Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 78912_สรุปความรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

78912_สรุปความรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

Published by nick_narak_naka, 2019-08-02 11:24:26

Description: 78912_สรุปความรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา

Search

Read the Text Version

นวตั กรรมและเทคโนโลยที างการศึกษา โดย นางสาวอจั ฉรา อนิ ต๊ะวนิ รหัสนิสิต 61500776 สาขาการบริหารการศึกษา วทิ ยาลยั การศึกษา มหาวทิ ยาลยั พะเยา

คำนำ E-book เลม่ น้ีเป็นส่วนหน่ึงของกำรศึกษำวชิ ำ 176723 นวตั กรรมและเทคโนโลยสี ำรสนเทศทำงกำรศึกษำ ภำคเรียนที่ 1 ปี กำรศึกษำ 2562 หลกั สูตรกำรศึกษำมหำบญั ฑิต สำขำวชิ ำกำรบริหำร กำรศึกษำ มหำวทิ ยำลยั พะเยำ จดั ทำข้ึนเพ่ือสรุปเน้ือหำเกี่ยวกบั นวตั กรรม และเทคโนโลยที ำงกำรศึกษำ ผจู้ ดั ทำหวงั เป็นอยำ่ งยง่ิ วำ่ E-book เล่มน้ีจะเป็นประโยชน์ ต่อผทู้ ี่สนใจไม่มำกกน็ อ้ ย หำกมีขอ้ ผดิ พลำดประกำรใด ตอ้ งขออภยั ไว้ ณ ท่ีน้ีดว้ ย อจั ฉรำ อินต๊ะวิน ก

สำรบญั หน้า เร่ือง 1 13 นวตั กรรมทำงกำรศึกษำ 16 เทคโนโลยที ำงกำรศึกษำ นวตั กรรมเทคโนโลยที ำงกำรศึกษำ ข

นวตั กรรมทางการศึกษา Educational Innovation

ความหมายของนวตั กรรม นวตกรรม หรือ นวกรรม มำจำกคำวำ่ “นว” หมำยถึง ใหม่ และ “กรรม” หมำยถึง กำรกระทำ เมื่อนำสองคำน้ีมำรวมกนั เป็น นวกรรม หรือนวตกรรม หมำยถึง กำรกระทำใหม่ ๆ หรือกำรพฒั นำดดั แปลง จำกส่ิงใดๆ แลว้ ทำใหด้ ีข้ึน 2

องค์ประกอบของนวตั กรรม องคป์ ระกอบท่ีเป็นมิติสำคญั ของนวตั กรรม มีอยู่ 3 ประกำร คือ 1.ความใหม่ (Newness) หมำยถึง เป็นส่ิงใหม่ที่ถกู พฒั นำข้ึน ซ่ึง อำจเป็นตวั ผลิตภณั ฑ์ บริกำร หรือกระบวนกำร โดยจะเป็นกำร ปรับปรุงจำกของเดิมหรือพฒั นำข้ึนใหม่เลยกไ็ ด้ 2. ประโยชน์ในเชิงเศรษฐกจิ (Economic Benefits) นวตั กรรม จะตอ้ งสำมำรถทำใหเ้ กิดมูลค่ำเพ่มิ ข้ึนไดจ้ ำกกำร พฒั นำสิ่งใหม่น้นั ๆซ่ึงผลประโยชนท์ ี่จะเกิดข้ึนอำจจะวดั ไดเ้ ป็น ตวั เงินโดยตรง หรือไม่เป็นตวั เงินโดยตรงกไ็ ด้ 3. การใช้ความรู้และความคดิ สร้างสรรค์ (Knowledge and Creativity Idea) ส่ิงท่ีจะเป็นนวตั กรรมไดน้ ้นั ตอ้ งเกิดจำกกำรใช้ ควำมรู้และควำมคิดสร้ำงสรรคเ์ ป็นฐำนของกำรพฒั นำใหเ้ กิดซ้ำ ใหม่ ไม่ใช่เกิดจำกกำรลอกเลียนแบบ กำรทำซ้ำ 3

ลกั ษณะของนวัตกรรม เป็นส่ิงใหม่ท่ีไม่เคยมีผใู้ ดทำมำก่อน ส่ิงใหม่ที่เคยทำมำแลว้ ในอดีตแต่ไดร้ ับกำรร้ือฟ้ื น ข้ึนมำใหม่ สิ่งใหม่ที่มีกำรพฒั นำมำจำกของเก่ำท่ีมีอยเู่ ดิม 4

ลาดบั ข้ันการเกดิ นวตั กรรม ระยะที่ 1 ระยะที่ 2 ระยะที่ 3 มีกำรประดิษฐ์ พฒั นำกำร (Development) กำรนำเอำไป คิดคน้ มีกำรทดลองใน (Innovation) หรือ แหลง่ ทดลองจดั ทำ ปฏิบตั ิใน เป็ นกำรปรุ งแต่ง อยใู่ นลกั ษณะของ โครงกำรทดลอง สถำนกำรณ์ ของเก่ำให้ ปฏิบตั ิก่อน เหมำะสมกบั ทวั่ ไป ซ่ึงจดั วำ่ เป็นนวตั กรรมข้นั กำลสมยั สมบูรณ์ 5

กระบวนการยอมรับนวตั กรรม กระบวนการยอมรับนวัตกรรม แบ่งออกเป็ น 5 ข้นั ตอน 1) ข้นั การรับรู้ (Awareness) เป็นข้นั ของกำรที่ผรู้ ับไดร้ ับรู้ข่ำวสำรเก่ียวกบั นวตั กรรมน้นั ๆ 2) ข้นั สนใจ(Interest) เป็นข้นั ท่ีผรู้ ับนวตั กรรมเกิดควำมสนใจวำ่ จะสำมำรถ แกไ้ ขปัญหำท่ีกำลงั ประสบอยไู่ ดห้ รือไม่ 3) ข้นั การประเมนิ ผล (Evaluation) ผรู้ ับจะนำขอ้ มูลท่ีไดม้ ำพิจำรณำวำ่ จะ สำมำรถนำมำใชแกป้ ัญหำของตนไดจ้ ริงหรือไม่ 4) ข้นั ทดลอง (Trial) เมื่อพิจำรณำไตร่ตรองแลว้ มองเห็นวำ่ มีควำมเป็นไปได้ ท่ีจะช่วยแกไ้ ขปัญหำของตนได้ ผรู้ ับกจ็ ะนำเอำนวตั กรรมมำทดลองใช้ 5) ข้นั ยอมรับ (Adoption) เมื่อทดลองใชน้ วตั กรรมดงั กล่ำวแลว้ หำกไดผ้ ล เป็นท่ีพอใจนวตั กรรมดงั กล่ำวกจ็ ะเป็นที่ยอมรับนำ มำใชเ้ ป็นกำรถำวรหรือ จนกวำ่ จะเห็นวำ่ ดอ้ ยยประสิทธิภำพ หำกไม่เกิดประสิทธิภำพนวตั กรรม ดงั กลำ่ วกจ็ ะไม่ไดร้ ับกำรยอมรับจำกบุคคลน้นั อีกต่อไป 6

หลกั ในการพจิ ารณาการเป็ นนวตั กรรม 1. กำรคดั เลือกสิ่งท่ีนำมำเป็นนวตั กรรมตอ้ งเป็นส่ิงที่มีจุดเด่น สำมำรถทำงำนไดด้ ีกวำ่ เดิม 2. ตอ้ งมีกำรคดั เลือกวำ่ ส่ิงที่นำมำน้นั มีควำมเหมำะสมกบั กำร งำนน้นั ๆ 3. ในกำรท่ีจะนำอะไรสักอยำ่ งมำทำเป็นนวตั กรรม ตอ้ งมีกำร วจิ ยั วำ่ สำมำรถใชไ้ ดผ้ ลจริง 4. ส่ิงท่ีจะนำมำเป็นนวตั กรรมน้นั ตรงควำมตอ้ งกำรของผใู้ ช้ หรือไม่ ประเภทของนวตั กรรม 7 ประเภทของนวตั กรรม มี 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1. นวตั กรรมที่เป็นส่ิงใหม่หมด กค็ ือ นวตั กรรมที่ ถูกคิดคน้ ข้ึนมำใหม่หมดท้งั ระบบ และไม่เคยปรำกฏท่ีใด มำก่อน 2. นวตั กรรมที่เป็นส่ิงใหม่บำงส่วน ซ่ึงกค็ ือ นวตั กรรมท่ีอำจจะใชย้ งั ไม่ไดผ้ ลที่ดีพอจึงมีกำรนำมำ แกไ้ ขปรับปรุง ใหม้ ีประสิทธิภำพดียง่ิ ข้ึน

ความหมายของนวตั กรรมทางการศึกษา นวตั กรรมทางการศึกษา หมำยถึง ควำมคิดใหม่และ กำรกระทำสิ่งใหม่ๆ เขำ้ มำใชใ้ นระบบกำรศึกษำ ท่ีทำ ใหผ้ เู้ รียนสำมำรถเกิดกำรเรียนรู้ไดอ้ ยำ่ งรวดเร็ว มีประสิทธิภำพสูงกวำ่ เดิม เกิดเป็นแรงจูงใจในกำร เรียน และยงั ช่วยประหยดั เวลำในกำรเรียนไดด้ ียง่ิ ข้ึน เช่น กำรเรียนกำรสอนโดยใชค้ อมพวิ เตอร์ช่วยสอน กำรใชว้ ดี ีทศั น์ เชิงโตต้ อบ สื่อหลำยมิติ และ อินเตอร์เน็ต เป็นตน้ 8

ประเภทของนวตั กรรมการศึกษา ประเภทของนวตั กรรมทำงกำรศึกษำ 1. นวตั กรรมทำงกำรศึกษำท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั กำรจดั กำรศึกษำ 2. นวตั กรรมทำงกำรศึกษำที่ยดึ แนวควำมคิดพ้นื ฐำนเป็นหลกั นวตั กรรมทางการศึกษาท่ีเกยี่ วข้องกบั การจดั การศึกษา สามารถแบ่งดด้ 5 ด้านคือ 1.นวตั กรรมดำ้ นสื่อสำรกำรสอน 2. นวตั กรรมดำ้ นกำรเรียนกำรสอน 3.นวตั กรรมดำ้ นหลกั สูตร 4. นวตั กรรมดำ้ นกำรวดั และประเมินผล 5. นวตั กรรมดำ้ นกำรบริหำรจดั กำร นวตั กรรมทางการศึกษาท่ียดึ แนวความคดิ พืน้ ฐานเป็ นหลกั 9 สามารถแบ่งดด้เป็ น 4 ประเภท 1. ควำมแตกต่ำงระหวำ่ งบุคคล 2. ควำมพร้อม 3. กำรใชเ้ วลำเพื่อกำรศึกษำ 4. ประสิทธิภำพในกำรเรียน

ตัวอย่างนวตั กรรมทางการศึกษา ท่เี กยี่ วข้องกบั การจัดการศึกษา 1.นวตั กรรมด้านส่ือสารการสอน เช่น - บทเรียนคอมพวิ เตอร์ช่วยสอน - หนงั สืออิเลค็ ทรอนิค - บทเรียนCD/VCD - คู่มือกำรทำงำนกล่มุ 2. นวตั กรรมด้านการเรียนการสอน เช่น - กำรสอนแบบร่วมมือ - กำรสอนแบบอภิปรำย - วิธีสอนแบบบทบำทสมมุติ 3.นวตั กรรมด้านหลกั สูตร เช่น - หลกั สูตรสำระเพิ่มเติม - หลกั สูตรทอ้ งถ่ิน - หลกั สูตรกิจกรรมพฒั นำผเู้ รียน 4. นวตั กรรมด้านการวดั และประเมนิ ผล เช่น - กำรสร้ำงแบบวดั ต่ำงๆ - กำรสร้ำงเครื่องมือ - กำรพฒั นำคลงั ขอ้ สอบ 5. นวตั กรรมด้านการบริหารจัดการ เช่น - กำรบริหำรเชิงระบบ - กำรบริหำรเชิงกลยทุ ธ์ - กำรบริหำรเชิงบูรณำกำร 10

ทฤษฎที เี่ กย่ี วข้องกบั นวตั กรรมทางการศึกษา ทฤษฎีกำรเรียนรู้ที่นำมำใชใ้ นดำ้ นกำรศึกษำ ต้งั แต่อดีตจนถงึ ปัจจุบนั น้นั อำจสรุปไดด้ งั น้ี 1. กลุ่มพฤตกิ รรมนิยม คือ พฤติกรรมของมนุษยเ์ กิดจำกกำรตอบสนองต่อ ส่ิงเร้ำ และแสดงพฤติกรรมเหลำ่ น้นั ออกมำ 2. กล่มุ ปัญญานิยม คือเรียนรู้เป็นกระบวนกำรของจิตที่ตอ้ งมีกำรรับรู้จำก กำรกระทำ และตีควำม สำมำรถใหเ้ หตุผลจนเกิดเป็นควำมรู้ 3. ทฤษฎกี ารเรียนรู้กล่มุ คอนสตรัคตวิ สิ ต์ เป็นกำรอำศยั ประสบกำรณ์เดิม ทำงปัญญำที่มีอยเู่ ดิม 4…ทฤษฏีการสื่อสาร คือกระบวนกำรแลกเปล่ียนขอ้ มูลระหวำ่ งบุคคล โดย ใชส้ ัญลกั ษณ์ สญั ญำณ หรือพฤติกรรมที่เขำ้ ใจกนั 5. ทฤษฏีระบบ จดั เป็นสำขำวิชำท่ีเกิดข้ึนช่วงปลำยศรวรรษที่ 20 โดยอำศยั ทฤษฏีหลำยสำขำวชิ ำ โดยนำแนวคิดแต่ละวชิ ำมำประยกุ ตร์ วมกนั สร้ำง เป็ นทฤษฏีระบบข้ึนมำ 6. ทฤษฏีการเผยแพร่ เกิดจำกกำรผสมผสำนทฤษฏีหลกั กำร และควำมรู้ ควำมจริงจำกหลำนสำขำวิชำ มำเป็นนวตั กรรมของศำสตร์น้นั ๆ มำเผยแพร่ 11

แนวคดิ ทที่ าให้เกดิ นวตั กรรมทางการศึกษา 1. นวตั กรรมน้นั ถือเป็นส่ิงแปลกใหม่ จึงส่งผลโดยตรงต่อควำมทำ้ ทำย ของผทู้ ำกำรวจิ ยั ที่จะมำทำกำรวิจยั 2. ผทู้ ี่ทำกำรวิจยั ตอ้ งกำรพสิ ูจน์เพือ่ ใหเ้ ห็นผลวำ่ จะสำมำรถใชไ้ ดผ้ ล จริงหรือไม่อยำ่ งไร 3. มีเหตุปัจจยั โดยตรงจำกกำรทดลองและวจิ ยั เพื่อที่นำมำเพ่ือ แกป้ ัญหำทำงกำรศึกษำ 12

เทคโนโลยที างการศึกษา Educational Technology

ความหมายของเทคโนโลยกี ารศึกษา เทคโนโลยี หมำยถึง หลกั กำร เทคนิค วิธีกำร กระบวนกำร ตลอดจนผลงำน ทำงวทิ ยำศำสตร์มำประยกุ ตใ์ ชใ้ นระบบงำนต่ำงๆ เพ่ืองำนน้นั ๆ ดีข้ึน มีประสิทธิภำพยงิ่ ข้ึน เทคโนโลยกี ารศึกษา หมำยถึง กำรนำเอำหลกั แนวคิด วธิ ีกำรต่ำงๆ ท่ีต้งั อยบู่ นพ้ืนฐำนทำงวทิ ยำศำสตร์ มำประยกุ ตใ์ ชใ้ หก้ บั กระบวนกำรกำร จดั กำรศึกษำซ่ึงเป็นกำรส่งเสริมกำรเรียนกำรสอน และมีวตั ถปุ ระสงคเ์ พื่อ กำรเรียนที่แปลกใหม่ รวมท้งั พฒั นำตนเองอยำ่ งต่อเน่ือง องค์ประกอบของเทคโนโลยกี ารศึกษา 1. บุคลำกร 2. กำรเรียนรู้ 3. กำรพฒั นำแหลง่ กำรเรียนรู้ 4. กำรจดั กำร 14

ขอบข่ายของเทคโนโลยกี ารศึกษา 1. กำรออกแบบ คือ กำรนำเอำควำมรู้ที่มีอยมู่ ำวำงแผน 2. กำรพฒั นำ คือ กำรเปลี่ยนแปลงและแกไ้ ขกำรออกแบบ เพื่อใหม้ ี ประสิทธิภำพ 3. กำรใช้ คือ กำรนำเอำกระบวนกำรผลิตและออกแบบ กำรพฒั นำส่ือมำ ใชใ้ นกำรเรียนกำรสอนจริง 4. กำรจดั กำร คือ กำรวำงแผน กำรควบคุม กำรจดั กำรสื่อและ กระบวนกำรใชส้ ่ือใหเ้ ป็นแบบแผน 5. กำรประเมิน คือ กำรประเมินหำผลสรุปจำกงำน สร้ำงเกณฑใ์ นกำร ประเมิน วิเครำะห์หำผลสรุป และนำเอำผลที่ไดม้ ำปรับปรุงแกไ้ ข 15

นวตั กรรมเทคโนโลยที างการศึกษา

ความหมายของวัตกรรมเทคโนโลยที างการศึกษา นวตั กรรมเทคโนโลยที างการศึกษา หมำยถึง กำรนำควำมกำ้ วหนำ้ ของ วทิ ยำศำสตร์เทคโนโลยี ท้งั วสั ดุ อปุ กรณ์เคร่ืองมือเคร่ืองจกั รกลไก และ เทคนิควธิ ีกำรต่ำงๆ มำใชป้ ระกอบกำรจดั กิจกรรมกำรเรียนกำรสอน เพ่อื มุ่งหวงั ใหก้ ำรเรียนกำรสอนเกิดประสิทธิผลสูงสุดต่อผเู้ รียน ผศู้ ึกษำ ตำมจุดมุ่งหมำยและวตั ถุประสงคข์ องหลกั สูตรน้นั ๆ ความสัมพนั ธ์ระหว่างนวตั กรรมและ เทคโนโลยที างการศึกษา นวตั กรรมคือจุดเริ่มตน้ ของเทคโนโลยี เพรำะนวตั กรรมหมำยถึงสิ่งใหม่ๆ ท่ียงั อยใู่ นระหวำ่ งกำรศึกษำ วิจยั ที่ยงั ไม่ไดน้ ำเขำ้ มำใชใ้ นระบบงำนอยำ่ ง จริงจงั และเทคโนโลยกี ค็ ือ เคร่ืองมือวสั ดุต่ำงๆ ท่ีนำมำพฒั นำงำนใหม้ ี ประสิทธิภำพยง่ิ ข้ึน โดยใหค้ วำมสำคญั ในเรื่องของวธิ ีกำร กำรจดั ระบบ 17

• นวตั กรรมการศึกษา คือ แนวคิดใหม่ๆ เกี่ยวกบั กำรศึกษำ • แพร่หลายในวงการศึกษา คือ เม่ือแนวคิดใหม่เกิดข้ึนส่งผลใหแ้ พร่หลำยในวงกำร กำรศึกษำ • เทคโนโลยกี ารศึกษา คือ เม่ือแนวคิดใหม่เกิดข้ึนและมีควำมแพร่หลำยยอ่ มส่งผล ใหเ้ กิดเทคโนโลยใี หม่ๆ ในกำรศึกษำ • เกดิ ปัญหาจากความเปลยี่ นแปลงของการศึกษา คือ เมื่อเทคโนโลยใี หม่เกิดข้ึน ยอ่ มส่งผลใหก้ ำรศึกษำเปลี่ยนไปจำกเดิม • วเิ คราะห์ระบบ คือ เมื่อรูปแบบกำรศึกษำเปล่ียนไปเรำตอ้ งมำวิเครำะห์กำรจดั กำรศึกษำใหม่ใหเ้ หมำะสมกบั เทคโนโลยที ี่เกิดข้ึน • ออกแบบระบบใหม่ คือ โดยกำรนำเทคโนโลยกี ำรศึกษำมำออกแบบใหเ้ ขำ้ กบั กำรศึกษำของยคุ น้นั • ทดลองใช้ในสังคม คือ เม่ือออกแบบระบบใหม่แลว้ กต็ อ้ งทดลองใชใ้ นสงั คม ส่ิงน้นั น้ีเรียกวำ่ นวตั กรรมเทคโนโลยกี ำรศึกษำ 18

ประโยชน์ของนวตั กรรมเทคโนโลยี ทางการศึกษา ประโยชน์สาหรับผู้เรียน 1. ทำใหผ้ เู้ รียนมีโอกำสใชค้ วำมสำมำรถของตนเอง ในกำรเรียนรู้ อยำ่ งเตม็ ท่ี 2. ผเู้ รียนมีโอกำสตดั สินใจเลือกเรียนตำมช่องทำงที่เหมำะกบั ควำมสำมำรถ 3. ทำใหก้ ระบวนกำรเรียนรู้ง่ำยข้ึน 4. ผเู้ รียนมีอิสระในกำรเลือก 5. ผเู้ รียนสำมำรถเรียนรู้ในทุกเวลำ ทุกสถำนท่ี 6. ทำใหก้ ำรเรียนมีประสิทธิภำพมำกข้ึน 7. ผเู้ รียนสำมำรถเรียนรู้ไดม้ ำกกวำ่ เดิมในเวลำเท่ำกนั 8. ทำใหผ้ เู้ รียนสำมำรถเรียนรู้ไดท้ ้งั ในแนวกวำ้ งและแนวลึก 9. ช่วยใหผ้ เู้ รียนรู้จกั เสำะหำแหล่งกำรเรียนรู้ 10. ฝึกใหผ้ เู้ รียน คิดเป็นและสำมำรถแกป้ ัญหำดว้ ยตนเองได้ 20

ประโยชน์ของนวตั กรรมเทคโนโลยี ทางการศึกษา ประโยชน์สาหรับผู้สอน 1. ทำใหป้ ระสิทธิภำพของกำรสอนสูงข้ึน 2. ผสู้ อนสำมำรถจดั กิจกรรมไดห้ ลำกหลำย 3. ทำใหผ้ สู้ อนมีเวลำมำกข้ึน จึงใชเ้ วลำท่ีเหลือในกำรเตรียมกำร สอนไดเ้ ตม็ ที่ 4. ทำใหก้ ระบวนกำรสอนง่ำยข้ึน 5. ลดเวลำในกำรสอนนอ้ ยลง 6. สำมำรถเพิม่ เน้ือหำและจุดมุ่งหมำยในกำรสอนมำกข้ึน 7. ผสู้ อนลดเวลำสอนในช้นั เรียนเพรำะบทบำทส่วนหน่ึงผเู้ รียน ทำเอง 8. ผสู้ อนสำมำรถแกป้ ัญหำควำมไม่ถนดั ของตนเองได้ 9. ผสู้ อนสำมำรถสอนผเู้ รียนไดเ้ น้ือหำที่กวำ้ งและลึกซ้ึงกวำ่ เดิม 10. ง่ำยในกำรประเมิน เพรำะกำรใชเ้ ทคโนโลยี มุ่งใหผ้ เู้ รียน ประเมินตนเองดว้ ย 19




Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook