Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่6

บทที่6

Published by Guset User, 2021-11-01 05:01:43

Description: บทที่6

Search

Read the Text Version

บทที่ 6 นวัตกรรมและเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ สำหรับผู้เรยี นที่มคี วามต้องการจำเปน็ พิเศษ ความหมายของผเู้ รยี นที่มคี วามต้องการพิเศษ สมเกตุ อุทรโยธา (2560 ) ได้นำเสนอความหมายของผเู้ รียนที่มีความต้องการพิเศษไว้ว่า เป็นบุคคลทีส่ ญู เสยี หรือมคี วามผิดปกติของจติ ใจหรือสติปญั ญา หรอื สรรี ะโครงสรา้ งหนา้ ท่ขี องรา่ งกาย ประเภทของของผู้เรยี นทม่ี คี วามต้องการพเิ ศษ ในการนำเสนอประเภทของผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษในบทนย้ี ึดตามประกาศ กระทรวงศึกษาธกิ ารเร่ือง ประเภทและหลักเกณฑ์ของคนพิการทางการศึกษา 1. คคลท่ีมีความบกพรองทางการเห็น 2. บคุ คลทีม่ ีความบกพรองทางการไดยนิ 3. บคุ คลที่มีความบกพรองทางสตปิ ญญา การพจิ ารณาบคุ คลทม่ี ีความบกพรองเพ่ือจดั ประเภทของคนพกิ าร ใหมีหลักเกณฑดงั ตอไปนี้ 1. คคลที่มีความบกพรองทางการเห็น ไดแก บคุ คลทสี่ ูญเสยี การเหน็ ตั้งแตระดับเลก็ น อยู่ จนถงึ ตาบอดสนทิ ซึ่งแบงเปน 2 ประเภทดงั น้ี 1. คนตาบอด หมายถงึ บุคคลท่ีสูญเสยี การเหน็ มาก 2. คนเหน็ เลือนราง หมายถงึ บุคคลทสี่ ญู เสยี การเหน็ แตยังสามารถอานอักษรได้ 3. บคุ คลท่มี ีความบกพรองทางการไดยิน ไดแก บุคคลทส่ี ญู เสยี การไดยนิ ต้ังแตระดับ หูตงึ นอยจนถึงหู หนวก ซงึ่ แบงเปน 2 ประเภท ดังนี้ 4. คนหหู นวก หมายถงึ บุคคลที่สญู เสยี การไดยินมากจนไมสามารถเขาใจการพดู 5. คนหูตงึ หมายถงึ บุคคลท่ีมีการไดยนิ เหลืออยูเพียงพอทจ่ี ะไดยนิ การพดู ผานทาง การไดยิน บคุ คลท่ีมีความบกพรองทางสติปญญา ไดแก บคุ คลท่มี คี วามจํากดั อยางชัดเจนในการ ปฏิบตั ิตน (Functioning) ในปจจบุ ัน ซึ่งมลี กั ษณะเฉพาะ คอื ความสามารถทาง สติปญญาต่ำากวาเกณฑ 1. คคลท่ีมีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคลื่อนไหว หรือสขุ ภาพ ซงึ่ แบ งเปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี 1. บุคคลทม่ี ีความบกพรองทางรางกาย หรือการเคล่ือนไหว ไดแก บุคคลทมี่ ี อวยั วะไม สมสวนหรือขาดหายไปคคลท่ีมคี วามบกพรองทางสุขภาพ ไดแก บคุ คลท่มี ีความเจบ็ ปวยเรื้อรังหรือ

โรคประจําตวั ซ่ึงจาํ เปนตองไดรบั การรักษาอยางตอเนื่อง บุคคลท่ีมีความบกพรองทางการเรยี นรู ได แก บคุ คลทีม่ ีความผดิ ปกตใิ นการทํางาน ของสมองบางสวน บุคคลท่ีมีความบกพรองทางการพูดและภาษา ไดแก บุคคลทีม่ ีความบกพรองในการ เปลงเสยี งพูด เช น เสยี งผิดปกติ อตั ราความเร็วและจงั หวะการพูดผดิ ปกติ 1.บุคคลทม่ี ีความบกพรองทางพฤติกรรม หรอื อารมณ ไดแก บคุ คลท่ีมีพฤติกรรม เบีย่ งเบนไปจากปกติ เป นอยางมาก 2 บคุ คลออทิสตกิ ไดแก บคุ คลที่มีความผดิ ปกตขิ องระบบการทํางานของสมองบางสวน ซง่ึ ส งผลตอความบกพรองทางพัฒนาการดานภาษา 3. บุคคลพิการซอน ไดแก บคุ คลที่มสี ภาพความบกพรองหรือความพิการมากกวา หน่งึ ประเภทในบคุ คลเดียวกัน ความหมายนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับผเู้ รียนทมี่ ีความต้องการพเิ ศษ คำว่านวัตกรรมหมายถงึ เทคนิควิธกี าร วัสดุ อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื ส่ิงประดิษฐ์ใหม่ๆ ทปี่ ระยุกต์มาจาก พน้ื ฐานของแนวคดิ และทฤษฎที ี่ยังไม่เปน็ ทแี่ พร่หลายหรือส่วนหนงึ่ ของงานปกตริ วมทัง้ เปน็ สิง่ ที่สง่ เสรมิ การเรยี นรูส้ ำหรบั ผเู้ รยี นท่ีมีความต้องการจำเป็นพิเศษ ความสำคัญของ เทคโนโลยีสารสนเทศสำหรบั ผเู้ รียนที่มคี วามตอ้ งการจำเปน็ พเิ ศษ ความสำคัญท่ีมีต่อร่างกายช่วยใหอ้ วัยวะเตบิ โตตามการทำงานทำหน้าท่ีไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพมากขน้ึ เชน่ เดก็ ทม่ี คี วามบกพร่องทางการได้ยินใช้เครอ่ื งชว่ ยฟัง ความสำคัญที่มีตอ่ อารมณจ์ ิตใจ และสังคม ชว่ ยให้เดก็ รู้สึกมัน่ ใจในการใชอ้ วยั วะต่างๆ และ สง่ เสรมิ ตอ่ ความไว้วางใจตอ่ คนรอบข้าง ความสำคัญท่ีมีตอ่ สติปัญญา ชว่ ยเพมิ่ ความสามารถในการรับรู้ ในประสบการณ์ตา่ งๆท่ีไดจ้ ากเทคโนโลยี สารสนเทศ และช่วยพัฒนาสติปญั ญา สรุปไดว้ ่า สือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศมีความสำคัญจำเป็นอย่างมากในดา้ น รา่ งกาย อารมณ์ จติ ใจ และ สติปัญญา แมว้ ่า เทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การเรียนรู้อาจไม่มุ่งเนน้ ให้เป็นสิง่ อำนวยความสะดวก แตม่ ุ่งเนน้ การเรยี นรู้ของผเู้ รยี น ยอ่ มส่งผลตอ่ สติปัญญา อารมณจ์ ิตใจเปน็ หลกั และต่อร่างกายเปน็ สว่ น ต่อมา หลักการใช้สอ่ื และเทคโนโลยีสารสนเทศสำหรับผูเ้ รยี นที่มีความต้องการจำเปน็ พิเศษ หลักการตอบสนองความตอ้ งการเฉพาะบุคคล ผู้เรียนแต่ละประเภทต้องการความช่วยเหลือท่เี ป็นพิเศษ ท่แี ตกตา่ งกัน เช่นเด็กบกพร่องทางสติปัญญาอาจไม่ต้องการความเชีย่ วเหลอื ด้านร่างกายเนอื่ งจาก รา่ งกายปกติ แตข่ ณะทเี่ ด็กสมองพิการอาจต้องการความชว่ ยเหลอื ด้านร่างกายมาก หลักการพัฒนาการ แม้วา่ พัฒนาการของผู้เรียนที่มีความตอ้ งการพเิ ศษบางคนจะไมเ่ ป็นไปตาม พัฒนาการของเด็กปกติ ผู้สอนจงึ ควรให้ความสำคัญในด้านพฒั นาการของผ้เู รยี นเปน็ พิเศษ ด้วยการ ตรวจสอบ เปรยี บเทยี บพัฒนาการผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล

หลกั การความปลอดภยั ควรตรวจสอบความเรียบร้อยของสื่อตา่ งๆเพอื่ ใหเ้ กดิ ความปลอดภัยกับผเู้ รยี น ขณะใชส้ ่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ เชน่ การใชป้ ากกาอ่านหนังสือ (talking pen) ชว่ ยในการอา่ นออกเสยี ง ตอ้ งใชก้ ระแสไฟในรูปแบบของการชารต์ แบตเตอรีเ่ กบ็ พลงั งานไว้ในปากกา หลกั การประโยชน์สูงสดุ ควรคำนงึ ถงึ บริบทของผูเ้ รียนเป็นสำคัญ สือ่ เทคโนโลยีไมจ่ ำเปน็ ต้อง ลำ้ สมยั เทคโนโลยรี ะดบั ซับซ้อน แตค่ วรพิจารณาว่าสอ่ื ใดทีจ่ ะเกิดประโยชนต์ ่อผเู้ รียน หลักความยดื หยุ่น ผู้เรียนท่ีมีความตอ้ งการพิเศษทแ่ี ตกตา่ งกัน การใช้ส่ือเทคโนโลยสี ารสนเทศควรใช้ให้ สอดคล้องกบั ภาวะความตอ้ งการและพัฒนาการของเด็กแต่ละคน หลักการมีส่วนร่วม การส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นที่มคี วามต้องการพิเศษจะเกดิ ประโยชนส์ งู สดุ ไม่ได้ถ้าไม่ได้รบั ความรว่ มมอื จากผ้เู กีย่ วข้อง เช่น ครู ผูด้ ูแลเด็ก ผปู้ กครอง นกั เทคโนโลยีการศึกษา ประเภทของนวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้ 1. นวัตกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การเรยี นร้สู ำหรบั ผู้มีความจำเป็นพเิ ศษทางการ มองเหน็ 2. กษณะของนวัตกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้ สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร. (2550, ออน-ไลน์) ไดส้ รปุ เอกสาร ประกอบการบรรยายเร่ืองการเขา้ ถึงเทคโนโลยสี ารสนเทศจากคนพิการ 2. ปกรณท์ ีจ่ ำเป็นสำหรับคนพิการทางสายตา 1. เครื่องบนั ทึกอักษรเบรลล์อา่ นออกเสียง เครอื่ งบันทึกอักษรเบรลล์อ่านออกเสียงและแสดงจดุ อักษรเบรลล์ เครอื่ งอา่ นหนังสือเสยี งอิเล็กทรอนิกสร์ ะบบเดซ่ี อุปกรณร์ ่วมกับคอมพิวเตอร์แสดงผลเป็นอักษรเบรลล์ 1. โปรแกรมสำเร็จรปู บนโทรศัพทม์ ือถือ 1) Visible Note ใช้ได้กับระบบปฏบิ ตั ิการ ANDROID เป็นการรว่ มมือกนั ของ DTAC กับ The Leo Burnett Group เพอ่ื สร้างโอกาสใหเ้ ด็กพิการทางสายตาได้เรยี นดนตรีคลาสสิค 2) Read for the Blind เป็นโปรแกรมสำเรจ็ รูปแรกของโลกที่ถูกคิดคน้ มาเพือ่ ทกุ คนได้มีโอกาสรว่ มกนั สรา้ งหนังสือเสยี งให้คนตาบอด ดว้ ยการอา่ นหนังสือหรือบทความสน้ั ๆ 1.3 งานวจิ ัยที่พฒั นานวตั กรรม การพัฒนาหนงั สือเสียงสองภาษาเพ่ือสง่ เสรมิ ทักษะการฟัง สำหรบั เดก็ ท่มี ีความบกพร่องทางการ มองเห็น พัฒนาโดย นฤมล อินทิรักษ์. (2562) ลักษณะนวตั กรรมหนงั สือทม่ี ีเสยี งประกอบภาพ เปน็ เสยี ง 2 ภาษาไดแ้ ก่ภาษาองั กฤษและภาษาไทย 2. นวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรยี นรสู้ ำหรับผู้มีความจำเป็นพิเศษทางการได้ ยิน

1. ลกั ษณะของการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรียนรสู้ ำหรบั ผู้มคี วามจำเป็นพเิ ศษทางการ ไดย้ ิน ในปจั จบุ นั พฤติกรรมการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การเรียนร้สู ำหรบั ผ้มู ีความจำเป็นพเิ ศษทางการ ได้ยิน 1. โปรแกรมสำเร็จรูปบนโทรศพั ท์มอื ถอื 1. SQR : บารโ์ คด้ สองมติ ขิ องภาษามือ สำหรับคนพิการทางการได้ยนิ ศนู ย์ เทคโนโลยีอิเลก็ ทรอนกิ ส์และคอมพวิ เตอร์แหง่ ชาติ. 2. งานวิจยั ทีพ่ ัฒนานวตั กรรม 3. การออกแบบสอ่ื ปฏิสัมพันธ์ สำหรบั นักเรยี นบกพร่องทางการได้ยนิ ช้ันประถมศึกษาปที ี่ 1 วชิ า คณิตศาสตร์ พัฒนาโดย พรรณวดี ปัญจพร 3 นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพอ่ื การเรยี นรสู้ ำหรบั ผมู้ คี วามจำเปน็ พเิ ศษทางสติปัญญา ผเู้ รยี นท่มี ีความจำเปน็ พิเศษทางสตปิ ญั ญาเปน็ ผทู้ ่ีมภี าวะทเ่ี กดิ จากความผดิ ปกติทางปัญญา ภาวะความ บกพร่องมีการแบง่ ตามระดบั ความรุน่ แรง เช่น ระดับเล็กน้อยผลของความบกพร่องคือมีความยากลำบากใน การเรยี นรู้ แต่สามารถทำงานได้ สร้างและรักษาสัมพันธภาพกับผู้อ่ืนได้ 4 นวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรยี นรสู้ ำหรบั ผ้มู ีความจำเปน็ พเิ ศษทางรา่ งกาย เปน็ บุคคลทมี่ ีความบกพร่องทางร่างกายหรือการเคลอื่ นไหวหรือสขุ ภาพ มีข้อจำกดั ที่แตกตา่ งจาก บุคคลอน่ื ๆ ท่วั ไป อีกทั้งยงั มีปัญหาการสือ่ สารท้ังการพูดและการเขยี นรว่ มด้วยซ่งึ เป็นอุปสรรคต่อการจดั การ เรยี นรู้ การใชน้ วัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรสู้ ำหรบั ผ้มู คี วามจำเป็นพิเศษทางร่างกาย 5 นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรยี นรู้สำหรับผู้มีความจำเปน็ พิเศษทางการเรยี นรู้ ผ้เู รยี นที่มีความจำเปน็ พเิ ศษที่มคี วามบกพร่องในการเรยี นรู้ จะมีอุปสรรคการรับรู้ การปฏิบัติงานของ สมองสูญเสยี ไปทำใหม้ ีปญั หาในการอ่านและปัญหาในการเขา้ ใจภาษา รวมถงึ การที่เดก็ มีความบกพร่องของ ทกั ษะทเี่ กย่ี วกับการเรยี นร้บู างประการท่สี ง่ ผลให้เด็กมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบกพร่อง โดยไม่สมั พนั ธ์กบั ระดับสตปิ ัญญา ทั้งนีไ้ มร่ วมคนทม่ี ีบกพร่องทางการเรียนเนื่องจากสภาพบกพร่องทางการเหน็ ได้ยิน เคลอื่ นไหว ปญั ญาอ่อน (จรรยา ชนื่ เกษม. 2558) นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนร้สู ำหรับผู้มคี วามจำเปน็ พิเศษทางการเรียนรู้ 6. นวตั กรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่อื การเรยี นร้สู ำหรบั ผู้มีความจำเป็นพิเศษการพดู และ ภาษา ผู้เรียนทีม่ ีความจำเป็นพเิ ศษการพดู และภาษาเปน็ ความพบพรอ่ งในการออกเสียงพดู เชน่ เสียงผิดปกติ อตั ราความเร็วและจงั หวะการพดู ผิดปกติ หรือคนที่มคี วามบกพร่องในเรื่องการเข้าใจการใชภ้ าษาพดู การเขยี น

หรอื ระบบสญั ลักษณ์อ่นื ที่ใชใ้ นการตดิ ต่อสื่อสาร (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2552) นวตั กรรมเทคโนโลยี สารสนเทศเพื่อการเรียนรสู้ ำหรบั ผู้มคี วามจำเป็นพิเศษการพูดและภาษา 7. นวตั กรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรยี นรู้สำหรบั ผู้มีความจำเป็นพเิ ศษทาง พฤตกิ รรมหรืออารมณ์ ผู้เรยี นท่ีมคี วามจำเป็นพิเศษทางพฤติกรรมหรืออารมณ์เป็นผู้มีพฤติกรรมเบ่ยี งเบนไปจากปกตไิ ปอย่าง มากและเปน็ ปัญหาทางพฤตกิ รรมอยา่ งต่อเนื่องอาจเป็นความผิดปกติทางจติ ใจหรอื สมองการรบั รู้ เชน่ โรค สมองเสอื่ ม ซึมเศรา้ เปน็ ตน้ (กระทรวงศึกษาธกิ าร. 2552) นวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่ือการเรยี นรู้ สำหรับผ้มู ีความจำเป็นพเิ ศษทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ ตัวอย่างต่อไปน้ี โปรแกรม TAB Player ลักษณะการประยุกต์ใชง้ านใชเ้ ปิดฟงั หนังสือเสียงอิเล็กทรอนิกสร์ ะบบเดซ่ี โดยเลือกบทหรือหน้าท่ีต้องการได้ ใช้สำหรบั บุคคลที่มบี กพรอ่ งทางพฤตกิ รรมหรืออารมณ์ ยังสามารถใช้กับผมู้ ี ความบกพร่องทางการเห็น ท่ีมคี วามต้องการจำเปน็ พเิ ศษ 8. นวัตกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพอื่ การเรียนรสู้ ำหรบั บคุ คลออทิสติส ผู้เรยี นออกทิสตกิ เปน็ เดก็ ท่ีมีความบกพรอ่ งดา้ นการสื่อสารกับผ้อู ่ืน เทคโนโลยีเพือ่ การเรียนรูส้ ำหรับ ผ้เู รียนกลุ่มนจ้ี ะเป็นอุปกรณห์ รอื เคร่ืองมที ่ีมีเสยี งประกอบเช่น โปรแกรมทม่ี เี สียงทำงานร่วมกบั รปู ภาพ เพ่ือ ตอบสนองการเรยี นรูต้ ่อผเู้ รียนออทิสติดทเี่ รยี นร้ไู ด้ดีดว้ ยประสาทสมั ผัสทางตา นิรชั รินทร์ ชำนาญ กิจ.(2551) ตวั อย่างของ นวตั กรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการเรียนรสู้ ำหรบั บคุ คลออทสิ ตสิ 9. นวัตกรรมเทคโนโลยสี ารสนเทศเพอื่ การเรยี นรสู้ ำหรบั ผูเ้ รียนทีม่ คี วามบกพร่องซ้ำซ้อน นริ ัชรินทร์ ชำนาญกจิ . (2551) ไดน้ ำเสนอเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือการเรียนรู้สำหรับผเู้ รียนท่ีมคี วาม บกพร่องซำ้ ซ้อนดังนี้ เด็กท่ีมีความบกพร่องซ้ำซ้อนจะมีสภาพความพกิ ารในคนๆ เดยี วกันต้งั แต่ 2 อย่าง ขนึ้ ไป ทำให้เกิดความยากลำบากในการดำรงชวี ิตและส่งผลให้เป็นอุปสรรคต่อการศกึ ษาเช่นเด็กทมี่ ีความ บกพร่องทางสติปญั ญาและความบกพร่องทางการมองเหน็ เด็กเหลา่ นี่จะได้รับการศึกษาโดยการสอน แนวทางการประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศเพอ่ื การเรียนรู้ สำหรบั ผเู้ รยี นทม่ี ีความ ต้องการพิเศษ 1 เครื่องมือทใี่ ชเ้ ทคโนโลยีระดับตำ่ ควรเปน็ ตัวเลอื กแรกเม่ือกำลังมองหาเทคโนโลยสี ง่ิ อำนวยความสะดวก ที่จะชว่ ยสง่ เสรมิ การเรียนรขู้ องนกั เรียน 2 นกั วิชาการตอ้ งคน้ หาเคร่ืองมอื และอุปกรณท์ ี่มอี ยู่เป็นอันดับแรกก่อนทีจ่ ะค้นหาเครอ่ื งมือท่ีทำขนึ้ เป็น พิเศษเพ่ือการศึกษา 3 เครอ่ื งมือหรืออุปกรณท์ ี่มรี าคาแพงที่สุดไมใ่ ช่ทางเลือกท่ีดที ส่ี ดุ เสมอไป ดังนน้ั การเลือกเทคโนโลยี สารสนเทศสำหรับผู้เรียนท่ีมคี วามต้องการพิเศษ 4การปรับเปลย่ี นเลก็ น้อยวิธีการใช้งานเทคโนโลยสี ารสนเทศทีม่ ีอยูส่ ามารถมักจะช่วยสง่ เสรมิ การเรียนรู้ของผเู้ รยี นทมี่ ีความต้องการพิเศษได้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook