ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อินทรีย์ ผู้จัดทาํ น.ส.อบุ ลรตั น์ ชมเสยี ง หนว่ ยงาน กศน.อําเภอราษไี ศล สานักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมวิ บลิ ดงิ้ ชัน้ 18-19 ถ.วภิ าวดรี ังสติ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรีย์ สานักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ 69/18-19 อาคารชุดมวิ บิลดงิ้ ชนั้ 18-19 ถ.วิภาวดรี ังสติ แขวงสามเสนใน เขตพญาไท กรุงเทพฯ 10400
ชดุ ความรู้ทาํ มาหากนิ ข้าวไรซเ์ บอร่ี อินทรีย์ บทนํา ข้าวไรซ์เบอร่ี (riceberry) ได้จากการผสมข้ามพันธ์ุระหว่างข้าวเจ้าหอม นลิ กบั ข้าวขาวดอกมะลิ 105 ลกั ษณะเป็นข้าวเจ้า สีม่วงเข้ม รูปร่างเมลด็ เรียว ยาว ข้าวกล้องมีความนุ่มนวลมาก ปลูกได้ตลอดทั้งปี ให้ผลผลิตต่อไร่ปาน กลาง ต้านทานต่อโรคไหม้ แต่ไม่ต้านทานโรคหลาว จึงควรเปลี่ยนเมล็ด พันธุท์ กุ รอบการปลกู อีกข้อจํากัด คือเป็นข้าวที่ต้องการเอาใจใส่เป็นพิเศษ โดยปลูกแบบ เกษตรอินทรีย์ และต้องมีสภาพอากาศเย็น เพื่อสร้างสีเมล็ดลักษณะประจํา พันธุ์ขา้ วไรซ์เบอรร์ ่ี ความสงู 105-110 เซนติ เมตร อายุเก็บเกี่ยว 130 วัน ผลผลิต 300-500 กิโลกรัมต่อไร่ เปอร์เซ็นต์ข้าวกล้อง (brown rice) 76% ต้นข้าวหรือข้าวเต็มเมล็ด (head rice) 50% ความยาวของเมลด็ ขา้ วเปลอื ก 11 มิลลเิ มตร ขา้ วกล้อง 7.5 มลิ ลิเมตร ข้าวขดั 7.0 มิลลเิ มตร คุณสมบัติ เด่นทางด้านโภชนาการ คือมีสารต้านอนุมูลอิสระสูง ได้แก่ เบต้าแคโรทีน แกมมาโอไรซานอล วิตามินอี แทนนิน สังกะสี แ ล ะ โ ฟ เ ล ต สู ง มี ดั ช นี นํ้ า ต า ล ต่ํ า -ป า น ก ล า ง นอก จากนี้ ราํ ข้าวและนํา้ มันราํ ข้าว ท้ังยังมีคุณสมบัติต้านอนุมูล อิสระท่ีดี ซ่ึงจากคุณสมบัติข้อน้ี นอกจากจะใช้รับประทานเพื่อเสริมสร้าง สุขภาพที่ดี ลดความเส่ียงต่อการเป็นโรคมะเร็ง ทางการแพทย์ยังนําไปใช้ทํา ผลิตภัณฑ์อาหารโภชนบําบัดอีกดว้ ย
ชุดความรทู้ ํามาหากนิ ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรยี ์ หลักการและเหตุผล จากปัญหาราคาข้าวตกต่ําจนทําให้เกิดโครงการรับจํานําข้าว จาก รัฐบาลเพื่อช่วยเหลือชาวนา จึงเกิดผลทําให้ชาวนาไทยหันไปปลูกข้าวเบาหรือ ข้าวอายุส้ันเพ่ือเร่งผลผลิตให้ ทันเพียงพอต่อรอบการรับจํานํา ทําให้ไม่มีการ พัฒนาและอนุรักษ์พันธุ์ข้าวดั้งเดิมท่ีมีคุณภาพ และยังมีการใช้ ปุ๋ย และ สารเคมีกําจัดศัตรูพืช ท่ีเกินความจําเป็นเพราะต้องการให้ได้ผลผลิตให้มาก ที่สดุ ดังนั้นข้าวพันธุ์ไรซ์ เบอร่ี จึงอาจเป็นคําตอบให้กับชาวนาไทยได้ท้ัง เร่ืองอายุการเก็บเกี่ยวสั้น ราคาผลผลิตสูง ความทนทานต่อโรค และยัง สามารถช่วยให้ชาวนามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น อันเนื่องมาจากการสัมผัสสารเคมี อันตรายตา่ งๆ ที่น้อยลง
ชุดความร้ทู าํ มาหากิน ข้าวไรซ์เบอร่ี อินทรีย์ หลักการและเหตผุ ล ขา้ วไรซ์ เบอร์รี่ เป็นพนั ธ์ขุ า้ วท่ไี ดจ้ ากการผสมขา้ มพนั ธร์ุ ะหวา่ งขา้ วเจ้า หอมนิลกับข้าวขาว ดอกมะลิ105 ลกั ษณะเป็นสีม่วงแดงแบบลกู เบอร์รี่ ที่สุก แล้ว รูปร่างเมล็ดเรียวยาว เม่ือหุงเป็นข้าวเจ้าจะมีลักษณะเป็นสีม่วงเข้ม มคี วามนุ่มนวลแต่ยดื หยนุ่ รสชาตอิ มหวาน มกี ลิน่ หอมทเี่ ป็นเอกลักษณ์ “ข้าวไรซ์เบอรี่” เป็นพันธ์ุข้าวกล้องท่ีมีคุณประโยชน์มากท่ีสุด โดย เป็นพันธ์ุข้าวกล้องล่าสุด ท่ีถูกพัฒนาสายพันธ์ของคณะวิจัยพันธุ์ข้าว จนเป็น ที่ยอมรับจากท่ัวโลก โดยมีคุณค่าทางอาหารมากมาย ทั้งช่วยในเรื่องของการ ลดน้ําหนัก เบาหวาน และต้านอนุมูลอิสระ สําหรับในเร่ืองของรสชาติ “ข้าวไรซ์เบอรี่” เป็นข้าวที่มีสีม่วง คล้ายกับสีของข้าวเหนียวดํา แต่จะร่วน กว่า มีความหอมอร่อย คล้ายข้าวขาว ทานงา่ ยกว่าข้าวกลอ้ งทัว่ ไป ข้าวเปลอื กไรซ์เบอร่ี 1 ตนั สามารถสีได้ข้าวสารประมาณ 600-700 กิโลกรัมขายได้กิโลกรัมละ 60-100บาท แล้วแต่การบรรจุและตราสินค้า จงึ ถอื ว่าเป็นข้าวที่มรี าคาสูงและมอี นาคตอกี ไกล
ชดุ ความรู้ทํามาหากิน ข้าวไรซ์เบอรี่ อินทรีย์ วตั ถุประสงค์ของการจดั ทาํ ชดุ ความรูท้ ํามาหากิน 1. เพื่อส่งเสรมิ ให้ผทู้ ส่ี นใจ มคี วามรู้ความเขา้ ใจเร่ืองการปลกู ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรีย์ โดยครบวงจรเพ่อื นําไปสูก่ ารสรา้ งอาชีพ อย่างถกู ตอ้ ง 2. เพ่ือสง่ เสริมให้ผู้ท่ีสนใจ สามารถปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ อินทรยี ์ ได้อย่าง ถกู ต้องและเป็นทางเลอื กในการนําไปสกู่ ารประกอบอาชพี อย่างยั่งยนื กลุ่มเปา้ หมาย 1. เกษตรกรผู้ปลกู ข้าว 2. ประชาชนทต่ี ้องการปลกู ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรยี ์ 3. นักเรยี น นักศึกษา และผสู้ นใจศึกษาเพ่ิมเติม
ชดุ ความรทู้ าํ มาหากิน ข้าวไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรีย์ ขนั้ ตอนการจัดทําชดุ ความรู้ทาํ มาหากิน 1. วิเคราะห์ความต้องการอาชพี วิเคราะหร์ ะบแุ หล่งเรียนรู้ 2. รวบรวมความรู้ 3. จัดทําโครงสรา้ งความรู้ 4. ประมวลและเรียบเรียงเนือ้ หาความรู้ 5. ตรวจสอบความต้องการเพื่อให้ครบถว้ นสมบรู ณข์ องเนอ้ื หาชดุ ความรู้ 6. เผยแพรช่ ดุ ความรู้ จดั กิจกรรมเผยแพร่ชุดความรู้ 7. แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ จัดกิจกรรมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ 8. เรียนรู้/ถอดและรวบรวมความรู้จากผ้ทู น่ี าํ ชุดความรไู้ ปประกอบอาชีพและตอ่ ยอด
ชุดความรู้ทาํ มาหากิน ข้าวไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรยี ์ ประโยชน์ที่คาดว่าจะไดร้ ับ 1. มีข้าวที่ปลอดภัยจากสารเคมีไว้รบั ประทาน 2. มปี รมิ าณขา้ วไรซเ์ บอรท่ี เ่ี พยี งพอตอ่ การบรโิ ภค 3. มรี ายไดเ้ พมิ่ ขน้ึ จากการขายขา้ วไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรีย์ 4. มีจาํ นวนผู้ปลูกข้าวไรซ์เบอรี่ อินทรยี ์ เพม่ิ มากข้นึ 5. เกษตรกรและผู้บรโิ ภคมีความตระหนกั ถงึ ภยั ของระบบการผลิตดว้ ยสารเคมี
Mind Map
Infographic
ประมวลเน้อื หา ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อินทรยี ์ เน้อื หาชดุ ความรู้ทาํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทักษะสาํ หรบั ดาํ เนนิ การ ขา้ วอนิ ทรยี ค์ อื อะไร ข้าวอินทรีย์ (Organic rice) เปน็ ข้าวท่ีได้จากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์ (Organic agriculture หรอื Organic Farming) ซึ่งเป็นวิธีการผลิตที่หลีกเลี่ยงการ ใช้สารเคมี หรือสารสังเคราะห์ต่างๆ เป็นต้นว่า ปุ๋ยเคมี สารควบคุมการ เจริญเติบโต สารควบคุมและกาจัดวัชพืช สารป้องกนกาจัดโรคแมลงและสัตว์ศัตรู ข้าวใน ทุกขั้นตอนการผลิตและในระหว่างการเก็บรักษาผลผลิต หากมีความจําเป็น แนะนําให้ใช้วัสดุจากธรรมชาติและสารสกัดจากพืชท่ีไมมีพิษต่อคนหรือไมมีสารพิษ ตกค้างปนเปื้อนในผลิตผลในดินและนํ้า ขณะเดียวกันก็เป็นการรักษาสภาพแวดล้อม ทําให้ได้ผลิตผลข้าวท่ีมีคุณภาพดี ปลอดภัยจากอันตรายของผล ตกค้างส่งผลให้ ผบู้ รโิ ภคมีสุขอนามยั และคณุ ภาพชวี ิตทดี่ ี
ประมวลเนอื้ หา ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรีย์ เนอ้ื หาชดุ ความรทู้ าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทักษะสาํ หรบั ดําเนินการ (ตอ่ ) สถานการณ์การผลติ ข้าวอินทรีย์ในประเทศไทย ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2534 เป็นตน้ มา กรมวชิ าการเกษตรได้ให้การสนับสนุน บริษัทในเครือสยามไชย วิวัฒน์ และบริษัทในเครือนครหลวงค้าข้าว จํากัด ดําเนินการผลิตข้าวอินทรีย์ โดยให้คําปรึกษาแนะนําและประสานงานกับทุกๆฝ่ายที่ เกี่ยวข้อง มีเกษตรกรในพื้นท่ีภาคเหนือโดยเฉพาะจากจังหวัดพะเยา และเชียงรายขอ เข้ารวมโครงการเป็นจํานวนมาก หลังจากได้คัดเลือกเกษตรกรที่มีคุณสมบัติ เหมาะสมไว้เพียง บางสวนเพ่ือเข้ารวมโครงการแล้ว ได้มีการชแ้ี จงให้เกษตรกรเข้าใจ หลักการและขั้นตอนการผลิตขา้ วอินทรียท์ ีถ่ กู ต้อง การจัดทําข้อตกลงและการยอมรับ นําไปปฏิบัติตามหลักการการผลิตข้าวอินทรีย์ รวมท้ังจัด นักวิชาการออกติดตามให้ คําแนะนําในทุกขั้นตอนของการผลิต จากการดําเนินงานตั้งแต่ฤดูกาลผลิตปี 2535 เปน็ ต้นมา มีเกษตรกรเข้ารวมโครงการประมาณปีละ 100 รายในพ้ืนท่ีประมาณ 4,000 ไร ได้ผลผลิตเฉล่ียประมาณ 400-500 กิโลกรัมต่อไร คิดเป็นผลผลิตรวม ประมาณปีละ 2,000 ตนั นอกจากนี้ยังมีองค์กรพัฒนาเอกชน (NGOs) ให้การสนับสนุนเกษตรกร ในพ้ืนท่ีอื่นๆ ผลิตข้าวอินทรีย์ รวมทั้งมีบริษัทเอกชนผลิตข้าวอินทรีย์จําหนาย โดยตรง เชน่ บรษิ ทั ลดั ดา จาํ กดั เป็นต้น
ประมวลเน้ือหา ขา้ วไรซ์เบอรี่ อนิ ทรีย์ เนื้อหาชดุ ความรทู้ าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทกั ษะสาํ หรบั ดาํ เนินการ (ตอ่ ) ตลาดและราคาข้าวอนิ ทรยี ์ ขา้ วอินทรียท์ ีผ่ ลติ ไดส้ วนใหญ่จะสง่ ไปจาํ หน่ายยังตลาดต่างประเทศโดยเฉพาะ ประเทศแถบยโุ รป ส่วนที่เหลือจะวางจําหน่ายภายในประเทศ ราคาข้าวเปลือกอินทรีย์ท่ี เกษตรกรไดร้ ับจะสงู กว่าราคาข้าวเปลือก โดยทั่วไปประมาณร้อยละ 10 แต่ในส่วนที่ เป็นข้าวสารบรรจุวางจําหน่ายในประเทศไทยมีราคาสูงกว่า ข้าวสารทั่วไปประมาณ ร้อยละ 20 สําหรับในตลาดต่างประเทศข้าวขาวดอกมะลิ 105 อินทรีย์ จะมีราคา ใกล้เคียงกบข้าวพนั ธบ์ุ าสมาติ
ประมวลเนอื้ หา ข้าวไรซ์เบอรี่ อินทรยี ์ เนอ้ื หาชุดความร้ทู ํามาหากนิ 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทักษะสาํ หรบั ดาํ เนนิ การ (ตอ่ ) หลกั การผลิตขา้ วอนิ ทรยี ์ การผลิตข้าวอินทรีย์ เป็นระบบการผลิตข้าวท่ีไมใช้สารเคมีทางการเกษตรทุก ชนิดเป็นต้นว่า ปุ๋ยเคมี สารควบคุมการเจริญเติบโต สารควบคุมและกาจัดวัชพืช สาร ป้องกันกําจัดโรค แมลง และสัตว์ศัตรูข้าว ตลอดจนสารเคมีที่ใช้รมเพ่ือป้องกันกําจัด แมลงศัตรูข้าวในโรงเก็บ การผลิตข้าวอินทรีย์นอกจากจะทําให้ได้ผลผลิตข้าวที่มี คุณภาพสูงและปลอดภัยจากสารพิษแล้วยังเป็นการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและเป็น การพฒั นาการเกษตรแบบยังยืนอีกดว้ ย การผลิตข้าวอินทรีย์เป็นระบบการผลิตทางการเกษตรท่ีเน้นเร่ืองของธรรมชาติ เป็นสําคัญ ได้แก่ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การฟ้ืนฟูความอุดมสมบูรณ์ของ ธรรมชาติ การรักษาสมดุลธรรมชาติ และการใช้ประโยชน์จากธรรมชาติ เพื่อการผลิต อยา่ งยั่งยืน เช่น ปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินโดย การปลูกพืชหมุนเวียน การใช้ ปุ๋ยอินทรีย์และวัสดุอินทรีย์ในไร่นาหรือจากแหล่งอ่ืน ควบคุมโรค แมลง และสัตว์ศัตรู ข้าวโดยวิธีผสมผสานท่ีไม่ใช้สารเคมี การเลือกใช้พันธุ์ข้าวที่เหมาะสมมีความต้านทานโดย ธรรมชาติ รักษาสมดุลของศัตรูธรรมชาติ การจัดการพืช ดิน และน้ํา ให้ถูกต้อง เหมาะสมกับความต้องการของต้นข้าว เพื่อทําให้ต้นข้าวเจริญเติบโตได้ดี มีความสมบูรณ์ แข็งแรงตามธรรมชาติ การจัดการ สภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะสมต่อการระบาดของโรค แมลงและสัตว์ศัตรูข้าว เป็นต้น การปฏิบัติเช่นน้ีก็สามารถทําให้ต้นข้าวท่ีปลกู ให้ผลผลิต สงู ในระดับที่นาพอใจ
ประมวลเน้ือหา ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อินทรีย์ เน้ือหาชุดความรูท้ ํามาหากิน 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทกั ษะสําหรบั ดาํ เนินการ (ต่อ) เทคโนโลยีการผลิตข้าวอินทรีย์ มีข้ันตอนการปฏิบัติ เช่นเดียวกับการผลิตข้าว โดยทว่ั ไปจะแตกต่างกัน ตรงที่ต้องหลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ในทุกข้ันตอนการผลิต จึงมขี ้อควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. การเลอื กพ้นื ที่ปลูก เลือกพื้นที่ท่ีมีขนาดใหญ่ติดต่อกัน และมีความอุดมสมบูรณ์ของดินโดยธรรมชาติ ค่อนขา้ งสูง ประกอบด้วยธาตอุ าหารทจ่ี าํ เปน็ ต่อการเจริญเตบิ โตของข้าวอย่างเพียงพอ มีแหล่ง น้ําสําหรับเพาะปลูก ไม่ควรเป็นพื้นท่ีที่มีการใช้สารเคมีในปริมาณมากติดต่อกันเป็นเวลานาน หรือมีการปนเป้ือนของสารเคมีสูง และห่างจากพ้ืนที่ท่ีมีการใช้สารเคมีการเกษตร พื้นที่ท่ีจะ ใชใ้ นการผลติ ข้าวโดยปกตมิ ีการตรวจสอบหา สารตกค้างในดนิ หรือในน้ํา 2. การเลอื กใชพ้ นั ธ์ขุ า้ ว พนั ธุ์ขา้ วท่ใี ชป้ ลูกควรมีคณุ สมบตั ดิ ้านการเจรญิ เตบิ โตเหมาะสมกบั สภาพแวดล้อมใน พ้นื ท่ปี ลูก และใหผ้ ลผลิตได้ดแี มใ้ นสภาพดินท่ีมีความอุดมสมบูรณค์ ่อนขา้ งต่ํา ต้านทานโรค แมลงทสี่ าํ คัญ และมี คุณภาพเมล็ดตรงกบความตอ้ งการของผู้บริโภคข้าวอนิ ทรยี ์ การผลติ ขา้ วอนิ ทรียใ์ นปจั จุบันส่วนใหญใ่ ชพ้ นั ธุข์ าวดอกมะลิ 105 และ กข 15 ซึง่ ทงั้ สองพนั ธุเ์ ป็น ข้าวท่มี ีคณุ ภาพเมล็ดดีเป็นพเิ ศษ
ประมวลเน้อื หา ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรยี ์ เนอื้ หาชดุ ความร้ทู าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสําหรบั ดําเนนิ การ (ตอ่ ) 3. การเตรมี เมลด็ พนั ธุข์ ้าว เลอื กใช้เมลด็ พนั ธุข์ ้าวทีไ่ ด้มาตรฐานผลิตจากแปลงผลติ พันธ์ขุ า้ วที่ไดร้ บั การดูแลอย่างดี มคี วามงอกแรงผา่ นการเก็บรกั ษาโดยไม่ใช้สารเคมีสังเคราะห์ ปราศจากโรคแมลง และเมล็ด วชั พืช 4. การเตรยี มดิน วัตถุประสงค์หลักของการเตรียมดิน คือสร้างภาพท่ีเหมาะสมต่อการปลูกและการ เจริญเติบโต ของข้าว ช่วยควบคุมวัชพืช โรค แมลง และสัตว์ศัตรูข้าวบางชนิด การเตรียม ดนิ มากหรือน้อยขนึ้ อย่กู บั คณุ สมบัติดินและสภาพแวดล้อมในแปลงนากอ่ นปลูกโดยการไถดะ ไถแปร คราด และทําเทอื ก 5. วิธกี ารปลูก การปลูกข้าวแบบปักดํา จะเหมาะสมที่สุดกับการผลิตข้าวอินทรีย์ เพราะการเตรียม ดิน ทําเทือก การรักษาระดับนํ้าขังในนาจะช่วยควบคุมวัชพืชได้ และการปลูกกล้าข้าวลงดิน จะชว่ ยให้ขา้ วสามารถแขง่ ขนั กบั วชั พืชได้ ตน้ กล้าทีใ่ ชป้ ักดําควรมอี ายปุ ระมาณ 30 วนั เลอื ก ต้นกล้าท่ีเจริญเติบโตแข็งแรงดี ปราศจาก โรคและแมลงทําลาย เนื่องจากในการผลิตข้าว อินทรีย์ต้องหลีกเล่ียงการใช้สารสังเคราะห์ทุกชนิด โดยเฉพาะ ปุ๋ยเคมี จึงแนะนําให้ใช้ระยะ ปลูกถ่ีกว่าระยะปลูกท่ีแนะนําสําหรับการปลูกข้าวโดยท่ัวไปเล็กน้อย คือ ประมาณ 20x20 เซนติเมตร จํานวนต้นกล้า 5 ต้นตอกอ และใช้ระยะปลูกแคบกว่านี้ หากดินนามีความ อดุ มสมบูรณ์ คอนข้างต่ํา
ประมวลเนอ้ื หา ขา้ วไรซ์เบอร่ี อินทรยี ์ เนือ้ หาชุดความรทู้ าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสาํ หรับดําเนินการ (ตอ่ ) 6. การจดั การความอุดมสมบรู ณข์ องดนิ เน่ืองจากการปลูกข้าวอินทรีย์ต้องหลีกเล่ียงการใช้ปุ๋ยเคมี ดังน้ันการเลือก พื้นที่ปลูกท่ีดินมีความ อุดมสมบูรณ์สูงตามธรรมชาติ จึงเป็นการเร่ิมต้นที่ได้เปรียบ เพอื่ ทจ่ี ะรักษาระดับผลผลิตให้อยู่ใน เกณฑ์ ที่น่าพอใจ นอกจากน้ีเกษตรกรยังต้อง รู้จักการ จัดการดินท่ีถูกต้อง และพยายามรักษาความอุดมสมบูรณ์ของดิน ให้เหมาะสมกบการปลกู ขา้ วอินทรยี ์ให้ได้ผลดแี ละย่งั ยืนมากทสี่ ดุ อีกดว้ ย คําแนะนาํ เกย่ี วกับการจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดิน สําหรับการผลิตข้าว อินทรีย์ สามารถ แบ่งออกได้เป็น 3 ส่วนคือ การจัดการดิน การใชป้ ุ๋ยอินทรีย์ และการใชว้ สั ดอุ นิ ทรีย์ทดแทนป๋ยุ เคมี 6.1 การจัดการดิน มขี อ้ แนะนาํ เกย่ี วกับการจัดการเพื่อรกั ษาความอดุ มสมบูรณ์ของดนิ ให้ เหมาะสมกับการใช้ปลกู ข้าวอินทรยี ์ ดงั น้ี ไมเ่ ผาตอซงั ฟางขา้ ว และเศษวัสดอุ นิ ทรยี ใ์ นแปลงนา เพราะ เป็นการทาํ ลายอินทรยี วตั ถแุ ละจลุ นิ ทรยี ์ดนิ ทม่ี ีประโยชน์
ประมวลเนอ้ื หา ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อินทรยี ์ เนอ้ื หาชดุ ความรทู้ าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสาํ หรบั ดําเนินการ (ต่อ) ไม่นําช้ินส่วนของพืชท่ีไมใช้ประโยชน์โดยตรงออกจากแปลงนา แต่ควรนาํ วสั ดุอินทรียจ์ ากแหลง่ ใกล้เคียงใส่แปลงนา ใหส้ ม่าํ เสมอทลี ะเล็กละนอ้ ย เพม่ิ อินทรียวตั ถใุ ห้กับดนิ โดยการปลกู พชื โดยเฉพาะพืชตระกูลถั่วในที่ วางในบริเวณ พื้นท่ีนาตามความเหมาะสม แล้วใช้อินทรียวัตถุท่ีเกิดข้ึนในระบบไร่นา ใหเ้ กดิ ประโยชน์ ตอ่ การปลกู ข้าว ไม่ควรปล่อยท่ีดินให้วางเปล่าก่อนการปลูกข้าวและหลังจากการ เก็บเกีย่ วข้าว แต่ควร ปลูกพืชคลุมดินโดยเฉพาะพืชตระกูลถ่ัว เชน่ ถัวเขียว ถัวพร้า โสน เป็นต้น ป้องกันการสูญเสียหน้าดินเน่ืองจากการชะล้าง โดยใช้วัสดุคลุม ดนิ พชื คลมุ ดิน และ ควรมกี ารไถพรวนอย่างถกู วธิ ี ควรวเิ คราะหด์ นิ นาทกุ ปี แล้วแก้ไขภาวะความเปน็ กรดเป็นด่างของ ดิน ใหเ้ หมาะสมกับการเจริญเติบโตของต้นข้าว (ประมาณ 5.5-6.5) ถ้าพบวาดินมี ความเป็นกรดสูง แนะนําให้ใชป้ ูนมาร์ล ปูนขาว หรือขเี้ ถ้าไมป้ รบั ปรุงสภาพดิน
ประมวลเนื้อหา ข้าวไรซเ์ บอร่ี อินทรีย์ เนอื้ หาชดุ ความรทู้ าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสําหรบั ดําเนนิ การ (ตอ่ ) 6.2 การใชป้ ๋ยุ อินทรยี ์ หลีกเล่ียงการใช้ปุ๋ยเคมีสังเคราะห์ทุกชนิด และพยายามแสวงหาปุ๋ย อินทรีย์จากธรรมชาติ มาใชอ้ ย่างสม่ําเสมอ แต่เนื่องจากปยุ๋ อินทรีย์ธรรมชาติแทบทุก ชนิดมีความเข้มข้นของธาตุอาหารค่อนข้างต่ําจึงต้องใช้ในปริมาณท่ีสูงมากและอาจมีไม่ พอเพียงสําหรับการปลูกข้าวอินทรีย์ และถ้าหากมีการจัดการท่ี ไม่เหมาะสมก็จะเป็น ปยุ๋ อนิ ทรีย์จากธรรมชาตทิ ่ี ควรใช้ ได้แก่ ปยุ๋ คอกหรอื ปุย๋ มลู สตั ว์ ได้แก่มลู สัตว์ตา่ งๆ ซึ่งอาจนาํ มาจากภายนอก หรือจดั การ ผลติ ข้นึ ในบริเวณไร่นา นอกจากนที้ อ้ งนาในชนบทหลงั จากเกบ็ เกี่ยว ขา้ วแลว้ มกั จะปลอ่ ยให้เป็นทเี่ ล้ยี งสัตว์ โดยใหแ้ ทะเล็มตอซังและหญ้าตา่ งๆ มลู สตั ว์ที่ ถ่าย ออกมาปะปนกบั เศษซากพชื ก็จะเปน็ การเพมิ่ อินทรยี วตั ถใุ นนาอีกทางหนงึ่ ป๋ยุ หมกั ควรจดั ทําในพื้นท่นี าหรอื บริเวณทอี่ ยูไ่ มห่ า่ งจากแปลงนามาก นกั เพ่ือความสะดวกในการใช้ ควรใช้เชอ้ื จุลนิ ทรีย์ในการทําป๋ยุ หมักเพ่อื ชว่ ยการยอ่ ย สลาย ได้เร็วข้นึ และเก็บรกั ษาใหถ้ กู ตอ้ งเพ่อื ลดการสูญเสยี ธาตอุ าหาร
ประมวลเน้อื หา ข้าวไรซ์เบอร่ี อนิ ทรยี ์ เนอ้ื หาชุดความรู้ทํามาหากิน 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสาํ หรับดาํ เนนิ การ (ตอ่ ) ปุ๋ยพืชสด ควรเลือกชนิดที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม ควรปลูก ก่อนการปักดําขา้ ว ในระยะเวลาพอสมควร เพื่อให้ต้นปยุ๋ พืชสดมีชว่ งการเจริญเติบโต เพียงพอที่ จะผลติ มวลพชื สดไดม้ าก มคี วามเขม้ ขน้ ของธาตไุ นโตรเจนสูงและไถกลบ ต้นปุ๋ยพืชสดก่อน การปลูกข้าวตามกําหนดเวลา เช่น โสนอัฟริกัน (Sesbania rostrata) ควรปลูกก่อน ปกั ดําข้าวประมาณ 70 วัน โดยใช้อัตราเมล็ดพันธ์ุ ประมาณ 7 กิโลกรัมต่อไร่ หากจําเป็นต้องใช้ปุ๋ยฟอสฟอรัสชว่ ยเร่งการเจริญเติบโต แนะนําให้ใช้หินฟอสเฟต บดละเอียด ใส่ตอนเตรียมดินปลูก แล้วไถกลบต้นโสน ขณะมีอายุประมาณ 50-55 วันหรอื กอ่ นการปกั ดําขา้ วประมาณ 15 วัน 6.3 การใชอ้ ินทรยี วัตถุบางอย่างทดแทนปยุ๋ เคมี หากปฏิบัติตามคําแนะนําเก่ียวกับการจัดการความอุดมสมบูรณ์ของดิน ข้างต้นแล้วยังพบว่า ดินมีความอุดมสมบูรณ์ไม่เพียงพอหรือขาดธาตุอาหารท่ีสําคัญ บางชนิดไป สามารถนําอินทรียวัตถุจาก ธรรมชาติต่อไปน้ี ทดแทนปุ๋ยเคมีบาง ชนิดได้คือ แหล่งธาตุไนโตรเจน: เชน่ แหนแดง สาหร่ายสีนําเงินแกมเขียว กากเมลด็ สะเดา เลอื ดสตั ว์แหง้ กระดกู ปน่ เป็นตน้
ประมวลเนือ้ หา การปลูก “ข้าวไรซ์เบอร่ี” อนิ ทรีย์ เนื้อหาชดุ ความรทู้ าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสาํ หรับดาํ เนนิ การ (ตอ่ แหล่งธาตุฟอสฟอรัส : เช่น หนิ ฟอสเฟต กระดกู ป่น มลู ไก่ มูลค้างคาว กากเมลด็ พืช ขีเ้ ถา้ ไม้ สาหร่ายทะเล เปน็ ตน้ แหล่งธาตโุ พแทสเซียม : เชน่ ขเ้ี ถ้า และหินปูน บางชนิด แหล่งธาตุแคลเซียม : เช่น ปูนขาว โดโลไมท์ เปลอื กหอย ปน่ กระดูกปน่ เป็นต้น 7. ระบบการปลกู พชื ปลูกข้าวอินทรีย์เพียงปีละคร้ัง โดยเลือกช่วงเวลาปลูกที่เหมาะสมกบข้าว แต่ละพันธุ์ และปลูกพืช หมุนเวียนโดยเฉพาะพืชตระกูลถ่ัวก่อนและหลังการปลูกข้าว อาจปลกู ข้าวอนิ ทรียร์ ่วมกบั พืชตระกูลถ่ัว กไ็ ด้ ถ้าสภาพแวดล้อมเหมาะสม 8. การควบคุมวชั พืช หลีกเลี่ยงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ทุกชนิดในการควบคุมวัชพืช แนะนํา ให้ควบคุมวัชพืชโดย วิธีกล เชน การเตรียมดินท่ีเหมาะสม วิธีการทํานาที่ลดปญั หา วัชพืช การใช้ระดับนําควบคุมวัชพืช การใช ่ ้ วัสดุคลุมดิน การถอนด้วยมือ วิธี เขตกรรมตางๆ การใชเ้ ครอ่ื งมอื รวมทงั การปลกู พืชหมนุ เวียน เปน็ ต้น
ประมวลเนือ้ หา ขา้ วไรซ์เบอรี่ อินทรยี ์ เนอื้ หาชดุ ความรทู้ ํามาหากิน 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทกั ษะสาํ หรับดําเนินการ (ต่อ) 9. การปอ้ งกนั กาํ จัดโรค แมลง และสตั ว์ศัตรพู ชื หลักการสําคญั ของการปอ้ งกนกาจดั โรคแมลง และสัตว์ศตั รขู ้าวในการ ผลติ ขา้ วอนิ ทรีย์ มดี งั นี้ ไม่ใชส้ ารสังเคราะหใ์ นการปอ้ งกันกาํ จดั โรคแมลง และสัตว์ศตั รูข้าว ทุกชนิด ใชข้ ้าวพนั ธุ์ตา้ นทาน การปฏิบัติด้านเขตกรรม เชน การเตรียมแปลง กําหนดช่วงเวลา ปลกู ทีเ่ หมาะสม ใชอ้ ตั ราเมล็ดและระยะปลูกท่ีเหมาะสม การปลูกพืชหมุนเวียนเพ่ือตัด วงจรการระบาด ของโรค แมลง และสตั ว์ศตั รขู ้าว การรักษาความอุดมสมบูรณ์ของ ดิน และสมดุล ของธาตุอาหารพืช การจัดการนํ้า เพื่อให้ต้นข้าวเจริญเติบโตดี สมบูรณ์และแข็งแรง สามารถลดการทําลายของโรคแมลงและสัตว์ศัตรูข้าวได้สวน หน่งึ การจัดการสภาพแวดล้อมไม่ให้เหมาะสมกับการระบายของโรค แมลง และสัตว์ ศัตรูข้าว เชน่ การจําจัดวัชพืช การกาจัดเศษซากพืชที่เปน็ โรคโดยใช้ปูน ขาว หรือ กามะถันผงท่ีไม่ผ่านกระบวนการทางเคมี และควรปรับสภาพดินไม่ให้ เหมาะสม กับการระบาดของโรค
ประมวลเนื้อหา ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรยี ์ เนือ้ หาชดุ ความร้ทู าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสาํ หรับดําเนินการ (ต่อ) การรักษาความสมดุลทางธรรมชาติ โดยส่งเสริมการเผยแพร่ขยาย ปรมิ าณของแมลง ทม่ี ี ประโยชน์ เชน่ ตวั หํา้ ตัวเบียน และศัตรูธรรมชาติ เพ่ือชว่ ย ควบคุมแมลงและสตั ว์ศตั รขู ้าว การปลูกพืชขบั ไลแ่ มลงบนคนั นา เช่น ตะไคร้หอม หากมีความจําเป็นอนุญาตให้ใช้สารสกัดจากพืช เช่น สะเดา ข่า ตะไครห้ อม ใบแคฝรงั่ เป็นตน้ ใช้วิธีกล เช่น ใชแ้ สงไฟล่อ ใช้กบั ดกั ใชก้ าวเหนียว ในกรณีท่ีใช้สารเคมีกาจัดควรกระทําโดยทางอ้อม เช่น นําไปผสมกับ เหยื่อล่อในกับดักแมลงหรือใช้สารพิษกําจัดสัตว์ศัตรูข้าว ซึ่งจะต้องใช้อย่างระมัดระวัง และต้อง กําจัดสารเคมีที่เหลือรวมท้ังศัตรูข้าวที่ถูกทําลายโดยเหยื่อพิษอย่างถูกวิธี หลงั จากปฏิบัติเสร็จแล้ว
ประมวลเนื้อหา ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรีย์ เนือ้ หาชุดความรูท้ าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสําหรบั ดําเนินการ (ตอ่ ) 10. จัดการนาํ้ ระดับน้ํามีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตทางลําต้น และการให้ผล ผลิตของข้าวโดยตรง ในระยะปักดําจนถึงแตกกอ ถ้าระดับนํ้าสูงมากจะทําให้ต้นข้าว สูงเพื่อหนีน้ําทําให้ต้นอ่อนแอและล้มง่าย ระยะน้ีควรรักษาระดับนํ้าให้อยู่ท่ีประมาณ 5 เซนติเมตร แต่ถ้าต้นขาดน้ําจะทําให้วัชพืชเติบโตแข่งกับต้นข้าวได้ ดังน้ันระดับน้ํา ท่ีเหมาะสมต่อการปลูกข้าวอินทรีย์ ตลอดฤดูปลูกควรเก็บรักษาไว้ท่ีประมาณ 5-15 เซนตเิ มตร จนถงึ ระยะก่อนเกบ็ เก่ยี วประมาณ 7-10 วนั จงึ ระบายนาํ ออกเพ่ือให้ข้าว สุกแก่พร้อมกนั และพื้นนาแหง้ พอเหมาะตอ่ การเกบ็ เกี่ยว 11. การจดั การก่อนและหลังการเก็บเกย่ี ว เกบ็ เก่ียวหลังข้าวออกดอก ประมาณ 30 วัน สังเกตจากเมล็ดในรวง ข้าวส่วนใหญเ่ ปลยี่ นเปน็ สีฟาง เรียกวาระยะขา้ วพลบั พลึง การตาก ขณะเก็บเกี่ยวเมล็ดข้าวมีความช้ืนประมาณ 18-24 เปอร์เซ็นต์ จําเป็นต้องลดความชน้ื ลงให้เหลือ 14 เปอร์เซ็นต์ หรือตํ่ากว่า เพ่ือให้ เหมาะสมต่อการนําไปแปรสภาพ หรือเก็บรักษา และมีคุณภาพการสีดี การตากข้าว แบงออกเป็น 2 วิธี
ประมวลเนือ้ หา ขา้ วไรซ์เบอรี่ อนิ ทรีย์ เนอื้ หาชดุ ความร้ทู าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทักษะสําหรบั ดาํ เนนิ การ (ต่อ) ตากเมล็ดข้าวเปลือกท่ีนวดจากเคร่ืองเก่ียวนวด โดยเกล่ียให้มีความหนา ประมาณ 5 เซนติเมตร ในสภาพที่แดดจัดเปน็ เวลา 1-2 วัน หมันพลิกกลับเมล็ดข้าวประมาณวันละ 3-4 คร้ัง นอกจากการตากเมล็ดบน ลานแลว้ สามารถตากเมล็ดข้าวเปลือกโดยการบรรจุกระสอบขนาดบรรจุ 40 - 60 กโิ ลกรมั ตากแดดเปน็ เวลา 5-9 วนั และพลกิ กระสอบวันละ 2 ครั้ง จะช่วยลด ความช้นื ในเมลด็ ได้เหลอื ประมาณ 14 เปอร์เซ็นต์ การตากฟ่อนข้าวแบบสุ่มซังในนา หรือแขวนประมาณ 2-3 แดด อยา่ ให้ เมล็ดขา้ ว เปยี กน้าํ หรอื เป้อื นโคลน 12. การเกบ็ รักษาผลผลติ ก่อนนําเมล็ดข้าวไปเก็บรักษา ควรลดความช้ืนให้ตํ่ากว่า 14 เปอร์เซ็นต์ และเก็บรักษาด้วยวิธีจัดสภาพแวดล้อมให้เหมาะสม เป็นต้นว่า เก็บใน ห้องที่ควบคุมอุณหภูมิ การใช้ภาชนะเก็บท่ีมิดชิดหรือ อาจใช้เทคนิคการใช้ก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์ ในการเก็บรักษา การเก็บในห้องท่ีมีอุณหภูมิต่ําจะป้องกัน การเจริญเตบิ โตของโรคและแมลงได้
ประมวลเน้ือหา ข้าวไรซเ์ บอรี่ อินทรีย์ เนอ้ื หาชดุ ความรทู้ ํามาหากิน 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทกั ษะสาํ หรับดําเนินการ (ตอ่ ) 13. การบรรจหุ ีบหอ่ ควรบรรจใุ นถงุ ขนาดเล็กต้ังแต่ 1 กโิ ลกรัมถงึ 5 กิโลกรัม โดยใชว้ ธิ ี อัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ หรือกา๊ ซเฉอื่ ย หรอื เก็บในสภาพสุญญากาศ ระบบการตรวจสอบขา้ วอนิ ทรีย์ เพ่ือให้ระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ ถูกต้องตามหลักการเกษตรอินทรีย์ และ ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ ดี ปลอดภัยจากสารพิษ จําเป็นต้องมีระบบการตรวจสอบท่ี ชัดเจน มีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับหลกั การ ของการเกษตรอนิ ทรีย์ ระบบการตรวจสอบขา้ วอินทรีย์ สามารถแบ่งได้เปน็ 2 ขัน้ ตอนสาํ คญั คอื 1. การตรวจสอบขน้ั ตอนการผลิตในไร่นา มีวัตถุประสงคเ์ พอ่ื กํากบั ดูแลใหว้ ิธีการผลิตข้าวอินทรีย์เป็นไปอย่างถูกต้อง ตามหลักการเกษตรอินทรีย์ คือ หลีกเล่ียงการใช้สารเคมีสังเคราะห์ทุกชนิดแต่ สามารถใช้สารจากธรรมชาติแทนได้ เป็นการอนุรักษ์สิงแวดล้อมและ ทรัพยากรธรรมชาติ เพอ่ื การพฒั นาคณุ ภาพชีวติ และพัฒนาการเกษตรท่ี ยงั่ ยืน
ประมวลเนอ้ื หา ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อินทรีย์ เนอ้ื หาชดุ ความรทู้ าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทกั ษะสาํ หรับดาํ เนินการ (ต่อ) 2. การตรวจสอบรับรองคณุ ภาพผลผลติ ในหอ้ งปฏิบัตกิ าร เพ่ือให้แน่ใจว่าผลผลิตที่ได้จากการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์มีคุณภาพดี ปลอดภัยจากสารพิษ สอดคล้องกบมาตรฐานท่ีกําหนดโดย FAO /WHO ใน ระบบสากลนั้นผลิตผลเกษตรอินทรีย์จะต้องผ่านการตรวจสอบท้ังขั้นตอนการผลิต และรับรอง คุณภาพผลผลิตจากหน่วยงานตรวจสอบมาตรฐานของประเทศ ซ่ึงเป็น สมาชิกสหพันธ์เคล่ือนไหวเกี่ยวกับ การเกษตรอินทรีย์ระหว่างประเทศ (International Federation of Organic Agriculture Movement – IFOAM) ปัจจุบันข้าวอินทรีย์ที่ผลิตโดยบริษัทในเครือสยามไชยวิวัฒน์ และบริษัท ในเครือนครหลวงค้าข้าว จํากัด โดยความรวมมือของกรมวิชาการเกษตร จะมีการ ตรวจสอบระบบการผลิตในไร่นา โดยนักวิชาการ และตรวจสอบรับรองคุณภาพ ผลผลติ ในห้องปฏบิ ัติการโดยกรมวชิ าการเกษตร แลว้ สง่ ผลผลิตไปยังประเทศ อิตาลี เพ่ือจําหน่ายโดยมีองค์กร Riseria Monferrato s.r.I. Vercelli ประเทศอิตาลี เปน็ ผู้ประสานงานกับ IFOAM ในการรบั รองคณุ ภาพมาตรฐานของการผลิต เพื่อให้ ระบบการผลิตข้าวอินทรีย์ในประเทศไทยมีประสิทธิภาพ ถูกต้องตามหลักเกษตร อนิ ทรีย์ คุณภาพดีได้มาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของผู้บริโภคท้ังภายในและต่างประเทศ จําเป็นต้องมีระบบการตรวจสอบควบคมุ กํากบั และรับรองคุณภาพของผลผลติ
ประมวลเนอ้ื หา ข้าวไรซ์เบอรี่ อินทรยี ์ เน้อื หาชุดความรทู้ าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทักษะสําหรับดาํ เนนิ การ (ต่อ) ทีเ่ ปน็ มาตรฐานสากล ซึ่งกรมวิชาการเกษตรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องจะได้สนับสนุน ให้มีหน่วยงาน/องค์กรประชาชน ที่ทํางานเป็นอิสระแต่สามารถตรวจสอบ ซ่ึงกัน และกัน ทําหน้าท่ีกําหนดมาตรฐาน (Standard setting) ตรวจสอบ (Inspection) และออกใบรับรอง (Certification) ผลผลิตข้าวอินทรีย์โดยรัฐเป็นผู้รับรอง (Accreditation) หน่วยงาน /องค์กรประชาชน ดังกล่าว และประสานงานกับ หนว่ ยงานในตา่ งประเทศท่เี กยี่ วขอ้ ง เชน่ IFOAM และ EEC เปน็ ตน้ ศักยภาพการผลิตขา้ วอินทรียใ์ นประเทศไทย ประเทศไทยมีศักยภาพการผลิตข้าวอินทรีย์สูงมาก เพราะมีพ้ืนที่นา ทรัพยากรน้ํา และปัจจัยแวดล้อม ทั่วไปเหมาะแก่การทํานา มีความหลากหลายของ พันธ์ุข้าวท่ีปลูก เกษตรกรไทยคุ้นเคยกับการผลิตข้าว มาหลายศตวรรษ การผลิต ขา้ วของประเทศไทยในสมัยกอ่ นเปน็ ระบบการผลติ แบบเกษตรอินทรียเ์ พราะไมมีการใช้ สารเคมีสังเคราะห์ ต่อมาในปัจจุบันถึงแม้จะมีการใช้ปุ๋ยและสารเคมีต่างๆในนาข้าว แต่ก็ยังมีใช้ในปริมาณน้อย ส่วนเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกบการผลิตข้าวอินทรีย์ใน ภูมิภาคต่างๆ ของประเทศอยู่ในระหว่างการดําเนินงานวิจัยและพัฒนาโดยจัดเป็น นโยบายเรง่ ดว่ น
ประมวลเนือ้ หา ข้าวไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรีย์ เน้ือหาชุดความรทู้ าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทักษะสําหรับดําเนนิ การ (ต่อ) จากปัจจัยแวดล้อมที่เอ้ืออํานวย ความพร้อมในด้านทรัพยากรบุคคล และ เทคโนโลยที เ่ี หมาะสม การผลิตข้าวอินทรีย์ท่ีกล่าวมาแล้วแสดงให้เห็นถึงศักยภาพการ ผลิตข้าวอินทรีย์ในประเทศ เพ่ือเป็นทางเลือก ของเกษตรกร นอกจากผลิตเพื่อ ส่งออก จําหน่ายนําเงินตราเข้าประเทศแล้ว ยังสามารถขยายการผลิตเพื่อใช้บริโภค ภายในประเทศ เพ่ือสุขอนามัยและคุณภาพชีวิตท่ีดีของคนไทย รวมถึงการลดปัญหา มลพิษท่กี าลังประสบอยู่ในภาวะในปจั จุบันอีกดว้ ย
ประมวลเนอ้ื หา ขา้ วไรซ์เบอรี่ อินทรีย์ เน้ือหาชุดความร้ทู าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทักษะสําหรับดําเนนิ การ (ตอ่ ) ปุ๋ยดินหมักชีวภาพสาํ หรบั เพาะตน้ กล้า วัสดทุ ่ใี ช้ 1. ดินแหง้ ทบุ ให้ละเอยี ด ใชด้ นิ ไดท้ กุ ชนิด 5 ส่วน 2. ปุย๋ คอกแห้งทบุ ละเอียด 2 สว่ น 3. แกลบดาํ 2 ส่วน 4. ราํ ละเอยี ด 2 สว่ น 5. ขุยมะพร้าวหรือขีเ้ ค้กอ้อย 2 ส่วน 6. น้ําเอนไซม์ 1 + นํา้ ตาล 1 + นํ้า 100 คนให้เขา้ กัน วธิ ีทาํ 1. ผสมวสั ดุทัง้ หมด คลุกเคล้าจนเข้ากันดี 2. รดด้วยน้ําเอนไซมท์ ่ีผสมแล้ว บนกองวัสดใุ ห้ความชนื้ พอประมาณ กําแล้วใช้ นิ้วดีดแตก ไม่ใหแ้ ฉะเกนิ ไป 3. เกลยี่ บนพืน้ ซีเมนตใ์ ห้กองหนาประมาณ 1 ศอก คลมุ ด้วยพลาสติก หรอื กระสอบปา่ น หมักไว้ 5 วัน จงึ นําไปใช้ได้ 4. ปุ๋ยดินหมักชีวภาพท่ดี ีจะมีราสีขาวเกดิ ขึ้น มีกลิ่นหอม สามารถเกบ็ ไว้ใช้ไดน้ าน ๆ
ประมวลเนือ้ หา ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรยี ์ เนอื้ หาชดุ ความรทู้ าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทักษะสาํ หรับดําเนินการ (ตอ่ ) ปุ๋ยดนิ หมักชวี ภาพสําหรับเพาะตน้ กล้า วิธใี ช้ 1. ผสม ป๋ยุ ดินหมกั ชีวภาพกบั ดินแห้งทบุ ละเอยี ดและแกลบดาํ อยา่ งละเท่า ๆ กัน คลุกจนเข้ากันดี เพ่ือนําไปกรอกถุง หรอื ถาดเพาะกลา้ หรือนาํ ไปใส่ในแปลง สําหรบั เพาะกลา้ จะช่วยให้ไดต้ น้ กล้าทเ่ี จริญเติบโตสมบรู ณแ์ ขง็ แรง 2. นาํ ไปเตมิ ในกระถางต้นไมด้ อกไม้ประดบั ได้ดี กระถางละ 2 กํามือ
ประมวลเนือ้ หา ข้าวไรซ์เบอรี่ อนิ ทรยี ์ เนอ้ื หาชดุ ความรู้ทาํ มาหากิน 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทกั ษะสาํ หรบั ดาํ เนนิ การ (ต่อ) การผลติ ปุ๋ยหมักแหง้ วัตถดุ ิบและอุปกรณ์ 1. นาํ้ หมกั ชีวภาพ 4 ช้อนโต๊ะ 2. กากน้าํ ตาล 4 ชอ้ นโตะ๊ 3. นํ้าสะอาด 10 ลิตร 4. แกลบดิบ 1 ป๊บี 5. ขเ้ี ถา้ แกลบ 1 ป๊ีบ 6. มูลสัตว์ (มูลโค-กระบือ-หมู-ไก่) อย่างใดอยา่ งหนง่ึ 1 ปบ๊ี 7. รําข้าว 1 ป๊บี 8. กระสอบปา่ นหรือผา้ ใบสําหรบั คลมุ กองปยุ๋ 9. ถังหรอื บัวรดนํ้า 10. กระสอบปุ๋ยสาํ หรับเก็บปยุ๋ ไว้ใชง้ าน
ประมวลเนือ้ หา ข้าวไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรยี ์ เนือ้ หาชุดความรู้ทาํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทักษะสาํ หรบั ดําเนนิ การ (ตอ่ ) การผลติ ปยุ๋ หมกั แห้ง วตั ถุดบิ และอุปกรณ์ : 1. นํา้ หมักชีวภาพ 4 ชอ้ นโตะ๊ 2. กากนํา้ ตาล 4 ช้อนโตะ๊ 3. น้าํ สะอาด 10 ลติ ร 4. แกลบดบิ 1 ปบ๊ี 5. ขเี้ ถ้าแกลบ 1 ปีบ๊ 6. มลู สตั ว์ (มูลโค-กระบือ-หมู-ไก่) อยา่ งใดอย่างหน่งึ 1 ป๊บี 7. ราํ ข้าว 1 ปี๊บ 8. กระสอบปา่ นหรอื ผา้ ใบสําหรบั คลุมกองปุ๋ย 9. ถงั หรอื บัวรดน้ํา 10. กระสอบปยุ๋ สําหรับเก็บปุ๋ยไว้ใชง้ าน
ประมวลเน้ือหา ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อินทรีย์ เนอ้ื หาชุดความรทู้ าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทกั ษะสําหรบั ดาํ เนินการ (ต่อ) การผลิตปยุ๋ หมกั แหง้ ข้นั ตอน/วิธกี ารทํา 1. เตรียมสถานท่สี ําหรับคลกุ สว่ นผสม (เป็นทรี่ ่ม) 2. ผสมน้ําหมกั ชีวภาพ+กากนํ้าตาลและน้ําสะอาด คนใหเ้ ข้ากันในถังหรอื บัว รดน้ํา 3. ผสมแกลบดบิ +ข้ีเถา้ แกลบ+มลู สัตว์+ราํ ข้าว แลว้ เกลีย่ ใหไ้ ดค้ วามหนา ประมาณ 15 เซนติเมตร 4. นาํ นํ้าหมกั ชวี ภาพท่ีผสมไวแ้ ล้ว ราดบนกองวัสดคุ ลกุ เคลา้ ให้เข้ากันแลว้ ตรวจสอบความช้นื ให้ไดป้ ระมาณ 50% 5. เกล่ียให้ไดค้ วามหนาประมาณ 15 เซนตเิ มตร คลุมดว้ ยกระสอบปา่ น หรอื ผา้ ใบ แลว้ พลิกกลับกองป๋ยุ วนั ละ 1 ครัง้ ทิ้งไวป้ ระมาณ 3 วนั อุณหภูมิ ภายในกองจะลดลงเรื่อยๆเท่ากับอณุ หภูมปิ กติ 6. นาํ ปุ๋ยทไ่ี ด้ใส่กระสอบปุ๋ยเกบ็ ไว้ในที่รม่ รอนาํ ไปใช้งานตอ่ ไป
ประมวลเน้ือหา ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรยี ์ เน้ือหาชดุ ความรูท้ ํามาหากนิ 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทกั ษะสาํ หรบั ดาํ เนินการ (ต่อ) นํา้ หมกั ชวี ภาพ วตั ถุดิบและอปุ กรณ์ 1. เศษพชื ผกั หรือเศษอาหาร 6 กโิ ลกรมั 2. กากน้ําตาล 6 กโิ ลกรมั 3. น้าํ สะอาด 20 ลติ ร 4. สารเรง่ พด.2 ครง่ึ ซอง 5. ถงั พลาสตกิ ทึบแสง 1 ใบ ขัน้ ตอน/วธิ ีการทํา 1. นําพืชผกั หรอื เศษอาหารมาสับจนละเอยี ดใสล่ งในถงั หมัก 2. นําสารเรง่ พด.2 ละลายนํา้ สะอาดและกากน้ําตาลตราอตั ราสว่ น จากนนั้ เทคลุกเคล้าให้เข้ากันกับเศษพืชผักและเศษอาหาร 3. ปดิ ฝาถงั หมักใหส้ นิทตั้งเก็บไวใ้ นทรี่ ่มใช้เวลาหมัก 45 วัน (คน1ครั้ง/ สปั ดาห์ เพื่อใหว้ ัตถุดบิ ย่อยสลายได้เรว็ ข้นึ ) กส็ ามารถนาํ ไปใช้งานได้ การนาํ ไปใช้งาน : นําน้าํ หมกั ชีวภาพ 2-4 ชอ้ นโตะ๊ ผสมกับกากนํ้าตาล 2-4 ชอ้ นโต๊ะ ผสมกับน้ําสะอาด 20 ลิตร คนใหล้ ะลายเขา้ กนั แล้วนําไปฉีดพ่น
ประมวลเน้อื หา ขา้ วไรซเ์ บอรี่ อินทรีย์ เน้อื หาชุดความร้ทู ํามาหากิน 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสาํ หรับดาํ เนินการ (ต่อ) นาํ้ คั้นสับปะรดกําจดั เพล้ยี ต่างๆในนาข้าว วัตถดุ บิ และอปุ กรณ์ 1. เมล็ดสะเดาแหง้ 1 กก. 4. น้ําสับปะรดค้นั สด 1 ลติ ร 2. น้ําเปล่า 210 ลิตร 5. น้าํ ยาล้างจาน 100 ซซี ี 3. ถงั พลาสติกแบบมฝี าปิด 1 ใบ ขนั้ ตอน/วธิ ีการทํา - กอ่ นอนื่ ให้นาํ เมล็ดสะเดาแหง้ ป่น 1 กโิ ลกรมั แชห่ มักกบั น้าํ เปลา่ 10 ลติ รทงิ้ ไว้ 1-2 คืน กรองเอาแตน่ ้าํ มาใช้ - ค้นั สบั ปะรดสดท้งั เปลือกให้ไดแ้ ตน่ ้ํารวมๆกันปริมาณ 1 ลิตร - หลังจากนั้นนํานํา้ สบั ปะรดคนั้ สด ผสมกบั น้าํ หมักเมล็ดสะเดาป่นดงั กล่าว ตาม ปรมิ าณท่ีได้ ผสมคนให้เขา้ กันแลว้ น้ําไปผสมนํ้าเปล่าอกี 200 ลติ ร เติมนํา้ ยาลา้ ง จานคนผสมลงไป 100 ซีซี สามารถนําไปใชไ้ ด้ การนาํ ไปใช้งาน : สตู รดังกลา่ วสามารถฉดี พ่นในนาข้าวได้ 5 ไร่ โดยนาํ ไปฉีดพน่ ในนาข้าวทมี่ ีการเริ่มระบาดของเพลีย้ ชนดิ ต่างๆใหท้ ั่วแปลงนา พน่ ตดิ ตอ่ กนั 3 วนั ในชว่ งตอนเยน็ จากนน้ั ให้พน่ ทุกๆ 15 วัน ปญั หาเพลยี้ ทีร่ ะบาดในนาข้าวจะหมด ไป
ประมวลเน้อื หา ข้าวไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรีย์ เน้อื หาชดุ ความรทู้ ํามาหากนิ 1. กระบวนการผลติ ความรู้/ทักษะสาํ หรบั ดําเนินการ (ต่อ) ปุ๋ยนํ้าหมกั นา้ํ ซาวข้าวบํารงุ ข้าว วตั ถดุ บิ และอปุ กรณ์ 1. น้าํ ซาวข้าว 2. เศษผกั ต่างๆ 3. เศษผลไม้ต่างๆ 4. เศษอาหารทเ่ี หลือต่างๆ ขั้นตอน/วธิ ีการทาํ - นาํ ส่วนผสมท่เี ตรียมไวม้ ารวมกนั ในถงั หมัก คนใหเ้ ข้ากนั หมกั ไวน้ าน 3 เดอื นข้นึ ไป ก็สามารถนํามาใช้ได้ โดยการกรอกเอาแตน่ ้ําหมักฉดี พน้ ในนาข้าวช่วง ตอนเย็น สปั ดาห์ละ 2 -3 คร้ัง จนกว่าจะเกบ็ เกีย่ ว
ประมวลเนอ้ื หา ขา้ วไรซ์เบอร่ี อนิ ทรยี ์ เนื้อหาชุดความรู้ทาํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทกั ษะสาํ หรบั ดําเนินการ (ตอ่ ) น้าํ หมักสมนุ ไพรกาํ จัดแมลงรบกวนนาขา้ ว วตั ถุดบิ และอปุ กรณ์ 1. สะเดา 2 กโิ ลกรมั 5. เหล้าขาว 1 ขวด 2. หางไหล 2 กิโลกรมั 6. น้ําพอทว่ ม 3. หัวกลอย 2 กโิ ลกรมั 7. ถงั หมัก 4. นํา้ ส้มควนั ไม้ 2 ลติ ร ขน้ั ตอน/วิธีการทํา นําสะเดา หางไหล หวั กลอย สบั ละเอียด แลว้ นําไปใส่ในถังหมักแลว้ เติม นาํ้ ส้มควันไม้ และนา้ํ พอทว่ มสมุนไพร แล้วปดิ ฝาถังใหแ้ นน่ หมกั ไว้ 30วัน สามารถนําไปใช้งานได้ การนําไปใช้ : เวลาใช้ควรคนให้นา้ํ หมักเข้ากนั ดี แลว้ นําน้าํ หมกั จาํ นวน 1 แกว้ ผสมกบั เหล้าขาว 1 แถว้ และนาํ้ เปล่า 1 ปบี๊ นาํ ไปฉีดพน่ แปลงนาช่วงเช้าหรือ ช่วงเยน็ ทุก ๆ 7 วนั หรือตามต้องการ
ประมวลเน้อื หา ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อินทรยี ์ เนอ้ื หาชดุ ความรทู้ าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลิต ความรู้/ทักษะสําหรับดาํ เนนิ การ (ต่อ) นา้ํ หมกั กําจดั หอยในนาข้าว วตั ถุดบิ และอุปกรณ์ 1. ฝกั คนู 10 กิโลกรมั 2. นํา้ สม้ สายชู 100 CC. 3. กากนาํ้ ตาล 2 ลิตร 4. น้ําเปลา่ 20 ลติ ร ข้นั ตอน/วธิ ีการทาํ นําส่วนผสมท้งั หมดมาหมกั ใหเ้ ข้าด้วยกนั ในถังนา้ํ หมกั วางไวใ้ นทร่ี ่ม ทิ้งไว้ ราว 30 วนั จงึ จะสามารถนาํ นํา้ มาใช้ได้ การนําไปใช้ : ให้กรองเอานํา้ หมกั มา 100 CC. ผสมกบั นา้ํ 20 ลติ ร แล้วสาดลง ไปในนาข้าวทุกแปลงทีค่ าดว่าจะมหี อยเชอร์ร่ี เพียงแคน่ ี้กจ็ ะไมพ่ บว่ามีหอยเชอร์รีเ่ ข้ามา กัดกินต้นข้าวอีกแลว้
ประมวลเน้ือหา ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรีย์ เนื้อหาชุดความรทู้ ํามาหากิน 1. กระบวนการผลิต เงินลงทุน : 1 ไร่ ใน 1 ฤดูกาล อุปกรณ์ วัตถดุ ิบ (ซ้ือครัง้ เดยี ว) (ซื้อทกุ คร้ังเมือ่ เร่มิ ฤดทู ํานา) เครื่องพ่นนํา้ หมกั ชวี ภาพ 2,500 บ. เมล็ดพันธุ์ 350 บ. เครื่องสบู นา้ํ 4,300 บ. ป๋ยุ คอก 400 บ. เสียม 80 บ. น้ํามัน 500 บ. จอบ 80 บ. ถงุ สญุ ญากาศ เคียว 60 บ. ขนาด 5*12 นิ้ว 2,700 บ. ค่าเครื่องซนี สญุ ญากาศ 2,800 บ. สติ๊กเกอร์ (640 แผน่ ) 960 บ. รวม 9,820 บ. กากนาํ้ ตาล 6 กก. 36 บ. ถังพลาสติกทึบแสง 100 บ. คา่ แรง/คา่ จ้าง รวม 5,046 บาท (จา่ ยทกุ คร้ังเมอ่ื เริ่มฤดูทาํ นา) คา่ เตรียมดนิ 1,500 บ. คา่ หว่าน 200 บ. ค่าปกั ดํา 500 บ. คา่ พน่ นํา้ หมกั ชวี ภาพ 200 บ. ค่ารถเกี่ยว 500 บ. ค่าจ้างสขี า้ ว (20กระสอบ) 400 บ. คา่ บรรจุข้าว 600 บ. คา่ ไฟฟ้า 100 บ. รวม 4,000 บ.
ประมวลเน้ือหา ข้าวไรซ์เบอรี่ อนิ ทรยี ์ เนื้อหาชดุ ความรทู้ าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลิต การจดั การกาํ ลังคน การปลูกขา้ วไรซเ์ บอรี่ อินทรีย์ สามารถดําเนินการเพยี งคน เดียวได้ เพยี งแค่มคี วามรู้ดา้ นการทาํ นาและด้านเกษตรอินทรีย์
ประมวลเนอื้ หา ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรยี ์ เนื้อหาชุดความรู้ทาํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลิต เครือ่ งมอื /อุปกรณ์ รถไถนาเดินตาม จอบ เสียม รถเกยี่ วข้าว
ประมวลเนื้อหา ข้าวไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรยี ์ เน้อื หาชุดความรทู้ าํ มาหากนิ 1. กระบวนการผลติ เครอื่ งมอื /อปุ กรณ์ เคร่ืองสูบนาํ้ เครอ่ื งพน่ น้ําหมักชวี ภาพ เคยี ว
ประมวลเนอ้ื หา ข้าวไรซเ์ บอรี่ อนิ ทรยี ์ เนื้อหาชดุ ความร้ทู าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลติ วตั ถดุ บิ เมล็ดพันธ์ุขา้ ว ตอก ปยุ๋ หมัก นํา้ หมกั ชวี ภาพ
ประมวลเน้ือหา ข้าวไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรยี ์ เน้อื หาชุดความรทู้ าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลติ กระบวนการ/ข้ันตอนในการทํา 1. การเตรียมดิน 2. กาตกกลา้ 3. การปักดาํ 4. การดูแลรักษาต้นข้าว 5. การเก็บเกี่ยวข้าว 6. การนวดข้าว 7. การตากขา้ ว 8. การเก็บรกั ษาขา้ ว 9. การบรรจุหบี ห่อ
ประมวลเนื้อหา ขา้ วไรซเ์ บอร่ี อนิ ทรีย์ เน้ือหาชุดความรทู้ ํามาหากนิ 1. กระบวนการผลิต กระบวนการ/ข้ันตอนในการทํา 1. การเตรียมดิน การเตรียมดินสําหรับปลูกข้าวแบบปักดํา ต้องมีการไถดะ การไถแปร และ การคราด - การไถดะ และไถแปร คือ การพลกิ หน้าดิน ตากดินให้แห้งตลอดจน เปน็ การคลกุ เคล้า ฟาง วัชพืช ฯลฯ ลงไปในดิน เครื่องมือที่ใช้ อาจเป็นรถ ไถเดมิ ตามจนถงึ รถแทรกเตอร์ - การคราดหรือใช้ลูก คือ การกําจัดวัชพืช ตลอดจนการทําให้ดินแตก ตัว และเป็น เทือกพร้อมที่จะปักดําได้ ขั้นตอนนี้ เป็นข้ันที่ทําต่อจาก ขั้นท่ี 1 และ ขังนํ้าไว้ระยะหนึ่ง เพ่ือให้มีสภาพดิน ที่ เหมาะสมในการคราดหรือ การใช้ลูกทูบในบางพื้นท่ีอาจมีการใช้โรตารี ปกติการไถและคราดในนาดํา มักจะใช้แรงวัว ควาย หรือแทรกเตอร์ขนาด เล็ก ท่ีเรียกว่า ควายเหลก็ หรือ ไถยนต์เดินตามท้ังนี้เป็นเพราะพ้ืนที่นาดํานั้นได้มีคันนาแบ่ง กั้นออกเป็น แปลงเลก็ ๆ คนั นามไี วส้ าํ หรบั กกั เก็บน้าํ หรือปล่อยนาํ้ ทิง้ จากแปลงนานาดํา
ประมวลเนือ้ หา ข้าวไรซ์เบอร่ี อินทรยี ์ เนื้อหาชดุ ความรู้ทํามาหากนิ 1. กระบวนการผลติ กระบวนการ/ขั้นตอนในการทาํ (ต่อ) จึงมีการบังคับน้ํา ในนา ได้บ้างพอสมควร ก่อนที่จะทําการไถจะต้องรอให้ ดนิ มคี วามชน้ื พอท่จี ะไถไดเ้ สยี กอ่ นปกติจะต้องรอ ใหฝ้ นตกจนมีนํา้ ขงั ในผนื นา หรอื ไขนํา้ เข้าไปในนาเพ่อื ทาํ ให้ดนิ เปียก 2. การตกกล้า เปน็ การเอาเมลด็ ไปหว่านให้งอกและเจริญเติบโตขึ้นมาเป็นต้นกล้า เพ่ือเอา ไป ปักดํา การเตรียมต้นกล้าให้ได้ต้นท่ีแข็งแรง เมื่อนําไปปักดําก็จะได้ข้าวที่ เจริญเตบิ โตไดร้ วดเร็วและมีโอกาสให้ผลผลติ สูง ต้นกล้าที่แข็งแรงดีต้องมีการ เจริญเติบโตและความสูงสมํ่าเสมอกันท้ังแปลงมี กาบใบส้ัน มีรากมากและ รากขนาดใหญ่ ไมม่ โี รคและแมลงทาํ ลาย - การเตรียมเมลด็ พันธ์ุ ทใี่ ช้ตกกลา้ ต้องเป็นเมล็ดพันธท์ุ ี่บริสุทธ์ิปราศจาก สิ่งเจือปนมีเปอร์เซ็นต์ความงอกสูง (ไม่ตํ่ากว่า 80 เปอร์เซ็นต์) ปราศจาก การทําลาย
ประมวลเนือ้ หา การปลูก “ข้าวไรซ์เบอร่ี” อินทรีย์ เนือ้ หาชุดความรู้ทํามาหากนิ 1. กระบวนการผลติ กระบวนการ/ขน้ั ตอนในการทาํ (ต่อ) - การแช่และหุ้มเมล็ดพันธ์ุ นําเมล็ดข้าวที่ได้เตรียมไว้บรรจุในภาชนะ นําไปแช่ในน้ําสะอาด นานประมาณ 12-24 ช่ัวโมง จากน้ันนําเมล็ดพันธุ์ ข้นึ มาวางบนพื้นท่ีน้ําไม่ขังและมีการถ่ายเทของอากาศดี นํากระสอบป่านชุบน้ํา จนชุ่มมาหุ้มเมล็ดพันธ์ุโดยรอบ รดน้ําทุกเช้าและเย็น เพื่อรักษาความชุ่มช้ืน หุ้มเมลด็ พันธุ์ไว้นานประมาณ 30-48 ช่ัวโมง เมล็ดข้าวจะงอกขนาด “ตุ่มตา (มยี อดและรากเล็กน้อยโดยรากจะยาวกวา่ ยอด) พรอ้ มทจ่ี ะนาํ ไปหว่านได้
ประมวลเนอื้ หา ข้าวไรซเ์ บอรี่ อินทรยี ์ เน้อื หาชุดความรู้ทํามาหากนิ 1. กระบวนการผลิต กระบวนการ/ข้ันตอนในการทาํ (ต่อ) 3. การปกั ดํา การปักดํา เม่ือต้นกล้ามีอายุประมาณ 25-30 วัน จากการตกกลา้ ในดิน เปียก หรือกตกกล้าในดินแห้ง ก็ จะโตพอที่จะถอนเอาไปปักดําได้ข้ันแรกให้ ถอนต้นกล้าขึ้นมาจากแปลงแล้วมัดรวมกัน เป็นมัดๆ ถ้าต้นกล้าสูงมากก็ให้ ตัดปลายใบท้ิงสําหรับต้นกล้าที่ได้มาจากการตกกล้าในดินเปียกจะต้องสลัด เอา ดินโคลนท่รี ากออกเสียดว้ ยแล้วเอาไปปักดําในพ้ืนท่ีนาท่ีได้เตรียมไว้ การ ปักดําจะต้องปักดํา ให้เป็นแถวเป็นแนวและมีระยะห่างระหว่างกอมาก พอสมควรโดยท่วั ไปแลว้ การปักดาํ มักใชต้ น้ กล้า จํานวน 3-4 ตน้ ตอ่ กอ
ประมวลเนือ้ หา ข้าวไรซ์เบอร่ี อนิ ทรีย์ เน้ือหาชดุ ความรทู้ าํ มาหากิน 1. กระบวนการผลิต กระบวนการ/ข้ันตอนในการทาํ (ต่อ) 4. การดูแลรกั ษาต้นข้าว ในระหว่างการเจริญเติบโตของต้นข้าวตั้งแต่ การปักดําต้นข้าวต้องการนํ้า และปุ๋ยสําหรับการเจริญเติบโตในระยะนี้ต้นข้าวอาจ ถูกโรคและแมลงศัตรูข้าว หลายชนิดเข้ามาทําลายต้นข้าว ผู้ปลูกจะต้องหมั่นออกไปตรวจดูต้นข้าวที่ปลูก ไว้เสมอๆ โดยแปลงกล้าและแปลงปักดําจะต้องมีการใส่ปุ๋ยมีน้ําเพียงพอกับ ความ ต้องการของต้นข้าว และพ่นยาเคมีป้องกันกําจัดโรคแมลงศัตรูข้าว นอกจากน้ีชาวนาจะต้องหม่ันกําจัดวัชพืช ในแปลงปักดําอีกด้วย เพราะวัชพืช เป็นตัวท่ีแย่งปุ๋ยไปจากตน้ ขา้ ว
Search