Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ..ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital intelligence )

..ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital intelligence )

Description: ..ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital intelligence )

Search

Read the Text Version

ความฉลาดทางดิจิทัล (Digital intelligence )

คํานาํ รายงานเล่มนีจดั ทําขนึ เพอื เปนสว่ นหนงึ ของรายวชิ า นวตั กรรมและเทคโนโลยี เพอื ศึกษาเรอื งความฉลาดทาง ดิจทิ ัล วา่ มเี นอื หาสาระสาํ คัญอะไรบา้ ง โดยศึกษาขอ้ มูลจาก อินเทอรเ์ นต็ และสอื ต่างๆ ทังนีผจู้ ดั ทําหวงั เปนอยา่ งยงิ วา่ รายงานฉบบั นีจะเปนประโยชนต์ ่อผอู้ ่านและศึกษาขอ้ มูลได้ เปนอยา่ งดี

จดั ทําโดย นางสาว พรนภิ า ขาํ แผลง สาขาวชิ าภาษาอังกฤษ หมูท่ ี2 รหสั นกั ศึกษา 634102053

สารบญั หน า เร่อื ง 1 2 หนา้ ปก 3 คํานาํ 4 ผจู้ ดั ทํา 5 6 ความหมายของความฉลาดทางดิจทิ ัล 7 ทําไมต้องเพมิ ทักษะความฉลาดทางดิจทิ ัล 8 ความเปนพลเมอื งดิจทิ ัล 9 ทักษะทางดิจทิ ัล 10 ทักษะที1 11 ทักษะที2 12 ทักษะที3 13 ทักษะที4 14 ทักษะที5 15 ทักษะที6 16 ทักษะที7 ทักษะที8 บรรณานุกรม

ความฉลาดทางดจิ ิทัล (DQ: Digital Intelligence) คืออะไร ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล (DQ: Digital Intelligence Quotient) คือกล่มุ ความสามารถทางสงั คม อารมณ์ และการรบั รู้ ทีจะทําใหค้ นคนหนงึ สามารถ เผชญิ กับความท้าทายของชวี ติ ดจิ ทิ ัล และสามารถ ปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับชวี ติ ดจิ ทิ ัลได้ ความฉลาดทางดจิ ทิ ัล ครอบคลมุ ทังความรู้ ทักษะ ทัศนคติและค่านยิ มที จาํ เปนต่อการใชช้ วี ติ ในฐานะสมาชกิ ของโลกออนไลน์ กล่าวอีกนยั หนงึ คือ ทักษะการใชส้ อื และ การเขา้ สงั คมในโลกออนไลน์

ทําไมตอ้ งเพิมทกั ษะ ความฉลาดทางดิจิทัล เดก็ ๆ และเยาวชนในยคุ ไอทเี ตบิ โตมาพร้อมกับอปุ กรณ์ดจิ ิทัลและอนิ เทอร์เนต็ ดว้ ย ลักษณะการสือสาร ทีรวดเร็ว อิสระ ไร้พรมแดน และไมเ่ หน็ หนา้ ของอีกฝาย ทําใหก้ ารรับ รู้และการใชช้ ีวตของเดก็ รุ่นใหม่ มลี กั ษณะทีแตกต่างจากเจนเนอเรชนั รุ่นก่อนๆ มาก ทกั ษะชวี ตใหม่ๆ ตอ้ งไดร้ ับการเรยนรู้และฝกฝน เพอื ทเี ด็กทีเตบิ โตมาในยุคทเี ตม็ ไปด้วย ข้อมลู ขา่ วสารและเทคโนโลยสี ามารถนําไปใช้ในชวี ตประจําวนั การใชช้ ีวตของคนรุ่นใหม่ ยงั ผูกติดกบั เครอขา่ ยอนิ เทอร์เน็ตและสอื ออนไลนเ์ กือบตลอดเวลา ไมว่ า่ จะเปนการรับ ขา่ วสาร ความบันเทงิ หรอการซือขายสินค้าและบรการ และการทาํ ธรุ กรรมการเงนิ

ความเปนพลเมืองดิจิทลั (Digital Citizenship) คอื อะไร ความเปนพลเมอื งดจิ ทิ ัลคือ พลเมอื งผใู้ ชง้ านสอื ดจิ ทิ ัลและสอื สงั คม ออนไลนท์ ีเขา้ ใจบรรทัดฐานของ การปฏิบตั ิตัวใหเ้ หมาะสมและมคี วามรบั ผดิ ชอบในการใชเ้ ทคโนโลยี โดยเฉพาะอยา่ งยงิ การสอื สาร ในยุคดจิ ทิ ัล เปนการสอื สารทีไรพ้ รมแดน สมาชกิ ของโลกออนไลนค์ ือ ทกุ คนทีใชเ้ ครอื ขา่ ยอินเทอรเ์ นต็ บนโลกใบนี ผใู้ ชส้ อื สงั คมออนไลนม์ คี วามหลากหลายทาง เชอื ชาติ อายุ ภาษา และวฒั นธรรม พลเมอื ง ดจิ ทิ ัลจงึ ต้องเปนพลเมอื งทีมี ความรบั ผดิ ชอบ มจี รยิ ธรรม เหน็ อกเหน็ ใจและเคารพผอู้ ืน มสี ว่ นรว่ ม และ มุง่ เนน้ ความเปนธรรมในสงั คม การเปนพลเมอื งในยุคดจิ ทิ ัลนนั มที ักษะที สาํ คัญ 8 ประการ

1. ทกั ษะในการรักษาอัตลักษณ์ทีดีของตนเอง (Digital Citizen Identity) สามารถสร้างและบรหารจดั การอตั ลักษณ์ทดี ีของตนเองไวไ้ ดอ้ ยา่ งดีทังในโลกออนไลน์และโลกความจรง อตั ลักษณ์ทดี ีคือ การทีผใู้ ช้สือดิจทิ ัลสร้างภาพลกั ษณใ์ นโลกออนไลนข์ องตนเองในแงบ่ วก ทงั ความคดิ ความรู้สึก และการกระทาํ โดยมีวจารณญานในการรับสง่ ขา่ วสารและแสดงความคิดเห็น มคี วามเหน็ อก เหน็ ใจผรู้ ่วมใชง้ านในสงั คมออนไลน์ และรู้จักรับผดิ ชอบต่อการกระทําไม่กระทาํ การทีผดิ กฎหมาย และจรยธรรมในโลกออนไลน์ เช่น การละเมิดลิขสิทธิ การกลนั แกล้งหรอการใชว้ าจาทีสร้างความ เกลยี ดชงั ผอู้ ืนทางสือออนไลน์

2. ทกั ษะการคิดวเคราะหม์ ีวจารณญาณทีดี (Critical Thinking) สามารถในการวเิ คราะหแ์ ยกแยะระหวา่ งขอ้ มูลทีถกู ต้องและขอ้ มูลทีผดิ ขอ้ มูลทีมเี นอื หาเปนประโยชน์ และขอ้ มูลทีเขา้ ขา่ ยอันตราย ขอ้ มูลติดต่อทางออนไลนท์ ีนา่ ตังขอ้ สงสยั และนา่ เชอื ถือได้ เมอื ใชอ้ ินเทอรเ์ นต็ จะรวู้ า่ เนอื หาอะไร เปนสาระ มปี ระโยชน์ รเู้ ท่าทันสอื และสารสนเทศ สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ ขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลทีหลากหลายได้ เขา้ ใจรปู แบบการหลอกลวงต่างๆ ในโลกไซเบอร์ เชน่ ขา่ วปลอม เวบ็ ปลอม ภาพตัดต่อ เปนต้น

3. ทกั ษะในการรักษาความปลอดภัยของตนเอง ในโลกไซเบอร์ (Cybersecurity Management) สามารถปองกันขอ้ มูลดว้ ยการสรา้ งระบบความปลอดภัยทีเขม้ แขง็ และปองกันการโจรกรรมขอ้ มูล หรอื การโจมตีออนไลนไ์ ด้ มที ักษะในการรกั ษาความปลอดภัยของตนเองในโลกออนไลน์ การรกั ษา ความปลอดภัยของตนเองในโลกไซเบอรค์ ือ การปกปองอุปกรณด์ จิ ทิ ัลขอ้ มูลทีจดั เก็บและขอ้ มูลสว่ นตัว ไมใ่ หเ้ สยี หาย สญู หาย หรอื ถกู โจรกรรมจากผไู้ มห่ วงั ดใี นโลกไซเบอร์

4. ทักษะในการรักษาข้อมูลส่วนตัว (Privacy Management) มดี ลุ พนิ จิ ในการบรหิ ารจดั การขอ้ มูลสว่ นตัว รจู้ กั ปกปองขอ้ มูลความสว่ นตัวในโลกออนไลนโ์ ดยเฉพาะ การแชรข์ อ้ มูลออนไลนเ์ พอื ปองกันความเปนสว่ นตัว ทังของตนเองและผอู้ ืน รเู้ ท่าทันภัยคกุ คามทาง อินเทอรเ์ นต็ เชน่ มลั แวร์ ไวรสั คอมพวิ เตอร์ และกล ลวงทางไซเบอร์

5. ทักษะในการจดั สรรเวลาหน้าจอ (Screen Time Management) สามารถในการบรหารเวลาทใี ชอ้ ุปกรณ์ยุคดจิ ิทัล รวมไปถงึ การควบคมุ เพอื ใหเ้ กิดสมดุลระหวา่ งโลกออนไลน์ และโลกภายนอก ตระหนักถึงอันตราย จากการใช้เวลาหนา้ จอนานเกนิ ไป การทาํ งานหลายอยา่ งในเวลาเดยี วกนั และผลเสยี ของการเสพตดิ สือดจิ ิทลั

6. ทักษะในการบรหารจดั การขอ้ มูลทีผู้ใช้งาน มกี ารทงิ ไวบ้ นโลกออนไลน์ (Digital Footprints) สามารถเข้าใจธรรมชาตขิ องการใช้ชวี ตในโลกดิจิทลั วา่ จะหลงเหลือร่อยรอยข้อมูลทิงไวเ้ สมอ รวมไปถงึ เขา้ ใจผลลัพธท์ ีอาจเกิดขนึ เพือการดแู ลสิงเหลา่ นอี ย่างมีความรับผิดชอบ รอยเทา้ ดจิ ิทลั (Digital Footprints) คืออะไร รอยเทา้ ดิจิทัลคือ คําทใี ช้เรยกร่องรอยการกระทําต่างๆ ทีผู้ใชง้ านทิงรอยเอาไวใ้ นโลกออนไลน์ โซเชยี ล มเี ดยี เวบ็ ไซต์หรอโปรแกรมสนทนา เช่นเดยี วกบั รอยเทา้ ของคนเดินทาง ขอ้ มลู ดจิ ิทลั เชน่ การลง ทะเบยี นอีเมล การโพสตข์ ้อความหรอรูปภาพ เมอื ถกู สง่ เข้าโลกไซเบอร์แล้วจะทงิ ร่อยรอยขอ้ มูลสว่ นตัวของ ผูใ้ ช้งานไวใ้ ห้ผอู้ ืนตดิ ตามได้เสมอ แม้ผใู้ ชง้ านจะลบไปแล้ว ดังนนั หากเปนการกระทาํ ทผี ิดกฎหมาย หรอศลี ธรรม ก็อาจมผี ลกระทบตอ่ ชอื เสยี งและภาพลักษณ์ของผ้กู ระทาํ กลา่ วงา่ ยๆ รอยเทา้ ดิจทิ ัลคือ ทุกสิงทกุ อยา่ งในโลกอนิ เทอร์เนต็ ทบี อกเรองของเรา

7. ทกั ษะในการรับมอื กับการกลนั แกล้งบนโลกไซเบอร์ (Cyberbullying Management) การกล่นั แกลงบนโลกไซเบอรคือ การใชอ นิ เทอรเน็ตเปน เคร่ืองมือหรอื ชอ งทางเพอื่ กอ ใหเกดิ การคุกคาม ลอ ลวงและการกล่ันแกลง บนโลกอินเทอรเ นต็ และส่ือสงั คมออนไลน โดยกลุม เปาหมายมักจะเปน กลมุ เดก็ จนถึงเดก็ วยั รนุ การกลน่ั แกลง บนโลกไซเบอรค ลายกันกบั การกลัน่ แกลงในรปู แบบอ่นื หากแตก ารกลน่ั แกลงประเภทนีจ้ ะกระทาํ ผานสอ่ื ออนไลนหรอื ส่อื ดิจทิ ัล เชน การสงขอความทาง โทรศพั ท ผูกล่ันแกลงอาจจะเปน เพอื่ นรวมชั้น คนรูจักในส่อื สังคมออนไลน หรอื อาจจะเปน

8. ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยอี ย่างมีจรยธรรม (Digital Empathy) มคี วามเห็นอกเห็นใจ และสรา้ งความสมั พนั ธท์ ีดีกับผอู้ ืนบนโลกออนไลน์ แมจ้ ะเปนการ สอื สารทีไมไ่ ด้เห็นหนา้ กัน มปี ฏิสมั พนั ธอ์ ันดีต่อคนรอบขา้ ง ไมว่ า่ พอ่ แม่ ครู เพอื นทังใน โลกออนไลนแ์ ละใน ชวี ติ จรงิ ไมด่ ่วนตัดสนิ ผอู้ ืนจากขอ้ มูลออนไลนแ์ ต่เพยี งอยา่ งเดียว และจะเปนกระบอกเสยี งให้ผทู้ ีต้องการความชว่ ยเหลือ

บรรณานกุ รม ดร.สรานนท์ อนิ ทนนท์.(2563).ความฉลาดทางดิจทิ ัล (DQ Digital Intelligence). คน้ เมอื 19 สงิ หาคม 2564, จาก http://cclickthailand.com/wp- content/uploads/2020/04/dq_FINAL.pdf


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook