ( MBS ) ไปอยู่กง่ึ กลางของทหี่ มาย 2.4 กดป่มุ ยงิ เลเซอร์ หรือเหยียบสวติ ช์ลน่ั ไกด้วยเท้า 2.5 ระยะควรจะแสดงให้เห็นท่ีเลนซ์ตาขยาย 10 เท่า คือ ที่ตอนล่างของย่านการเห็น และบนจอบอก ระยะของ ผบ.รถ ด้วย 2.6 ถ้าปรากฏเลข \" 0005 \" แสดงวา่ ก. จุดเล็งทาบอยบู่ นเปา้ หมายถูกตอ้ งหรอื ไม่ ข. เปา้ หมายอยู่ในระยะน้อยกวา่ 300 เมตร หรือ มากกวา่ 9,995 เมตร ค. อีกประการหน่ึง แท่งแก้วกล้องเล็ง, แท่งแก้วหัวกล้อง, ช่องวงจรเข้าและช่องวงจรออก สะอาดเพยี งพอหรือไม่ 2.7 เมื่อตรวจสอบเรียบร้อยและทำการยิงซ้ำ เมื่อยังปรากฏเลข “0005” เช่นเดิม ควรส่งซ่อม หรือ รายงานเจา้ หน้าที่ซ่อมบำรงุ (ปรากฏ 0005 ขึน้ บนจอแสดงวา่ ยงิ เลเซอร์ไปแลว้ แตไ่ ม่สะท้อนกลบั ) 2.8 หากตัวเลขที่แสดงในกล้องหรือบนจอบอกระยะของ ผบ.รถ มีจุดเกิดขึ้นระหว่างตัวเลข เช่น 1.7.8.5 แสดงว่ามีเป้าหมายซอ้ นกันอยู่ 2.9 ถ้าปรากฏเลข “ 0000 ” ข้ึน แสดงว่ามีสิ่งผิดปกติเกิดขึ้นจึงควรหยุดการใช้งาน และรายงานส่ิง ผดิ ปกตไิ ปยังเจา้ หนา้ ท่ีซอ่ มบำรงุ 3. ในกรณีทม่ี ีเป้าหมายซ้อนกัน ให้ปฏบิ ัติดังนี้.- ในกรณีท่ีมกี ารสะทอ้ นคลื่นจากหลาย ๆ เป้าหมาย ควรบิดสวติ ช์ไปยงั FIRST PULSE LOGIC และทำการยิงแสงเลเซอรใ์ หม่ 3.1 บดิ สวติ ช์ FIRST/LAST LOGIC ไปยังตำแหน่ง \"FIRST\" 3.2 ใหจ้ ดุ ปรับเสน้ เล็ง ( MBS ) เล็งไปยังกง่ึ กลางเป้าหมาย 3.3 ล่นั ไกป่มุ แสงเลเซอร์ 3.4 ระยะที่ปรากฏบนเลนซ์ตาของพลยงิ จะเปน็ เปา้ หมายแรก 3.5 บดิ สวิตช์ FIRST/LAST SWITCH ไปตำแหนง่ \" LAST \" 3.6 ยิงแสงเลเซอร์ 3.7 อา่ นระยะ (ระยะนีจ้ ะเป็นเป้าหมายหลงั ) วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.เบา 21)

- 88 - 4. อัตราเร็วในการยิง 4.1 ควรจะทำการยงิ ต่อเนือ่ ง 1 ครั้ง/วินาที 4.2 ระยะยิงท่ีปรากฏควรจะปรากฏนานประมาณ 10 วินาที หากทำการยิงอีกในเวลาเดียวกัน ระยะที่ ได้ใหม่จะปรากฏขึน้ ทนั ที 6. เคร่อื งยิงลกู ระเบดิ ควนั 6.1 กลา่ วท่ัวไป ท่ดี า้ นหน้าทั้งสองข้างของป้อมปืนมเี คร่ืองยิงลูกระเบดิ ควันตดิ ตั้งอยู่ขา้ งละ 1ชุด เมื่อทำการยงิ ออกไป ลูกระเบิดจะกระจายออกเต็มกว้างด้านหน้ารถเม่ือทำการยิงท้ังสองชุดพร้อมกัน การยิงลูกระเบิดใช้การบังคับ ดว้ ยไฟฟ้าโดยมีสวิตช์แบบกดจากภายในป้อมปนื 6.2 ความมุง่ หมาย ความมุ่งหมายของการใช้ลกู ระเบดิ ควนั นี้ เพ่อื ทำฉากควนั กำบังตนเองในระยะใกล้ และในเวลาจำกัด ตัวอย่าง เช่น ต่อต้านการจโู่ จมของข้าศึกในระยะใกล้ หรือจะทำการถอนตัวเมื่อถูกข้าศึกกดดนั 6.3 ลูกระเบดิ ยิง ลกู ระเบิดยิงมีอยู่ด้วยกนั 3 ชนดิ คือ L5 ควนั สขี าว, L7 ควนั สีเขยี ว และ L8 ฟอสฟอรสั L5 ยิงได้ไกล 60 เมตร ทำควนั ไดน้ าน 90 วนิ าที L7 ยงิ ได้ไกล 60 เมตร ทำควนั ไดน้ าน 90 วินาที L8 ยงิ ได้ไกล 25 เมตร ทำควันไดน้ าน 1 นาที 7. การหลอ่ ลน่ื ปอ้ มปืน ถ.เบา 21 วัสดทุ ใี่ ชใ้ นการหล่อล่ืนมีอยูด่ ้วยกันหลายชนดิ แตล่ ะชนดิ ใช้ในการหล่อล่นื ไมเ่ หมอื นกัน รวมถึงอุณหภูมิท่ี แตกตา่ งกันไป ฉะน้ันจึงต้องเลือกใช้นำ้ มันทท่ี ำการหล่อลื่นใหถ้ กู ต้อง 1. ชนิดของนำ้ มันหล่อล่ืน ได้แก่ OM-13 ใชใ้ นระบบเครอ่ื งรับแรงถอยปนื ใหญ่รถถังขนาด 76 มม. OMD-75 เปน็ นำ้ มนั แร่ ใชท้ ำความสะอาดและหลอ่ ลนื่ OX-18 ใช้หลอ่ ลืน่ ปืนกลขนาด 7.62 มม. 2. ชนิดของไขข้น ไดแ้ ก่ XG-264 ไขข้นแกรไฟท์ ใช้หลอ่ ล่ืนรองลำกล้องปนื ใหญ่ XG-279 ไขขน้ ใช้งานทัว่ ไป XG-315 ไขขน้ ซิลโิ คน ใช้หล่อลน่ื โลหะท่ีพื้นผิวดา้ น (ไม่ไดข้ ัดมนั ) 3. ชนิดของนำ้ ยาป้องกนั สนมิ ได้แก่ PX-4 ใชห้ ล่อลืน่ ป้องกันสนิมในระยะเวลาสนั้ ๆ PX-7 ไขข้นทาอปุ กรณ์เก็บเข้าคลงั - - - - - - - - - - ------------------------- - - - - - - - - - - วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ ( ถ.เบา 21)

- 89 - ปืนกล 93 ขนาด .50 นวิ้ M2 HB 1. กลา่ วนำ ปก.93 ติดต้ังเป็นปืนกลตอ่ สอู้ ากาศยานประจำปอ้ มปนื ถ.M41/ ติดตั้งประจำ รสพ.M113 2. คุณลักษณะทว่ั ไป 2.1 การทำงานด้วยแรงถอย 2.2 ป้อนกระสุนด้วยสายกระสนุ ได้ 2 ทาง 2.3 ระบายความรอ้ นดว้ ยอากาศ 2.4 สามารถยิงไดเ้ ป็นอตั โนมตั ิ/ ยิงทลี ะนดั 3. ข้อมูลอาวธุ - นำ้ หนักปนื ท้ังกระบอก 84 ปอนด์ (38.10 กก.) - ลำกล้องหนัก 24 ปอนด์ - ระยะยิงไกลสุด ประมาณ 7,440 หลา (6,764 เมตร) - ระยะยิงหวังผลไกลสดุ ประมาณ 2,000 หลา ( 1,830 เมตร) - อตั ราการยิงตามวงรอบการทำงาน 450 – 550 นัด/นาที - ความเรว็ ตน้ ณ ปากลำกล้อง (ประมาณ) 3,050 ฟตุ /วนิ าที - ความยาวของปนื 65.13 น้วิ - ความยาวของลำกลอ้ ง 45 น้วิ - เกลยี วในลำกลอ้ ง 8 เกลียว เวียนขวา 4. การถอดแบบปกติ 4.1 หมู่ลำกล้อง 4.2 หมูเ่ หล็กปิดท้ายหอ้ งลกู เล่ือน 4.3 หมแู่ หนบส่งลูกเล่ือน 4.4 ปุม่ คนั รั้งลูกเลื่อน 4.5 หมู่ลกู เล่ือน 4.6 หมูเ่ รอื นเครอื่ งรับแรงถอยและหมโู่ ครงต่อท้ายลำกล้อง 4.7 หมเู่ ครื่องรบั แรงถอย 5. การปรบั ระยะหน้าลกู เล่ือน ระยะหน้าลูกเลื่อน คือ ระยะห่างระหวา่ งหนา้ ลูกเลื่อนขณะขดั กลอนกับจานทา้ ยปลอกกระสุนขณะท่ี บรรจเุ รียบรอ้ ยอยใู่ นรังเพลิง การปรบั ระยะหน้าลูกเล่ือนท่ีถกู ตอ้ งจะสังเกตไดจ้ าก 1. สว่ นเคล่อื นท่ีจะตอ้ งเคล่ือนท่ีไปขา้ งหนา้ สุด 2. กลอนลูกเล่อื นจะตอ้ งขัดกลอนสนิท 3. ส่วนเคล่ือนที่จะตอ้ งเคลื่อนที่มาขา้ งหลงั ด้วยระยะหน่ึง ปก.93

- 90 - * ให้ตรวจสอบและปรับระยะหน้าลูกเล่อื นเมื่อ - ก่อนทำการยงิ - หลังจากประกอบปืน - หลังจากเปล่ียนลำกล้องหรือหมู่ห้องลูกเลื่อน - เมอ่ื สงสยั ว่าระยะหน้าลูกเลอ่ื นไมถ่ ูกตอ้ ง การปฏิบัติ 1. ตรวจความปลอดภัยของปืน 2. ยกฝาปิดห้องลกู เลื่อน ดึงคนั รั้งลกู เลื่อนมาข้างหลงั (แหนบยึดลำกลอ้ งได้จุดศูนย์กลางที่รู 3/8 น้ิว) ขนั ลำกลอ้ งเข้าให้สดุ แลว้ คลายออก 2 คลิ้ก ปล่อยคนั ร้ังลูกเล่ือน หมายเหตุ ณ จดุ นใ้ี ห้หมุนลำกลอ้ ง (หา้ มดึงคันรงั้ ลกู เล่ือน) โดยหมุนลำกลอ้ งไปทัง้ สองด้านลำกลอ้ งควร ไม่หมุน ถา้ ลำกลอ้ งหมนุ ให้หยดุ การปฏบิ ตั ิ และตรวจสอบรอ่ งบากท้ายลำกลอ้ งและแหนบยดึ ลำกล้องว่าชำรดุ หรือไม่ 3. ขน้ึ นกและค่อย ๆ ปลอ่ ยลูกเลอ่ื นไปข้างหน้า 4. ดึงคันรั้งลูกเลือ่ นใหโ้ ครงต่อท้ายลำกล้องห่างจากแทน่ รบั ลำกล้อง ประมาณ 1/16 น้วิ 5. ยกเหล็กร้ังกระสุนข้ึน ใส่เคร่ืองมือ “GO” ลงในช่องตัวที (ให้ถึงห่วงหรือรูท่ีเคร่ืองมือปรับ) “GO” จะต้องลงได้ และใส่ด้าน “NO-GO” จะต้องลงไม่ได้ แสดงว่าการปรับระยะหน้าลูกเลื่อนถูกต้อง แล้วนำเครื่องมือออก ถ้า ด้าน “GO” ลงไม่ได้ แสดงว่าระยะหน้าลูกเล่ือนชิดเกินไป (ทำให้ส่วนเคล่ือนที่เกิดการกระแทกอย่างแรง) ให้ ปฏบิ ตั ดิ งั น้ี. 5.1 ให้คลายลำกล้องออกทีละคลิ้ก จนด้าน “GO” ลงได้ (ให้ถึงห่วงหรือรูท่ีเคร่ืองมือปรับ และด้าน “NO-GO” ลงไม่ได้ หมายเหตุ ห้ามหมุนลำกล้องเกิน 5 คล้ิก (ไมร่ วม 2 คลิ้กแรกทีค่ ลายออก) ถา้ เกนิ ให้สง่ ซ่อม สพ. 5.2 ถ้าด้าน “NO-GO” ลงได้ แสดงว่าระยะหน้าลูกเลื่อนห่างเกินไป (ทำให้ปลอกกระสุนขาด) ให้ขัน ลำกลอ้ งเข้าทีละคลิก้ จนด้าน “NO-GO” ลงไม่ได้ แต่ด้าน “GO” ลงได้ 6. การปรบั จังหวะการยิง การปฏบิ ัติ 1. ตรวจสอบระยะหน้าลูกเล่อื นใหถ้ กู ต้อง 2. ขนึ้ นก 3. ดึงคนั รงั้ ลูกเล่อื นมาขา้ งหลงั ประมาณ 1/16 นว้ิ ใส่ “NO-FIRE” ระหว่างโครงต่อทา้ ยลำกลอ้ งและแท่นรบั ลำกลอ้ ง หมายเหตุ ใสเ่ คร่อื งมือ ให้ด้านตดั ยันกบั รอ่ งบากท้ายลำกล้อง ปก.93

- 91 - 4. เหน่ยี วไก ปืนควรไม่ลัน่ - ถา้ ปืนลน่ั แสดงว่า “ปนื ลน่ั กระสุนเรว็ ” ให้ปฏิบัติ ขอ้ 7.-14. - ถ้าปนื ไม่ลน่ั ใหป้ ฏบิ ัติ ข้อ 5. 5. ดงึ คันรง้ั ลูกเลอื่ นเอา “NO-FIRE” ออก ใส่ “FIRE” เข้าไปแทน 6. เหนี่ยวไก ปนื ควรล่นั แสดง ว่าการปรบั จงั หวะการยงิ ถูกต้อง 7. นำเคร่ืองมือออก, ข้นึ นก 8. ใส่ “FIRE” เข้าไป 9. ถอดเหล็กปิดท้ายหอ้ งลูกเลือ่ น 10. หมนุ น๊อตปรบั จงั หวะการยิงให้ตำ่ สดุ จนสมั ผสั กบั สะพานไก 11. กดสะพานไกยกข้ึน ปืนควรไมล่ ่นั 12. หมุนน๊อตปรบั จังหวะการยิงทลี ะคลิ้ก (ไปทางขวา) แต่ละคลิ้กให้กดสะพานไกยกขน้ึ จนกระทงั่ ปืนลน่ั 13. หมุนน๊อตปรับจังหวะการยิงไปทางขวา 2 คล้กิ 14. ใสเ่ หล็กปดิ ทา้ ยห้องลกู เลื่อน, นำเครื่องมืออกแล้วข้ึนนก ค่อย ๆ ปล่อยลูกเล่อื นกลับไปข้างหน้า 15. ทดสอบการปรับจังหวะการยิงอีก 2 คร้ังหลังจากประกอบเหล็กปิดท้ายห้องลูกเล่ือนด้วยเคร่ืองมือ FIRE/ NO-FIRE เพือ่ ใหแ้ น่ใจวา่ การปรับจงั หวะการยิงถกู ต้อง 7. สงิ่ ชี้สอบ - ก่อนทำการยงิ จะต้องปรับระยะหนา้ ลูกเลอื่ น และจงั หวะการยงิ ทุกครง้ั - ในขณะทำการถอด/ประกอบ หรือปรับระยะหน้าลูกเลื่อน และจังหวะการยิงให้ใช้ความระมัดระวังเป็น พิเศษ โดยเฉพาะอย่างย่ิงเมื่อขึ้นนกปืน (ดึงคันร้ังลูกเลื่อนมาข้างหลัง) ห้ามย่ืนมือเข้าไปภายในโครงลูกเลื่อน เด็ดขาด - ปนื ชนดิ น้ีสามารถปรบั ให้ยิงทีละนดั ได้ - ในขณะทำการยิงระหวา่ งหยุดพัก ให้หยอดน้ำมันหล่อลื่นสว่ นเคลอ่ื นท่ีและร่องทางเดินของลูกเลื่อนภายใน โครงลูกเล่อื น หมายเหตุ ปก. M2-HB Q.C.B. (Quick Change Barrel) ขนาด.50 น้ิว (12.7 มม.)ได้ดัดแปลงมาจาก ปก.93 ขนาด .50 นิว้ (M2-HB) โดยบรษิ ัท FABRIQUE NATIONALE HERSTAL (FN) แห่งประเทศเบลเยียม ใหส้ ามารถเปลย่ี นลำกล้องได้รวดเรว็ ยิ่งขนึ้ (Quick Change Barrel) โดยไม่ตอ้ งปรบั ระยะหนา้ ลูกเลอ่ื นแต่ ให้ปรบั จังหวะการยงิ คณุ ลกั ษณะ, มาตราทาน และขปี นวธิ ี เหมอื นกับ ปก.93 ปจั จุบันปก.M2-HB Q.C.B. ใชต้ ดิ ตั้งเปน็ ปืนกลต่อส้อู ากาศยานประจำป้อมปืน ถ.เบา 32 (สติงเรย์) 8. การแก้ไขเหตุติดขัด เม่ือปืนเกิดติดขัดข้ึนในขณะทำการยิง พลยิงจะต้องกระทำอย่างใดอย่างหน่ึงให้ปืน สามารถทำการยิงได้ต่อไป ครั้งแรกให้คอย 5 วินาที หลังจากท่ีเหน่ียวไกไปแล้วและให้รีบดำเนินการแก้ไข ต่อไปโดยอาศยั การแก้ไขโดยฉับพลัน ปก.93

- 92 - ตารางชนิดกระสนุ ปนื กล 93 M2 HB, ปนื กล M2 Q.C.B. และ ปนื กล M85 ขนาด .50 นวิ้ ลำดบั ชนดิ กระสนุ รหสั สี ความมุ่งหมายในการใช้ 1. กระสนุ ธรรมดา ( BALL ) หวั กระสนุ ไม่ทาสี สังหารบคุ คล/ทำลายเปา้ หมายทไ่ี ม่แข็งแรง M2/M33 2. กระสนุ ส่องวิถี ( TRACER ) 2.1 M1/M21 หวั ทาสีแดง ความม่งุ หมายหลกั ใช้ตรวจตำบลกระสุนตก 2.2 M10 หัวทาสสี ้ม ความมุ่งหมายรองต้องการผลในการเผาไหม้ 2.3 M17 หัวทาสีนำ้ ตาล และใชท้ ำสัญญาณ 3. กระสนุ เจาเกราะ ARMOR หวั กระสุนสีดำ ต่อสอู้ ากาศยาน/ ยานเกราะขนาดเบา ทำลาย PIERCING ( AP ) M2 เป้าหมายท่เี ปน็ คอนกรีต 4. กระสนุ เพลิง( INCENDIARY ) 4.1 M1 หัวทาสีฟา้ อ่อน ยงิ ต่อสู้อากาศยาน/ ต้องการผลในการ 4.2 M23 หวั ทาสีฟ้ามแี ถบ ลุกไหม้ นำ้ เงนิ เข้มคาด 5. กระสุนเจาะเกราะเพลงิ หัวกระสนุ สเี งนิ ตอ้ งการผลในการเจาะเกราะ และลุกไหม้ ARMOR PIERCING INCENDIARY ( API ) M8 6. กระสนุ เจาะเกราะเพลงิ มดี ิน หัวกระสุนสีเงนิ มี ตอ้ งการผลในการเจาะเกราะ, ลกุ ไหม้ และ สอ่ งวถิ ี ARMOR PIERCING แถบสแี ดงคาด สามารถตรวจตำบลกระสุนตกได้ INCENDIARY TRACER ( APIT ) M20 7. กระสุนซ้อมรบ ( BLANK ) ปากปลอกกระสุนจีบ ใชใ้ นการฝึก สำหรับยงิ จำลองให้เหมือนกระสนุ M1A1 ไม่มลี ูกกระสนุ จรงิ 8. กระสุนทดสอบความดนั สงู ปลอกกระสุนสเี งนิ ยงิ ทดสอบอาวธุ / ลำกล้อง ในระหวา่ งการ HIGH PRESSURE TEST ผลิต และซ่อมบำรุง ( HPT ) M1 9. กระสุนฝึกบรรจุ (DUMMY ) ปลอกกระสนุ เจาะรู ใชใ้ นการฝกึ บรรจุ M2 3 รู * ปก.M85 ใช้สายกระสนุ M15A2 ขอ้ ต่อสายกระสุนเปิด (OPEN LOOP ) * ปก.93, ปก.M2 Q.C.B. ใช้สายกระสนุ M2 / M9 ข้อต่อสายกระสนุ ปิด (CLOSED LOOP ) ปก.93

- 93 - - - - - - - - - - - ----------------------------------- - - - - - - - - - - ปก.93

- 94 - ระบบอาวธุ ปอ้ มปืนรถถงั เบา 32 สตงิ เรย์ หลกั ฐาน รส.17-4-2, คู่มือ ถ.เบา 32 1. การทำความคนุ้ เคยปอ้ มปืน 1.1 กล่าวนำ ป้อมปืนติดตั้งปืนใหญ่ขนาด 105 มม.ของรถถังคอมมานโดสติงเรย์เป็นสถานีรบของ ผบ.รถ, พลยิง และพลบรรจุ ทใี่ ห้การป้องกันการยิงจากปืนเล็กและสะเก็ดระเบดิ ได้ ติดต้ังระบบอาวุธประกอบด้วยปืนใหญ่ แรงถอยต่ำขนาด 105 มม. 1 กระบอก, ปืนกลร่วมแกน 1 กระบอก, ปืนกลติดต้ังบนป้อมปืนตรงหน้าช่อง ทางเข้า-ออกของผู้บังคับรถ 1 กระบอก และเครื่องยิงลูกระเบิด ขนาด 66 มม. ชนิดติดต้ังคงที่ จำนวน 4 ลำ กล้องตรงดา้ นข้างภายนอกป้อมปืน สามารถใช้ยิงลูกระเบิดขนาดน้ีไดท้ ุกแบบ 1.2 มาตราทานคุณลกั ษณะทัว่ ไป จำนวนทีน่ ั่งซงึ่ จัดไว้ (3) ผูบ้ ังคบั รถ, พลยิง และ พลบรรจุ เครอ่ื งตรวจการณ์ 8 แหง่ (ผบ.รถ 7, พลบรรจุ 1) ฝาปดิ ช่องทางเขา้ -ออก (2) แผน่ เหลก็ เดย่ี ว ขดั กลอนไว้ วัสดุทใ่ี ชส้ ร้าง แผ่นเกราะป้องกนั กระสุนแค็ดลอยตัดข้นึ รูปแล้วเชือ่ มประสานกนั ระบบขบั เคล่ือนปอ้ ม แบบ ทำงานด้วยแรงดนั ไฮดรอลิคควบคมุ ดว้ ยไฟฟา้ และเสรมิ ดว้ ยระบบการ การทำงานด้วยมือ กล้องเล็ง (ผ้บู ังคบั รถ) ชนดิ ใช้งานได้ทงั้ กลางวนั และกลางคนื NV52 C (พลยิง) ชนิดใชง้ านไดท้ ัง้ กลางวันและกลางคนื ประกอบด้วย เครื่องหาระยะ ดว้ ยแสงเลเซอร์ M36 E1 SIRE ระบบเครอ่ื งควบคมุ การยิง มาร์โคน่ี DFCS. เครือ่ งคำนวณแสดงค่าด้วยตัวเลข ซ่งึ ประมวลจากระยะ ความเร็วลมทางข้าง ความเอียงของดุมปืน รวมกบั ขอ้ มูลซึ่งต้องป้อนดว้ ย ผู้ใช้ เครือ่ งรักษาการทรงตวั ของปืนใหญ่ แบบ 2 แกน ทำงานด้วยแรงดนั ไฮดรอลคิ ควบคุมดว้ ยไฟฟ้า การหมนุ ป้อมปนื 360 องศา ความเร็วในการหมุนป้อมปืน 40 องศา/วนิ าที มมุ สูง 20 องศา มมุ กด - 7.5 องศา ความเร็วในการใหท้ างสงู (ปืนใหญ่) 40 องศา/วนิ าที ความเร็วในการเกาะเป้าหมาย 0.25 มลิ เลยี ม/วนิ าที ระบบปอ้ งกนั ปืนใหญ่กระทบตัวรถ ทำงานโดยอตั โนมัติ วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 95 - 1.3 อาวุธ อาวธุ หลกั ปืนใหญ่แรงถอยต่ำ ขนาด 105 มม. แบบ L 7 อาวธุ รอง (ปืนกลรว่ มแกน) ปนื กล M240 T ขนาด 7.62 มม. (ปืนกลประจำสถานี ผบ.รถ) ปนื กล ขนาด .50 นว้ิ แบบ M2 HB (Q.C.B.) อาวธุ ป้องกนั ตนเอง เครือ่ งยิงลกู ระเบดิ ขนาด 66 มม. ชนิด 4 ลำกลอ้ ง จำนวน 2 ชุด กระสุนพรอ้ มรบ - ขนาด 105 มม. 8 นัด - ขนาด 7.62 มม. (ปก.ร่วมแกน) 400 นดั - ปนื กลประจำสถานรี บ ผบ.รถ 100 นดั (ขนาด .50 นวิ้ ) - ลกู ระเบิดยงิ ขนาด 66 มม. 8 นดั กระสนุ ในท่เี ก็บบรรทุก - ขนาด 105 มม. 24 นดั - ขนาด 7.62 มม. (ปก.ร่วมแกน) 2,000 นัด - ขนาด .50 น้วิ (ปก.ประจำสถานีรบ) 1,000 นัด - ลูกระเบดิ ยิง ขนาด 66 มม. 8 นดั 2. ปนื ใหญ่แรงถอยต่ำ ขนาด 105 มม. แบบ L7 2.1 กลา่ วนำ เป็นปนื ที่สร้างขนึ้ จาก Royal Ordnance แห่งประเทศอังกฤษ โครงสรา้ งของปืนใหญ่ชนิด น้ีจะมสี ่วนประกอบใหญ่ ๆ เชน่ เรอื นดมุ ปืนกระบอกเปลปืน และเครอ่ื งรบั แรงถอย เรือนดมุ ปืนนี้เปน็ ส่วนทร่ี ับแรง และน้ำหนักเกือบท้งั หมดในขณะที่ปนื ถอย เนื่องดว้ ยเป็นส่วนเชื่อมโยง ระหวา่ งระบบเครือ่ งรับแรงถอย และป้อมปนื 2.2 มาตราทาน 1. ขนาดกว้างปากลำกล้อง 105 มม. 2. เคร่อื งปิดท้ายเปน็ แบบล่มิ เลอ่ื น เปดิ -ปิด ในทางระดบั 3. เครอ่ื งรบั แรงถอยและเครื่องสง่ ปนื กลับเขา้ ที่แบบใช้อากาศและน้ำมนั 4. ลนั่ ไกดว้ ยระบบไฟฟา้ จากแบตเตอรี่ 5. ระยะถอยปกตขิ องปืนใหญ่ ประมาณ 760 มม. (30 นิว้ ) สว่ นของลำกลอ้ งปืนส่วนต่าง ๆ ของลำกลอ้ งปนื ประกอบด้วย.- 1. ปลอกย้ังการถอย 2. ปลอกรักษาอุณหภูมขิ องลำกลอ้ งปนื 3. หอ้ งระบายแกส๊ ตกค้างภายในลำกลอ้ งปนื 4. ลำกลอ้ งปนื 5. โครงเคร่อื งปดิ ท้าย วิชาอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)

- 96 - 3. เครอ่ื งรับแรงถอยปืนใหญ่ขนาด 105 มม. L7 ร ะ บ บ เค ร่ื อ ง รั บ แ ร ง ถ อ ย จ ะ ท ำ ห น้ า ท่ี ล ด แรงกระชากท่ีเกิดขึ้นอย่างรุนแรงเม่ือปืนทำการ ยิง กระบอกรับแรงถอยซ่ึงมีอยู่ 2 กระบอกจะ ลดแรงถอยและยังทำหน้าที่ควบคุมการถอยของ ปืนกระบอกสูบเครือ่ งส่งปืนกลบั เข้าท่ีมีกระบอก เดียว เป็นตัวส่งลำกล้องกลับเข้าที่ ซ่ึงก็ทำงาน สัมพันธ์กันกับกระบอกสูบเคร่ืองรับแรงถอยด้วย การชดเชยน้ำมันให้กับกระบอกสูบเครื่องรับแรงถอยน้ันเป็น หน้าท่ขี องกระบอกรบั น้ำมนั ชดเชย 1. ชุดกระบอกสูบรับแรงถอย ( Buffer Cylinder Assembly ) กระบอกสูบรับแรงถอยมีอยู่ 2 กระบอกติดต้ัง อยดู่ ้านข้างกระบอกเปลปืน โดยติดต้ังทำมุมทแยงตรงข้ามด้านบนขวา 1 กระบอก และดา้ นล่าง ซา้ ย1 กระบอก 2. ชดุ กระบอกสูบส่งปนื กลับเข้าที่ ( Recuperator Cylinder Assembly ) กระบอกสูบสง่ ปนื กลับเข้า ท่ีเปน็ แบบน้ำมันรว่ มกับอากาศ (ไนโตรเจน) ( Hydropneumatic ) การส่งปนื กลบั เขา้ ที่ของกระบอกสูบสง่ ปืน กลบั เข้าที่นี้จะถูกควบคมุ การกลับเข้าท่ีของลำกล้องด้วยชุดกระบอกสูบเครื่องรับแรงถอย กระบอกส่งปืนกลับ เขา้ ทต่ี ิดตัง้ อยู่ทางด้านบนซ้ายของกระบอกเปลปนื 3. กระบอกสูบรับน้ำมันชดเชย ( Buffer Replenisher ) กระบอกสูบรับน้ำมันชดเชย ซึ่งมีอยู่ กระบอกเดียว ติดต้ังอยู่บนแท่นรับด้านบนของกระบอกเปลปืน กระบอกสูบรับน้ำมันชดเชยจะทำหน้าท่ี 3 อยา่ ง คอื .- 3.1 รบั นำ้ มนั ส่วนทีเ่ กนิ จากกระบอกสบู เคร่ืองรับแรงถอย เมื่ออุณหภูมขิ องนำ้ มนั สูงขนึ้ มาก 3.2 ชดเชยน้ำมันให้กับกระบอกสูบเครื่องรับแรงถอยขณะที่ปืนถอยหลัง เพ่ือให้มีน้ำมันใน กระบอกสบู เพียงพอตลอดเวลา 3.3 ชดเชยนำ้ มนั สว่ นทรี่ ่วั ซึม ปริมาณน้ำมันเคร่ืองรับแรงถอยสามารถตรวจได้ที่ก้านวัดน้ำมันที่ท้ายกระบอกสูบรับน้ำมันชดเชย เวลาจะตรวจให้ผลักแผ่นแหนบกันปลายก้านวัดให้พ้นท้ายก้านวัดแล้วดึงก้านวัดออกมา ความยาวของก้านวัด จะแสดงใหท้ ราบว่าปริมาณน้ำมันปกติหรือไม่ (ปกตกิ า้ นวดั ดึงออกมาได้ยาว 1-2.5 น้ิว) (ถ้าใช้มอื ดึงกา้ นวดั ออก ไมไ่ ด้แสดงว่า ในกระบอกรับน้ำมนั ชดเชยไมม่ ีนำ้ มนั อย่เู ลย) วชิ าอาวุธและยทุ ธภณั ฑย์ านเกราะ (ถ.เบา 32)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook