Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โลก-Earth_clone

โลก-Earth_clone

Published by annyy1035, 2019-09-03 05:55:04

Description: โลก-Earth

Search

Read the Text Version

โลก Earth โลก (อังกฤษ: Earth) เปน็ ดาวเคราะห์ลาดับทสี่ ามจากดวงอาทติ ย์ และเป็นวัตถทุ างดาราศาสตรเ์ พียงหนง่ึ เดียวที่ทราบวา่ มสี งิ่ มีชวี ิต จากการวัดอายุด้วยกัมมนั ตรงั สี และแหลง่ หลักฐานอนื่ ได้ความว่าโลกกาเนดิ เม่ือประมาณ 4,500 ล้านปีก่อนโลกมอี ันตรกิรยิ ะเชงิ โนม้ ถ่วงกบั วัตถุอ่ืนในอวกาศโดยเฉพาะดวงอาทติ ย์และดวงจันทร์ ซึ่ง เปน็ ดาวบริวารถาวรหนึง่ เดียวของโลก โลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ใชเ้ วลา 365.26 วัน เรียกว่า ปี ซงึ่ ระหว่างนัน้ โลกโคจรรอบแกนตวั เองประมาณ 366.26 รอบ[n 4]แกน หมนุ ของโลกเอียงทาให้เกิดฤดกู าลตา่ ง ๆ บนผิวโลกอันตรกิริยาความโน้มถว่ งระหว่างโลกกับดวงจันทร์ก่อให้เกิดน้าขึ้นลงมหาสมทุ ร ทาใหก้ ารหมุนบนแกนของโลกมี เสถียรภาพ และค่อย ๆ ชะลอการหมุนของโลกเปน็ ดาวเคราะห์ที่มคี วามหนาแนน่ สูงสดุ ในระบบสรุ ิยะและใหญ่สุดในดาวเคราะห์คล้ายโลก 4 ดวงธรณีภาคของโลก แบง่ ออกไดเ้ ป็นหลาย ๆ สว่ น เรียกว่าแผน่ ธรณภี าค ซง่ึ ย้ายทต่ี ัดผ่านพื้นผวิ ตลอดเวลาหลายล้านปี ร้อยละ 71 ของพน้ื ผวิ โลกปกคลมุ ด้วยน้า ซง่ึ สว่ นใหญ่เป็น มหาสมุทรอกี ร้อยละ 29 ที่เหลือเป็นแผ่นดินประกอบด้วยทวีปและเกาะซงึ่ มที ะเลสาบ แมน่ ้าและแหลง่ นา้ อน่ื จานวนมากกอปรเป็นอทุ กภาค บริเวณขว้ั โลกท้ังสองปก คลมุ ดว้ ยน้าแข็งเป็นส่วนใหญ่ ได้แกแ่ ผน่ น้าแขง็ แอนตาร์กติก และน้าแข็งทะเลของแพน้าแขง็ ข้วั โลก บรเิ วณภายในของโลกยังคงมคี วามเคล่ือนไหวโดยมแี ก่นชั้นในซง่ึ เป็นเหล็กในสถานะของแขง็ มีแกน่ เหลวชน้ั นอกซ่ึงกาเนดิ สนามแมเ่ หล็ก และช้นั แมนเทลิ พาความร้อนทขี่ ับเคล่ือนการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาคภายในพนั ลา้ นปแี รก ส่ิงมชี วี ิตปรากฏขนึ้ ในมหาสมทุ รและเร่ิมสง่ ผลกระทบต่อช้ันบรรยากาศและผวิ ดาว เก้ือหนุนให้เกดิ การแพร่ขยายของสงิ่ มีชวี ิตทใี่ ช้ออกซเิ จนเช่นเดียวกบั สิง่ มีชวี ิตทีไ่ ม่ ใชอ้ อกซิเจน หลกั ฐานธรณีวิทยาบางสว่ นช้วี ่าชีวิตอาจกาเนดิ ขึ้นเรว็ สุด 4.1 พนั ล้านปีก่อน นบั แตน่ นั้ ตาแหน่งของโลกในระบบสรุ ยิ ะ คณุ สมบัติทางกายภาพของโลก และประวัติศาสตร์ธรณีวทิ ยาของโลกประกอบกันทาให้ส่ิงมีชีวิตววิ ัฒนาการและแพร่พนั ธ์ุ

ศพั ทมลู วิทยา คาวา่ โลก ในภาษาไทยมที ีม่ าจากคาในภาษาบาลี โลก (โล-กะ) คนไทยใช้คานีเ้ รยี กโลกต้งั แตเ่ ม่ือใดน้ันไม่ปรากฏหลกั ฐานแน่ชัด แตค่ าดว่านา่ จะได้รับอทิ ธิพลสืบทอด ผา่ นมาทางพระพุทธศาสนา เดมิ น้นั คาวา่ โลกไมไ่ ดห้ มายความเฉพาะเพียงแต่โลกท่เี ปน็ วัตถธุ าตุ แต่ใชใ้ นหลายความหมาย ได้แก่ \"หมู่\" \"เหล่า\" \"ขอบเขต\" \"ทง้ั หมดใน ขอบเขต\" \"ขอบเขตอาศยั \" \"ความเป็นไป\" \"ความเป็นอยู่\"หากกล่าวถึงโลกทั้ง ๓ กจ็ ะหมายถึง สังขารโลก (โลกคือสังขาร) สตั ว์โลก (โลกคือหมู่สตั ว์) และโอกาสโลก (โลกคือแผ่นดิน)[41] ปจั จุบันมีการใชค้ าว่า โลกในความหมายเกย่ี วข้องกบั มนุษย์ หรืออารยธรรมมนุษย์(ซ่ึงตรงกับคาว่า World ในภาษาอังกฤษ) นอกเหนอื จาก ความหมายดาวเคราะห์ท่ีนิยมใชท้ ่วั ไปคาว่าโลกในภาษาตา่ งประเทศ องั กฤษร่วมสมยั ใชค้ าว่า Earth พฒั นามาจากรูปแบบภาษาอังกฤษสมัยกลางตา่ ง ๆ กันซึ่งสืบมาจาก คานามในภาษาองั กฤษสมยั เกา่ ทน่ี ยิ มสะกดว่า eorðeมีรากเดียวกันกบั ทกุ ภาษาในกล่มุ เจอร์แมนิก และโปรโตเจอร์แมนกิ ที่ได้ประกอบเป็น *erþō ตามทปี่ รากฏในสมยั แรก ๆ มีการใชค้ า eorðe เพ่ือแปลความจากคาภาษาลาติน terra และภาษากรกี γῆ (gē) ในความหมาย พน้ื ดินดนิ ผืนดนิ แหง้ โลกมนุษยพ์ ื้นผวิ ของโลก (รวมทงั้ ทะเล) ตลอดจนพิภพโลกทั้งมวล[n 10] เชน่ เดียวกนั กบั เทอร์ราและไกอา โลกถือวา่ เปน็ เทพเจ้าตามลทั ธเิ พเกนิ ของชาวเจอร์แมนกิ -ชาวแองเกิลตามท่ีแทซทิ สั ไดบ้ ันทึกไว้ใน บรรดาผู้ศรัทธาในเทพเนอทัสและภายหลงั ตามเทวตานานนอร์ส คือ ยรู ์ด (Jörð) ยักษณิ ซี ง่ึ สมรสกับโอดินและเปน็ มารดาของทอร์อกี หลายภาษาทม่ี คี วามเป็นมา ใกลเ้ คียงกบั ไทยเชน่ ภาษาลาวกเ็ รียกโลกว่า ໂລກ (โลก) เช่นเดยี วกัน ปจั จุบันเยอรมันใช้คาเรียกโลกคือ Erde (แอร์เดอะ) คล้ายกบั ดตั ช์ Aarde (อาร์เดอะ), กลุ่มภาษา โรมานซ์ สเปนใช้คา Tierra (ตีเอร์รา) คล้ายกับอิตาลที ่ใี ช้ Terra (เตร์รา) หรือฝร่งั เศส Terre (แตร์), ภาษาจนี ใช้ 地球 (Dìqiú ต้ีฉวิ ) หรือ 坤輿 (Kūnyú คนุ หยู๋) ญี่ปนุ่ เรยี ก 地球 (Chikyū จิคีว) เกาหลีเรยี ก 지구 (Jigu ชีก)ู และสนั สกฤตใชค้ า पथृ ्वी (ปฐว)ี ลาดบั เวลา วัตถแุ รกเร่มิ ทส่ี ุดทพ่ี บในระบบสุริยะมีอายยุ ้อนหลังไปถึง 4.5672±0.0006 พันลา้ นปีก่อนโลกยคุ แรกเรม่ิ ถือกาเนิดข้ึนเมื่อ 4.54±0.04 พันล้านปกี ่อนมกี ารก่อกาเนิด และวิวัฒนาการของวัตถุต่าง ๆ ในระบบสุริยะร่วมกับดวงอาทิตย์ ตามทฤษฎแี ล้วเนบิวลาสุริยะแยกส่วนอาณาบรเิ วณหนึ่งออกจากเมฆโมเลกุลโดยการยุบตวั จากแรง

โน้มถ่วง ซง่ึ เร่มิ หมุนและแบนลงเป็นจานรอบดาวฤกษ์ จากนัน้ ดาวเคราะหต์ ่าง ๆ เกิดข้ึนจากจานนั้นพรอ้ มกับดวงอาทติ ย์ ในเนบวิ ลาประกอบด้วยกาาซ เม็ดนา้ แขง็ และฝนุ่ (รวมท้ังนวิ ไคลดแ์ รกกาเนดิ ) ตามทฤษฎีเนบวิ ลา พลาเนตติซมิ ลั (planetesimal) หรอื วัตถุแข็งทจ่ี ะก่อกาเนิดดาวเคราะห์ เกิดขึน้ จากการงอกพอกพนู โดยโลก บรรพกาลใช้เวลากอ่ กาเนิด 10–20 ล้านปี ดวงจันทร์กาเนิดข้ึนเม่อื ประมาณ 4.53 พันลา้ นปีก่อนการกาเนดิ ของดวงจนั ทรย์ ังเป็นหวั ข้อการวจิ ยั ในปัจจุบนั สมมติฐานนากลา่ วว่าดวงจันทร์ถือกาเนดิ ขึ้นโดยการ พอกพูนจากวัตถุท่ีหลุดออกจากโลกหลงั จากโลกถกู วัตถุขนาดใหญเ่ ท่าดาวองั คารชื่อวา่ เธยี (Theia) พุง่ เขา้ ชนแบบจาลองน้ีกะว่ามวลของเธียคดิ เปน็ ประมาณรอ้ ยละ 10 ของมวลโลกพุ่งเขา้ ชนโลกในลักษณะแฉลบและมวลบางส่วนรวมเข้ากบั โลกในระหว่างเวลาประมาณ 4.และ 3.8 พันลา้ นปีก่อน ดาวเคราะหน์ ้อยจานวนมากพุ่ง ชนระหว่างการระดมชนหนักครัง้ สุดท้าย ก่อให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงอย่างใหญ่หลวงกับบรเิ วณพน้ื ที่ผิวส่วนใหญ่ของดวงจันทร์รวมทง้ั โลก ประวตั ทิ างธรณีวิทยา บรรยากาศโลกและมหาสมทุ รประกอบข้ึนจากกมั มนั ตภาพภูเขาไฟและกระบวนการปล่อยกา๊ ซ (outgassing) ไอน้าจากสองแหลง่ ดังกลา่ วควบแนน่ เป็นมหาสมทุ ร รวม กบั น้าและน้าแขง็ ที่มากบั ดาวเคราะห์น้อย ดาวเคราะหก์ ่อนเกิด และดาวหางตามแบบจาลองน้ี \"กา๊ ซเรือนกระจก\" ในบรรยากาศช่วยรักษามหาสมทุ รไม่ให้เยอื กแขง็ เม่อื ดวงอาทิตย์ทเ่ี พง่ิ กอ่ กาเนิดยงั มคี วามสวา่ งเพียงร้อยละ 70 เทียบกับปัจจบุ ัน[63] ราว 3.5 พันลา้ นปกี อ่ น เกิดสนามแม่เหล็กโลกซึ่งช่วยปกปอ้ งบรรยากาศไม่ให้ถกู ลม สุริยะพดั พาไปเปลอื กโลกก่อรูปขึ้นเมื่อชนั้ นอกทหี่ ลอมเหลวของโลกเย็นตัวลงจนอยใู่ นสถานะแข็ง มีแบบจาลองสองแบบจาลอง ทีอ่ ธิบายการเกิดขึ้นของแผ่นดินโดย

แบบจาลองหนึ่งเสนอวา่ แผ่นดนิ ค่อย ๆ เกิดขนึ้ จนมรี ูปร่างดงั ในปจั จบุ นั อกี แบบจาลองหน่งึ ซง่ึ อาจเปน็ ไปได้มากกว่า เสนอว่าแผน่ ดินเตบิ โตอย่างรวดเร็วตั้งแต่ชว่ งแรก ๆ ในประวตั ศิ าสตรโ์ ลกอนั เน่ืองมาจากการดารงอย่มู าต่อเนอื่ งยาวนานของพื้นทส่ี ว่ นทวปี ทวีปต่าง ๆ เกิดขนึ้ โดยการแปรสณั ฐานแผ่นธรณภี าคซึ่งเป็นกระบวนการทีม่ ี สาเหตุจากการสูญเสียความร้อนของบริเวณภายในของโลกอย่างตอ่ เนอื่ ง ตามมาตรเวลากว่าหลายร้อยลา้ นปี มีการรวมมหาทวีปแลว้ แยกออกจากกนั ประมาณ 750 ลา้ น ปีก่อน มหาทวีปแรก ๆ ที่ทราบชือ่ โรดเิ นียเร่ิมแตกออกจากกนั ต่อมาทวปี ท้งั หลายกลบั มารวมกันเป็นมหาทวีปแพนโนเชียเมื่อราว 600–540 ล้านปีกอ่ น และสุดท้ายคอื มหาทวีปแพนเจียซ่งึ กแ็ ยกออกจากกันเม่ือราว 180 ลา้ นปีก่อน รปู แบบปจั จุบันของยคุ น้าแข็งเร่ิมขน้ึ เมอื่ ประมาณ 40 ล้านปีกอ่ นแลว้ ทวคี วามรนุ แรงขึ้นระหว่างสมัยไพลสโตซีนเมื่อราว 3 ลา้ นปกี ่อน ตั้งแต่นน้ั เปน็ ตน้ มาบริเวณ ละติจดู สูง ๆ เผชิญกบั วัฏจกั รการเกิดของธารนา้ แข็งสลับกับการละลายแบบเวยี นซา้ โดยอุบตั ซิ า้ ในทกุ ๆ 40,000–100,000 ปี การเปลยี่ นสภาพโดยธารน้าแข็งของทวีป ครงั้ สดุ ท้ายสิ้นสุดลงเมอื่ ประมาณ 10,000 ปีกอ่ น วิวฒั นาการของสิง่ มีชีวิต ว่าปฏิกิรยิ าเคมพี ลงั งานสงู ทาให้เกดิ โมเลกุลทสี่ ามารถถ่ายแบบตนเองได้เมื่อราวส่ีพันล้านปกี ่อน อีกครง่ึ พนั ล้านปีต่อมา เกดิ บรรพบุรุษรว่ มสุดทา้ ยของสรรพชวี ิต วิวัฒนาการของการสงั เคราะห์ดว้ ยแสงทาใหบ้ รรดาส่งิ มชี วี ติ สามารถเก็บเกี่ยวพลงั งานจากดวงอาทิตย์ได้โดยตรง ออกซเิ จนในรูปโมเลกุล (O2) ทเี่ กดิ จากการ สงั เคราะห์ด้วยแสงมกี ารสะสมในบรรยากาศ และดว้ ยผลกระทบจากรงั สอี ัลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตยจ์ ึงได้กอ่ ชัน้ เกราะโอโซน (O3) ขน้ึ ในบรรยากาศเบ้ืองบน[75] การรวมเซลลข์ นาดเล็กในเซลล์ที่ใหญ่กว่าทาให้เกิดพัฒนาการของเซลลซ์ บั ซอ้ นเรียกว่า ยูแคริโอตสิ่งมชี วี ิตหลายเซลล์ท่แี ทจ้ รงิ เกดิ ขึ้นเม่ือเซลล์ตา่ ง ๆ ภายในโคโลนีมี การแบง่ หน้าทเี่ ฉพาะมากขน้ึ เน่อื งจากชัน้ โอโซนชว่ ยดูดซับรงั สอี ัลตราไวโอเลตอันเป็นอันตรายออกไป สงิ่ มชี วี ติ จึงอยอู่ าศัยไดบ้ นพื้นผวิ โลกหลักฐานทางบรรพชีวิน แรก ๆ ของสงิ่ มชี ีวติ บนโลกคือ ซากดึกดาบรรพผ์ นื จุลชพี ที่พบในหนิ ทรายอายุ 3.48 พันล้านปีในออสเตรเลียตะวันตกแกรไฟตช์ ีวภาพในชน้ั หินตะกอนแปรอายุเก่าแก่

ประมาณ 3.7 พันล้านปคี ้นพบในกรนี แลนด์ตะวนั ตกหลักฐานโดยตรงของส่งิ มีชีวิตบนโลกอย่างแรกอย่ใู นหนิ ออสเตรเลยี อายุ 3.45 พนั ลา้ นปที ่ีแสดงซากดกึ ดาบรรพ์ ของจุลนิ ทรยี ์ระหวา่ งมหายุคนีโอโปรเทอโรโซอิก (750 และ 580 ล้านปีกอ่ น) บริเวณส่วนใหญข่ องโลกถูกนา้ แขง็ ปกคลมุ สมมติฐานนีช้ ่ือ \"โลกก้อนหิมะ\" และมคี วาม นา่ สนใจเปน็ พิเศษเนื่องจากเปน็ เหตุการณท์ เ่ี กดิ ข้ึนก่อนการระเบิดแคมเบรยี น เม่ือส่ิงมีชวี ติ มคี วามซับซ้อนเพิม่ ข้ึนอยา่ งสาคญั นับจากการระเบิดแคมเบรียนราว 535 ล้านปกี ่อน เกดิ การสูญพันธุ์ของสง่ิ มีชวี ติ ครง้ั ใหญ่หา้ ครง้ั เหตกุ ารณ์สญู พนั ธ์ุครั้งล่าสุดเกิดขึ้นเมื่อ 66 ล้านปีกอ่ นเมื่อการพุ่งชนของดาวเคราะห์นอ้ ยเป็นเหตุใหเ้ กิดการ สูญพันธ์ุของไดโนเสาร์(ท่ีไมใ่ ช่นก)และสัตวเ์ ลื้อยคลานขนาดใหญ่อน่ื แตส่ ัตว์ขนาดเล็กบางส่วนเหลือรอดมาไดเ้ ชน่ สัตวเ์ ลีย้ งลูกดว้ ยนมซึ่งมีลกั ษณะคลา้ ยหนู ตลอด 66 ล้านปีต่อมา สัตว์เลยี้ งลกู ดว้ ยนมได้แตกแขนงออกไปมากมาย และเม่ือหลายล้านปที แ่ี ลว้ สัตว์คลา้ ยลงิ ใหญไ่ ม่มหี างแอฟริกา เช่น Orrorin tugenensis มี ความสามารถยืนด้วยลาตัวตัง้ ตรงทาให้สามารถใช้เครื่องมอื และเก้อื หนุนการส่ือสารระหว่างกนั นามาซึ่งโภชนาการและการกระตุน้ ทจี่ าเปน็ สาหรบั สมองขนาดใหญ่ ข้นึ นาไปสู่วิวฒั นาการของเผ่าพันธมุ์ นุษย์ การพัฒนาเกษตรกรรมและอารยธรรมในเวลาต่อมา ชว่ ยให้มนษุ ยม์ ีอิทธพิ ลต่อโลกและธรรมชาติ และมีจานวนของ ส่งิ มชี วี ติ อื่นซึง่ ยังมีผลมาจนทุกวนั น้ี



อนาคต อนาคตระยะยาวที่คาดหมายของโลกนั้นเกีย่ วข้องกับอนาคตของดวงอาทิตย์ ความสว่างของดวงอาทิตย์จะเพิม่ ขึ้นอกี ร้อยละ 10 ในอกี 1.1 พนั ล้านปี และรอ้ ยละ 40 เม่ือตลอดเวลา 3.5 พนั ลา้ นปีถดั จากน้นั การเพิ่มข้ึนของอณุ หภูมพิ ้ืนผวิ โลกจะเรง่ วฏั จกั รคาร์บอนอนินทรีย์ ลดความเข้มขน้ ของคารบ์ อนไดออกไซด์จนพชื ไม่สามารถ ดารงชีวิตอยไู่ ด้ (10 ส่วนในล้านส่วนในพืชทส่ี งั เคราะหด์ ้วยแสงแบบซี4) ในระยะเวลาประมาณ 500–900 ล้านปขี ้างหนา้ การขาดแตลนพชื จะส่งผลกระทบให้ ออกซเิ จนหายไปจากบรรยากาศ ทาใหส้ ัตว์อยู่ไม่ได้คล้อยหลงั ไปอกี พนั ลา้ นปีปรมิ าณน้าทงั้ หมดบนผิวโลกจะสูญส้นิ และอณุ หภูมิเฉลี่ยของโลกจะพงุ่ ขน้ึ ไปถงึ 70 องศาเซลเซยี สคาดหมายวา่ โลกจะพออยู่อาศยั ได้อีกประมาณ 500 ล้านปีนบั จากจดุ นั้นหรืออาจยืดออกไปถึง 2.3 พันลา้ นปถี ้าไนโตรเจนหมดไปจากบรรยากาศแมว้ า่ ดวงอาทิตยจ์ ะมอี ายุนริ นั ดรแ์ ละมีความเสถียร กว่ารอ้ ยละ 27 ของน้าในมหาสมุทรปจั จุบันกจ็ ะไหลสู่เน้ือโลกในเวลาหน่งึ พันล้านปี เนื่องจากไอน้าทปี่ ะทุออกมาจาก สันกลางมหาสมุทรลดลง ดวงอาทิตยจ์ ะววิ ัฒนาการเป็นดาวยกั ษ์แดงในราว 5 พนั ลา้ นปีขา้ งหน้า แบบจาลองทานายว่าดวงอาทิตยจ์ ะขยายตัวออกประมาณ 1 หน่วยดาราศาสตร์ 150,000,000 กโิ ลเมตร หรือประมาณ 250 เทา่ ของรัศมปี ัจจบุ ันชะตาของโลกน้ันยังไม่ชดั เจนนัก เมื่อเปน็ ดาวยกั ษ์แดงแลว้ ดวงอาทิตยจ์ ะสญู เสียมวลไปประมาณร้อย ละ 30 ดังนน้ั หากปราศจากผลจากฤทธ์ิไทด์ โลกจะเคลือ่ นไปโคจรห่างจากดวงอาทติ ย์ 1.7 หนว่ ยดาราศาสตร์ (250,000,000 กโิ ลเมตร) เมื่อดาวมรี ศั มีมากทีส่ ุด สิ่งมีชวี ติ ท่ยี ังเหลืออยเู่ กือบทั้งหมดหรอื ทง้ั หมดก็จะถูกทาลายจากความสว่างที่เพม่ิ ขึน้ ของดวงอาทิตย์ (เพิม่ ขน้ึ สงู สุดท่ีประมาณ 5,000 เทา่ จากระดบั ปัจจบุ ัน) การ จาลองในปี ค.ศ. 2008 ช้ีว่า สุดท้ายวงโคจรของโลกจะเสือ่ มสลายอนั เน่ืองมาจากผลจากแรงไทด์ และลากเอาโลกใหต้ กเขา้ สู่บรรยากาศของดวงอาทิตยท์ ่ีเปน็ ยกั ษ์ แดงนัน้ แลว้ ก็ระเหยไปจนหมดสิน้ ลกั ษณะทางกายภาพ

รูปร่าง โลกมรี ปู ร่างประมาณทรงคล้ายทรงกลมแบนขั้ว โลกแบนลงบรเิ วณแกนทางภูมิศสตร์และโป่งบริเวณแถบศูนย์สูตรการโป่งนีเ้ ป็นผลมาจากการหมุนรอบตัวเองของโลก เสน้ ผา่ นศูนยก์ ลางในแนวศนู ยส์ ูตรยาวกวา่ เสน้ ผา่ นศูนย์กลางในแนวขว้ั เหนอื -ใต้ราว 43 กโิ ลเมตรจุดบนพ้นื ผิวโลกท่ีหา่ งจากจุดศูนย์กลางมวลของโลกมากทีส่ ดุ คือ ยอดภูเขาไฟชิมโบราโซแถบศูนยส์ ูตรในประเทศเอกวาดอร์ภมู ิประเทศในแต่ละทอ้ งที่มีการเบี่ยงเบนไปจากทรงกลมอุดมคติ แต่เมอ่ื มองในระดับโลกทัง้ ใบการ เบ่ยี งเบนเหล่านก้ี ถ็ ือว่าเล็กน้อย จุดที่ถือวา่ มีความเบยี่ งเบนทอ้ งถิ่นมากทส่ี ุดบนพนื้ ผิวหนิ ของโลกก็คอื ยอดเขาเอเวอรเ์ รสต์ด้วยระดับความสงู 8,848 เมตรจาก ระดับน้าทะเลกลาง คดิ เปน็ ค่าความเบ่ยี งเบนร้อยละ 0.14 และรอ่ งลกึ ก้นสมุทรมาเรยี นาท่รี ะดับความลึก 10,911 เมตรจากระดับนา้ ทะเลกลาง คิดเปน็ ค่าความ เบย่ี งเบนร้อยละ 0.17ในวิชาภูมมิ าตรศาสตร์ รูปทรงแท้จริงของมหาสมทุ รโลกหากปราศจากแผ่นดินและอทิ ธพิ ลรบกวนอย่างกระแสนา้ และลม เรียก จีออยด์ กลา่ วคือ จีออยดเ์ ป็นผิวสมศักยค์ วามโน้มถ่วง (surface of gravitational equipotential) ที่ระดับทะเลปานกลาง

องคป์ ระกอบทางเคมี โลกมมี วลโดยประมาณ 5.97×1024 กิโลกรมั ส่วนมากประกอบข้ึนจากเหล็ก (ร้อยละ 32.1) ออกซเิ จน (รอ้ ยละ 30.1) ซลิ กิ อน (ร้อยละ 15.1) แมกนเี ซียม (ร้อยละ 13.9) กามะถัน (รอ้ ยละ 2.9) นกิ เกิล (รอ้ ยละ 1.8) แคลเซียม (รอ้ ยละ 1.5) และอะลูมิเนยี ม (รอ้ ยละ 1.4) สว่ นทเี่ หลืออกี รอ้ ยละ 1.2 ประกอบดว้ ยธาตุอื่น ๆ ใน ปรมิ าณเล็กน้อย จากกระบวนการการแยกลาดับชนั้ โดยมวลทาให้เชอ่ื ว่าบริเวณแกนโลกประกอบขึ้นในข้นั ต้นด้วยเหล็กร้อยละ 88.8 มนี ิกเกลิ ในปรมิ าณเลก็ น้อยราว ร้อยละ 5.8 กามะถันรอ้ ยละ 4.5 และน้อยกว่าร้อยละ 1 เปน็ ธาตพุ บนอ้ ยชนดิ อ่นื หินท่ีพบได้ทั่วไปท่เี ปน็ สว่ นประกอบของเปลือกโลกนั้นเป็นสารประกอบออกไซด์แทบ ทง้ั หมด ส่วนคลอรีน กามะถัน และฟลูออรีน ถือเปน็ ข้อยกเวน้ สาคัญในบรรดาหนิ ทั้งหลายซึง่ เม่ือรวมปริมาณทัง้ หมดแล้วมกั จะตา่ กว่ารอ้ ยละ 1 หนิ ออกไซดห์ ลักไดแ้ ก่ ซิลิกา อลมู นิ าโลกมมี วลโดยประมาณ 5.97×1024 กโิ ลกรมั สว่ นมากประกอบขนึ้ จากเหล็ก (ร้อยละ 32.1) ออกซเิ จน (ร้อยละ 30.1) ซลิ กิ อน (ร้อยละ 15.1) แมกนีเซียม (ร้อยละ 13.9) กามะถนั (ร้อยละ 2.9) นกิ เกลิ (ร้อยละ 1.8) แคลเซียม (รอ้ ยละ 1.5) และอะลมู ิเนียม (ร้อยละ 1.4) ส่วนทเี่ หลืออกี ร้อยละ 1.2 ประกอบด้วยธาตุอน่ื ๆ ในปริมาณเล็กนอ้ ย จากกระบวนการการแยกลาดับชน้ั โดยมวลทาใหเ้ ชอื่ ว่าบรเิ วณแกนโลกประกอบขนึ้ ในขน้ั ต้นดว้ ยเหล็กรอ้ ยละ 88.8 มี นิกเกลิ ในปริมาณเล็กน้อยราวร้อยละ 5.8 กามะถันร้อยละ 4.5 และนอ้ ยกว่าร้อยละ 1 เป็นธาตพุ บน้อยชนิดอื่นหนิ ทีพ่ บได้ท่ัวไปท่เี ป็นส่วนประกอบของเปลือกโลกนั้น เป็นสารประกอบออกไซด์แทบท้งั หมด ส่วนคลอรนี กามะถนั และฟลูออรนี ถอื เป็นข้อยกเวน้ สาคญั ในบรรดาหนิ ท้งั หลายซึง่ เมือ่ รวมปรมิ าณทงั้ หมดแล้วมักจะต่ากวา่ รอ้ ยละ 1 หนิ ออกไซด์หลักได้แก่ ซิลิกา อลูมนิ า

โครงสรา้ งภายใน โครงสรา้ งภายในของโลกแบ่งออกได้เป็นช้นั ๆ ตามคณุ สมบัติกายภาพ (วิทยากระแส) หรือเคมเี ชน่ เดียวกับดาวเคราะหห์ ินดวงอ่นื ช้ันนอกของโลกเป็นเปลือกซลิ เิ กต แข็งซ่งึ แยกออกชดั เจนด้วยคุณสมบัติทางเคมีโดยมชี ั้นเน้ือโลก (mantle) แขง็ ความหนดื สูงอย่เู บอ้ื งลา่ ง มีความไม่ต่อเน่ืองของโมโฮโลวิคซคิ (Mohorovičić discontinuity) คั่นระหวา่ งเปลอื กโลกจากเน้ือโลก เปลือกโลกมคี วามหนาต้ังแต่ประมาณ 6 กโิ ลเมตรใตม้ หาสมทุ รไปจนถงึ 30–50 กิโลเมตรใต้ทวีป เปลือกโลกและ สภาพแขง็ เยน็ ของยอดเน้ือโลกชั้นบนสุดรวมเรียกธรณภี าค (lithosphere) ซง่ึ แผ่นธรณภี าคน้นั ประกอบข้ึนจากธรณีภาคนเี้ อง ใตธ้ รณีภาคเป็นฐานธรณภี าค (asthenosphere) ซึง่ เป็นชน้ั ความหนืดค่อนข้างต่าที่ธรณีภาคลอยอยู่ การเปล่ยี นแปลงโครงสรา้ งผลึกในเน้ือโลกเกิดท่ีระดับความลึก 410 ถงึ 660 กิโลเมตรใตพ้ ื้นผิว เป็นเขตเปลี่ยนผา่ นซ่งึ แยกระหวา่ งเนือ้ โลกชน้ั บนและลา่ ง ใตเ้ นือ้ โลกเป็นแกน่ ชั้นนอกท่ีเป็นของเหลวความหนดื ตา่ มากเหนือแก่นช้ันในที่เปน็ ของแข็งแก่นชน้ั ในของ โลกอาจหมุนด้วยอัตราเรว็ เชิงมุมสงู กวา่ สว่ นอน่ื ของดาวเคราะหเ์ ลก็ น้อย โดยหมุน 0.1–0.5° ต่อปรี ัศมขี องแก่นช้ันในคดิ เป็นประมาณหนง่ึ ในห้าของรศั มีโลก

ความร้อน ความร้อนภายในโลกเป็นผลรวมของความรอ้ นทย่ี ังหลงเหลืออยจู่ ากการงอกพอกพนู ของดาวเคราะห์ราวร้อยละ 20 อกี ร้อยละ 80 เป็นความร้อนท่ีผลติ จากการ สลายตวั กมั มนั ตรังสไี อโซโทปหลกั ที่สร้างความร้อนภายในโลกคิอ โพแทสเซยี ม-40 ยเู รเนียม-238 ยเู รเนยี ม-235 และทอเรียม-232ที่ใจกลางโลกคาดว่านา่ จะมี อณุ หภมู ิสงู ถงึ 6,000 องศาเซลเซยี สและมคี วามดนั สูงถึง 360 จิกะปาสกาลด้วยการที่ความร้อนสว่ นใหญม่ าจากการสลายตัวกมั มนั ตรังสี นกั วิทยาศาสตรจ์ งึ เชื่อวา่

ในช่วงตน้ ของประวัติศาสตร์โลกก่อนหนา้ ท่ีไอโซปคร่ึงชวี ิตสัน้ ท้ังหลายจะหมดไป การสร้างความร้อนของโลกจะต้องสงู กว่าในปจั จบุ ันมาก คาดว่าประมาณ 3 พันลา้ น ปีก่อน น่าจะมีการผลติ ความรอ้ นมากกวา่ ปจั จุบนั สองเทา่ ซง่ึ มีผลเพม่ิ การพาความร้อนของเนือ้ โลกค่าเฉลยี่ ของการสญู เสยี ความร้อนจากโลกอยู่ท่ี 87 มลิ ลวิ ตั ต์ต่อ ตารางเมตร คิดรวมทง้ั โลกจะสูญเสยี ความร้อนท่ี 4.42 × 1013 วตั ตพ์ ลังงานความร้อนบางส่วนจากแกน่ ถกู แมนเทิลพลูมส่งผ่านข้นึ มายังเปลือกโลก ซงึ่ เปน็ การพา ความร้อนแบบหน่ึงที่เกิดจากการไหลขึ้นของหนิ อุณหภูมิสงู พลมู นสี้ ามารถทาให้เกดิ จดุ รอ้ นและทงุ่ บะซอลท์ความรอ้ นจากภายในโลกสว่ นใหญส่ ูญเสียไปกบั การแปร สณั ฐานแผน่ ธรณีภาค โดยการไหลข้นึ ของเนื้อโลกท่ีสมั พนั ธก์ ับสันกลางมหาสมทุ ร หนทางการสญู เสียความรอ้ นสาคัญสุดทา้ ยคือการนาความร้อนผ่านธรณีภาคซง่ึ ปรากฏใต้มหาสมุทรเปน็ สว่ นใหญ่เพราะเปลือกโลกบริเวณนั้นบางมากกว่าแผ่นเปลือกทวปี มาก แผ่นธรณภี าค ธรณภี าคอันเปน็ ชัน้ นอกแข็งทอ่ื เชิงกลของโลกน้ันแบ่งออกไดห้ ลายช้ิน เรียกวา่ แผ่นธรณีภาค แผ่นเหล่านี้เป็นส่วนแข็งทีเ่ คลอ่ื นที่ไปโดยสัมพันธ์กบั แผ่นใกลเ้ คียงอ่ืน โดยมีขอบเขตระหว่างกันอย่างใดอยา่ งหนงึ่ ในสามแบบนี้ได้แก่ ขอบเขตแบบเขา้ หากนั ซ่ึงแผ่นทง้ั สองเลอ่ื นมาชนกัน ขอบเขตแบบแยกจากกนั ซงึ่ แผ่นท้ังสองเลอื่ น ออกหา่ งกันไป และขอบเขตแปลง (รอยเลื่อนแปรสภาพ) ซ่ึงแผน่ ท้งั สองไถลผ่านกนั ทางดา้ นขา้ ง การเกิดแผน่ ดนิ ไหว กมั มันตภาพภูเขาไฟ การก่อเทือกเขา และการ เกดิ ร่องลกึ กน้ สมทุ ร สามารถเกิดได้ตลอดแนวขอบเขตของแผ่นเหล่าน้แี ผน่ ธรณีภาคลอยอยู่บนฐานธรณีภาค ซ่งึ เป็นเนอ้ื โลกชั้นบนส่วนท่ีมีความแขง็ แต่หนืดนอ้ ยกว่า สามารถไหลและเคล่ือนทไี่ ปพร้อมกับแผน่ ธรณีภาคได้เมื่อแผน่ ธรณีภาคมีการเคล่ือนตัว เปลือกโลกส่วนมหาสมทุ รจะมุดตัวลงใต้ขอบปะทะของแผน่ เปลอื กตามแนว ขอบเขตแบบเขา้ หากัน ในเวลาเดียวกัน การไหลเลือ่ นขึน้ ของเนอื้ ชน้ั เน้ือโลกที่ขอบเขตแบบแยกจากกนั จะก่อให้เกิดสันกลางมหาสมุทร กระบวนการต่าง ๆ เหลา่ น้ี รวมกันทาให้เกิดการรไี ซเคิลแผ่นเปลือกมหาสมุทรกลับสู่เนอ้ื โลก ด้วยการรีไซเคิลนี้เองพื้นมหาสมุทรสว่ นใหญ่จงึ มีอายไุ ม่เกนิ 100 ลา้ นปี เปลือกโลกสว่ นมหาสมุทรท่ี เกา่ แก่ท่ีสุดอยูใ่ นบริเวณแปซิฟกิ ตะวันตกโดยมีอายุประมาณกวา่ 200 ล้านปเี ม่ือเทยี บกันแลว้ เปลอื กโลกส่วนทวีปทเี่ ก่าแกท่ สี่ ุดมีอายุถึง 4,030 ล้านปี

แผ่นธรณภี าคขนาดใหญเ่ จ็ดแผ่น ได้แก่ แผน่ แปซฟิ ิก อเมริกาเหนือ ยูเรเชยี แอฟริกา แอนตารก์ ติก อินโด-ออสเตรเลีย และอเมรกิ าใต้ สว่ นแผ่นท่สี าคญั อน่ื ประกอบด้วย แผ่นอาระเบีย แผ่นแคริบเบียน แผ่นนาซกานอกชายฝง่ั ตะวนั ตกของทวีปอเมรกิ าใต้ และแผน่ สโกเทียในมหาสมทุ รแอตแลนติกใต้ แผน่ ออสเตรเลีย รวมเข้ากับแผน่ อนิ เดียระหว่าง 50 ถงึ 55 ล้านปีกอ่ น แผ่นเคล่ือนท่เี ร็วท่ีสุดคือแผน่ มหาสมทุ ร โดยแผ่นโคคอสเคลอ่ื นท่ีดว้ ยอตั ราเรว็ 75 มลิ ลิเมตร/ปีและแผ่นแปซิฟิก เคลอ่ื นท่ีด้วยอัตราเร็ว 52–69 มิลลเิ มตร/ปี ในอีกทางหนึ่ง แผน่ เคลอ่ื นที่ชา้ ท่ีสุดคือแผ่นยเู รเชียซ่ึงดาเนินไปด้วยอตั ราเรว็ ปกติประมาณ 21 มิลลิเมตร/ปี การก่อเทือกเขาเกิดเมอ่ื แผ่นธรณภี าคเคลื่อนเข้าหากันแล้วบีบหินใหส้ ูงขึน้ ภเู ขาสงู สุดในโลกคือ ยอดเขาเอเวอรเ์ รส การก่อเทือกเขาเกิดเมอ่ื แผ่นธรณภี าคเคล่ือนเขา้ หากันแล้วบบี หินให้สูงขึ้น ภเู ขาสูงสุดในโลกคือ ยอดเขาเอเวอรเ์ รส

พืน้ ผวิ พน้ื ท่ีผวิ ทง้ั หมดของโลกมีประมาณ 510 ลา้ นตารางกิโลเมตร พ้ืนท่ีกวา่ ร้อยละ 70.8หรอื 361.13 ลา้ นตารางกิโลเมตร อยใู่ ตร้ ะดับน้าทะเลและปกคลมุ ด้วยนา้ มหาสมุทรพื้นที่ใต้น้าเหล่านี้มีทง้ั ท่เี ป็นไหล่ทวีป ภเู ขา ภเู ขาไฟรอ่ งลึกกน้ สมทุ ร หุบเหวใต้ทะเล ท่ีราบสงู พื้นสมทุ ร ท่รี าบก้นสมุทร และระบบสนั กลางมหาสมุทรท่ี ทอดตวั ท่ัวโลก พน้ื ท่ที ี่เหลืออีกราวร้อยละ 29.2 หรือ 148.94 ลา้ นตารางกิโลเมตร ไมถ่ กู น้าปกคลุม มีภมู ิประกาศหลากหลายตามสถานที่ ไดแ้ ก่ ภเู ขา พื้นทีแ่ หง้ แล ท่ี ราบ ท่ีราบสูง และภูมปิ ระเทศรูปแบบอ่นื ธรณีแปรสณั ฐานและการกร่อน การปะทุของภูเขาไฟ การเกดิ อุทกภัย การผพุ ังอยกู่ บั ท่ี การเปลีย่ นสภาพโดยธารน้าแขง็ การ เติบโตของพืดหนิ ปะการงั และการพ่งุ ชนของอกุ กาบาตเป็นกระบวนการทเี่ ปลย่ี นโฉมผิวโลกอยเู่ ร่ือย ๆ ตามคาบเวลาทางธรณีวิทยาเปลือกโลกส่วนทวปี ประกอบดว้ ย วตั ถุความหนาแนน่ ตา่ อย่างเชน่ หนิ อัคนีแกรนติ และแอนดีไซต์ ที่พบน้อยกว่าคือบะซอลต์ซง่ึ เป็นหินภูเขาไฟความหนาแนน่ สงู และเปน็ องค์ประกอบหลักของพ้นื มหาสมทุ รหนิ ตะกอนซึง่ ก่อตัวขน้ึ จากการสะสมตัวของตะกอนท่ที ับถมบบี อดั ตัวเขา้ ด้วยกัน เกือบรอ้ ยละ 75 ของพ้ืนผิวทวีปถูกปกคลมุ ดว้ ยหินตะกอนโดยคิดเป็น ประมาณรอ้ ยละ 5 ของเปลือกโลก[126] วัตถหุ นิ ทพ่ี บบนโลกรูปแบบทีส่ ามคือหนิ แปร กอ่ กาเนิดโดยการแปรเปลี่ยนมาจากหินดง้ั เดมิ ท่มี ีอยู่ก่อนผ่านความดันสูง หรือ อณุ หภูมิสงู หรอื ทัง้ สองอย่าง แรซ่ ิลเิ กตท่ีพบมากที่สุดบนผวิ โลกประกอบด้วย ควอตซ์ เฟลด์สปาร์ แอมฟิโบล ไมกา ไพรอกซีน และโอลวิ ีนแร่คารบ์ อเนตท่ีพบท่ัวไป ประกอบด้วย แคลไซต์ (พบในหนิ ปูน) และโดโลไมตร์ ะดับความสงู ของพน้ื ผวิ ดินแตกต่างกันตงั้ แต่จุดตา่ สุดที่ −418 เมตร ณ ทะเลเดดซี ไปจนถึงจดุ สูงสดุ ที่ 8,848 เมตร ณ ยอดเขาเอเวอเรสต์ ค่าเฉลยี่ ความสูงของพ้นื ดินเหนือระดับน้าทะเลอยู่ที่ 797 เมตร

ระดบั ความสงู ต่าและระดับความลกึ ของโลกในปจั จบุ นั ข้อมลู จากแบบจาลองภมู ปิ ระเทศดจิ ิตอลเทอเรนเบสของศูนยข์ ้อมลู ธรณีฟสิ กิ สแ์ หง่ ชาติ

อุทกภาค ความอุดมของนา้ บนผวิ โลกเป็นลกั ษณะเอกลักษณ์ซ่งึ แยก \"ดาวเคราะห์สีนา้ เงนิ \" ออกจากดาวเคราะห์อ่ืน ๆ ในระบบสุริยะ อทุ กภาคของโลกประกอบดว้ ยมหาสมทุ ร เป็นส่วนใหญ่ ทีเ่ หลือประกอบดว้ ยผวิ น้าท้งั หมดในโลกได้แก่ ทะเลในแผ่นดนิ ทะเลสาบ แมน่ ้า น้าใต้ดนิ ลึกลงไป 2,000 เมตร ตาแหนง่ ใตน้ ้าท่ีลึกทส่ี ุดคอื แชลเลน เจอร์ดีปบรเิ วณรอ่ งลกึ ก้นสมุทรมาเรียนาในมหาสมทุ รแปซิฟิก โดยมคี วามลึกที่ 10,911.4 เมตรมหาสมุทรรวมมมี วลคดิ เปน็ ประมาณ 1.35×1018 เมตริกตนั หรอื ราว 1 ใน 4,400 ของมวลท้งั หมดของโลก มหาสมุทรปกคลุมเปน็ พืน้ ท่ี 3.618×108 ตารางกโิ ลเมตร โดยมีความลกึ เฉลี่ย 3,682 เมตร เปน็ ผลใหม้ ีปรมิ าตรโดยประมาณ เท่ากับ 1.332×109 ลูกบาศก์กโิ ลเมตรหากพน้ื ผิวเปลือกโลกทั้งหมดมีความสงู เทา่ กันคอื กลมเสมอกนั ทั้งใบ โลกก็จะกลายเปน็ มหาสมุทรทงั้ หมดด้วยความลึกราว 2.7 ถงึ 2.8 กิโลเมตรน้าประมาณรอ้ ยละ 97.5 เป็นน้าเค็ม อกี รอ้ ยละ 2.5 ทเี่ หลือเป็นน้าจืด สว่ นใหญข่ องน้าจืดหรือราวร้อยละ 68.7 อยใู่ นรูปของน้าแข็งในนา้ แขง็ ข้วั โลก และธารน้าแข็งต่างๆคา่ เฉล่ียความเค็มของมหาสมทุ รโลกอยทู่ ่ีประมาณ 35 กรัมเกลือต่อกิโลกรัมน้าทะเล (มเี กลือรอ้ ยละ 3.5) เกลือส่วนมากถูกขบั ออกจากกัมมันต ภาพภเู ขาไฟหรอื ชะออกมาจากหนิ อคั นีเยน็ มหาสมุทรยงั เปน็ แหลง่ สะสมของกาาซในบรรยากาศท่ลี ะลายได้ซงึ่ มีความจาเป็นต่อการอยู่รอดของสิ่งมชี วี ติ ท่อี าศัยในน้า จานวนมากน้าทะเลถือว่ามีอิทธพิ ลสาคญั ต่อภมู ิอากาศโลกโดยมหาสมทุ รเปน็ แหล่งสะสมความร้อนขนาดใหญ่การเปลี่ยนแปลงการกระจายของอุณหภูมมิ หาสมุทร สามารถทาให้เกิดการเปลยี่ นแปลงของลมฟ้าอากาศอย่างสาคัญได้ เช่น เอลนีโญ–ความผนั แปรของระบบอากาศในซีกโลกใต้ บรรยากาศ ความกดอากาศบนพน้ื ผวิ โลกมคี า่ เฉลี่ยที่ 101.325 กิโลปาสกาล คดิ เป็นอัตราความสูงประมาณ 8.5 กิโลเมตรมีองคป์ ระกอบเป็นธาตไุ นโตรเจนร้อยละ 78 ธาตุ ออกซเิ จนร้อยละ 21 รวมถึงไอนา้ คาร์บอนไดออกไซด์ และกาาซในรูปโมเลกลุ ชนิดอืน่ ปริมาณเลก็ น้อย ความสูงของชน้ั โทรโพสเฟียร์ผนั แปรตามละติจดู มีพสิ ัยตัง้ แต่ 8 กโิ ลเมตรที่บรเิ วณขั้วโลกไปจนถงึ 17 กิโลเมตรท่เี สน้ ศูนย์สูตร โดยมีความเบีย่ นเบนเล็กน้อยจากผลของสภาพอากาศและปัจจัยหลายประการตามฤดกู าลชวี มณฑล

ของโลกส่งผลเปล่ียนแปลงอย่างมีนยั สาคญั ต่อบรรยากาศ การสังเคราะห์ด้วยแสงแบบสร้างออกซเิ จนวิวัฒน์ขนึ้ เมื่อราว 2.7 พันลา้ นปีก่อน ไดส้ รา้ งบรรยากาศทม่ี ี ไนโตรเจนและออกซเิ จนเป็นหลักดงั เช่นในปัจจบุ ันการเปลย่ี นแปลงนท้ี าใหส้ ่ิงมชี วี ติ ที่ใชอ้ อกซเิ จนสามารถแพร่กระจายได้ และมีผลโดยออ้ มเกิดการก่อรูปของช้นั โอโซนเนอ่ื งากการเปล่ยี น O2 ในบรรยากาศเป็น O3 ชน้ั โอโซนก้ันการแผ่รังสอี ัลตราไวโอเลตจากดวงอาทติ ย์ ทาให้สิ่งมีชวี ิตสามารถเกิดข้นึ บนโลกได้ บรรยากาศยงั ทาหนา้ ท่ีอืน่ ที่สาคญั ต่อส่งิ มีชีวติ ได้แก่ การเคลื่อนยา้ ยไอน้า อานวยกาาซท่เี ป็นประโยชน์ ทาใหส้ ะเก็ดดาวขนาดเล็กเผาไหมไ้ ปหมดก่อนทจี่ ะกระทบพน้ื และการปรับ อณุ หภูมไิ มใ่ หร้ อ้ นหรือเยน็ เกินปรากฏการณส์ ดุ ทา้ ยนเี้ รียก ปรากฏการณเ์ รือนกระจก โมเลกุลของกาาซสัดสว่ นเลก็ น้อยภายในบรรยากาศทาหน้าท่ีกักเก็บพลังงาน ความร้อนท่ีแผ่ออกจากพน้ื ดินเปน็ ผลให้อุณหภมู เิ ฉล่ยี เพม่ิ สูงขน้ึ ไอน้า คาร์บอนไดออกไซด์ มีเทน และโอโซน เป็นกาาซเรือนกระจกหลักในบรรยากาศ หากปราศจาก ปรากฏการณก์ ักเก็บความร้อนนี้ อณุ หภูมิเฉล่ยี ท่พี ้ืนผวิ จะเปน็ −18 องศาเซลเซยี ส เมื่อเทียบกับอุณหภมู ิปจั จบุ ันท่ี +15 องศาเซลเซยี สและอาจไม่มีสิ่งมชี วี ิตบนโลก ในรปู ลักษณ์ปจั จุบัน / ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศ บรรยากาศของโลกไมม่ ีขอบเขตชดั เจนโดยจะคอ่ ย ๆ บางลงและเลือนหายไปสู่อวกาศ สามในส่ขี องมวลบรรยากาศอยูใ่ นระยะ 11 กิโลเมตรแรกเหนอื พื้นผวิ มีชน้ั ลา่ งสุดเรยี กโทรโพสเฟยี ร์ พลงั งานจากดวงอาทิตยจ์ ะทาใหช้ ้ันนี้รวมถงึ พ้นื ผวิ เบ้ืองลา่ งร้อนข้ึน ส่งผลใหอ้ ากาศเกิดการขยายตวั อากาศความหนาแนน่ ต่าจะลอยขึน้ อากาศความหนาแน่นสูงกว่าและเยน็ กวา่ จะเข้ามาแทนที่ เกดิ เปน็ การหมุนเวียนของบรรยากาศซึง่ ขับเคลือ่ นสภาพอากาศและภมู ิอากาศผา่ นการกระจายพลังงานความ รอ้ นแถบการหมนุ เวยี นของบรรยากาศหลกั ประกอบด้วยลมคา้ ในบรเิ วณศูนย์สูตรท่ลี ะตจิ ูดตา่ กวา่ 30° และลมตะวนั ตก (westerlie) ในแถบละตจิ ูดกลางระหวา่ ง 30° และ 60°กระแสนา้ มหาสมทุ รกเ็ ป็นปจั จัยสาคญั ท่ีกาหนดภูมอิ ากาศ โดยเฉพาะการหมนุ เวียนเทอร์โมเฮไลน์ (thermohaline) ซึง่ กระจายพลังงานความ

รอ้ นจากมหาสมุทรแถบศนู ย์สูตรไปยังบริเวณขวั้ โลกไอน้าทีร่ ะเหยจากพ้ืนผิวถกู รปู แบบไหลเวียนในบรรยากาศเคลือ่ นย้ายไป เม่ือภาวะของบรรยากาศทาให้อากาศ รอ้ นชื้นยกตวั สูงขน้ึ น้าน้จี ะควบแน่นและตกลงส่พู ้นื ผิวในรูปหยาดนา้ ฟา้ นา้ ส่วนใหญ่จะเคลอ่ื นย้ายไปยงั ทท่ี ีต่ า่ กวา่ ผา่ นระบบแมน่ า้ และปกติกลับคนื ส่มู หาสมุทร หรอื ไม่กส็ ะสมอยใู่ นทะเลสาบ วฏั จกั รของนา้ นเี้ ป็นกลไกสาคัญทค่ี า้ จุนสรรพชวี ติ บนผืนแผ่นดิน และเป็นปจั จัยหลกั ในการกัดเซาะโครงสร้างภูมปิ ระเทศตามสสมยั ธรณวี ิทยา รูปแบบของหยาดน้าฟ้ามีความหลากหลายตง้ั แตป่ ริมาณนา้ หลายเมตรไปจนถึงเพยี งไมก่ ่มี ลิ ลเิ มตรตอ่ ปี ท้ังการหมุนเวียนของบรรยากาศ ภมู ิลักษณ์ และ ความแตกต่างของอุณหภูมิล้วนกาหนดหยาดนา้ ฟ้าเฉลี่ยท่ีตกในแตล่ ะบริเวณปริมาณพลังงานจากดวงอาทิตย์ที่มาถึงพน้ื ผิวโลกลดลงตามละตจิ ดู ที่สูงขนึ้ ทล่ี ะตจิ ดู สงู ๆ แสงจากดวงอาทิตย์มาถึงพน้ื ผวิ ดว้ ยมุมทต่ี า่ ลง และตอ้ งส่องผ่านแนวหนาแนน่ ของบรรยากาศ เปน็ ผลให้อุณหภมู ขิ องอากาศเฉล่ียตลอดทั้งปีท่ีระดับน้าทะเลลดลงราว 0.4 องศาเซลเซียสทกุ ๆ หนึง่ องศาของละติจดู ที่ออกห่างจากเส้นศนู ย์สตู รพ้ืนผิวโลกสามารถแบง่ ยอ่ ยได้เปน็ แถบละติจูดจาเพาะที่มีภมู ิอากาศเชน่ เดียวกัน โดยประมาณ อาณาเขตตัง้ แต่เสน้ ศนู ย์สูตรไปจนถึงบริเวณขัว้ โลกจาแนกออกเป็นภมู ิอากาศเขตร้อนหรือเขตศนู ยส์ ตู ร เขตใกล้เขตร้อน เขตอบอุ่น และเขตขั้วโลกกฎ ละติจูดนมี้ คี วามผิดปกติหลายอยา่ งการอยู่ใกล้มหาสมทุ รจะทาให้ภูมิอากาศไม่รุนแรง ตัวอย่างเช่น คาบสมทุ รสแกนดิเนเวยี มภี มู อิ ากาศไม่รุนแรงเมือ่ เทียบกับทางเหนอื ของประเทศแคนาดาท่ีละติจูดเหนือคลา้ ยกันลมยังชว่ ยบรรเทาผลนี้ แผน่ ดินฝ่งั ปะทะลมมภี มู ิอากาศไม่รนุ แรงเม่ือเทียบกับฝง่ั อบั ลม ในซีกโลกเหนอื ลมแนท่ ศิ มีทิศทาง ตะวันตกไปตะวันออก และชายฝั่งตะวันตกมักมีภูมอิ ากาศไมร่ นุ แรงเมื่อเทยี บกับชายฝ่งั ตะวนั ออก ซ่งึ สังเกตไดใ้ นทวปี อเมริกาเหนือฝงั่ ตะวันออกและยุโรปตะวนั ตก ซึง่ ภมู ิอากาศแบบทวีปที่รุนแรงปรากฏในชายฝ่ังตะวันออกเทียบกบั ภูมอิ ากาศไม่รนุ แรงทอ่ี กี ฟากหนงึ่ ของมหาสมทุ รในซกี โลกใต้ ลมแน่ทศิ พัดจากทิศตะวันออกไป ตะวนั ตก และชายฝ่งั ตะวนั ออกมีภูมิอากาศไมร่ ุนแรงระยะทางจากโลกถงึ ดวงอาทิตยม์ ีความแปรผัน โลกอยูใ่ กล้ดวงอาทติ ยท์ ีส่ ดุ ในเดอื นมกราคมซึ่งตรงกับฤดูร้อนใน ซกี โลกใต้ อยู่หา่ งจากดวงอาทติ ย์มากท่สี ดุ ในเดือนกรกฎาคมซง่ึ ตรงกบั ฤดูร้อนในซีกโลกเหนอื และรงั สีจากดวงอาทิตย์ตกส่พู ืน้ ท่หี นง่ึ ๆ ประมาณรอ้ ยละ 93.55 เมอ่ื เทียบกบั จดุ ใกล้ดวงอาทิตย์ท่ีสดุ

บรรยากาศเบื้องบน เหนือชั้นโทรโพสเฟียรข์ ึ้นไป บรรยากาศแบ่งโดยทัว่ ไปไดเ้ ป็นชั้นสตราโทสเฟียร์ มีโซสเฟยี ร์ และเทอร์โมสเฟยี ร์แตล่ ะชน้ั มีอัตราการเหล่ือมซ้อนไมเ่ ท่ากันซ่งึ กาหนด จากอัตราการเปล่ียนแปลงอุณหภมู ิตามระดบั ความสูง พ้นจากช้ันเหล่าน้ีขน้ึ ไปเรยี กวา่ เอกโซสเฟียร์ ซ่ึงบางลงเร่ือย ๆ ไปจนถงึ แม็กนีโตสเฟยี ร์ซง่ึ เปน็ บริเวณท่สี นาม ธรณีแม่เหล็กกระทบกันกบั ลมสุรยิ ะภายในชัน้ สตราโทสเฟียร์มีช้ันโอโซนซ่ึงเป็นองค์ประกอบทมี่ ีสว่ นช่วยป้องกนั พื้นผิวโลกจากรังสีอลั ตราไวโอเลต็ อันมคี วามสาคญั ยิ่งตอ่ สรรพชีวติ บนโลก มีการกาหนดเสน้ คาร์มานท่ีระดบั 100 กโิ ลเมตรเหนือผวิ โลกเป็นบทนยิ ามในทางปฏิบตั ิทแี่ บง่ ขอบเขตระหว่างบรรยากาศและอวกาศ พลงั งานความร้อนทาใหโ้ มเลกุลบางสว่ นทขี่ อบนอกของบรรยากาศมีความเร็วเพิม่ สูงขนึ้ จนถึงจดุ หนง่ึ ทส่ี ามารถหลดุ พ้นออกจากแรงโนม้ ถว่ งของโลกได้ ดว้ ยเหตุนี้จงึ ทาใหเ้ กดิ การเสยี บรรยากาศออกสอู่ วกาศอยา่ งช้า ๆ แต่สม่าเสมอ เพราะไฮโดรเจนทไี่ ม่ไดถ้ กู ยึดเหนีย่ วมมี วลโมเลกลุ ต่าจงึ สามารถข้นึ ถึงความเร็วหลุดพ้นไดง้ า่ ยกว่า และรั่วไหลออกสู่อวกาศภายนอกในอัตราที่สงู กวา่ ก๊าซอน่ื การรวั่ ของไฮโดรเจนสูอ่ วกาศไดช้ ว่ ยสนับสนุนให้บรรยากาศโลกตลอดจนพนื้ ผิวเกิดการเปลีย่ นผนั จากภาวะ รดี วิ ซใ์ นชว่ งตน้ มาเป็นภาวะออกซิไดซ์อย่างเชน่ ในปัจจุบัน การสงั เคราะห์ด้วยแสงเป็นแหล่งชว่ ยป้อนออกซเิ จนอิสระ แตด่ ้วยการเสยี ไปซ่ึงสารรีดิวซด์ ังเช่นไฮโดรเจน น้เี องจงึ เช่ือกนั วา่ เป็นภาวะเร่ิมตน้ ท่จี าเปน็ ต่อการเพ่ิมพูนขึ้นของออกซิเจนอย่างกว้างขวางในบรรยากาศการท่ไี ฮโดรเจนสามารถหนีออกไปจากบรรยากาศไดจ้ ึงอาจสง่ อทิ ธพิ ลต่อธรรมชาตขิ องชวึ ิตทพี่ ฒั นาข้ึนบนโลกในบรรยากาศทม่ี ีออกซเิ จนเป็นจานวนมากในปัจจบุ นั น้ัน ไฮโดรเจนส่วนใหญถ่ ูกเปล่ียนเปน็ นา้ ก่อนมีโอกาสหนี ออกไป แต่การเสยี ไฮโดรเจนสว่ นใหญ่นัน้ มาจากการสลายของมีเทนในบรรยากาศช้ันบน /

สนามความโนม้ ถ่วง ความโน้มถ่วงของโลกเปน็ ความเร่งท่ถี า่ ยทอดแกว่ ัตถเุ น่อื งจากการกระจายของมวลในโลก ความเรง่ ความโน้มถ่วงใกล้ผวิ โลกมีคา่ ประมาณ 9.8 เมตรต่อวินาที2 ความแตกตา่ งท้องถ่ินของภูมิลักษณ์ ธรณีวทิ ยาและโครงสร้างแปรสัณฐานที่อย่ลู กึ ลงไปทาให้เกดิ ความแตกต่างท้องถน่ิ และภมู ิภาคเป็นวงกวา้ งในสนามความโนม้ ถ่วง ของโลก เรียก คา่ ผดิ ปกติของความโนม้ ถว่ ง สนามแม่เหล็ก สว่ นหลักของสนามแม่เหล็กโลกสรา้ งข้ึนในแกน่ ซึ่งเป็นทต่ี ้งั ของกระบวนการไดนาโมอนั เปลี่ยนพลังจลน์ของการเคลื่อนพาของไหลไปเป็นพลงั งานไฟฟ้าและ พลงั งานสนามแม่เหล็ก ตวั สนามแผ่ออกจากบริเวณแก่นผ่านช้ันเน้ือโลกและขึ้นสผู่ วิ โลกอนั เป็นตาแหน่งที่ประมาณได้อยา่ งหยาบ ๆ เป็นแม่เหลก็ ขว้ั คู่ ขั้วของแม่เหลก็ ขัว้ คมู่ ตี าแหนง่ ใกล้เคียงกับขว้ั โลกภมู ิศาสตร์ ท่ีเสน้ ศนู ยส์ ูตรของสนามแม่เหลก็ มคี วามเขม้ สนามแม่เหลก็ ทพ่ี น้ื ผิวเท่ากับ 3.05 × 10−5 เทสลา และมีโมเมนตข์ ัว้ คู่ แม่เหลก็ โลกที่ 7.91 × 1015 เทสลา.เมตร3การเคล่ือนท่พี าในแกน่ นนั้ มีความยงุ่ เหยงิ ทาให้ข้วั แม่เหลก็ มกี ารเขย้อื นและเปล่ียนแปลงแนวการวางตวั เปน็ ระยะ ๆ เป็นสาเหตขุ องการกลับขว้ั สนามแม่เหลก็ ตามช่วงเวลาอย่างไมส่ มา่ เสมอเฉลย่ี ไม่ก่คี รง้ั ในทกุ ๆ ล้านปี โดยการกลบั ขว้ั ครั้งลา่ สุดเกดิ ข้ึนเม่ือราว 700,000 ปกี ่อน แม็กนีโตสเฟียร์ ขอบเขตของสนามแม่เหลก็ โลกในอวกาศกาหนดขอบเขตของแม็กนีโตสเฟียร์ (magnetosphere) ไอออนและอเิ ล็กตรอนจากลมสุริยะถกู แมก็ นโี ตสเฟยี ร์ เบย่ี งเบน ความดันจากลมสุริยะบบี ฝง่ั กลางวนั ของแมก็ นโี ตสเฟียร์ไปประมาณ 10 รศั มีโลก และทาใหด้ า้ นกลางคืนของแมก็ นีโตสเฟยี ร์ยดื ขยายออกเป็นหางยาวด้วย เหตุท่ีความเร็วของลมสุริยะสูงกว่าความเรว็ ของคล่นื ทแ่ี ผ่ออกจากลมสุรยิ ะมาก จงึ เกิดโบวช์ อ็ ค (bowshock) เหนอื เสียงในส่วนหน้าดา้ นกลางวนั ของแมก็ นีโตส

เฟยี รภ์ ายในลมสุรยิ ะอนภุ าคมีประจถุ ูกกักเก็บอยูใ่ นแม็กนโี ตสเฟียร์ พลาสมาสเฟยี ร์ (plasmasphere) กาหนดเป็นอนภุ าคหลงั งานต่าที่ตามเส้นสนามแม่เหล็ก เมอื่ โลกหมุนกระแสวง (ring current) กาหนดโดยอนุภาคพลังงานปานกลางซึ่งเคล่ือนไปสัมพทั ธก์ ับสนามธรณแี มเ่ หลก็ แตย่ ังมเี ส้นทางท่ียังอยู่ภายใตอ้ ทิ ธพิ ล ของสนามแมเ่ หล็กเป็นหลกั และแถบเข็มขัดรังสีแวนอัลเลนซ่ึงเกดิ จากอนุภาคพลงั งานสูงทเ่ี คลอ่ื นที่อยา่ งสุ่มเสียมากแต่ยังอยู่ภายในแม็กนีโตสเฟียร์ระหว่างการเกิดพายุ แม่เหล็ก อนุภาคมปี ระจุสามารถเบ่ยี งทศิ ทางจากแม็กนีโตสเฟยี ร์สว่ นนอกเขา้ มาในช้นั ไอโอโนสเฟียรข์ องโลกได้โดยตรงตามแนวเส้นสนาม ซ่ึงในบรเิ วณนี้อะตอมท่ี อย่ใู นบรรยากาศสามารถถกู กระตุ้นและกลายเปน็ ประจุอันเป็นสาเหตุของการเกดิ ออโรรา / วงโคจรและการหมุนรอบตวั เอง การหมุน คาบการหมนุ รอบตวั เองของโลกสัมพัทธก์ ับดวงอาทิตยห์ รือวันสุรยิ ะนั้นเท่ากบั 86,400 วินาทีของเวลาสรุ ยิ ะกลาง (86,400.0025 วินาทีเอสไอเพราะวนั สุริยะ ของโลกในปัจจบุ ันยาวกว่าวันในชว่ งกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 เลก็ นอ้ ยอันเน่ืองมาจากผลการเร่งจากแรงไทด์ ในแต่ะละวนั จงึ ยาวขน้ึ ผนั แปรไประหวา่ ง 0 ถงึ 2 มิลลิวนิ าที เอสไอคาบการหมุนรอบตวั เองของโลกสัมพทั ธ์กับดาวฤกษไ์ มเ่ คลือ่ นทเ่ี รียกวา่ วันดาราคติ โดยหนว่ ยงานการหมนุ ของโลกและระบบอ้างอิงสากล (IERS: International Earth Rotation and Reference Systems Service) คอื 86,164.098903691 วนิ าที จากเวลาสุรยิ ะกลาง (ยูที (เวลา สากล) 1) หรือ 23ช 56น 4.098903691วคาบการหมุนรอบตัวเองของโลกสัมพทั ธก์ ับการหมุนควงหรือการเคลื่อนทเ่ี ฉลย่ี ของวสันตวิษุวตั มักเรียกว่าวันดาว ฤกษ์ คือ 86,164.09053083288 วนิ าที จากเวลาสุรยิ ะกลาง (ยูท1ี ) หรอื (23ช 56น 4.09053083288ว) ณ ปี ค.ศ. 1982ดังนั้นเองวันดาวฤกษ์จึง สัน้ กวา่ วันดาราคติประมาณ 8.4 มิลลิวินาทีความยาวของเวลาสุริยะกลางในหนว่ ยวนิ าทเี อสไอสามารถนามาใช้อา้ งอิงได้จากหน่วยงานไออีอาร์เอสสาหรับชว่ งเวลา จากปี ค.ศ. 1623–2005[176] และปี ค.ศ. 1962–2005ตา่ งจากดาวตกในบรรยากาศและดาวเทียมวงโคจรต่าตา่ ง ๆ เทหฟา้ โดยมากมีการเคลื่อนทปี่ รากฏ

ไปทางด้านตะวนั ตกของท้องฟ้าของโลกในอัตรา 15 องศาต่อชว่ั โมง หรือ 15 ลปิ ดาตอ่ นาที สาหรบั วัตถทุ ี่อยู่ใกล้กับเสน้ ศนู ย์สูตรฟ้าจะเคล่ือนไปเทียบเท่ากับเสน้ ผ่านศูนย์กลางปรากฏของดวงอาทิตย์หรอื ดวงจันทร์ในทุก ๆ สองนาที เมือ่ มองจากพ้ืนโลกขนาดปรากฏโดยประมาณของดวงอาทิตย์และดวงจันทร์น้ันถือวา่ เท่ากนั วงโคจร โลกโคจรรอบดวงอาทติ ย์ด้วยระยะหา่ งเฉล่ียประมาณ 150 ล้านกิโลเมตรในทกุ ๆ 365.2564 วันสรุ ยิ ะกลาง หรอื หนง่ึ ปดี าวฤกษ์ ส่งผลให้การเคลอื่ นท่ีปรากฏ ของดวงอาทิตย์คลอ้ ยไปทางตะวนั ออกเทยี บกับดาวฤกษ์ฉากหลงั ในอัตราราวหน่งึ องศาต่อวัน หรือเทียบเทา่ ขนาดปรากฏของดวงอาทิตย์หรือดวงจนั ทรใ์ นทกุ ๆ 12 ชัว่ โมง การเคล่ือนไปเชน่ นใ้ี ช้เวลาเฉล่ียราว 24 ช่วั โมงหรอื หนึ่งวันสุริยะสาหรบั การหมนุ รอบตวั เองตามแกนครบหนึ่งรอบของโลกซ่งึ ดวงอาทติ ย์กลบั สเู่ มอรเิ ดียนอกี คร้ัง ความเร็วของโลกในวงโคจรโดยเฉลี่ยประมาณ 29.8 กิโลเมตรต่อวินาที (107,000 กโิ ลเมตรต่อช่วั โมง) ซ่งึ เร็วมากพอท่จี ะเคลื่อนผ่านระยะทางเทา่ กนั กับ เส้นผา่ นศูนย์กลางของโลกที่ประมาณ 12,742 กโิ ลเมตรในเจ็ดนาที และผา่ นระยะทางถึงดวงจันทร์ท่ีประมาณ 384,000 กโิ ลเมตร ในเวลาราว 3.5 ชวั่ โมงโลก และดวงจันทร์โคจรรอบจุดศูนยก์ ลางมวลร่วมในทกุ ๆ 27.32 วัน สัมพัทธก์ บั ดาวฤกษพ์ ืน้ หลัง เม่อื ประกอบกันเข้ากับวงโคจรร่วมโลก–ดวงจนั ทร์รอบดวงอาทิตย์ แลว้ เกิดเปน็ คาบของเดอื นจันทรคตินับจากอมาวสหี นึ่งไปอกี อมาวสหี นง่ึ ราว 29.53 วนั เม่ือมองจากขวั้ ฟ้าเหนือ การเคลื่อนทข่ี องโลก ดวงจนั ทร์ และการหมุนรอบ แกนดาวของทัง้ คูล่ ว้ นเป็นไปในทศิ ทวนเข็มนาฬิกา เม่ือมองจากจุดสูงเหนือข้วั เหนอื ของทัง้ ดวงอาทิตย์และโลก วงโคจรของโลกจะมที ศิ ทางทวนเขม็ นาฬิการอบดวง อาทิตย์ วงโคจรและระนาบแกนไมไ่ ด้วางตวั อย่ใู นแนวเดียวกันโดยแกนหมุนของโลกมกี ารเอียงประมาณ 23.4 องศาจากแนวตัง้ ฉากกบั ระนาบโคจรของโลกรอบ ดวงอาทิตย์ (หรือสรุ ยิ วถิ ี) และระนาบโคจรของดวงจนั ทร์รอบโลกเอียง ±5.1 องศาเทยี บกับระนาบโลก–ดวงอาทติ ย์ หากปราศจากการเอียงเช่นน้ี จะเกิดอปุ ราคาทุก สองสปั ดาหส์ ลับกนั ระหว่างจนั ทรปุ ราคาและสุรยิ ปุ ราคา

การเอยี งของแกนโลกและฤดกู าล แกนโลกเอยี งประมาณ 23.439281° เทียบกับแกนของระนาบโคจรโดยจะชไ้ี ปขั้วฟ้าเสมอ เน่ืองจากความเอยี งของแกนโลก ปรมิ าณแสงอาทิตย์ทต่ี กกระทบจดุ ใด ๆ บนพ้ืนผิวจึงผันแปรไปตามแตล่ ะช่วงของปี กอ่ ให้เกิดการเปลี่ยนฤดูกาลในแต่ละภูมิอากาศโดยฤดูร้อนในซกี โลกเหนือจะเกิดขึ้นเมอ่ื ทรอปิกออฟแคนเซอร์หนั เข้า หาดวงอาทิตย์ สว่ นฤดหู นาวเกดิ เมื่อทรอปิกออฟแคปริคอนในซกี โลกใต้หันเขา้ หาดวงอาทติ ย์ ในระหวา่ งฤดูร้อน กลางวนั จะยาวกว่าและดวงอาทิตยจ์ ะมตี าแหน่ง สงู ขน้ึ บนทอ้ งฟ้า ส่วนในฤดูหนาว ภมู ิอากาศจะเยน็ ลงและกลางวันจะสนั้ ลง ในละติจดู เขตอบอุ่นทางเหนือดวงอาทติ ย์จะขึ้นเหนอื กวา่ ทศิ ตะวันออกจริงระหว่าง ครษี มายันและลับฟา้ เหนือกว่าทิศตะวันตกจริง (กลับกนั ในฤดหู นาว) ในช่วงฤดูรอ้ นของเขตอบอุ่นในซีกโลกใต้ดวงอาทิตย์จะขนึ้ ใตก้ วา่ ทศิ ตะวันออกจริงและลบั ฟา้ ไปใตก้ ว่าทศิ ตะวนั ตกจรงิ เหนอื อารก์ ติกเซอร์เคิลขึน้ ไปจะมีกรณสี ดุ ข้ัวหนึง่ โดยที่ตลอดช่วงหน่งึ ของปจี ะไมม่ แี สงอาทติ ย์ส่องถึงเลย ซ่ึงนานสุดหกเดือนเต็ม ณ ขั้วโลก เหนือพอดี เรยี กวา่ กลางคนื ขั้วโลก สว่ นในซีกโลกใตส้ ถานการณจ์ ะกลบั ตรงกนั ขา้ มโดยการท่ีขั้วโลกใต้วางตวั ในแนวตรงขา้ มกับขัว้ โลกเหนือ อีกหกเดือนให้หลงั ขัว้ โลกเหนือจะเกดิ อาทติ ยเ์ ทย่ี งคืน คอื เป็นกลางวนั ตลอด 24 ชว่ั โมง กลบั กบั ขว้ั โลกใตโ้ ดยข้อตกลงทางดาราศาสตร์ ฤดูกาลทัง้ สี่น้ันกาหนดโดยอายันซ่ึงเป็นจุดในวง โคจรทแ่ี กนโลกเอียงเขา้ หาหรือออกจากดวงอาทิตยม์ ากทสี่ ดุ และวิษุวัตซ่ึงเป็นจดุ ทท่ี ิศทางการเอียงของแกนกบั ทิศทางสดู่ วงอาทิตย์ต้งั ฉากกัน สาหรับซีกโลกเหนือ เหมายนั จะเกดิ ข้ึนประมาณวันที่ 21 ธนั วาคม ครีษมายนั เกิดขน้ึ ใกลก้ บั วันที่ 21 มิถนุ ายน วสันตวิษุวตั เกดิ ขึน้ ราววันที่ 20 มีนาคม และศารทวษิ วุ ัตจะประมาณวันท่ี 23 กนั ยายน สาหรับซกี โลกใตส้ ถานการณจ์ ะกลับกนั โดยวันทเ่ี กิดครษี มายันกับเหมายนั และวสันตวิษวุ ัตกับศารทวิษวุ ัตจะสลับกนั ถ่นิ ทอี่ ยอู่ าศัยได้ ดาวเคราะหท์ ่ีสามารถคา้ จนุ ต่อส่งิ มีชวี ติ ได้ เรียกว่า ดาวเคราะห์อยู่อาศัยได้ โดยไม่จาเป็นวา่ สิ่งมชี ีวติ จะต้องกาเนิดจากดาวเคราะห์นนั้ โลกมีนา้ ในรปู ของเหลว ซึ่งเป็น สิ่งแวดลอ้ มท่โี มเลกลุ สารอนิ ทรยี ซ์ บั ซอ้ นสามารถรวมตัวกนั หรือมอี นั ตรกิรยิ าต่อกันได้ และมพี ลงั งานเพยี งพอคา้ จุนเมแทบอลซิ มึ ระยะทางจากโลกถงึ ดวงอาทติ ย์

ตลอดจนความเยื้องศูนย์กลางของวงโคจร อตั ราการหมนุ รอบตวั เอง ความเอยี งของแกนดาว ประวัตศิ าสตร์ธรณีวิทยา การมีช้นั บรรยากาศคอยคา้ จุน และมี สนามแม่เหลก็ ทั้งหมดลว้ นเก้ือหนนุ ให้เกิดสภาพภูมอิ ากาศที่พืน้ ผิวดงั เช่นในปจั จบุ ัน ชีวมณฑล บ้างมกี ารกล่าวถงึ รูปแบบสิ่งชวี ติ ตา่ ง ๆ บนดาวเคราะหว์ า่ ประกอบขึน้ เป็น \"ชวี มณฑล\" เชือ่ กันท่วั ไปว่าชีวมณฑลของโลกเรมิ่ ววิ ัฒน์ขึน้ เมือ่ ประมาณ 3.5 พันล้านปี ก่อนจาแนกได้เปน็ ชีวนเิ วศต่าง ๆ กนั ท่ีมพี ืชและสัตวต์ า่ ง ๆ ที่คลา้ ยคลงึ กันกว้าง ๆ อยูอ่ าศยั ชีวนเิ วศบนดินแบ่งตามหลักใหญ่ได้ตามละตจิ ูด ความสงู จากระดับนา้ ทะเล และระดบั ความชืน้ ต่าง ๆ สว่ นชีวนิเวศบกที่อย่ใู นบริเวณอาร์กติกหรือแอนตาร์กติกเซอร์เคลิ , ทท่ี ่ีมรี ะดับความสงู มาก หรอื ในพ้ืนที่แล้งสุดข้วั มีพืชและสัตว์เพยี ง เลก็ นอ้ ย ความหลากหลายของสปชี สี ์จะสงู สุดในพ้ืนทล่ี มุ่ ชื้นบรเิ วณละติจดู ศูนย์สูตรโลกมีทรพั ยากรหลากหลายซง่ึ มนษุ ย์แสวงหาประโยชน์ ทรัพยากรท่เี รยี ก ทรัพยากรไมห่ มนุ เวียน เช่น เชื้อเพลงิ ซากดึกดาบรรพ์ จะมีทดแทนตามเวลาทางธรณีวทิ ยาเทา่ น้ันเช้ือเพลงิ ซากดกึ ดาบรรพป์ ริมาณมากท่ถี กู กกั เกบ็ สามารถขุดเจาะได้ จากเปลอื กโลก ประกอบด้วยถา่ นหนิ ปโิ ตรเลยี ม และกา๊ ซธรรมชาติ มนษุ ย์ใช้เชอื้ เพลิงเหลา่ นท้ี งั้ เพื่อการผลิดพลังงานและเปน็ วตั ถุดิบตง้ั ต้นในอุตสาหกรรมเคมี เนอ้ื สนิ แรจ่ านวนมากยังกอ่ ตัวขึ้นภายในเปลือกโลกผา่ นกระบวนการกาเนิดแร่ อันเปน็ ผลจากการปะทขุ องหนิ หลอมเหลว การกัดเซาะ และการแปรสัณฐานแผ่นธรณีภาค วตั ถเุ หลา่ นีเ้ ป็นแหลง่ เนือ้ แร่ของโลหะหลายชนดิ ตลอดจนธาตมุ ีประโยชน์อน่ื ชีวภาคของโลกก่อกาเนดิ ผลิตภัณฑ์ชวี ภาพหลายชนิดที่เป็นประโยชนต์ ่อมนษุ ย์ ประกอบดว้ ยอาหาร ไม้ ยารักษาโรค ออกซิเจน และช่วยรไี ซเคลิ ของเสียอินทรียจ์ านวนมาก ระบบนเิ วศบนบกต้องอาศยั หนา้ ดินและน้าจืด ในขณะทีร่ ะบบนิเวศ มหาสมทุ รต้องอาศัยสารอาหารทลี่ ะลายในน้าซึง่ ถกู ชะมาจากแผน่ ดินในปี 1980 พืน้ ดนิ ของโลก 5,053 ล้านเฮกตาร์ (50.53 ล้านตารางกโิ ลเมตร) เป็นพ้นื ที่ปา่ และต้นไม้ 6,788 ลา้ นเฮกตาร์ (67.88 ลา้ นตารางกโิ ลเมตร) เป็นทุ่งหญ้าและทุ่งหญ้าเลยี้ งสัตว์ และ 1,501 ลา้ นเฮกตาร์ (15.01 ล้านตารางกิโลเมตร) เปน็ พนื้ ทีเ่ กษตรกรรมเพาะปลกู จานวนพ้ืนทชี่ ลประทานโดยประมาณในปี 1993 อยู่ที่ 2,481,250 ตารางกิโลเมตร (958,020 ตารางไมล์) มนุษยย์ ังดารงชวี ิตบน พื้นดินโดยใชว้ ัสดกุ ่อสรา้ งขนดิ ต่าง ๆ ก่อสร้างที่พกั อย่อู าศยั

การใชพ้ ้ืนท่ี ประมาณการใช้พืน้ ท่ขี องมนุษย์ปี 2000 ลา้ นเฮกตาร์ เพาะปลกู ทงุ่ หญา้ 1,510–1,611 ป่าธรรมชาติ 2,500–3,410 ป่าปลูก 3,143–3,871 พน้ื ทีเ่ มอื ง 126–215 ทด่ี นิ กอ่ ประโยชนไ์ ด้แต่ไม่ใช้ 66–351 356–445 อนั ตรายทางธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม พื้นที่บรเิ วณกว้างบนพื้นผิวโลกเผชญิ สภาพอากาศร้ายแรง เช่น พายุหมุนเขตร้อน เฮอริเคน หรือไต้ฝุ่นซึ่งครอบงาส่งิ มีชวี ิตในพ้ืนที่เหลา่ น้นั ระหว่างปี 1980 ถึง 2000 ภัยธรรมชาติดงั กลา่ วเปน็ สาเหตทุ าให้มผี ูเ้ สียชวี ิตโดยเฉลี่ย 11,800 รายต่อปใี นหลายที่ยงั ตอ้ งประสบกบั แผน่ ดินไหว แผ่นดินถลม่ สนึ ามิ ภเู ขาไฟระเบิด

ทอร์นาโด หลุมยบุ พายุหิมะ น้าท่วม ภัยแล้ง ไฟป่า และหายนะภยั หรอื พบิ ัตภิ ยั อืน่ ๆพ้ืนทีท่ ้องถิ่นหลายแหง่ ยังได้รับผลกระทบจากมลพษิ ท้ังทางน้าและอากาศอนั มี สาเหตุจากมนษุ ย์ ฝนกรดและสารพิษนานาชนดิ การเสยี พน้ื ที่สเี ขียว (การทาปศสุ ัตว์มากเกินไป การทาลายปา่ การเกิดทะเลทราย) การสญู เสยี สตั ว์ปา่ การสูญพันธุ์ ของสปชี ีส์ ดินเส่ือมคณุ ภาพ ดินถูกทาลายและการกัดเซาะมคี วามเหน็ พ้องทางวิทยาศาสตรท์ ี่เชื่อมโยงกจิ กรรมของมนษุ ยก์ บั ปรากฏการณ์โลกร้อนอันเน่ืองมาจากการ ปล่อยคารบ์ อนไดออกไซด์จากภาคอตุ สาหกรรม นาไปส่กู ารคาดคะเนความเปลยี่ นแปลงต่าง ๆ เช่น การละลายของธารน้าแขง็ และพดื น้าแข็ง พิสยั อุณหภมู ิที่รุนแรง มากขน้ึ การเปลยี่ นแปลงอยา่ งสาคญั ของลมฟ้าอากาศและการเพ่ิมของระดบั น้าทะเลปานกลางท่ัวโลก ภูมศิ าสตร์มนุษย์ วิชาการเขยี นแผนทซ่ี ่งึ ทาการศกึ ษาและสรา้ งแผนทีใ่ นเชิงปฏบิ ตั ิ วิชาภูมศิ าสตรซ์ ง่ึ ทาการศึกษาพ้นื ที่ ภมู ปิ ระเทศ ผู้อย่อู าศัย และปรากฏการณ์ต่าง ๆ บนโลก ลว้ นมี ประวตั ศิ าสตร์อันแขง็ ขันท่ีอุทศิ แก่การพรรณนาโลก วิศวกรรมสารวจซึง่ ทาการกาหนดทีต่ ั้งและระยะทาง ตลอดจนขอบเขตอีกบางส่วนจากการเดินเรืออนั ตอ้ งกาหนด ตาแหน่งและทศิ ทาง กไ็ ดม้ ีการพัฒนาข้ึนรว่ มไปกับวชิ าการเขยี นแผนท่แี ละภมู ิศาสตร์ ท้งั หมดนน้ั ได้อานวยและให้ปรมิ าณขอ้ สนเทศทจี่ าเป็นได้อย่างเหมาะสมจานวน ประชากรมนุษย์บนโลกได้เพิ่มขึน้ ถงึ เจ็ดพนั ล้านคนโดยประมาณในวนั ที่ 31 ตุลาคม 2011ผลการคาดคะเนชี้วา่ ประชากรมนุษยบ์ นโลกจะเพม่ิ ขนึ้ ถึง 9.2 พนั ลา้ น คนในปี 2050จานวนทีเ่ พ่ิมข้นึ สว่ นใหญ่นัน้ คาดอยู่ในประเทศกาลังพัฒนา ความหนาแนน่ ของประชากรมนุษย์ผนั แปรมากทัว่ โลก โดยส่วนใหญ่อยูอ่ าศัยในทวีป เอเชีย เมื่อถงึ ปี 2020 คาดว่าราวร้อยละ 60 ของประชากรโลกจะอยู่อาศัยในเมืองมากกว่าในพืน้ ทแี่ ถบชนบทประมาณกนั ว่าพน้ื ทห่ี น่ึงในแปดของผิวโลกเหมาะสม ตอ่ การอยอู่ าศัยของมนุษย์ โดยท่ีพื้นทีร่ าวสามในส่ขี องผวิ โลกถปกคลุมด้วยมหาสมทุ ร มีเพยี งหนง่ึ ในส่เี ท่านน้ั ท่ีเปน็ แผน่ ดนิ กวา่ ครงึ่ ของแผ่นดนิ เปน็ พ้ืนทีแ่ หง้ แล้ง (ร้อยละ 14) ภเู ขาสูง (ร้อยละ 27) หรือพ้นื ที่ทีไ่ ม่เหมาะสมอื่น ๆ นิคมถาวรเหนอื สุดของโลก คอื เมืองอเลิร์ท บนเกาะเอลสเมียร์ ในนูนาวุต ประเทศแคนาดา (82°28′เหนือ) สว่ นตาแหนง่ ใตส้ ุดคือ สถานีข้วั โลกใตอ้ มนุ ด์เซน–สก็อตในทวีปแอนตาร์กติกา โดยมีทตี่ ัง้ เกอื บตาแหน่งเดียวกนั กับขัว้ โลกใต้ (90°ใต)้ รัฐเอกราช อ้างสทิ ธเ์ิ หนือพื้นผิวดินทงั้ หมดของโลกยกเว้นเพียงบางส่วนของทวปี แอนตารก์ ติกา แปลงทด่ี นิ เลก็ ๆ ตามฝ่ังตะวนั ตกของแมน่ า้ ดานูบ และพ้นื ทไี่ มม่ กี ารอา้ งสทิ ธิ์ บรเิ วณบที าวลิ ซ่ึงอยูร่ ะหว่างประเทศอียิปต์และซดู าน ในปี 2015 โลกมีรัฐสมาชกิ สหประชาชาติ 193 รัฐ บวกรัฐผสู้ งั เกตการณ์ 2 รัฐ และดินแดนในภาวะพึง่ พงิ

และรฐั ท่ีได้รบั การรับรองจากดั 72 ดนิ แดนและรัฐในประวตั ศิ าสตรโ์ ลกยังไม่เคยมีรัฐบาลเอกราชใดมีอานาจเหนือโลกทงั้ ใบ บางรัฐชาตจิ านวนหนึ่งที่เคยพยายาม ครองโลกแต่ลม้ เหลวสหประชาชาติเป็นองค์การระหว่างรัฐบาลท่ัวโลก ก่อต้งั ขึน้ โดยมีเป้าหมายเพ่ือเข้าแทรกแซงกรณีพพิ าทระหวา่ งชาติรฐั ต่าง ๆ จึงหลกี เล่ียงการ ขดั กนั ดว้ ยอาวุธสหประชาชาติใชเ้ ปน็ ทส่ี าหรับการทูตระหว่างประเทศตลอดจนกฎหมายระหว่างประเทศเป็นหลัก ต่อเม่อื มฉี นั ทามตจิ ากชาติสมาชิกอนุญาตแล้วจึงมี กลไกเขา้ แทรกแซงด้วยกาลงั ได้มนุษย์คนแรกทไี่ ดโ้ คจรรอบโลกคือ ยรู ิ กาการิน เม่ือวันที่ 12 เมษายน 1961หากนบั รวมทัง้ หมดจนถึง 30 กรกฎาคม 2010 มี มนษุ ยท์ ้ังส้นิ ราว 487 คนเคยเยือนอวกาศและในจานวนนี้ สิบสองคนเคยเดินบนดวงจนั ทรป์ กตมิ นุษย์ในอวกาศมเี ฉพาะท่อี ยบู่ นสถานีอวกาศนานาชาตเิ ท่านั้น ลูกเรอื ของสถานีมีจานวนทงั้ สิ้นหกคนซึง่ จะมีการผลดั เปลยี่ นการปฏบิ ัติภารกิจทุกหกเดอื นระยะทางท่ไี กลท่สี ุดท่มี นุษย์เคยเดินทางออกไปจากโลกคือ 400,171 กโิ ลเมตร โดยเกิดข้นึ ในระหว่างภารกิจ อะพอลโล 13 ในปี 1970 ภาพประกอบรวมไดจ้ ากขอ้ มลู การเรืองแสงภาคพ้นื ดนิ ของ ดีเอ็มเอสพี/โอแอลเอส ปี 2000 แสดงภาพจาลองยามคา่ คืนของโลก

ดวงจันทร์ ดวงจนั ทร์เป็นดาวบริวารขนาดค่อนข้างใหญ่ มพี ้ืนผิวแขง็ คลา้ ยดาวเคราะห์โดยมเี ส้นผ่านศูนย์กลางประมาณหนึ่งในสข่ี องโลก เป็นดาวบริวารขนาดใหญ่สุดในระบบ สรุ ยิ ะเมอ่ื เทยี บสดั สว่ นกบั ดาวเคราะห์ แมว้ ่าแครอนมีขนาดใหญก่ ว่าเม่ือเทยี บสดั ส่วนกับดาวเคราะหแ์ คระพลูโต ดาวบริวารที่โคจรรอบดาวเคราะหอ์ นื่ ๆ กเ็ รยี ก \"ดวง จันทร\"์ ตามดวงจันทร์ของโลกการดึงเชงิ โน้มถ่วงระหวา่ งโลกและดวงจนั ทร์กอ่ ใหเ้ กดิ ปรากฏการณน์ ้าขนึ้ น้าลงบนโลก ผลเช่นเดียวกนั ท่ีเกดิ กับดวงจนั ทรน์ าไปสู่ ภาวะการตรึงด้วยแรงไทด์ (tidal locking) ทาใหร้ ะยะเวลาในการหมนุ รอบตัวเองของดวงจันทร์เท่ากันกบั เวลาที่ใช้โคจรรอบโลก ผลคือดวงจันทรจ์ ะหันดา้ นเดียวเข้า หาโลกเสมอ ในขณะท่ีดวงจันทร์โคจรรอบโลกแต่ละรอบ พน้ื ผิวส่วนตา่ ง ๆ ของหน้าท่หี ันสู่โลกจะไดร้ ับแสงจากดวงอาทิตย์ นาไปสู่ปรากฏการณ์ข้างขึ้นขา้ งแรม ส่วน หน้ามืดแยกออกจากส่วนสว่างโดยเขตสนธยาสรุ ยิ ะ (solar terminator) รายละเอียดของระบบโลก–ดวงจนั ทร์ แสดงรศั มถี งึ ศูนย์กลางมวลรว่ มของโลก–ดวงจันทร์ ตาแหน่งแกนของดวงจันทรห์ าได้จากกฎข้อที่สามของแคสซนี ี

จากอันตรกิรยิ านา้ ขึ้นนา้ ลง ดวงจันทร์จงึ ถอยหา่ งออกไปจากโลกในอตั ราประมาณ 38 มลิ ลเิ มตรต่อปี อีกหลายล้านปีขา้ งหน้าการเคลือ่ นเล็ก ๆ นอ้ ย ๆ นี้ รวมถงึ วนั ของ โลกทย่ี าวขึ้นประมาณ 23 ไมโครวินาทที กุ ปี จะทวีขึ้นจนกลายเปน็ การเปลี่ยนแปลงท่มี ีนัยสาคญั [212] ตวั อย่างเช่น ในระหวา่ งยุคดีโวเนยี นเม่ือประมาณ 410 ล้านปีกอ่ น หนึ่งปโี ลกมี 400 วัน โดยวนั หน่งึ มีเวลา 21.8 ชวั่ โมงดวงจนั ทร์อาจมีผลกระทบอยา่ งใหญ่หลวงต่อพฒั นาการของส่ิงมชี วี ิตโดยการชว่ ยบรรเทาภูมอิ ากาศของโลกไมใ่ ห้ รุนแรงเกนิ ไป หลักฐานบรรพชีวินวิทยาและแบบจาลองคอมพวิ เตอร์แสดงให้เห็นว่าความเอียงของแกนโลกมเี สถยี รภาพอยไู่ ด้โดยอนั ตรกิริยาขน้ึ ลงกบั ดวงจนั ทร์นัก ทฤษฎีบางส่วนเชื่อวา่ หากปราศจากเสถยี รภาพนี้เม่ือต้องเผชิญกบั แรงบิดท่ีส่งมาจากจากดวงอาทิตย์และดาวเคราะห์อ่ืน ๆ ท่กี ระทาต่อสว่ นโป่งบริเวณศูนย์สูตรของโลก แลว้ แกนหมุนของโลกอาจไร้เสถียรภาพถึงขนั้ โกลาหล โดยจะแสดงการเปลีย่ นแปลงอย่างสับสนอลหมา่ นในทุก ๆ หลายล้านปดี งั ในกรณีของดาวองั คารเม่ือมองจาก โลก ดวงจันทร์อยูห่ า่ งออกไปพอใหข้ นาดปรากฏของดวงจันทร์เกือบเทา่ กบั ขนาดปรากฏของดวงอาทิตย์ ขนาดเชิงมุม (หรือมมุ ตัน) ของวตั ถทุ ั้งสองเสมอกันเพราะเสน้ ผ่านศนู ยก์ ลางของดวงอาทิตย์แมจ้ ะมากกวา่ ของดวงจันทรร์ ว่ ม 400 เท่า แตร่ ะยะทางมาถึงโลกกไ็ กลกว่า 400 เทา่ ดว้ ยเช่นกนั สภาพดังกลา่ วเป็นสาเหตใุ หส้ รุ ยิ ุปราคาทั้ง แบบเตม็ ดวงและแบบวงแหวนปรากฏบนโลกไดท้ ฤษฎกี ารกาเนิดดวงจันทร์ทไ่ี ด้รับการยอมรบั มากทสี่ ุดคือสมมตฐิ านการชนใหญ่ โดยกล่าวว่าดวงจันทร์เกดิ ข้ึนจากท่ี ดาวเคราะห์ยุคแรกขนาดเทา่ ดาวองั คารชอื่ เธียพุง่ ชนโลกระยะแรกสมมตฐิ านนี้อธิบายเกย่ี วกับปรมิ าณเหลก็ และธาตุระเหยงา่ ยทีไ่ มค่ อ่ ยพบบนดวงจนั ทร์ ตลอดจน ขอ้ เทจ็ จรงิ ที่องคป์ ระกอบของดวงจนั ทร์แทบเหมอื นกับองค์ประกอบของเปลอื กโลก เสน้ ผา่ นศนู ยก์ ลาง ลักษณะเฉพาะ มวล กึ่งแกนเอก 3,474.8 กม. คาบการโคจร 7.349×1022 กก. 384,400 กม. 27 ว 7 ช 43.7 น

ดาวเคราะหน์ อ้ ยและดาวเทยี ม โลกมีดาวเคราะหน์ ้อยรว่ มวงโคจรอยา่ งน้อยห้าดวงด้วยกัน อาทิเช่น 3753 ครอู ิทเนและ 2002 AA29ดาวเคราะห์น้อยโทรจันร่วมทางได้แก่ 2010 TK7 ซึง่ เคลื่อนไปตาม เส้นทางลา้ หน้าโลก ณ ตาแหนง่ จดุ สามเหลย่ี มลากรอ็ งจ์ (Lagrange triangular point) หรือแอล4 ในวงโคจรของโลกรอบดวงอาทิตยด์ าวเคราะหน์ ้อยใกล้โลกขนาด เลก็ 2006 RH120 เขา้ เฉียดระบบโลก–ดวงจันทร์ประมาณทกุ 20 ปี ระหวา่ งการเฉยี ดแต่ละครั้ง สามารถโคจรรอบโลกได้ช่วงสั้น ๆจนถึงเดอื นมิถนุ ายน 2016 มี ดาวเทยี มในระหว่างปฏิบตั ิการ 1,419 ดวงโคจรรอบโลกยงั มดี าวเทียมทย่ี ตุ กิ ารใชง้ านแล้วและขยะอวกาศท่ีมกี ารตดิ ตามอีก 17,729 ชน้ิ ดาวเทยี มใหญส่ ุดของโลกคอื สถานอี วกาศนานาชาติ สถานีอวกาศนานาชาติ ดาวเทียมของโลก มุมมองด้านประวตั ิศาสตร์และวัฒนธรรม สญั ลักษณ์ทางดาราศาสตร์มาตรฐานของโลกประกอบด้วยกากบาทท่ีมีวงกลมลอ้ มรอบอยู่ Earth symbol.svgเปน็ ตัวแทนของสมี่ มุ โลก

วัฒนธรรมมนษุ ยพ์ ฒั นามุมมองตา่ ง ๆ ของโลก บางทโี ลกก็มบี คุ ลาธิษฐานเป็นเทพเจา้ ในหลายวฒั นธรรม เทพมารดา (mother goddess) เป็นเทพเจ้าความอุดมสมบรู ณ์ หลกั ด้วยและเมอื่ กลางครสิ ต์ศตวรรษที่ 20 หลกั ไกอาเปรียบเทยี บสิง่ แวดล้อมของโลกกบั สิ่งมีชวี ิตเป็นสิ่งมีชวี ติ กากับตัวเองเดี่ยว ๆ ทนี่ าไปสู่การสร้างเสถยี รภาพอย่าง กวา้ งขวางซ่งึ ภาวะการอย่อู าศยั ได้ปรมั ปราการสรรค์สร้างในหลายศาสนามวี ่า เทพเจา้ เหนือธรรมชาติพระองคเ์ ดยี วหรอื หลายพระองค์ทรงสรา้ งโลกการสอบสวนทาง วทิ ยาศาสตรส์ ง่ ผลใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงทางวัฒนธรรมในมมุ มองของมนุษยต์ อ่ โลก ในโลกตะวนั ตก ความเช่ือเรื่องโลกแบนถกู แทนดว้ ยโลกทรงกลมอนั เนอ่ื งจากพี ทาโกรัสในศตวรรษที่ 6 กอ่ นครสิ ตกาลตอ่ มาเชื่อว่าโลกเป็นศูนยก์ ลางของเอกภพจนคริสตศ์ ตวรรษที่ 16 เมือ่ นักวทิ ยาศาสตร์ตง้ั ทฤษฎวี ่าโลกเป็นวัตถุเคลือ่ ท่ีโดยเทยี บ กับดาวเคราะห์อ่นื ในระบบสุริยะคร้งั แรก เนื่องจากความพยายามของนักวชิ าการครสิ ต์ศาสนกิ ชนผ้ทู รงอิทธพิ ลและนกั บวชอยา่ งเจมส์ อชั เชอร์ ผู้มุ่งหาอายุของโลกผา่ น การวเิ คราะหพ์ งศาวลวี ิทยาในคัมภีร์ไบเบิล ชาวตะวนั ตกก่อนคริสต์ศตวรรษท่ี 19 โดยท่วั ไปจงึ เชื่อว่าโลกมีอายุเก่าสดุ ไม่ก่ีพนั ปจี นระหวา่ งครสิ ต์ศตวรรษท่ี 19 ทีน่ กั ธรณวี ทิ ยาทราบวา่ โลกมอี ายุหลายลา้ นปแี ล้ว \"เอริ ์ธไรซ์\" ถ่ายโดยนักบินอวกาศบนยาน อะพอลโล 8


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook