Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ pdf

หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ pdf

Published by suwattana9893, 2020-05-26 02:53:03

Description: หน่วยที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ pdf

Search

Read the Text Version

รายวชิ า หลกั เศรษฐศาสตร์ รหัส 30200 - 1001 หลกั สูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูง (ปวส.) พ.ศ. 2562 อาจารย์ สุวฒั นา ธรรมกรณ์ วทิ ยาลยั เทคนิคลพบุรี

หน่วยท่ี 1 ความรู้ทวั่ ไปเกย่ี วกบั เศรษฐศาสตร์

ความหมายเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์ (Economic) คือ วชิ าท่ีศึกษาถึงพฤติกรรมของมนุษยเ์ กี่ยวกบั การเลือกใช้ ทรัพยากรท่ีมีอยอู่ ยา่ งจากดั เพอื่ ตอบสนอง ֍ ความตอ้ งการของมนุษยท์ ี่มีอยอู่ ยา่ งไมจ่ ากดั ֍ การใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยดั และเกิดประโยชนส์ ูงสุด

ทรัพยากรการผลติ / ปัจจัยการผลติ ประเภทของทรัพยากรการผลจิ หรือ ปัจจยั การผลติ แบ่งออกเป็ น 4 ประเภท ประกอบด้วย 1. ทดี่ ิน (Land) ได้แก่ ทดี่ ิน ป่ าไม่ แร่ธาตุ สัตว์ป่ า ทรัพยากรอื่น ๆ – มอี ยู่ตามธรรมชาติ มนุษย์สร้างเองไม่ได้ 2. แรงงาน (labour) หรือ มนุษย์ ได้แก่ ความรู้ ความชานาญในการ ประกอบอาชีพ 3. ทุน ( capital) เป็ นสิ่งทม่ี นุษย์สร้างขนึ้ ได้แก่ เครื่องจักร เครื่องมือ 4. ผู้ประกอบการ (entrepreneur) เป็ นผู้รวบรวมปัจจัยการผลติ

ประวตั ขิ องวชิ าเศรษฐศาสตร์ บุคคลสาคญั ท่ีวางรากฐานของวชิ าเศรษฐศาสตร์มีหลายคน หลายสานกั ในท่ีน้ีจะ กลา่ วถึงบุคคลสาคญั 4 ท่าน ไดแ้ ก่ ชอ่ื / สำนัก แนวคดิ ผลงำน 1. อดมั สมิท - ตลำดเสรีใหม่ -ตำรำ ชอ่ื An Inquiry into the สำนักคลำสสิก (บดิ ำแหง่ - มือทม่ี องไม่เหน็ Nature ana Causes of the Weath of Nations กล่ำวถงึ กำรพัฒนำ เศรษฐศำสตร)์ เศรษฐกจิ และเรอ่ื งท่วั ไปทำเศรษฐศำสตร์ 2. เดวดิ ริคำรโ์ ด - ควำมเชอื่ มันใน - หนังสอื เศรษฐศำสตรก์ ำรเมือง สำนักคลำสสิก ระบบเศรษฐกจิ แบบเสรนี ิยม

ประวตั ขิ องวชิ าเศรษฐศาสตร์ ชื่อ / สานกั แนวคดิ ผลงาน 3. อลั เฟรด มาร์แชล - การมอี ย่อู ย่าง -นาแนวคิดของสานกั คลาสสิกมราปรับปรุง สานักนโี อคลาสสิก จากดั ของทรัพยากร - การใช้ทรัพยากร ให้ได้ประโยชน์ สูงสุด 4. จอร์น -เศรษฐศาสตร์มห หนังสือ ชื่อ The General Theory of เมนาร์ด เคนย์ ภาค Employment1, Interest and Money - แบบจำลองอุป (อธิบายสาเหตขุ องภาวะสินค้าล้นตลาด การ สงคร์ วมและ ว่างงานท่วั ไป วธิ ีแก้ปัญหาเศรษฐกจิ ตกตา่ โดยใช้ อุปทำนรวม นโยบายการเงนิ การคลงั

แขนงของวชิ าเศรษฐศาสตร์ 1. เศรษฐศาสตร์จลุ ภาค 2. เศรษฐศาสตร์มหภาค ( Microeconomics) ( Macroeconomics) เป็ นการศึกษาพฤติกรรมทาง เป็ นการศึกษาพฤติกรรม เศรษฐกจิ ของหน่วยย่อย ๆในสังคม เช่น ทางเศรษฐกจิ ของส่วนรวมหรือ การผลติ การลงทุน การกาหนดราคาของ ระดับประเทศ เช่น รายได้ประชาชาติ ตลาดในธุรกิจกใดธุรกจิ หนึ่ง ระดับราคาสินค้าและบริการโดยทัว่ ไป การบริโภค การออม ภาวะเงินเฟ้อ การ คลงั

ความสัมพนั ธ์ระหว่างเศรษฐศาสตร์กบั วชิ าอื่น ๆ สาขาวชิ า รายละเอียด 1.บริหารธุรกิจ - เศรษฐศาสตร์ศึกษาธุรกิจต่าง ๆ เป็ นส่วนรวม ในขณะท่ีธุรกิจ 2. รัฐศาสตร์ ศึกษาวธิ ีการดาเนินธุรกิจอย่างไรให้ได้กาไรสูงสุด ต้นทุนต่า 3. สังคมแขนง - รัฐต้องใช้ท้ังรัฐศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ในการบริหารบ้านเมือง อื่น ให้ม่ังคั่ง 3.1 นิติศาสตร์ – ออกกฎหมายควบคุมสนับสนุนป้องกันไม่ให้ สังคมเดือดร้อน 3.2 ประวตั ิศาสตร์ – เศรษฐศาสตร์มวี วิ ฒั นาการตามยุคสมัย 3.3 สังคมวทิ ยา – ช่วยให้นักเศรษฐศาสตร์เข้าใจพฤติกรรมมนุษย์ 3.4 จิตวทิ ยา – ศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภค, ผู้ผลติ

หน่วยเศรษฐกจิ หน่วยเศรษฐกจิ ( economic units) หมายถึง หน่วยที่ทาหนา้ ท่ีทางดา้ นการผลิต การบริโภค และการจาแนก แจกจ่ายสินคา้ และบริการที่มีอยใุ่ นระบบเศรษฐกิจ 1. ภาคครัวเรือน (household sector) - มีฐานะเป็นเจา้ ของปัจจยั การผลิต และ ในฐานะผบู้ ริโภค ภาคครัวเรือนเสนอขายปัจจยั การผลิต ไดแ้ ก่ ท่ีดิน แรงงาน ทุน และ ผปุ้ ระกอบการ 2. ภาคธุรกิจ ( business sector) – เป็นผทุ้ ี่ทาการผลิตสินคา้ และบริการเพ่อื ตอบสนองความตอ้ งการผบู้ ริโภค 3. ภาครัฐบาล (government sector) – รัฐบาลจะเขา้ มาวางระบบเศรษฐกิจให้ เจริญเติบโต

วรจรกจิ กรรมทางเศรษฐกจิ รายได้ (ค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบีย้ กาไร) ปัจจัยการผลติ ที่ดิน แรงงาน ทุน การประกอบการ เงนิ ออม ภาคการเงนิ เงนิ กู้ ภาครัฐ ครัวเรือน ธุรกจิ ภาษี ภาษี สินค้า และ บริการ ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ

ปัญหาพืน้ ฐานทางเศรษฐกจิ ปัญหาผลติ อะไร (WHAT) ปัญหาผลติ อย่างไร (HOW) ปัญหาผลติ เพ่ือใคร (FOR WHOM)

ระบบเศรษฐกจิ ระบบเศรษฐกจิ ( Economic system ) คือ สถาบันทางเศรษฐกจิ ที่เกดิ จากหน่วยเศรษฐกจิ เลก็ ๆ หลาย หน่วยรวมตวั กนั มีการปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ ระเบียบ นโยบายที่คล้ายคลงึ กนั ใช้เป็ นแบบแผนให้สถาบันทางเศรษฐกจิ ถือเป็ นแนวทางในการดาเนิน กจิ กรรมและแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกจิ ท่ีเกดิ ขนึ้ ระบบเศรษฐกจิ แบ่งออกเป็ น 3 ประเภทใหญ่ คือ - ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม หรือ เสรีนิยม - ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม - ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม

ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม หรือ เสรีนิยม (Capitalism Economic System) มีลกั ษณะสาคัญดงั นี้ 1) การมกี รรมสิทธ์ิในทรัพย์สิน 2) การมีเสรีภาพในธุรกจิ 3)การมกี าไรเป็ นสิ่งจุงใจ รายได้จากการขายปัจจยั การผลิต 4) การใช้ราคาตลาดเป็ นตัวกาหนดอุปสงค์อละอุปทาน

ระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยม หรือ เสรีนิยม (Capitalism Economic System) ข้อดี ข้อเสีย 1. คล่องตัว - ระบบเศรษฐกิจมีความ คลอ่ งตวั และมีความสามารถปรับไดม้ าก 1. ประสิทธิภาพ – ระบบเศรษฐกิจอาจ จดั สรรทรัพยากรไม่มีประสิทธิภาพ อาจ 2. เสรีภาพ - หน่วยเศรษฐกิจมีเสรีภาพใน เกิดการผกู ขาด การใชท้ รัพยากรหรือประกอบกิจการ 2. ความเสมอภาค – ระบบเศรษฐกิจอาจ 3. ประสิทธิภาพ – ทรัพยากรสามารถ มีการสืบทอดทรัพยส์ ิน อาจเกิดความไม่ หมุนเวยี นเคลื่อนไหวไปยงั ท่ีต่างๆ ได้ เสมอภาค คล่องตวั โดยอาศยั กลไกราคา 3. ความมเี สถยี รภาพและปัญหาสังคม และสิ่งแวดล้อม - อาจก่อใหเ้ กิดความไม่ มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เช่น การผนั แปรในตลาดหุน้ ตลาดทุน

ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม (Socialist Economic System) มลี ักษณะสาคัญดงั นี้ 1) เป็ นระบบเศรษฐกจิ ท่ีมีการวางแผนจากส่วนกลาง 2) รัฐบาลเข้าควบคุมการผลิตในส่วนสาคัญและบางกรณอี าจเข้ายึดกรรมสิทธ์ิใน ทรัพย์สินแทนเอกชน 3) เอกชนไม่มีเสรีภาพในการผลติ 4) รัฐบาลจดั สรรผลผลิตตามหลกั แห่งการผลติ เพื่อใช้ ไม่ให้แสวงหาผลกาไร

ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม (Socialist Economic System) ข้อดี ข้อเสีย ผทู้ ี่นิยมระบบเศรษฐกิจแบบสังคม 1. ประสิทธิภาพ – การวางแผนจาก นิยม มีความเห็นวา่ การดาเนินงาน ส่วนกลางมกั จะไม่มีประสิทธิภาพและ บางอยา่ ง เช่น มีความคลอ่ งตวั การยดึ อาจผิดพลาดไดง้ ่าย กิจการบางอยา่ งมากเป็นของรัฐ เพ่ือขจดั การแขง่ ขนั และระบบผกู ขาดของธุรกิจ 2. เสรีภาพ – ประชาชนไม่มีกรรมสิทธ์ิ ในทรัพยส์ ิน และปัจจยั การผลิต 3. ความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจ - ข้ึนอยกู่ บั นโยบายของรัฐบาลเป็นหลกั ทาหระบบเศรษฐกิจน้ีอาจจะมีปัญหาใน การพฒั นา

ระบบเศรษฐกจิ แบบสังคมนิยม (Socialist Economic System) ข้อดี ข้อเสีย 4. แรงจูงใจ – ขาดแรงจุงใจในการผลิต และคิดคน้ สิ่งประดิษฐใ์ หม่ๆ 5. การผลติ สินค้าหรือบริการ –การผลิต หรือจดั สรรผบู้ ริโภคอาจไม่ตรงตามความ ตอ้ งการ

ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม (Mixed Economy) มีลกั ษณะสาคัญดังนี้ 1) เป็ นระบบเศรษฐกิจท่ีมีการผสมผสานกันระหว่างระบบเศรษฐกจิ แบบทุนนิยมกบั ระบบเศรษฐกิจแบบสังคมนิยม 2) ฐบาลและเอกชนมสี ่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ 3) อัฐบาลและเอกชนมีกรรมสิทธ์ิในทรัพย์สิน 4) กลไกราคามบี ทบาทในการจัดสรรทรพยั ากรและจัดสรรการผลิตแต่น้อยกว่าทุน นิยม

ระบบเศรษฐกจิ แบบผสม (Mixed Economy) ข้อดี ข้อเสีย 1. ความคล่องตัว - การดาเนินการตมี 1. ขาดแรงจูงใจ – เอกชนขาดแรงจูงใจ ความคล่องตวั เพราะสามารถปรับตวั ให้ ในการดาเนินการ ตอ้ งเสี่ยงกบั ความไม่ เขา้ กบั สถานการณ์ของเศรษฐกิจได้ แน่นอนของรัฐบาล 2.แรงจูงใจจากกลไกราคา - อาศยั กลไก 2. ประสิทธิภาพ - การผลิตขนาดใหญข่ อง ราคาเพอ่ื จูงใจใหเ้ อกชนในการทาการผลิต รัฐบาลมกั ขาดประสิทธิภาพเม่ือเทียบกบั สินคา้ และบริการเพ่อื ลดภาระของรัฐบาล เอกชน 3.รัฐบาลสามารถเข้าแก้ปัญหาเม่ือจาเป็ น - เมื่อกรณีเกิดปัญหาทางเศรษฐกิจรัฐบาล สามารถเขา้ ควบคุมหรืออกกฎหมายบงั คบั ได้

เครื่องมือประกอบการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์ เครื่องมือ คาอธิบาย ตัวอย่าง 1.ฟังก์ชัน (function) - ความสัมพนั ธ์ของตวั แปร Y = f (X) ต้งั แต่ 2 ตวั ข้ึนไปโดยสามารถ แสดงในรูปคณิตศาสตร์ 2. สมการ - ฟังกช์ นั จะแสดงใหเ้ ห็นวา่ ตวั Y = a + bx แปรใดมีความสัมพนั ธ์กนั (equation) เท่าน้นั แต่ไม่ไดแ้ สดงใหเ้ ห็นถึง ความสมั พนั ธท์ ่ีเฉพาะเจาะจง

เคร่ืองมือประกอบการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์ เครื่องมือ คาอธิบาย ตัวอย่าง 3. กราฟ - ใชแ้ สดงความสมั พนั ธข์ อง Y (graph) ตวั แปรต้งั แต่ 2 ตวั ข้ึนไปใน ลกั ษณะรูปกราฟท่ีพบเสมอ +Y ในทางเศรษฐศาสตร์ใชแ้ สดง X ตวั แปร 2 ตวั บนกราฟท่ีมี 2 X แกน คือ แกนต้งั และแกนนอน ท้งั 2 แกนต้งั ฉากกนั X- X+ -Y Y

เครื่องมือประกอบการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์ เครื่องมือ คาอธิบาย ตัวอย่าง 4. ความชัน (slope) อตั ราส่วนเปลี่ยนแปลง Slope = Y2-Y1 = ∆Y 5. ค่ารวม ของค่าตวั แปรบนแกน X2-X1 ∆X (total value ) ต้งั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง ของคา่ ตวั แปรบนแกน นอน หรือสามารถเขียน ในรูปคณิตศาสตร์ได้ ยอดรวมท้งั หมด เช่น ตน้ ทุนรวม รายไดร้ วม

เคร่ืองมือประกอบการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์ เครื่องมือ คาอธิบาย ตัวอย่าง 6.ค่าเฉลยี่ อตั ราส่วนของยอดรวมตวั ( average value) แปรตามกบั ยอดรวมของตวั แปรอิสระ เช่น ตน้ ทุนเฉล่ีย 7. ค่าหน่วยเพมิ่ (marginal value) ตอ่ หน่วย เป็นวธิ ีวดั คา่ ท่ีนิยมกนั ในทาง สูตรของหน่วยเพิม่ = เศรษฐศาสตร์ คือ การ ส่วนเปลี่ยนแปลงของตวั แปรตาม Y พจิ ารณาวา่ ตวั แปรตามจะ ส่วนเปล่ียนแปลงของตวั แปรอิสระ X เปล่ียนแปลงไปเท่าไร เมือตวั แปรอิสระเปลี่ยนแปลงค่าไป จากเดิม 1 หน่วย

เคร่ืองมือประกอบการศึกษาวชิ าเศรษฐศาสตร์ เคร่ืองมือ คาอธิบาย ตัวอย่าง 8. คา่ สูงสุดและ ทฤษฎีเศรษฐศาสตร์มกั ให้ คา่ ต่าสุด ความสาคญั กบั การหา (maximum ana คา่ สูงสุดและกต่าสุด การหา คา่ ดงั กลา่ วสามารถทาไดโ้ ดย minimum value) วธิ ีแคลคูลสั และโดยอาศยั รูปกราฟ

ประโยชน์ของวชิ าเศรษฐศาสตร์ 1. ช่วยให้การดาเนินชีวติ ประจาวนั เป็ นไปอย่างมีหลักเกณฑ์และมีเหตุผล 2. เป็ นความรู้พืน้ ฐานที่จาเป็ นในการประกอบธุรกิจ 3. หน่วยธุรกจิ สามารถนาความรู้ไปใช้ในการตัดสินใจทางธุรกิจได้ดี 4. ประชาชนสามรถนาความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ไปใช้ในการประกอบอาชีพให้ เจริญก้าวหน้า 5. เข้าใจพฤติกรรมมนุษย์ เข้าใจกฎเกณฑ์ ทาให้เกิดแนวทางการเปลยี่ นแปลงท่ีพฒั นา สังคมเศรษฐกจิ ที่ตนอาศัยอยู่ 6. รัฐบาลเข้าใจถึงข้อเท็จจริงเกย่ี วกบั ปัจจัย สภาวะแวดล้อม และสภาวะเศรษฐกจิ ที่ ดารงอยู่ รวมท้ังวางแผนส่งเสริมและพฒั นาระบบเศรษฐกจิ ให้ก้าวหน้า

สวสั ดคี ่ะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook