Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปพัฒนาสังึคม

สรุปพัฒนาสังึคม

Description: สรุปพัฒนาสังึคม

Search

Read the Text Version

คาํ นํา ปงบประมาณ 256๔ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอรอนพิบูลย ไดมอบหมายให กศน.ตําบลควนเกย ดําเนินงานจัดกิจกรรมการศึกษาตอเนื่อง โครงการการศึกษาเพ่ือพัฒนา สังคมและชุมชน กิจกรรมอบรมเรื่อง “ชุมชนปลอดภัยใสใจสิ่งแวดลอม” รูปแบบการฝกอบรม ซึ่งเปน กิจกรรมท่ีจัดเพ่ือตอบสนองนโยบายและความตองการของประชาชนโดยเนนการจัดเวทีชาวบาน การจัด กระบวนการเรียนรูของชมุ ชนการจดั การความรใู นชุมชนการพฒั นานวัตกรรมการเรยี นรูของประชาชนในชุมชน กศน.ตาํ บลควนเกย ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อําเภอรอนพิบูลย ไดจัดทํา รายงานผลและประเมินผลการดําเนินการศึกษาตอเน่ืองเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ตอเน่ืองโครงการ การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมอบรมเร่ือง “ชุมชนปลอดภัยใสใจส่ิงแวดลอม” รูปแบบการ ฝกอบรม ซึ่ง กศน.ตําบลควนเกย ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอรอนพิบูลย หวงั เปน อยา งยง่ิ วา ขอ คนพบและขอเสนอแนะจากการประเมินระดับความสนใจของผูรับบริการดําเนินการจัด กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน นี้ จะเปนประโยชนตอการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษา ตามอธั ยาศยั ตอไป นางมลวภิ า ดิษฐสะโร ครูกศน.ตําบลควนเกย หนา ก

สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนาํ ๑ หลกั การและเหตผุ ล ๑ วัตถปุ ระสงค ๑ เปาหมาย ๒ สถานท่ี ๒ งบประมาณ ๓ บทที่ 2 วิธดี ําเนนิ งาน ๖ แผนจัดการเรยี นรู ๖ ระยะเวลาในการจัดกิจกรรม การวิเคราะหข อมูล ๘ บทท่ี 3 ผลการจดั กิจกรรม ๑๒ สรุปผลแบบประเมนิ การจัดกิจกรรมการเรยี นรู ๑๘ บทท่ี 4 ผลการวิเคราะหหลักสูตรในการจัดกจิ กรรม ๑๙ ผลการวิเคราะหข อมูล ๑๙ ๑๙ บทที่ 5 สรุป อภปิ รายผล และขอเสนอแนะ อภปิ รายผล ประโยชนท ไี่ ดร บั ขอเสนอแนะ แนวทางในการพฒั นาตอไป หนา ข

บทท่ี ๑ บทนาํ หลกั การและเหตุผล ปจจุบันปญหาขยะมูลฝอยเปนปญหาที่ทุกฝายท่ีเก่ียวของตองใหความสําคัญและใหความรวมมือใน การแกไขกันอยางเต็มความสามารถเพราะเปนปญหาท่ีเกิดขึ้นในชุมชนทุกระดับและนับวันจะทวีความรุนแรง มากยิ่งขึ้น ทั้งน้ีเน่ืองจากความเจริญเติบโตทางดานเศรษฐกิจ การเพิ่มขึ้นของจํานวนประชากรตลอดจน พฤตกิ รรมการอุปโภคบรโิ ภคของคนเราไดเปลี่ยนไปจากเดิมทเ่ี คยใชตะกรา เวลาไปจายตลาด ใชปนโตใสอาหาร ใชใบบัวหรือใบตองหออาหาร แตปจจุบันมีการใชสินคาที่มีบรรจุภัณฑจําพวกพลาสติก โฟม แกว กระดาษ โลหะ อลูมิเนียมเพ่ิมข้ึนเรื่อยๆทําใหเกิดมูลฝอยสูงข้ึนตามไปดวย ผลกระทบท่ีตามมา มีทั้งความสูญเสีย ทางดานสิ่งแวดลอมกอใหเกิดมลพิษทางนํ้า ดินเส่ือมสภาพความเสียหายจากเหตุรําคาญสงกล่ินเหม็นรบกวน รวมถึงเปนแหลงท่ีอยูอาศัยของสัตวพาหนะนําโรค ความสูญเสียทางดานเศรษฐกิจและสิ้นเปลืองงบประมาณ ของรัฐท่ีใชในการแกไขปญหาขยะมูลฝอย ประเทศไทยเปนประเทศหนึ่งท่ีจัดอยูในกลุมประเทศท่ีกําลังพัฒนา ซึ่งประชาชนยังใหความสนใจในการปฏิบัติตัวดานสุขภาพอนามัยไมดีเทาที่ควร ประกอบกับประชาชนสวน ใหญท่ีมีปญหาดานสุขภาพอนามัยมักจะอยูในกลุมท่ีมีสถานะทางเศรษฐกิจ สังคมและส่ิงแวดลอมท่ีไมดีพอ จึงทําใหเกิดโรคตดิ เชื้อทางอาหารและนํา้ เชน โรคอจุ จาระรวง บดิ อาหารเปนพิษ ไทฟอยด และโรคท่ีเกิดจาก สตั วน ําโรค เชน โรคไขเลอื ดออก เลปโตสไปโรซสี ปญหาการเกิดโรคในชุมชนประกอบดวยองคประกอบหลาย ดาน เชนสภาพแวดลอมไมถูกสุขลักษณะ ทําใหมีแหลงเพาะพันธุแมลงนําโรคและที่อยูอาศัยสัตวนําโรค กระจายอยูทั่วไป ตามนโยบายและจุดเนนของสํานักงาน กศน. มุงเนนในการจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน โดยการจดั กระบวนการเรยี นรูใหบ คุ คลในชมุ ชนไดแ ลกเปลย่ี นเรียนรแู ละสรา งกระบวนการจิตสาธารณะในการ อนุรกั ษท รัพยากรธรรมชาตแิ ละการรักษาสง่ิ แวดลอ ม กศน.ตําบลควนเกย ไดตระหนักถงึ ปญ หาดงั กลา ว จงึ เห็นควรจัดทําโครงกาการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคม และชุมชน กจิ กรมมอบรมเร่ือง “ชุมชนปลอดภัยใสใจสิ่งแวดลอม”เพื่อเตรียมความพรอมของชุมชน ใหชุมชน มีสวนรวมคดิ หาแนวทาง สรา งแบบแผนการปฏบิ ัตริ วมกัน เพอื่ รักษาสภาพสงิ่ แวดลอ มใหเ หมาะสมและปองกัน การเกดิ โรคตดิ ตอในชุมชน จงึ จัดโครงการดังกลา วขนึ้ เพื่อใหประชาชนมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการคัดแยกขยะจากแหลงกําเนิดขยะโดยคัดแยกขยะ ออกเปน ขยะอนิ ทรยี  ขยะท่ัวไป ขยะรไี ซเคลิ และขยะอนั ตราย และการใชประโยชนจ ากขยะแตล ะประเภท เพ่ือรณรงค และขยายผลสูการสรางกระบวนการมีสวนรวมของประชาชน ในการดูแลรักษา ส่งิ แวดลอมถนิ่ เกดิ และบรู ณาการความรวมมือในการจัดการส่งิ แวดลอมของชมุ ชน กลุมเปาหมาย เชิงปริมาณ ประชาชนท่ัวไป จํานวน 20 คน หนา 1

เชงิ คุณภาพ 1.ประชาชนมคี วามรูความเขาใจเกี่ยวกับการคัดแยกขยะจากแหลง กาํ เนิดขยะโดยคดั แยก ออกเปน ขยะอินทรีย ขยะท่ัวไป ขยะรไี ซเคลิ ขยะอันตราย และการใชป ระโยชนจ ากขยะและประเภท 2. สภาพสิ่งแวดลอมของชมุ ชนดขี ึ้น 3. ลดปริมาณขยะในชมุ ชน สถานท่ี สถานท่ีจัด ณ ที่ประชุมหมูบาน หมูที่ ๖ บานไสเลียบ ตําบลควนเกย อําเภอรอนพิบูลย จงั หวดั นครศรีธรรมราช วนั ที่ ๑๐ เดือน มิถุนายน พ.ศ. 256๔ ตง้ั แตเ วลา 09.00 น. ถงึ เวลา 1๖.00 น. มี นายสมชาย เพชรพรุแกว เกษตรอําเภอรอนพิบูลย นางสุกัญญา จตุรงค นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ วิทยากรใหค วามรู งบประมาณ งบประมาณประจําป 2564 แผนงบประมาณ : พื้นฐานดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพ ทรัพยากรมนุษย ผลผลิตท่ี 4 งบดําเนินงาน รหัสงบประมาณ 2000236004000000 รหัสกิจกรรมหลัก 200028000P2730 แหลง ของเงิน 6411200จํานวน 5,541 บาท หนา 2

บทที่ 2 เอกสารทเี่ กี่ยวของ 1. การศกึ ษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชน การศึกษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน คอื การจดั การศึกษาท่ีบูรณาการความรแู ละทักษะจาก การศกึ ษาทีน่ ักเรียนมีอยู หรอื ไดร ับจาการเขา รวมกิจกรรม กศน. โดยมรี ปู แบบการเรยี นรูท ห่ี ลากหลายใช ชุมชนเปน ฐาน ในการพัฒนาการเรยี นรแู ละทนุ ทางสงั คมเปน เคร่ืองมือในการจัดการเรียนรเู พ่อื พัฒนาสังคม และชมุ ชนใหเขมแขง็ สามารถพง่ึ พาตนเองไดตามแนวทางเศรษฐกจิ พอเพียง การจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชุมชน สง เสริมการมีสวนรว มในการพฒั นาสังคมโดยใชช มุ ชน เปนฐาน โดยใหประชาชน ชุมชน รวมกันรบั ผดิ ชอบและเห็นถึงความสําคัญในการฟน ฟูพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ของตนเอง เพือ่ สงเสริมใหป ระชาชนเกิดการเรียนรู บูรณาการความรู ประสบการณ และทกั ษะอาชีพ เขามาใช ใหเกิดประโยชนตอการพฒั นาสังคมและชุมชนโดยรวม ทําใหเกิดสังคมแหง การเรยี นรู นาํ ไปสสู งั คมทเ่ี ขมแข็ง มคี วามเออื้ อาทรตอกนั และพ่ึงพาตนเองไดอยา งยงั่ ยนื กจิ กรรมพัฒนาสงั คมและชมุ ชนมี 5 ดา น คอื 1. ดานเศรษฐกจิ - กิจกรรมเศรษฐกิจชุมชนพ่ึงตนเอง 2. ดานการเมือง - กจิ กรรมสง เสริมประชาธิปไตย 3. ดานสงั คม - กจิ กรรมชมุ ชนแหงการเรียนรู 4. ดานสิง่ แวดลอม - กิจกรรมรกั ษพลังงานและสิ่งแวดลอ ม 5. ดานศลิ ปวฒั นธรรม - กิจกรรมเพื่อพฒั นาสังคมและชุมชน 2. การพฒั นาชมุ ชน (Community Development) ตามหลักการพื้นฐานเปนกระบวนการใหก ารศึกษา (educational process) แกป ระชาชนเพอื่ ใหสามารถพึ่งตนเองได (self – reliance) หรือชวยตนเองได (self – help) ในการคิด ตัดสนิ ใจ และดาํ เนนิ การแกปญหา ตลอดจนตอบสนองความตองการของตนเอง และสว นรวม 3. การพฒั นาสังคม การพฒั นาสงั คม หมายถึง การกระทําเพอ่ื มงุ ปรับปรงุ สงเสรมิ ใหค นท่ีอยรู วมกัน มีการเปลยี่ นแปลง ไปในทางทดี่ ีข้ึน ท้งั ในดานวตั ถแุ ละจิตใจอนั จะทําใหการดาํ รงชวี ิตอยูร วมกนั นัน้ มีความเจรญิ รุง เรอื งและสงบ สขุ แตก ารท่ีบุคคลจะดํารงชวี ิตอยไู ดอยา งมีความสุขจะตองอาศัยปจ จัยหลายอยา งประกอบกนั อยางนอยทส่ี ุด จะตองมีปจจยั ขนั้ พ้ืนฐานทีด่ ีพอสมควร กลา วคือ มีที่อยูอาศัย มอี าหารเพียงพอแกการเลีย้ งชพี มเี สอื้ ผา เครื่องนุงหมสมควรแกสภาพและฐานะ เวลาเจบ็ ปว ยควรจะไดร ับการรักษาพยาบาล มอี าชพี มั่นคง มีรายได เพยี งพอแกคาใชจ า ยในการครองชีพ มีความรกั ใครส มานสามคั คีกันของสมาชกิ ในสงั คมและปราศจากภัย คุกคามจากโจรผูรา ย ฯลฯ สิง่ เหลาน้จี ะเกดิ มีข้นึ ได ตอ งอาศัยความรวมมือจากหลายฝาย โดยอาศยั วิธีการทาง วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีเขาชว ย เพอ่ื ใหเ กิดความเจริญกาวหนาและอยูรวมกนั อยางมีความสุข 4. การพัฒนา หมายถึง ทําใหเ จริญ การเปลย่ี นแปลง เปลยี่ นสภาพ ปรับปรงุ ใหต า งจากเดิม 5. ชมุ ชน หมายถงึ การรวมตัวของบุคคล กลุม/องคกรชุมชน เครือขา ยองคกรชุมชน และประชาชนท่ีอาศัยอยู ในขอบเขตพื้นทีห่ น่ึง ๆ ซึง่ มปี ฏสิ ัมพนั ธซง่ึ กนั และกนั ระดับพ้นื ฐานทส่ี ุด คอื หมบู า น หรืชมุ ชนในรปู แบบอืน่ ๆ ท่ีมีมารวมตัวกันเพื่อแกไขปญหาเดียวกัน เชน ชมุ ชนลุม นํ้า ชมุ ชนวฒั นธรรม เปนตน ขยะในครวั เรือน หนา 3

ชมุ ชนจดั เปนแหลงสาํ คัญหน่งึ ทผี่ ลติ ของเสยี ออกสสู งิ่ แวดลอม แมว า ของเสียจากชมุ ชนหรืออาคาร บานเรือนจะไมใชของเสียท่เี ปนอนั ตรายเมื่อเปรยี บเทยี บกับของเสียจากโรงงานอตุ สาหกรรมหรือการ เกษตรกรรม แตถ ามปี รมิ าณมากก็กอ ใหเ กดิ ผลกระทบตอสุขภาพอนามยั ของประชาชนและส่ิงแวดลอ ม ได ของเสียจากชมุ ชนหรืออาคารบา นเรือนนอกจากจะมีน้ําเสยี ส่งิ ปฏกิ ลู (อจุ จาระและปสสาวะ) แลวยังมขี ยะ มลู ฝอยอีกดว ย ขยะจากบานเรอื นเปน ของเสยี ที่อยูในสภาพของแข็งซึง่ อาจเปนเศษกระดาษ เศษผา เศษ อาหาร พลาสตกิ ภาชนะตา ง ๆ หรือเศษวัสดุเหลือใช เปน ตน ประเภทของขยะจากบา นเรอื น แมว าขณะนี้ทง้ั ภาคเอกชนและภาครฐั บาลจะใหความสนใจและรณรงคใ นเร่ืองของการใหป ระชาชน แยกประเภทของขยะกอนทจี่ ะนาํ ไปท้งิ เพ่อื ใหสามารถนาํ ขยะบางประเภทนาํ กลับมาใชใ หม ได (recycle) ปรมิ าณของขยะทจ่ี ะทงิ้ จรงิ ๆ ก็จะลดลง ทําใหก าํ จัดไดงา ยขน้ึ แตการดําเนนิ งานในดานน้ียงั ไมส ามารถทาํ ไดท ่ัวถงึ ในดานการจัดหาภาชนะทรี่ องรบั ขยะประเภทตาง ๆ เน่อื งจากตองใชเงินทนุ เปน จํานวน มาก ทาํ ใหประชาชนสว นใหญย ังมีพฤตกิ รรมในการทิง้ ขยะแบบรวม เมอ่ื พจิ ารณาสว นประกอบของขยะที่ท้งิ แบบรวมน้ี อาจแบงขยะออกเปนประเภทตา ง ๆ ไดด งั น้ี 1. ขยะท่สี ามารถยอยสลายไดในธรรมชาติ - เศษอาหาร เศษผกั เศษเนื้อ เปลอื กผลไมทเี่ หลือจากการประกอบอาหารหรอื รับประทาน เน่ืองจากขยะประเภทนี้สามารถเนาเปอ ยไดจ ึงทาํ ใหเกิดกลิ่นเหม็น - พลาสติกบางประเภททีส่ ามารถยอ ยสลายไดดวยแสงแดด แตใ ชเวลานาน 2. ขยะที่สามารถนํากลับมาใชใ หมไ ด (recycle) โดยนาํ มาดดั แปลงไปใชในกิจกรรมอื่นเพื่อวตั ถปุ ระสงคท ีต่ างจากเดิมหรือนาํ ไปใชเ ปนวัตถดุ บิ ใน การผลติ วัสดุอน่ื เชน - เศษกระดาษ หนงั สือพิมพ - เศษพลาสติก ถงุ พลาสติก ภาชนะพลาสติก - เศษโลหะ เชน อลูมิเนียม เศษเหล็ก - เศษแกว เศษไม ขวด 3. ขยะประเภทวสั ดุเหลือใช - เศษผา - อปุ กรณ เคร่ืองเขียน - ภาชนะ เชน โฟม - ของใชใ นชีวิตประจาํ วัน เชน เครื่องสาํ อาง 4. ขยะที่อาจเปนอนั ตรายอันเนอ่ื งมาจากสารพิษ สวนใหญขยะประเภทนี้เปนผลิตภณั ฑทีใ่ ชในบานเรือนที่มสี วนประกอบสาํ คญั เปน สารเคมีประเภทโลหะหนัก สารฆาแมลง หรอื ตัวทําละลาย ซึง่ เมอ่ื ใชแ ลวเรามักท้งิ ภาชนะรวมกับขยะอ่นื ๆ โดยไมไ ดแยก และหากใชไ มหมดแลว นาํ ไปทิง้ กท็ ําใหเกิดอันตรายไดทง้ั ตอมนุษยแ ละส่ิงแวดลอม ตวั อยา งเชน - ผลติ ภัณฑท ําความสะอาดสุขภณั ฑ มที ้ังชนดิ ทีเ่ ปน กรดเขมขน และดางเขมขน - ผลติ ภัณฑนาํ้ มันเครือ่ ง นาํ้ มันหลอลืน่ ซึ่งมสี ารเคมปี ระเภทไฮโดรคารบอน - สี และทนิ เนอร มโี ลหะหนักประเภทตะก่วั ปรอท โครเม่ียม แคดเมีย่ ม สารหนู และตวั ทํา ละลายท่เี ปน สารระเหย - ผลติ ภัณฑกําจัดหนูและแมลงที่ใชตามบา นเรือน มสี ารเคมีกําจดั แมลงประเภทตาง ๆ หนา 4

- ถา นไฟฉาย ถา นนาฬิกา ถา นกลองถายรปู ถา นวทิ ยุ มีโลหะหนกั ประเภทตะก่วั ปรอท นิเกลิ แคดเม่ยี ม แมงกานสี - กระปองเปลาของผลิตภัณฑประเภทสเปรย เชน สเปรยป รับอากาศ สเปรยฉดี ยุง สเปรยฉ ดี ผม ซง่ึ ระเบิดไดเ มื่อถูกความรอน อันตรายท่ีเกิดขนึ้ ตอมนุษย กลุม คนที่เส่ยี งตอการไดรบั อนั ตรายจากขยะมากทสี่ ุดก็คอื เจา หนาทีเ่ ก็บขยะ การเกบ็ ขยะของ เจา หนาทเ่ี หลานมี้ ักจะสมั ผัสกับขยะโดยตรงเปน เวลานาน สวนใหญไ มม ีอปุ กรณปองกันสวนบคุ คล เชน ถงุ มือ ยาง หนา กากหรือผาปดจมูก แวน ตา หรือรองเทา บทู เปน ตน ดังนน้ั โอกาสท่ีเจาหนา ท่ีเก็บขยะจะไดร บั อันตรายจึงสูงมาก อันตรายท่เี กดิ ขึ้นมีทงั้ ทีเ่ ปนเร่ืองเลก็ นอยจนกระท่งั มาก อาจเกิดข้ึนโดยทันทีหรอื เกิดขน้ึ ภายหลงั โดยแยกไดเ ปน 1. อนั ตรายทีเ่ กดิ ขน้ึ ทนั ที ความรนุ แรงตัง้ แตเ ล็กนอยจนถงึ มาก เชน - เกดิ การระคายเคืองท่ีผวิ หนงั หรอื ดวงตา - เกิดบาดแผลจากการโดนบาดดว ยเศษแกว เศษโลหะ ซง่ึ ถาหากมเี ชอ้ื โรคทีก่ อใหเกิดโรคและ ไมไ ดรับการดแู ลรักษาทีถ่ ูกตอ งกเ็ ปนอนั ตรายได - ความรนุ แรงอาจมมี ากถงึ ข้นั ทาํ ใหต าบอดได ดังเชน ทีป่ รากฏในสหรัฐอเมริกา ซ่ึงมรี ายงานวา ขยะท่ีเปน ผลิตภณั ฑท ําความสะอาดชนดิ ท่ีเปนกรดหกรดใสห นาและกรณีผลติ ภณั ฑท่ีใชฆาเชื้อในสระวา ยนํ้า กระเดน็ ใสห นา ขณะทเี่ จา หนา ที่เก็บขยะกําลงั ทาํ การอัดขยะ 2. อันตรายท่เี กิดข้ึนไดในภายหลัง เชน การติดเช้ือจากขยะทําใหเปน โรคตาแดง ทองรว ง ทองเดิน รวมท้ังการท่ีไดร บั สารพิษที่ปนเปอ นมากับขยะบอย ๆ เปน ระยะ ๆ ก็ทาํ ใหเกดิ การสะสมได ผลกระทบที่มีตอ สงิ่ แวดลอ ม เมื่อทิ้งขยะลงในภาชนะรองรับ คือ ถงั ขยะ หลงั จากน้ันเจา หนา ที่เก็บขยะจะมาเก็บรวบรวมเพื่อ นําไปทง้ิ ในสถานท่ีทีจ่ ดั ไวโดยไมไ ดม ีการกําจัดใด ๆ หรืออาจนําไปถมท่ี ซึง่ ทงั้ 2 กรณี สามารถสงผลกระทบ ตอ สง่ิ แวดลอมได สารพิษที่ปนเปอนมากับขยะอาจร่ัวไหลลงสแู หลงนํ้าผวิ ดนิ น้าํ ใตดิน ซึ่งสารพษิ บางชนิด สามารถคงตัวอยไู ดในสิ่งแวดลอม โดยไมม ีการสลายตัวหรอื เปล่ยี นแปลง และเมอ่ื สะสมเปนเวลานานก็ กอ ใหเ กดิ ปญหามลภาวะได ในอนาคตจะตองหาสถานทก่ี ลบฝงโดยไมทําใหเกิดโทษกบั ผูอยใู นบริเวณใกลเ คยี ง การปองกันและแกไข จากการพิจารณาขยะประเภทตา ง ๆ จะเห็นวาขยะประเภทที่มีสารพษิ เปน สว นประกอบสาํ คัญใน ผลติ ภัณฑท ่เี ราใชใ นชีวติ ประจาํ วัน เปนขยะประเภทท่กี อใหเ กิดอันตรายตอมนุษยสงู กวาประเภทอ่ืน รวมทัง้ กอ ใหเกิดผลกระทบตอสง่ิ แวดลอมดวย การรวมมือจากทุกฝา ยทงั้ ในสวนของประชาชน ภาคเอกชนและ ภาครฐั บาล เพ่ือดําเนินการปองกนั และแกไขปญ หาเหลานี้ เปน สง่ิ จําเปนทีค่ วรรบี ดําเนินการโดยมีกจิ กรรม สําคัญ ดังนี้ 1. ใหประชาชนตระหนักถงึ ความสาํ คญั ถงึ อนั ตรายของขยะจากบานเรือนทเี่ กิดตอมนุษยและ ผลกระทบท่ีมตี อ สง่ิ แวดลอ ม 2. ใหค วามรูแกประชาชนผบู ริโภคในดา นการแยกเกบ็ ขยะประเภทตา ง ๆ รวมท้ังการกําจดั ขยะท่ีจะ เปนอนั ตรายอยางถูกตอง หนา 5

3. ใหค วามรแู ละฝก อบรมเจา หนา ท่เี กบ็ ขยะ เพอื่ ใหเกดิ ความระมัดระวงั ในการทํางาน รวมทง้ั การใช อุปกรณปองกนั ทจี่ าํ เปนดวย 4. การจัดการพิเศษในการเก็บขยะที่มสี ารพิษ ซงึ่ ไมค วรทิ้งรวมกับขยะทว่ั ไป เน่อื งจากขยะประเภท น้ตี อ งใชวิธีพเิ ศษในการกาํ จัดท่แี ตกตางกันออกไป ทั้งนจ้ี ะตอ งไดร บั ความรว มมือและสนับสนุนเปนอยางดีจาก ภาคเอกชน เชน การแยกเก็บขยะประเภทถานไฟฉาย ถา นนาฬิกา และถานประเภทตาง ๆ โดยผูผ ลิตมสี ว น รว มดวยในการทจี่ ะรบั เอาไปทาํ ลายดวยวธิ ที ีถ่ กู ตองตอไป เกษตรอนิ ทรีย์ ผลดตี ่อสุขภาพและส่ิงแวดล้อม ปจจุบนั กระแสรักสขุ ภาพของคนเกิดขึน้ ทกุ ประเทศทว่ั โลกไมเวน แมแ ตในประเทศไทย โดยอตั ราการ เจบ็ ปวยซ่งึ เกดิ จากการบริโภคอาหารที่มีสารพิษก็มอี ยูไมน อยในแตละป โดยเฉพาะโรคมะเรง็ นบั วาเปน สาเหตุ ของการตายในลาํ ดบั ตน ๆของประเทศไทย ดงั น้ันคนทร่ี กั สุขภาพจึงหนั มาบริโภคอาหารปลอดภยั กนั เพิ่มสงู ข้ึน ทกุ ป โดยเฉพาะอาหารในกลุมเกษตรอินทรีย ผูเขียนคดิ วา ผูบ รโิ ภคหลายคนคงเคยซื้ออาหารทผ่ี า นการผลติ หรอื ไดมาจากผลผลิตท่ผี ลิตในระบบของเกษตรอนิ ทรยี ม าบาง แตอ าจจะรเู พยี งวาเปนผลผลติ หรือผลติ ภัณฑท ี่ ปลอดภัย ปราศจากสารเคมี ดังนน้ั ฉบับนีผ้ ูเ ขียนขออธิบายความหมายของเกษตรอนิ ทรียใ หทา นผูอา นได เขา ใจกอนวาคืออะไร แลวแตกตางจากเกษตรปลอดภยั อยางไร เกษตรอินทรียคือระบบการผลติ ท่คี าํ นงึ ถึงสภาพแวดลอมรักษาสมดุลของธรรมชาตแิ ละความ หลากหลายทางชีวภาพโดยมีระบบการจดั การระบบนิเวศวทิ ยาท่คี ลา ยคลึงกับธรรมชาติและหลกี เล่ียงการใช สารสังเคราะหไ มว าจะเปนปุยเคมี สารเคมีกําจัดศัตรพู ืชและฮอรโมนตาง ๆ ตลอดจนไมใชพ ชื หรอื สัตวท ่ีเกิด จากการตดั ตอทางพันธุกรรมที่อาจเกดิ มลพิษในสภาพแวดลอมเนนการใชอ นิ ทรยี ว ตั ถุ เชน ปยุ คอก ปุยหมัก ปยุ พชื สด และ ปยุ ชีวภาพในการปรับปรุงบํารุงใหมคี วามอุดมสมบรู ณ เพื่อใหต นพชื มคี วามแขง็ แรงสามารถ ตานทานโรคและแมลงดวยตนเอง รวมถึงการนําเอาภูมิปญญาชาวบานมาใชป ระโยชนดวย ผลผลิตท่ีไดจะ ปลอดภยั จากสารพิษตกคางทําใหปลอดภัยทัง้ ผผู ลติ และผูบรโิ ภคและไมทําใหส ภาพแวดลอมเส่อื มโทรมอีก ดวย (กรมวชิ าการเกษตร) หลายคนอาจ สังสัยวา แลวทําไมตองเปนเกษตรอนิ ทรีย คาํ ถามนี้ตอบไดไมอยาก เลยเนอ่ื งจากปจ จบุ นั การใชทรัพยากรดนิ โดยไมค ํานึงถงึ ผลเสยี ของปุย เคมีสังเคราะหกอใหเกิดความไมส มดลุ ใน แรธาตุ และกายภาพของดนิ ทําใหส ่ิงมชี ีวิตที่มีประโยชนใ นดินน้นั สญู หายและไรสมรรถภาพความไมสมดุลน้ี เปนอนั ตรายอยา งยิ่ง กระบวนการน้ีเม่ือเกิดข้ึนแลวจะกอใหเกิดความเสียหายอยา งตอเนือ่ ง ผนื ดนิ ทีถ่ ูกผลาญ ไปนน้ั ไดสญู เสียความสามารถในการดดู ซบั แรธาตุ ทําใหผ ลิตผลมี แรธ าตุ วติ ามนิ และพลงั ชีวิตตํา่ เปน ผลทํา ใหเ กดิ การขาดแคลนธาตอุ าหารรองของพชื พชื จะออนแอขาดภมู ิตานทานโรค และทําใหการคกุ คามของแมลง เชือ้ โรคเกิดขน้ึ ไดงาย จงึ จะนาํ ไปสูการใชสารเคมสี ังเคราะหกําจดั วัชพชื ขอ บกพรองเชนน้ีกอ ใหเกิดวกิ ฤติใน หว งโซอาหารและระบบการเกษตรของเรา ซงึ กอใหเกดิ ปญหาทางสขุ ภาพและส่งิ แวดลอ มอยางยิ่งในโลก ปจ จบุ ันจากรายงานการสาํ รวจขององคกรการอาหารและการเกษตรแหงประชาชาติ เม่ือป พ.ศ. 2543 พบวา ประเทศไทยมเี นือ้ ที่ทาํ การเกษตรอันดบั ที่ 48 ของโลก แตใชย าฆาแมลงเปน อนั ดบั 5 ของโลก ใชยาฆา หญา เปนอนั ดับ 4 ของโลก ใชฮ อรโมนเปนอนั ดบั 4 ของโลก ประเทศไทยนาํ เขาสารเคมสี ังเคราะหท างการเกษตร เปน เงินสามหมน่ื ลานบาทตอ ป เกษตรตองมีปจ จัยการผลิตท่ีเปนสารเคมีสงั เคราะหในการเพาะปลูก ทาํ ใหเ กิด การลงทนุ สงู และเพ่ิมขึน้ อยางตอ เน่อื ง ขณะทีร่ าคาผลผลิตในรอบยีส่ บิ ปไมไดสูงขนึ้ ตามสัดสวนของตนทนุ ท่ี สูงขนึ้ นั้นมีผลใหเ กษตรกรขาดทนุ มหี น้ีสนิ เพิ่มขน้ึ การเกษตรอินทรียจะเปน หนทางของการแกปญหาเหลา น้ีได หนา 6

การเกษตรสมัยใหมกอใหเ กดิ ปญหาทางการเกษตรมากด้งั น้ี 1. ความอุดมสมบรณู ลดลง 2. ตอ งใชป ยุ เคมใี นปรมิ าณที่เพิ่มมากขึน้ ทกุ ปจ ึงจะไดรับผลผลิตเทาเดมิ 3. เกดิ ปญหาโรคและแมลงระบาดทําใหเ กดิ ความยุงยากในการปองกันและกําจัด 4. แมน ้าํ และทะเลสาบปนเปอนดวยสารเคมแี ละความเส่ือมโทรมของดนิ 5. พบสารเคมปี นเปอ นในผลผลิตเกนิ ปริมาณที่กําหนด ทาํ ใหเกดพิษภัยตอ ผบู รโิ ภค 6. สภาพแวดลอมถูกทําลายเสยี หายจนยากที่จะเยียวยาใหกลับคนื มาดังเดมิ นอกจากนั้นการเลี้ยงสตั วแ บบอุตสาหกรรมซึงเปน การเลย้ี งสัตวจาํ นวนมากในพนื้ ที่จาํ กัด ทําใหเ กิดโรคระบาด ไดง า ยจึงตองใชยาปฏิชีวนะจํานวนมากทาํ ใหตกคางในเน้ือสัตวและไข สง ผลตอ ผูบริโภค โรควัวบาทีเ่ กดขึ้นจงึ เปน เสมือนสญั ญาณอันตรายทบ่ี ง บอกใหร วู า การลย้ี งสัตวแบบอตุ สาหกรรมไมเ พยี งเปนการทรมานสตั ว แตอาจ เปน ภัยคกุ คามตอความอยูรอดของมนุษยดว ย หนา 7

บทท่ี 3 ผลการจดั กิจกรรม จากการจดั โครงการการศึกษาเพือ่ พฒั นาสงั คมและชุมชน กิจกรรมอบรมเร่ือง “ชมุ ชนปลอดภัยใสใจ ส่ิงแวดลอ ม” รูปแบบการฝกอบรม ณ ที่ประชมุ หมูบา น หมูที่ ๖ บานไสเลยี บ ตาํ บลควนเกย อําเภอรอ นพบิ ลู ย จงั หวัดนครศรีธรรมราชวนั ท่ี ๑๐ เดอื นมถิ ุนายน พ.ศ.256๔ ดังรายละเอียดการดําเนินกจิ กรรมตอ ไปนี้ วธิ ีดาํ เนินกจิ กรรม 1. การสํารวจความตองการของกลุม เปาหมาย 2. ทาํ ความเขาใจการจดั กระบวนการเรยี นการสอน 3. จัดอบรมชว งเวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. นายสมชาย เพชรพรแุ กว เกษตรอําเภอรอนพบิ ลู ย อบรมบรรยายเร่ืองสิง่ แวดลอ มดดี ว ยวธิ เี กษตรอินทรยี ธรรมชาติ ดงั น้ี เกษตรอินทรีย คือการทําการเกษตรดวยกรรมวธิ ีทางธรรมชาติ โดยท่ีพนื้ ท่ี ที่ทาํ เกษตรน้นั ตอ งไมมสี ารพิษ หรือสารเคมีตกคางและหลีกเลย่ี งจากการปนเปอ นของสารเคมีท้ังทางดิน ทาง นํ้า และทางอากาศ เพ่อื ความสมบรู ณท างชีวภาพในระบบนิเวศนแ ละฟน ฟูสงิ่ แวดลอมใหเปน ไปตามสมดลุ ของ ธรรมชาตใิ หม ากทส่ี ดุ โดยไมใ ชสารเคมีสังเคราะห หรือส่งิ ที่ไดม าจาก การตัดตอพนั ธุกรรม และมุงเนนการใชปจ จัยการผลติ ทมี่ ีแผนการ จัดการอยา งเปน ระบบในการผลิตภายใตมาตรฐานการผลติ เกษตร อินทรยี ใหไดผลผลติ สูง อุดมดวยคณุ คาทางอาหารและปลอดสารพษิ ท้ังยงั ชวยลดตนทุนการผลติ และสามารถประยุกตใ ชว ัตถุดิบจาก ธรรมชาตเิ พือ่ คุณภาพชวี ติ และสนับสนุนแนวทางเศรษฐกิจพอเพยี ง ทําไมตองเกษตรอินทรีย จากการใชทรัพยากรดินทําการเกษตรโดยไมคํานึงถึงผลเสีย ของ ปยุ เคมสี งั เคราะห กอ ใหเกดิ ความไมสมดุลในแรธาตุและกายภาพ ของดินตามธรรมชาติ ทําใหส่ิงมีชีวิตที่มีประโยชนที่อาศัยอยูในดิน นนั้ สญู หาย และไรประสิทธิภาพ ซึ่งการท่ีธรรมชาติขาดสมดุลนี้ถือ เปน เรอื่ งท่ีอันตรายมาก ตอกระบวนการเจริญเติบโตทางธรรมชาติ แตเม่ือเกิดความไมสมดุลขึ้นแลว จะกอใหเกิดความเสียหายอยาง ตอเน่ือง ผืนดินสูญเสียความสามารถในการดูดซับแรธาตุในดิน ทํา ใหผ ลผลิตมีแรธาตุ วิตามิน และพลังงานชีวิตต่ํา เปนผลใหเกิดการ ขาดแคลนธาตุอาหารรองในพืช เปนสาเหตที่ทําใหพืช ผลผลิต ออนแอ ขาดภูมิตานทานโรค และทําใหเกิดการคุกคามของแมลง ศัตรพู ชื และเชอื้ โรคในพชื ซึ่งจะนาํ ไปสูการใชส ารเคมีฆาแมลงและ เชื้อราเพ่ิมขึ้น ทําใหดินเสื่อมคุณภาพในท่ีสุด และในดินท่ีเส่ือมคุณภาพน้ี จะทําปฏิกิริยาเรงการเจริญเติบโต ของศตั รูพืชใหเจริญเตบิ โตแขง กับพชื เกษตร และนาํ ไปสกู ารใชส ารเคมีสังเคราะหก ําจดั แมลงและวชั พชื หนา 8

เวลา ๑๓.๐๐ -๑๖.๐๐น. โดย นางสุกญั ญา จตุรงค นักวิชาการสาธารณสขุ ชํานาญการบรรยายให ความรเู รื่อง การคดั แยกขยะในครวั เรือน เรอื่ ง การคัดแยกโดย อาศยั หลกั 5 R คือ Reduce การลด ปริมาณ ขยะโดยลด การใชผลติ ภณั ฑท่มี ี บรรจภุ ัณฑ สิ้นเปลือง -Reuse การ นําถังขยะมาทาํ ขยะเปยก 1. ถงั ทําจาก ถังสเี กาเหลอื ใชขนาด 20 ลิตร 2. เจาะรตู ัวถังดานลางใสก อกนา้ํ พลาสติก เพ่ือใชเปดปดน้ําหมกั 3. ฝาดา นบนเจาะรู สาํ หรับใหอ อกซเิ จนถา ยเทอากาศไดดี เพอ่ื การเจริญเตบิ โตของจุลินทรยี  4. ใชต ะกรา พลาสตกิ วางลงไป ใหช อ งวา งระหวางกนตะกรากบั พืน้ ถงั หางกนั ประมาณ 5 ซม. เพอื่ ให น้ําแกงตกอยดู านลา ง สาํ หรับเปน ปุยน้าํ แยกออกจากดานบน เปน กากยอยสลายเคล็ดวิธกี าํ จัด ขยะเปย ก ใน บานใหส้ินซากขอบคุณภาพประกอบขา วจาก สวนวธิ กี ารจดั การเศษอาหารดวยถังหมักประจําบา นนัน้ มี สวนประกอบที่สําคัญคอื เศษอาหาร 40 เปอรเซน็ ต เศษใบไม 30 เปอรเซน็ ต เศษผัก เศษเปลอื กผลไม 30 เปอรเ ซ็นต และจลุ นิ ทรยี  EM 200 ซซี ี.ผสมนํ้า 2 ลิตร ข้ันตอนการทาํ 1. นาํ สว นผสมตา ง ๆ มาผสมเขา ดว ยกัน (เศษอาหาร ใบไม เศษผัก เศษผลไมสบั หรอื บดใหเ ปนชิน้ เลก็ ๆ และจุลินทรยี  EM ผสมใหเขา กนั (ใสลงในถงั หมกั ) พลิกทุก ๆ 2 วนั 2. ใชฝาถังทมี่ ีชองระบายอากาศ เพื่อใหอ อกซเิ จนถายเทไดสะดวก เพื่อการเจริญเตบิ โตของจุลินทรีย ในการยอยสลาย เปดวาลวรวบรวมนาํ้ หมกั ชีวภาพเพ่ือนาํ ไปใชประโยชน 3. ระยะการบมหมกั 3 สปั ดาห (21 วนั ) สาํ หรับผลิตปยุ หมกั 4. ควรเก็บไวในที่รม เนื่องจากคณุ สมบัตจิ ลุ นิ ทรีย EM จะเตบิ โต และทํางานไดด ใี นท่ีรม เพ่อื ทาํ ลาย เชื้อแบคทเี รยี ท่ีสง กลนิ่ เหมน็ และทาํ การยอ ยสลายขยะในอุณหภมู ทิ ่อี อกซิเจนถา ยเทไดดี ถานําออกไปตาก แดด เกดิ ความรอ น จลุ ินทรียจะตาย ทําใหขยะทต่ี อ งการหมกั เนา เสีย ไมสามารถใชป ระโยชนไ ด ทนี ้ี \"ขยะเปยก\" เจาปญ หาก็จะไมเปน ปญ หาอกี ตอไป แถมยังไดป ุยนํ้าหมักชีวภาพมาใชในครวั เรอื นไดอกี ดวย ไมวาจะนําไปใชเ ปน ปยุ เพ่ิมการเจริญเตบิ โตของตนไม ดบั กลน่ิ เหม็นในหอ งน้าํ เปนตน อยางไรก็ดี ไมเพียงแต ขยะเปยกเทา น้นั ที่จะตองจัดการอยางถูกวธิ ี ขยะอ่ืน ๆ ตองคดั แยกใหต รงตามประเภทดว ย เพ่ือความสะดวก ในการดาํ เนินการขัน้ ตอไป ไมวาจะเปนการขายตอใหร านคาทร่ี ับซือ้ หรือสงใหหนวยงานท่ีจะดําเนินการบาํ บดั ก็ตาม ทีส่ ําคัญ การคัดแยกขยะตอ งยอ สว น และจดั ระเบียบขยะไมใหเกะกะ หรือกินพนื้ ท่ี ดว ยการมัดใหเ ปน ระเบียบ ทบุ ใหแบน ตัดใหส น้ั หรอื บรรจุเปนหบี หอ เพื่อประหยดั พืน้ ท่จี ัดเกบ็ และการขนยา ย หนา 9

๔. อภิปราย / สรปุ /ประเมินผล โครงการการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมอบรมเร่ือง “ชมุ ชน ปลอดภยั ใสใ จสิ่งแวดลอ ม” หนา 10

ระยะเวลาในการจดั กจิ กรรม จัดกิจกรรมในวันที่ ๑๐ เดือน มิถุนายน พ.ศ. 256๔ เวลา ๐๙.00 น. ถึงเวลา 16.00 น. การวิเคราะหขอมลู เมื่อรวบรวมขอมลู ไดแลว นาํ ขอ มูลท่ีไดมาวิเคราะหขอมลู ดวยโปรแกรมคอมพวิ เตอรส ําเร็จรปู และ แปลผลดังนี้ ขอ มลู เบ้ืองตน ของผตู อบแบบสอบถามมาวิเคราะหโดยใชค ารอ ยละ (percentage) และเกณฑการตดั สนิ คะแนน โดยใชคา รอ ยละแบงออกเปน 5 ชว ง ซ่งึ จาํ แนกได ดงั น้ี รอยละ 90 ขน้ึ ไป หมายถงึ มากทีส่ ุด รอ ยละ 80-89 หมายถึง มาก รอ ยละ 65-79 หมายถงึ ปานกลาง รอ ยละ 50-64 หมายถึง นอ ย ตาํ่ กวา รอ ยละ 50 หมายถงึ นอ ยทสี่ ุด ทาํ การวเิ คราะหข อมลู การโครงการการศึกษาเพ่ือพฒั นาสังคมและชมุ ชน “ชมุ ชนปลอดภยั ใสใจ สิ่งแวดลอ ม” เพอื่ นาํ ผลการจัดกิจกรรมสูการพัฒนาอยางตอเน่ืองตอไป โดยไดเสนอไวในรายงาน บทท่ี ๔ หนา 11

บทที่ 4ผลการวิเคราะหหลักสตู รในการจัดกจิ กรรม กศน.ตําบลควนเกย ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอรอนพบิ ูลย การศึกษา เพื่อพัฒนาสังคมและชมุ ชน โครงการการศกึ ษาเพอื่ พฒั นาสงั คมและชมุ ชน กจิ กรรมอบรมเรอ่ื ง “ชุมชน ปลอดภยั ใสใจสง่ิ แวดลอม”รปู แบบการฝก อบรม ณ ท่ีประชุมหมูบา น หมูที่ ๖ บา นไสเลยี บ ตาํ บลควนเกย อําเภอรอนพบิ ลู ย จงั หวัดนครศรธี รรมราช วันท่ี ๑๐ เดอื น มถิ นุ ายนพ.ศ.256๔ ในการจดั ทาํ รายงานผลใน คร้ังนี้ โดยสรุปใน ๒ รูปแบบ คอื ผลการจดั กิจกรรมรปู แบบการบรรยาย และผลการประเมนิ กจิ กรรมใน รูปแบบความพงึ พอใจ ซง่ึ สามารถสรุปผลไดด ังนี้ ซ่งึ จากการจดั กิจกรรมเกิดผลดังนี้ จากการโครงการการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน กิจกรรมอบรมเรื่อง “ชุมชนปลอดภัยใสใจ สิ่งแวดลอ ม” ในวันที่ 1๐ เดือน มิถนุ ายน พ.ศ. 256๔ เวลา 09.00 น.ถงึ เวลา 16.00 น. ณ ท่ีประชมุ หมูบา น หมทู ี่ ๖ บานไสเลยี บ ตาํ บลควนเกย อาํ เภอรอนพบิ ลู ย จังหวดั นครศรีธรรมราช มีผเู ขา รว มกจิ กรรม จํานวน ๒๐ คน เปน หญงิ ๑๙ คน ผชู าย ๑ คน จากการจัดกจิ กรรมในครั้งน้ี มีนางมลวภิ า ดษิ ฐสะโร กลา วชแี้ จงรายละเอยี ดของโครงการใหกบั ผเู ขา รอบรมไดร ับทราบ นางเกศสุดา ขาวลวน ครูชาํ นาญการ นายชาญชัย ทองเกต ครูอาสาฯ นเิ ทศการจัดกิจกรรมดังกลา ว สรา งขวญั กาํ ลังใจใหกบั ผูเขาอบรม นายสมชาย เพชรพรุแกว เกษตรอําเภอรอนพบิ ูลย บรรยาย เรอื่ งส่ิงแวดลอมดีดวยวธิ เี กษตรอนิ ทรยี ธรรมชาติ นางสุกญั ญา จตุรงค นกั วิชาการสาธารณสุขชาํ นาญการ บรรยาย การคดั แยกขยะในครัวเรือน จากการรวมกจิ กรรมดังกลา ว ผู ผานการอบรม มีความรู สามารถนาํ ความรูไปใชในชีวิตประจําวัน ตลอดจนนําไปใชเ ปน พืน้ ฐานในการอยู รว มกันในสังคมอยา งมีความสุข หนา 12

ผลการวเิ คราะหขอมูล ตอนท่ี ๑ ขอมูลพ้ืนฐานของผูประเมนิ ความพึงพอใจ จากผเู ขา อบรม จาํ นวนท้ังส้นิ ๒๕ คน ตารางที่ ๑ จํานวนผูเขาอบรมจาํ แนกตามเพศ ประเภท จาํ นวน คิดเปน รอยละ ชาย ๑ ๕.๐๐ หญิง ๑๙ ๙๕.๐๐ รวม ๒๐ ๑๐๐.๐๐ จากตารางท่ี ๑ พบวา ผูเขาอบรมสวนใหญ เปน เพศหญิง จาํ นวน ๑๙ คน คิดเปน รอยละ ๙๕.๐๐ เปน เพศชาย จาํ นวน ๑ คน คิดเปนรอยละ ๕.๐๐ ตามลาํ ดบั แสดง จํานวนผเู ขาอบรมจําแนกตามเพศ 5% เพศชาย เพศหญิง 95% ตารางที่ ๒ ผูเขาอบรม จําแนกตามอายุ อายุ จํานวน คิดเปน รอยละ อายุ ๑๕-๓๙ ป ๒ ๑๐.๐๐ อายุ ๔๐-๕๙ ป ๑๐ ๕๐.๐๐ อายุ ๖๐ ปขน้ึ ไป ๘ ๔๐.๐๐ รวม ๒๐ ๑๐๐.๐๐ จากตารางที่ ๒ พบวา ผเู ขา อบรมสว นใหญม ี อายุ ๔๐-๕๙ ป จํานวน ๑๐ คน คิดเปน รอ ยละ ๕๐.๐๐ มีอายุ ๖๐ปข้นึ ไปจํานวน๘ คน คดิ เปนรอยละ๔๐.๐๐มีอายุ ๑๕-๓๙ ป จํานวน ๒ คน คิดเปนรอยละ๑๐.๐๐ ตามลาํ ดบั แสดง ผู้เข้าอบรม จาํ แนกตามอายุ อายุ ๑๕-๓๙ ปี อายุ ๔๐-๕๙ ปี อายุ ๖๐ ปี ขนึ ้ ไป 10% 40% 50% หนา 13

ตารางท่ี ๓ ผูเขา อบรม จาํ แนกอาชีพ อาชีพ จํานวน คดิ เปน รอ ยละ เกษตรกรรม ๒๐ ๑๐๐.๐๐ รวม ๒๐ ๑๐๐.๐๐ จากตารางที่ ๓ พบวา ผเู ขา อบรมทงั้ หมดมีอาชีพเกษตรกรรม จาํ นวน๒๐ คน คดิ เปนรอ ยละ ๑๐๐.๐๐ เกษตรกรรม ตารางที่ ๔ ผเู ขาอบรม จําแนกตามวฒุ ิการศกึ ษา ประเภท จาํ นวน คดิ เปน รอยละ ระดบั ป.๔ ๕ ๒๕.๐๐ ระดบั ประถมศึกษา ๘ ๔๐.๐๐ ระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน ๕ ๒๕.๐๐ ระดบั ปวส./อนุปรญิ ญา ๑ ๕.๐๐ ระดบั ปรญิ ญาตรี ๑ ๕.๐๐ รวม ๒๐ ๑๐๐ จากตารางท่ี ๔ พบวา ผูเ ขาอบรมสว นใหญจบการศึกษาระดบั ประถมศึกษา จาํ นวน ๘ คน คดิ เปน รอยละ ๔๐.๐๐ ระดบั ป.๔ และมัธยมศกึ ษาตอนตน ระดบั ละ ๕ คนคดิ เปน รอยละ และระดบั ปวส./อนปุ ริญญา ระดับปริญญาตรี ระดบั ละ ๑ คน คดิ เปน รอยละ ๕.๐๐ ตามลําดับ ผู้เข้าอบรม จาํ แนกตามวุฒกิ ารศกึ ษา 5% 5% ระดบั ป.๔ 25% 25% ระดบั ประถม ระดบั มธั ยมศึกษาตอนนต้น 40% ระดบั ปวส./อนปุ ริญญา ระดบั ปริญญาตรี หนา 14

ตารางท่ี ๕ จํานวนระดบั ความพึงพอใจของผเู ขา รว มกจิ กรรมอบรมเร่ือง “ชมุ ชนปลอดภัยใสใ จส่งิ แวดลอม” ระดับมากขึน้ ไป รายการ จาํ นวนผูตอบ รวม จํานวนผตู อบแบบสอบถาม ตอนท่ี ๑ ความพงึ พอใจดา นเน้ือหา แบบสอบถาม รอยละ รอยละ มาก มาก ๑. เน้อื หาตรงตามความตองการ ทสี่ ดุ ปาน นอ ย นอย รวม ๒. เนือ้ หาเพียงพอตอความตอ งการ กลาง ทสี่ ดุ ๓. เนอ้ื หาปจ จุบนั ทนั สมยั ๔. เนอื้ หามีประโยชนตอ การนาํ ไปใชในการ ๑๔ ๕ ๑๙ ๙๕.๐๐ ๑ ๑ ๕.๐๐ พัฒนาคณุ ภาพชวี ติ ๒๐ ๒๐ ๑๐๐.๐๐ ๒ ๒ ๕.๐๐ ๑๑ ๘ ๑๙ ๙๕.๐๐ ๒ ๒ ๑๐.๐๐ ๑๕ ๓ ๑๘ ๙๐.๐๐ ตอนท่ี ๒ ความพึงพอใจดา นกระบวนการจัดกจิ กรรมการอบรม ๑๙ ๙๕.๐๐ ๑ ๑ ๕.๐๐ ๕. การเตรียมความพรอ มกอ นการจดั หลักสตู ร ๑๑ ๘ ๒๐ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑ ๕.๐๐ ๖. การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค ๑๖ ๔ ๒๐ ๑๐๐.๐๐ ๗. การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา ๖ ๑๔ ๒๐ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๕.๐๐ ๘. การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุมเปา หมาย ๑๘ ๒ ๑๙ ๙๕.๐๐ ๒.๓๓ ๙. วธิ กี ารวดั ผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับ ๑๒ ๗ วตั ถุประสงค ๒๐ ตอนท่ี ๓ ความพงึ พอใจตอวิทยากร ๒๐ ๑๐. วิทยากรมคี วามรูความสามารถในเรอ่ื งทถี่ า ยทอด ๑๗ ๓ ๒๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๑. วิทยากรมีเทคนคิ การถายทอดใชส่ือ ๑๔ ๖ ๑๐๐.๐๐ เหมาะสม ๒๐ ๑๐๐.๐๐ ๑๒. วิทยากรเปด โอกาสใหม สี ว นรวมและ ๑๐ ๑๐ ๒๐ ซกั ถาม ๑๙ ตอนที่ ๔ ความพึงพอใจดา นการอาํ นวยความสะดวก ๑๓. สถานที่ วสั ดุ อุปกรณและส่งิ อาํ นวยความสะดวก ๑๗ ๓ ๑๐๐.๐๐ ๑๔. การสื่อสาร การสรางบรรยากาศเพ่อื ให ๑๙ ๑ ๑๐๐.๐๐ เกดิ การเรียนรู ๙๕.๐๐ ๑ ๑๕ การบรกิ าร การชวยเหลอื และการ ๑๓ ๖ ๙๗.๖๗ แกป ญหา รวม จากตารางท่ี ๕ พบวา ระดับความพึงพอใจในการจดั กิจกรรมในครัง้ น้ี (ระดบั มากขน้ึ ไป) ระดบั ความพงึ พอใจของผเู ขา รว มกิจกรรม อยูในระดับมากทีส่ ุด รอ ยละ ๙๗.๖๗ และอยูในระดบั ปานกลาง รอ ยละ ๒.๓๓ ภาพรวมพบวา ผเู ขาอบรมทง้ั ๒๕ คนมีความพึงพอใจตอกิจกรรมอบรมเรื่อง “ชมุ ชนปลอดภัยใสใจ สิ่งแวดลอ ม”อยใู นระดับมากท่สี ดุ คดิ เปน รอ ยละ ๙๗.๖๗ หนา 15

แสดงระดับความพึงพอใจของผเู ขารวมกจิ กรรมอบรมเรอ่ื ง “ชุมชนปลอดภยั ใสใจสิ่งแวดลอ ม”ระดบั มากขึ้นไป 101 100 99 ตอนที่ ๑ ความพงึ พอใจด้านเนือ้ หา 98 97 ตอนที่ ๒ ความพงึ พอใจด้านกระบวนการจดั 96 กิจกรรมการอบรม 95 ตอนท่ี ๓ ความพงึ พอใจตอ่ วทิ ยากร 94 ตอนท่ี ๔ ความพงึ พอใจด้านการอํานวยความ 93 สะดวก 92 ระดบั ความพงึ พอใจ ตารางท่ี ๖ แสดงจํานวนผผู านการอบรมนําประโยชน ไปใช การนําไปใชประโยชน นาํ ความรไู ป นําความรทู ี่ ใชใน ใชเ วลา อน่ื ๆ หมายเหตุ ชวี ิตประจาํ วั วางใหเกิด โปรดระบุ ท่ี ในการพัฒนา ไดร ับไป นไดอ ยาง ประโยชน ช่ือ – นามสกลุ ผเู ขาอบรม ชมุ ชนและ พฒั นา เหมาะสม สงั คม คณุ ภาพ ชีวิตของ ตนเอง 1 นางกลมศรี คงผอม / 2 นางสุภาณี ทองจันทร / 3 นางอาภรณ ชมุ หนู / 4 นายวเิ ชียร ดาํ ทอง / 5 นางเอีย้ น ทองดี / 6 นางสาคร วบิ รู ณกาญจน / 7 นางละเมยี ด เพ็งประพนั ธ / 8 นางจรุ ีย ธราพร / 9 นางพิมพใจ ไชยรักษา / 10 นางนฤมล รอดรตั น / 11 นางพรอม ชาํ นาญ / 12 นางวรรณา เสนานวุ งศ / 13 นางขวัญฤทยั คุมไพรตั น / หนา 16

การนาํ ไปใชป ระโยชน นําความรูไ ป นาํ ความรูที่ ใชใ น ใชเ วลา อื่น ๆ หมายเหตุ ชวี ติ ประจําวั วางใหเกดิ โปรดระบุ ที่ ในการพฒั นา ไดรบั ไป นไดอยา ง ประโยชน ชื่อ – นามสกลุ ผูเขาอบรม ชุมชนและ พัฒนา เหมาะสม สังคม คณุ ภาพ ชีวติ ของ ตนเอง 14 นางรตั นธิดา ไชยรักษา / 15 นางบุญยนื ดาํ ปาน / 16 นางบญุ สืบ ดําทอง / 17 นางหนูจนั ทร คงผอม / 18 นางเสง่ยี ม ไชยทอง / 19 นางสาวอนงค ศกั ดเิ ศรษฐ / 20 นางสาวจริยา พลู วงศ / จากตารางท่ี ๖ พบวา ผูผ านการอบรมทั้ง ๒๐ คน นาํ ความรไู ปใชใ นชวี ติ ประจําวันไดอยา งเหมาะสม มี ความรูเกีย่ วกบั การบริหารจัดการขยะในชุมชนและในครวั เรอื นได จาํ นวน ๒๐ คน คดิ เปนรอยละ ๑๐๐ สรุปการบรรลุเปา หมายตามโครงการ ผล เปา หมายการบรรลุ ตวั ชวี้ ัด เกณฑ บรรลุ ไมบ รรลุ / ความพึงพอใจ รอ ยละ ๘๐ มคี วามพึงพอใจใน รอยละ การจดั กระบวนการเรยี นรู ๙๗.๖๗ หนา 17

บทที่ ๕ สรปุ อภปิ รายผล และขอ เสนอแนะ อภปิ รายผล จากจากการโครงการการศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคมและชุมชน กิจกรรมอบรมเร่ือง “ชุมชน ปลอดภัยใสใจสิ่งแวดลอม” ในวันท่ี 1๐ เดือน มิถุนายน พ.ศ. 256๔ เวลา 09.00 น.ถึงเวลา 16.00 น. ณ ที่ประชุมหมูบาน หมูที่ ๖ บานไสเลียบ ตําบลควนเกย อําเภอรอนพิบูลย จังหวัดนครศรีธรรมราช จํานวน ๒๐ คน ผลการเรียนรูในคร้ังน้ีผูเขาอบรมผาน นําความรูไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม มีความรูเก่ียวกับการบริหารจัดการขยะในชุมชนและในครัวเรือนได ตลอดจนนําไปใชเปนพ้ืนฐานในการ อยรู ว มกนั ในสงั คมอยางมคี วามสขุ สรุปผลการประเมนิ ผลการอบรม ตอนท่ี ๑ ขอมลู พ้ืนฐานของผปู ระเมนิ ความพงึ พอใจ ๑.ผูเขาอบรมสวนใหญ เปนเพศหญิง จํานวน ๑๙ คน คิดเปนรอยละ ๙๕.๐๐ เปนเพศชาย จาํ นวน ๑ คน คิดเปนรอ ยละ ๕.๐๐ ตามลําดบั ๒. ผูเขา อบรมสวนใหญมี อายุ ๔๐-๕๙ ป จํานวน ๑๐ คน คิดเปนรอยละ ๕๐.๐๐ มีอายุ ๖๐ ปข้ึน ไปจํานวน๘ คน คดิ เปนรอ ยละ๔๐ .๐๐ มีอายุ ๑๕-๓๙ ป จํานวน ๒ คน คดิ เปนรอ ยละ๑๐.๐๐ ตามลําดบั ๓. ผูเขาอบรมทั้งหมดมอี าชีพเกษตรกรรม จาํ นวน๒๐ คน คิดเปน รอ ยละ ๑๐๐.๐๐ ๔. ผูเขาอบรมสวนใหญจบการศึกษาระดับประถมศึกษา จํานวน ๘ คน คิดเปนรอยละ ๔๐.๐๐ ระดบั ป.๔ และมัธยมศึกษาตอนตน ระดับละ ๕ คนคดิ เปนรอ ยละและระดบั ปวส./อนุปริญญา ระดับปริญญาตรี ระดับละ ๑ คน คดิ เปน รอยละ ๕.๐๐ ตามลาํ ดับ ๕ ระดับความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมในครัง้ น้ี (ระดบั มากข้ึนไป) ระดับความพึงพอใจของผูเขารวม กิจกรรม อยูในระดับมากที่สุด รอยละ ๙๗.๖๗ และอยูในระดับปานกลาง รอยละ ๒.๓๓ ภาพรวมพบวาผู เขาอบรมทัง้ ๒๕ คนมคี วามพงึ พอใจตอ กิจกรรมอบรมเร่อื ง “ชมุ ชนปลอดภัยใสใ จสิ่งแวดลอม”อยูในระดับมาก ที่สุด คิดเปนรอ ยละ ๙๗.๖๗ ๖. พบวาผูผานการอบรมท้ัง ๒๐ คน นําความรูไปใชในชีวิตประจําวันไดอยางเหมาะสม มีความรู เก่ยี วกับการบริหารจัดการขยะในชมุ ชนและในครวั เรือนได จํานวน ๒๐ คน คิดเปนรอยละ ๑๐๐ สรุปการบรรลุเปา หมายตามโครงการ ตวั ช้ีวัด เกณฑ ผล เปาหมายการบรรลุ บรรลุ ไมบรรลุ ความพงึ พอใจ รอยละ ๘๐ มีความพึงพอใจใน รอ ยละ / การจดั กระบวนการเรยี นรู ๙๗.๖๗ ประโยชนทไ่ี ดร ับ ๑. การจัดกิจกรรมโดยการบรรยาย ฝกปฏิบัติ ทดลองสงผลใหเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน ร ะ ห ว า ง ผู เ รี ย น วิ ท ย า ก ร ค รู ส ร า ง ใ ห เ กิ ด เ ค รื อ ข า ย ใ น ก า ร ทํ า ง า น เ พ่ิ ม ๒. การจัดกิจกรรมในรูปแบบการฝกปฏิบัติ สงผลใหผูเรียนไดเรียนอยางสนุกและไดฝกปฏิบัติดวย ตนเอง สงผลใหเกิดการจดจําและสามารถนํากลับไปทําไดอยางแทจริง เปนการเรียนรูที่เกิดจากการเห็น การลงมอื ทาํ และการไดร ับผลประโยชนทําใหผูเ รยี นเกิดการเรยี นรทู ่ชี ัดแจง หนา 18

ขอเสนอแนะ - แนวทางในการพฒั นาตอไป 1. การติดตามความตอเนื่องใหก ับกลมุ ผเู รียนใหมีการต้ังไลนก ลุมเพ่ือใหม ีการแลกเปล่ียนเรยี นรู ระหวา งครู ผูเ รียน และเพื่อนรวมเรยี น 2. ควรมกี ารจัดทาํ คลปิ เพ่อื เผยแพรท างออนไลน ใหก ับประชาชนในพืน้ ท่ีอําเภอรอนพบิ ูลย คนอ่ืนๆ ไดเ รยี นรดู ว ย หนา 19


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook