Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore new computer_basic

new computer_basic

Published by sitthisakntckk, 2018-05-03 01:14:21

Description: new computer_basic

Search

Read the Text Version

สารบญั 1 6บทท่ี 1 ประวัตแิ ละวิวัฒนาการคอมพวิ เตอร์ 7 กอ่ กาํ เนดิ ไมโครโปรเซสเซอร์ 7 ไมโครคอมพิวเตอร์เครือ่ งแรกของโลก 8 ถึงยคุ Z80 9 กาํ เนิดแอปเปล้ิ 9 9บทท่ี 2 รูจ้ กั กบั คอมพวิ เตอร์ 10 คอมพิวเตอรค์ ืออะไร 12 องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์ 13 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 14 ซอฟตแ์ วร์ (Software) 15 บคุ ลากร (People ware) 15 ข้อมูล (Data) 16 ประเภทของคอมพวิ เตอร์ 16 ซปุ เปอรค์ อมพวิ เตอร์ (Supercomputer) 17 เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ (Mainframe Computer) 17 มนิ ิคอมพิวเตอร์ (Minicomputer) 18 ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer) 19 คอมพวิ เตอรม์ อื ถอื (Handheld Computer) 19 ระบบเครอื ขา่ ยอนิ เทอร์เนต็ 19 19บทที่ 3 การบาํ รงุ รักษาเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์ 20 การทาํ ความสะอาดคอมพวิ เตอร์ 20 สาเหตุท่ีทาํ ใหเ้ คร่ืองพซี ีเกดิ ความเสยี หาย 21 ความร้อน 22 ฝ่นุ ผง 22 สนามแมเ่ หลก็ 22 สญั ญาณรบกวนในสายไฟฟา้ 23 ไฟฟา้ สถิตย์ 23 น้ําและสนิม การบํารงุ รักษาตวั เคร่อื งทวั่ ๆ ไป การบาํ รุงรกั ษา Hard Disk การบํารุงรักษา Disk Drive

สารบญั (ต่อ) 24 25 การบาํ รุงรกั ษา Inkjet & Dot-matrix Printer 26 การบํารุงรกั ษา Laser Printer 27บทท่ี 4 องคป์ ระกอบภายในของเครือ่ งคอมพวิ เตอร์ 27 เมนบอร์ด (Mainboard) 28 ซีพยี ู (CPU) 28 PCI Slot 29 AGP Slot 29 แบตเตอรี่ (Battery) 29 RAM 30 หนว่ ยความจาํ แคช (Cache) 30 ROM 31 CMOS 33 BIOS 33 พอรต์ ของ PC 31 บัส (BUS) 33 เพาเวอรซ์ ัปพลาย (Power Supply) 33บทท่ี 5 ซอฟตแ์ วร์ 35 ซอฟต์แวร์และภาษาคอมพวิ เตอร์ 36 ชนิดของซอฟต์แวร์ 38 ซอฟต์แวรร์ ะบบ 41 การจดั การปญั หาภาษาไทยใน Widows XP 43 ซอฟต์แวร์ประยุกต์ 45 พมิ พจ์ ดหมายด้วย Microsoft Word 49 คาํ นวณด้วย Microsoft Excel 51 การบบี อดั ไฟล์ดว้ ยโปรแกรม WinZip 54 การแตง่ ภาพด้วย Adobe Photoshop 56 การดูรูปสวยดว้ ยโปรแกรม ACDSee 57 การฟงั เพลงดว้ ยโปรแกรม WinAmp 58 ดหู นงั ด้วย PowerDVD ท่องอนิ เตอร์เน็ตด้วย IE (Internet Explorer)

สารบัญ (ต่อ) 60 60บทที่ 6 อนิ เทอรเ์ น็ต 61 ประวัติความเปน็ มาของอินเทอรเ์ น็ต 62 อนิ เทอร์เน็ตเชอ่ื มต่อกันได้อย่างไร 63 โปรโตคอล 65 www คอื อะไร 65 ภาษา HTML 66 รจู้ ักกบั E-mail 66 เอกสารอ้างองิ เว็บไซต์อ้างอิง 68 ภาพผนวก คําศัพท์คอมพวิ เตอรแ์ ละอนิ เทอรเ์ น็ต

1 บทที่ 1 ประวตั ิและววิ ฒั นาการของคอมพิวเตอร์ววิ ัฒนาการของคอมพวิ เตอร์ ในสมัยดึกดําบรรพ์มนุษย์ได้มีความพยายามท่ีจะคิดค้นเครื่องมือที่จะช่วยในการคํานวณ เริ่มต้นตั้งแต่การนับน้ิวมือ ก้อนหิน ลูกปัด การขีดเป็นรอยหรือสัญลักษณ์ จากกระบวนการคิดต่างๆ ได้หล่อหลอมจึงกลายมาเป็นกลไกที่ใช้ในการนับและสร้างเครื่องคํานวณที่เรียกว่าลูกคิดในอีกยุคๆ หนึ่ง และวิวัฒนาการเรอื่ ยมาเปน็ คอมพิวเตอรใ์ นปจั จุบนั • ประมาณ 2,600 ปีกอ่ นครสิ ตกาล ชาวจนี ได้ประดษิ ฐเ์ ครอื่ งมือเพอ่ื ใชใ้ นการคํานวณขึ้นมาชนิดหน่ึงเรยี กวา่ ลูกคดิ ( Abacus) ภาพท่ี 1 ลกู คดิ ( Abacus) • พ.ศ. 2158 นักคณิตศาสตร์ชาวสก็อตแลนด์ชื่อ John Napier ได้ประดิษฐ์อุปกรณ์ท่ีใช้ช่วยในการคาํ นวณขนึ้ มาเรียกวา่ Napier’s Bones เปน็ อุปกรณ์ทม่ี ีลกั ษณะคล้ายกับตารางสตู รคูณในปัจจบุ นั • พ.ศ.2173 วิลเลียม ออตเทรต( William Oughtred) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์ไม้บรรทดั คาํ นวณ ( Slide Rule) ซ่ึง ต่อมากลายเป็นพน้ื ฐานของการสร้างคอมพวิ เตอร์แบบอนาลอก • พ.ศ.2185 เบลส์ ปาสคาล ( Blaise Pascal) นักคณิตศาสตร์ชาวฝรั่งเศสได้ประดิษฐ์เครื่องบวกลบข้นึ โดยใช้หลัการหมุนของฟันเฟือง และการทดเลขเม่ือฟันเฟืองหมุน ไปครบรอบ โดยแสดงตัวเลขจาก 0-9ออกท่ีหน้าปดั ภาพท่ี 2 Pascal’s Calculato

2 • พ.ศ.2214 กอตฟริต วิลเฮล์ม ไลบ์นิซ ( Gottfried Wilhelm Leibniz ) นักคณิตศาสตร์ชาวเยอรมัน ได้ปรับปรุงเคร่ืองคิดเลขปาสคาล ให้ทํางานได้ดีกว่าเดิม และเขายังค้นพบเลขฐานสอง (Binarynumber) ภาพท่ี 3 กอตฟรติ วลิ เฮลม์ ไลบ์นซิ (Gottfried Wilhelm Leibniz) • พ.ศ.2288 โจเซฟ แมรี่ แจคคาร์ด ( Joseph Marie Jacquard) เป็นชาวฝร่ังเศสได้คิด เคร่ืองทอผ้า โดยใช้คาํ สงั่ จากบัตรเจาะรคู วบคมุ การทดผ้าใหม้ ีสแี ละลวดลายตา่ ง ๆ ภาพท่ี 4 บัตรเจาะรู • พ.ศ.2365 ชาร์ล แบบเบจ ( Charles Babbage) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษได้ประดิษฐ์เคร่ืองมือท่ีเรียกว่าเคร่ืองหาผลต่าง ( Difference Engine) เพ่ือใช้คํานวณและพิมพ์ ค่าทางตรีโกณมิติและฟังก์ชันทางคณิตศาสตร์ แบบเบจได้พยายามสร้าง เคร่ืองคํานวณอีกชนิดหน่ึงเรียกว่า Analytical Engine โดยมีแนวคิดให้แบ่งการทํางานของเครื่องออกเป็น 3 ส่วนคือ ส่วนเก็บข้อมูล (Store unit), ส่วนควบคุม(Control unit) และส่วนคํานวณ (Arithmetic unit) ซ่ึงแนวคิดนี้ได้รับการนํามาใช้เป็นต้นแบบของเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ในปจั จุบัน จึงยกยอ่ งแบบเบจ ว่าเป็นบิดาแห่งเครื่องคอมพิวเตอร์ เลด้ี เอดา ออคุสตา เลฟเลค( Lady Ada Augusta Lovelace ) เป็นนักคณิตศาสตร์ที่เข้าใจผลงานของแบบเบจ ได้เขียนวิธีการใช้เคร่ืองคํานวณของแบบเบจเพื่อแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์เล่มหน่ึง ต่อมา เลดี้ เอดา ออคุสตา เลฟเลค จึงได้รับการยกย่องวา่ เป็นโปรแกรมเมอร์คนแรกของโลก

3 ภาพท่ี 5 Differnce Engine • พ.ศ.2393 ยอร์จ บูล ( George Boole) นักคณิตศาสตร์ชาวอังกฤษ ได้คิดระบบ พีชคณิตระบบใหม่เรียกว่า Boolean Algebra โดยใช้อธิบายหลักเหตุผลทางตรรกวิทยาโดยใช้สภาวะเพียงสองอย่างคือTrue (On) และ False (Off) ร่วมกับเครื่องหมายในทางตรรกะพ้ืนฐาน ได้แก่ NOT AND และ OR ต่อมาระบบเลขฐานสอง และ Boolean Algebra ก็ได้ถูกนํามาดัดแปลงให้เข้ากับวงจรไฟฟ้า ซึ่งมีสภาวะ 2 แบบคือ เปิด , ปิด จึงนับเป็นรากฐานของการออกแบบวงจรในระบบคอมพิวเตอร์ในปัจจุบัน (DigitalComputer) • พ.ศ.2480-2481 ดร.จอหน์ วนิ เซนต์ อตานาซอฟ ( Dr.Jobn Vincent Atansoff) และ คลิฟฟอร์ดแบร่ี ( Clifford Berry) ได้ประดิษฐ์เคร่ือง ABC ( Atanasoff-Berry) ข้ึน โดยได้นําหลอดสุญญากาศมาใช้งาน ABC ถอื เป็นเคร่ืองคํานวณเครอื่ งแรกท่เี ป็นเครือ่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์ •ภาพที่ 6 ABC computer ภาพที่ 7 Atansoff ภาพท่ี 8 Berry

4 • พ.ศ.2487 ศาสตราจารย์โอเวิร์ด ไอด์เคน (Howard Aiken) แห่งมหาวิทยาลัยฮาวาร์ด ร่วมกับวิศวกรของบริษัทไอบีเอ็มได้สร้างเครื่อง MARK I เป็นผลสําเร็จ แ ต่อย่างไรก็ตามเครื่อง MARK I นี้ยังไม่ใช่คอมพิวเตอรท์ แ่ี ทจ้ ริงแต่เป็นเครื่องคิดเลขไฟฟา้ ขนาดใหญเ่ ทา่ นน้ั • พ.ศ.2485-2495 มหาวิทยาลัยเพนซิลเลเนียได้สร้างเคร่ือง ENIAC (Electronic NumericalIntegrator And Calculator) นับได้ว่าเป็นเครื่องคํานวณอิเล็กทรอนิกส์เครื่องแรกของโลกท่ีใช้หลอดสูญญากาศ และควบคุมการทาํ งานโดยวธิ ีเจาะชุดคําสงั่ ลงในบตั รเจาะรู ภาพท่ี 9 ENIAC • พ.ศ.2492 ดร.จอห์น ฟอน นิวแมนน์ ( Dr.John Von Neumann ) ได้สร้างเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่สามารถเก็บคําสั่งการปฏิบัติงานท้ังหมดไว้ภายในเคร่ือง ช่ือว่า EDVAC นับเป็นคอมพิวเตอร์เคร่ีองแรกที่สามารถเกบ็ โปรแกรม ไวใ้ นเครอ่ื งได้ ภาพที่ 10 EDVAC (first stored program computer)

5 • พ.ศ.2496-2497 บริษัทไอบีเอ็มได้สร้างคอมพิวเตอร์ช่ือ IBM 701 และ IBM 650 โดยใช้หลอดสญุ ญากาศเปน็ วัสดสุ ร้าง ตอ่ มาเกิดมกี ารพัฒนาสง่ิ ประดษิ ฐ์ทีเ่ ปน็ สารกง่ึ ตวั นําขน้ึ ที่ห้องปฏบิ ัติการของบริษัทBell Telephone ไดเ้ กิดทรานซิสเตอร์ตัวแรกข้ึน ต่อมาทรานซิสเตอร์ได้ถูกนําไปแทนหลอดสูญญากาศ จึงทําให้ขนาดของคอมพิวเตอร์เล็กลงและเกิดความร้อนน้อยลง (เคร่ืองท่ีใช้ทรานซิสเตอร์ได้แก่ IBM 1401และ IBM 1620 ) ภาพที่ 11 หลอดสูญญากาศ (Vacuum tube) ภาพท่ี 12 ทรานซีสเตอร์ (Transistor) • พ.ศ.2508 วงจรคอมพิวเตอร์มีการเปลี่ยนแปลงอีกมากเมื่อมีวงจรรวม ( Integrated Circuit: IC)เกิดข้ึน ซ่ึงไอบีเอ็มนี้ได้ถูกนําไปแทนท่ีทรานซิสเตอร์ ในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ของระบบคอมพิวเตอร์อีกคร้ังซงึ่ ผลก็คือทาํ ให้คอมพวิ เตอร์มีขนาดเล็กลง ภาพท่ี 13 IC

6 • พ.ศ.2514 บริษัท Intel ได้ใช้เทคโนโลยีของการผลิตวงจรรวมแบบ ( Large Scale IntegratedCircuit :LSI ) ทําการรวมเอาวงจรที่ใช้เป็นหน่วยประมวลผลกลาง ( CPU) ของคอมพิวเตอร์มาบรรจุอยู่ในแผ่นไอซเี พียงตวั เดียวซึ่ง ไอซีนเี้ รียกวา่ ไมโครโปรเซสเซอร์ ( Microprocessor) ภาพท่ี 14 Microprocessor • พ.ศ.2506 ประเทศไทยเร่ิมมีคอมพิวเตอร์ใช้เป็นครั้งแรก โดยท่ีคอมพิวเตอร์เครื่องแรกในประเทศไทยไดต้ ิดตัง้ ท่ี ภาควิชาสถติ ิ คณะพานชิ ยศาสตรแ์ ละการบัญชีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องนี้คือ IBM 1620 ซ่ึงได้รับมอบจากมูลนิธิเอไอดี และบริษัทไอบีเอ็ม แห่ง ประเทศไทยจํากัด ปัจจุบันหมดอายกุ ารใช้งานไปแลว้ จึงไดม้ อบใหแ้ ก่ศนู ย์บริภณั ฑก์ ารศึกษาท้องฟา้ จาํ ลองกรงุ เทพฯ • พ.ศ.2507 เครอื่ งคอมพวิ เตอรเ์ ครื่องทส่ี องของประเทศไทยติดตั้งท่ีสํานักงานสถิติแห่งชาติ ในเดือนมนี าคม 2507ก่อกําเนิดไมโครโปรเซสเซอร์ เมื่อก่อนนั้น Intel เป็นบริษัทผลิตชิปไอซีแห่งหน่ึงท่ีไม่ใหญ่โตมากนักเท่าในปัจจุบันน้ี เม่ือปีค.ศ.1969 ได้สร้างความสะเทือน ให้กับวงการอิเล็คทรอนิคส์ โดยการออกชิปหน่วยความจํา(Memory)ขนาด 1 Kbyte มาเป็นรายแรก บริษัทบิสซิคอมพ์ (Busicomp) ซึ่งเป็นผู้ผลิตเคร่ืองคิดเลขของญี่ปุ่นได้ทําการว่าจ้างให้ Intel ทําการผลิตชิปไอซี ที่บิสซิคอมพ์เป็นคนออกแบบเองท่ีมีจํานวน 12 ตัวโครงการน้ถี ูกมอบหมายใหน้ าย M.E. Hoff, Jr. ซ่งึ เข้าตัดสนิ ใจท่จี ะใชว้ ธิ กี ารออกแบบชิปแบบใหม่ โดยสร้างชิปที่ให้ถูกโปรแกรมได้ หมายถึงว่าสามารถนําเอาชุดคําสั่งของการคํานวณไปเก็บไว้ใน หน่วยความจําก่อนแล้วให้ไอซีตัวนี้อ่านเข้ามาแปล ความหมาย และทํางานภายหลังในปี 1971 Intel ได้นําผลิตภัณฑ์ออกสู่ตลาด โดยใช้ชื่อทางการค้าว่า Intel 4004 ในราคา 200 เหรียญสหรัฐ และเรียกชิปน้ีว่าเป็นไมโครโปรเซสเซอร์(Micro Processor) ก็เพราะว่า 4004 นี้เป็น CPU (Central Processing Unit) ตัวหนึ่งซึ่งมีขนาด 4.2 X 3.2 มิลลิเมตร ภายในประกอบด้วย ทรานซิสเตอร์ จํานวน 2250 ตัว และเป็นไมโครโปรเซสเซอร์ขนาด 4 บิต หลังจาก 1 ปีต่อมา Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์ ขนาด 8 บิตออกมาโดยใช้ชื่อว่า 8008 มีชุดคําสั่ง 48 คําส่ัง และอ้างหน่วยความจําได้ 16 Kbyte ซ่ึงทาง Intel หวังว่าจะเป็นตวั กระตุ้นตลาดทางด้านชิปหนว่ ยความจาํ ได้อีกทางหน่ึงเม่ือปี 1973 ทาง Intel ได้ออก ไมโครโปรเซสเซอร์8080 ทม่ี ชี ุดคําส่ังพนื้ ฐาน 74 คาํ สั่งและสามารถอา้ งหนว่ ยความจาํ ได้ 64 Kbyte

7ไมโครคอมพวิ เตอร์ เครื่องแรกของโลก เมือ่ ปี 1975 มนี ติ ยสารต่างประเทศฉบับหนึง่ ชอื่ วา่ Popular Electronics ฉบบั เดือน มกราคมได้ลงบทความ เกีย่ วกับเครอ่ื ง ไมโครโปรเซสเซอร์ เครอ่ื งแรกของโลกที่มีชื่อว่า อัลแตร์ 8800 (Altair) ซ่ึงทําออกมาเป็นชุดคิท โดยบริษัท MITS (Micro Insumentation And Telemetry Systems) ลักษณะของชดุ คิท กค็ ือ จะอยูใ่ นรปู ของอุปกรณ์แต่ละช้ินโดยให้ คุณนําไปประกอบข้ึนใช้เอง บริษัท MITS ถูกก่อตั้งเมื่อปี 1969 โดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือทําตลาดในด้านเครื่องคิดเลข แต่การค้าชลอตัวลง ประธานบริษัท ชื่อ H.Edword Roberts เห็นการไกล คิดเปิดตลาดใหม่ซ่ึงจะขายชุดคิด คอมพิวเตอร์ ประมาณเอาไว้ว่าอาจขายไดใ้ นจํานวนปลี ะ่ ประมาณ 200-300 ชุด จึงให้ทิมงานออกแบบบและพฒั นาแล้วเสรจ็ กอ่ นถงึ คริสตม์ าส ในปี1974 แต่เพิ่งมา ประกาศตัวในปีถัดไป สําหรับ CPU ที่ใช้คือ 8080 และคําว่า ไมโครคอมพิวเตอร์ จึงถูกเรียกใช้เป็นครั้งแรกเพื่อชุดคิทคอมพิวเตอร์ชุดน้ี ชุดคิทของ อัลแตร์ นี้ประกอบด้วย ไมโครโปรเซสเซอร์8080 ของบริษัท Intel มี เพาเวอรซ์ พั พลาย มแี ผงหน้าปดั ท่ตี ดิ หลอดไฟ เปน็ แถวมาให้เพื่อแสดงผล รวมถึงหน่วยความจํา 256 Byte ( แหม.. เหมือนของเล่นเราในสมัยนี้ จังงง ) นอกน้ัน ยังมี สล๊อต (Slot) ให้เสียบอุปกร์อ่ืน ๆ เพ่ิมได้ แต่ก็ทําให้ MITS ต้องผิดคาด คือ ภายใน เดือนเดียว มีจดหมายส่งเข้ามาขอส่ังซื้อเป็นจํานวนถึง 4,000 ชุดเลยทีเดียว ด้วยชิป 8080 น่ีเองได้เป็นแรงดลใจให้บริษัท ดิจิตอลรีเสิร์ช (DigitalResearch) กําเนิดระบบปฏิบัติการ(Operating System) ที่ช่ือว่า ซีพีเอ็ม(CP/M หรือ Control ProgramFor Microcomputer) ขน้ึ มา ในขณะท่ี Microsoft ยังเพ่ิงออก Microsoft Basic รุ่นแรกเท่านน้ั เองถึงยุค Z80 เม่ือเดือน พฤศจิกายนปี 1974 ได้มี วิศวกรของ Intel บางคนได้ออกมาตั้งบริษัทผลิตชิปเองโดยมีช่ือว่า ไซล๊อก (Zilog) เนื่องจาก วิศวกรเหล่านี้ ได้มีส่วนร่ามในการผลิตชิป 8080 ด้วยจึงได้นําเอาเทคโนโลยีการผลิดนีม้ าสรา้ งตวั ใหม่ท่ีดีกว่า มชี ่อื ว่า Z80 ยงั คงเป็น ชิปขนาด 8 บิต เมื่อได้ออกสู่ตลาดได้รับความนิยมเป็นอย่างมาก เนื่องจากได้ปรับปรุงข้อบกพร่องต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ใน 8080 จึงทําให้เครื่องคอมพิวเตอร์ หลายต่อหลายยี่ห้อ หันมาใช้ชิป Z80 กัน แม้แต่ซีพีเอ็ม ก็ยังถูกปรับปรุงให้มาใช้กับ Z80 นี้ด้วย *** แม้ในปัจุบันน้ี Z80 ยังคงถูกใช้งาน และนําไปใช้ ในการเรียนการสอน ไมโครโปรเซสเซอร์ ด้วยเช่น ชุดคิดหรือ Single Board Microcomputer ของ ETT, Sila เป็นต้น และ IC ตัวนี้ยังผลิตขาย อยู่ในปัจจุบัน ในราคา ไม่เกิน 100 บาท น่ะจะบอกให้) Computer เครื่องแรกของ IBM ในปี 1975 ไอบีเอ็ม ได้ออกเครอื่ งไมโครคอมพิวเตอร์ เครือ่ งแรกออกมา แตท่ างไอบีเอ็มได้เรียกเครื่องน้ีว่าเป็น เทอร์มินัลแบบชาญฉลาด ท่ีสามารถโปรแกรมได้ (Intelligent Programmable Terminal) และตั้งช่ือรุ่นว่า Model 5100 มีหน่วยความจํา 16 Kbyte แล้วยังมีตัวแปลภาษาเบสิก แบบอินเตอร์พรีทเตอร์ (Interpreter) ด้วย และมีไดรฟ์สําหรับใส่คาร์ทิดจ์เทปในตัว แต่ก็ยังขายไม่ดีเอามาก ๆ เลย เพราะว่าตั้งราคาไว้สูงมากถึง 9,000เหรียญสหัฐ ในปลายปี 1980 บริษัทไอบีเอ็มได้เกิดแผนกเล็ก ๆ ขึ้นมาแผนกหน่ึงเรียกว่า Entry SystemsDivision ภายใต้ทีมของคนช่ือว่า ดอน เอสทริดจ์ (Don Estridge) และนักออกแบบอีก 12 คน โดยได้รับมอบหมายให้พัฒนาเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์เครื่องแรกของไอบีเอ็มโมเด็ล 5100 นั้นเอง โดยนําเอาจุดเด่น

8ของเคร่ือง ท่ีขายดีมารวมไว้ในการออกแบบเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ของไอบีเอ็ม และผลิตจําหน่ายได้ภายในปีเดียวภายใต้ชื่อว่า ไอบีเอ็มพีซี (IBM PC) ซึ่งถูกเปิดตัวในเดือน สิหาคม ปี 1981 และยอดขายของเครือ่ งพซี ีก็ได้พ่งุ อย่างรวดเรว็ ทําให้บริษัทอื่น ๆ จับตามองกําเนิดแอปเปิ้ล ในปี 1976 หลังจาก Stephen Wozniak และ Steve Jobs ได้ร่วมกันก่อตั้งบริษัทแอปเปิลคอมพิวเตอร์ (Apple Computer) และได้นําเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เครื่องแรกที่ประดิษฐ์จากโรงรถออกมาขายโดยใช้ชื่อว่า Apple I ในราคา 695 เหรียญ บริษัทแอปเปิลได้ผลิตเคร่ือง Apple I ออกมาไม่มากนัก ภายในปีเดียวได้ผลิต Apple II ออกมา และรุ่นน้ีเป็นรุ่นเปิดศักราชแห่งวงการไมโครคอมพิวเตอร์และเป็นการสรา้ งมาตรฐาน ท่ไี มโครคอมพิวเตอร์ ท่ีเกิดมาตามหลังท้งั หมด

9 บทที่ 2 รู้จักกับคอมพวิ เตอร์คอมพวิ เตอร์คอื อะไร คอมพิวเตอร์มาจากภาษาละตินว่า Computare ซ่ึงหมายถึง การนับ หรือ การคํานวณพจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้ความหมายของคอมพิวเตอรไ์ ว้วา่ \"เคร่ืองอิเล็กทรอนิกส์แบบอตั โนมัติ ทาํ หนา้ ท่เี หมือนสมองกล ใช้สําหรบั แกป้ ญั หาตา่ งๆทีง่ ่ายและซบั ซอ้ นโดยวิธที างคณิตศาสตร\"์ ภาพที่ 15 ภาพตวั อย่างของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จึงเป็นเครื่องจักรอิเล็กทรอนิกส์ท่ีถูกสร้างขึ้นเพื่อใช้ทํางานแทนมนุษย์ ในด้านการคิดคํานวณและสามารถจําข้อมูล ทั้งตัวเลขและตัวอักษรได้เพ่ือการเรียกใช้งานในคร้ังต่อไป นอกจากนี้ ยังสามารถจัดการกับสัญลักษณ์ได้ด้วยความเร็วสูง โดยปฏิบัติตามข้ันตอนของโปรแกรม คอมพิวเตอร์ยังมีความสามารถในด้านต่างๆ อีกมาก อาทิเช่น การเปรียบเทียบทางตรรกศาสตร์ การรับส่งข้อมูล การจัดเก็บขอ้ มลู ในตัวเครื่องและสามารถประมวลผลจากขอ้ มูลต่างๆ ได้องคป์ ระกอบของคอมพวิ เตอร์ คอมพวิ เตอร์สามารถทาํ งานได้ดจี ะต้องมอี งค์ประกอบพน้ื ฐานดังน้ีInput System Output Unit ส่วนเกบ็ ขอ้ มูล ภาพท่ี 16 องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของคอมพวิ เตอร์

10 ในความเป็นจริงแล้ว ตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ท่ีเราเห็นๆ กันอยู่น้ีเป็นเพียงองค์ประกอบส่วนหน่ึงของระบบคอมพิวเตอร์เท่านั้น แต่ถ้าต้องการให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทํางานได้อย่างมีประสิทธิภาพตามทเี่ ราต้องการนั้น จําเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบพื้นฐาน 4 ประการมาทํางานประสานงานรว่ มกนั ซึง่ องค์ประกอบพื้นฐานของระบบคอมพวิ เตอรป์ ระกอบไปด้วย • ฮารด์ แวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่างๆ ที่ประกอบข้ึนเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ มีลักษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นด้วยตาและสัมผัสได้ (รูปธรรม) เช่น จอภาพ คีย์บอร์ด เคร่ืองพิมพ์ เมาส์ เป็นต้น ซึ่งสามารถแบ่งออกเป็นส่วนต่างๆ ตามลักษณะการทํางาน ได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับข้อมูล (Input Unit)หน่วยประมวลผลกลาง (Central Processing Unit : CPU) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยเก็บขอ้ มูลสํารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แต่ละหน่วยมหี น้าทกี่ ารทํางานแตกต่างกัน ดังภาพ ภาพที่ 17 ฮารด์ แวร์ (Hardware) ส่วนรบั ข้อมูล (Input) ประกอบดว้ ย - คยี ์บอรด์ (Keyboard) - เมาส์ (Mouse) - สแกนเนอร์ (Scanner) - ไมโครโฟน (Microphone) - ปากกาดิจติ อล (Digital Pen) - กลอ้ ง (Camera) - หนา้ จอสัมผสั (Touch Screen)

11 สว่ นส่งออกขอ้ มลู (Output) ประกอบดว้ ย - จอภาพ (Monitor) - เครื่องพมิ พ์ (Printer) - ลาํ โพง (Speaker) - เครอื่ งฉายภาพ (Data Projector) - เครือ่ งโทรสาร (Fax) ส่วนระบบคอมพวิ เตอร์ (System Unit) แบ่งได้เป็น 3 กล่มุ ประกอบดว้ ย - ซพี ียู (Central Processing Unit) ทําหน้าทคี่ ํานวณประมวลผลและสง่ั งานช้นิ ส่วนและอกุ รณ์ตา่ ง ๆ ในคอมพวิ เตอร์ - หนว่ ยความจาํ (Memory) คือที่เกบ็ ข้อมลู ในขณะท่ีคอมพิวเตอร์กาํ ลังทํางาน มีหนว่ ยความจาํ อยหู่ ลายแห่งในคอมพิวเตอร์ ไดแ้ ก่ o แรม (RAM : Random Access Memory) เปน็ หนว่ ยความจําหลัก (MainMemory) ทําหน้าทเ่ี กบ็ โปรแกรมและข้อมลู ขณะท่ีคอมพวิ เตอรก์ ําลังทํางาน สามารถเขยี นและอา่ นขอ้ มูลลงไปในแรมได้ แรมมลี ักษณะตัวเกบ็ ประจุ(Capacitor) เป็นตัวเกบ็ ข้อมูล ดังนน้ั ต้องมกี ระแสไฟฟา้ หลอ่เลยี้ งอย่ตู ลอดเวลา เม่ือปดิ เคร่ืองขอ้ มลู ที่อยู่ภายในแรมจะหายไป ภาพท่ี 18 แรม (RAM : Random Access Memory) o รอม (ROM : Read Only Memory) เปน็ หนว่ ยความจาํ ท่ีอ่านได้อยา่ งเดยี วเชน่ รอมท่ีใช้เกบ็ โปรแกรมทดสอบระบบก่อนการทาํ งานของคอมพวิ เตอร์ ภาพที่ 19 รอม (ROM : Read Only Memory)

12 - อนิ พุต/เอาต์พุต (Input/Output) หรือเรยี กย่อ ๆ วา่ I/O ทาํ หนา้ ท่ีติดตอ่ กับอุปกรณ์ ภายนอก เช่น หนา้ จอ หรอื คยี ์บอร์ด ส่วนเก็บขอ้ มลู (Storage Devices) ประกอบด้วย - แผ่นดิสก์ (Floppy Disk) - ฮาร์ดดสิ ก์ (Hard Disk) - แผน่ ซดี ี (CD หรอื Compact Disk) - แผน่ ดวี ีดี (Digital Video Disk) - หน่วยความจําแฟลช (Flash Memory) - และอ่นื ๆ อีกมากมาย ภาพท่ี 20 แผน่ ดสิ ก์ (Floppy Disk) • ซอฟตแ์ วร์ (Software) หมายถึง ส่วนที่มนุษย์สัมผัสไม่ได้โดยตรง (นามธรรม) เป็นโปรแกรมหรือชุดคําสั่งที่ถูกเขียนข้ึนเพ่ือสั่งให้เคร่ืองคอมพิวเตอร์ทํางาน ซอฟต์แวร์จึงเป็นเหมือนตัวเชื่อมระหว่างผู้ใช้เคร่ืองคอมพิวเตอร์และเครื่องคอมพิวเตอร์ ถ้าไม่มีซอฟต์แวร์เราก็ไม่สามารถใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ทําอะไรได้เลยซอฟต์แวรส์ ําหรับเครอื่ งคอมพิวเตอรส์ ามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ 1. ซอฟต์แวร์สําหรับระบบ (System Software) คือ ชุดของคําสั่งที่เขียนไว้เป็นคําส่ังสําเร็จรูป ซ่ึงจะทํางานใกล้ชิดกับคอมพิวเตอร์มากที่สุด เพื่อคอยควบคุมการทํางานของฮาร์ดแวร์ทุกอย่างและอํานวยความสะดวกให้กับผู้ใช้ในการใช้งาน ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมระบบท่ีรู้จักกันดีก็คือ DOS,Windows, Unix, Linux รวมท้ังโปรแกรมแปลคําส่ังท่ีเขียนในภาษาระดับสูง เช่น ภาษา Basic, Fortran,Pascal, Cobol, C เป็นต้น นอกจากนี้โปรแกรมที่ใช้ในการตรวจสอบระบบเช่น Norton’s Utilities ก็นับเป็นโปรแกรมสําหรบั ระบบด้วยเชน่ กัน

13 2. ซอฟต์แวร์ประยุกต์ (Application Software) คือ ซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมที่มําให้คอมพิวเตอร์ทํางานต่างๆ ตามท่ีผู้ใช้ต้องการ ไม่ว่าจะด้านเอกสาร บัญชี การจัดเก็บข้อมูล เป็นต้นซอฟตแ์ วรป์ ระยุกต์สามารถจําแนกไดเ้ ป็น 2 ประเภท คือ 2.1 ซอฟต์แวร์สําหรับงานเฉพาะด้าน คือ โปรแกรมซึ่งเขียนข้ึนเพ่ือการทํางานเฉพาะอย่างท่ีเราต้องการ บางท่ีเรียกว่า User’s Program เช่น โปรแกรมการทําบัญชีจ่ายเงินเดือนโปรแกรมระบบเช่าซ้ือ โปรแกรมการทําสินค้าคงคลัง เป็นต้น ซ่ึงแต่ละโปรแกรมก็มักจะมีเงื่อนไข หรือแบบฟอรม์ แตกต่างกนั ออกไปตามความตอ้ งการ หรือกฏเกณฑ์ของแตล่ ะหนว่ ยงานทีใ่ ช้ ซ่งึ สามารถดัดแปลงแก้ไขเพิ่มเติม (Modifications) ในบางส่วนของโปรแกรมได้ เพ่ือให้ตรงกับความต้องการของผู้ใช้ และซอฟต์แวรป์ ระยกุ ต์ท่ีเขยี นขน้ึ นโี้ ดยสว่ นใหญ่มกั ใชภ้ าษาระดบั สูงเป็นตวั พฒั นา 2.3 ซอฟต์แวร์สําหรับงานทั่วไป เป็นโปรแกรมประยุกต์ท่ีมีผู้จัดทําไว้ เพื่อใช้ในการทาํ งานประเภทตา่ งๆ ทั่วไป โดยผ้ใู ชค้ นอ่ืนๆ สามารถนําโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้กับข้อมูลของตนได้ แต่จะไม่สามารถทําการดัดแปลง หรือแก้ไขโปรแกรมได้ ผู้ใช้ไม่จําเป็นต้องเขียนโปรแกรมเอง ซ่ึงเป็นการประหยัดเวลา แรงงาน และค่าใช้จ่ายในการเขียนโปรแกรม นอกจากน้ี ยังไม่ต้องเวลามากในการฝึกและปฏิบัติ ซึ่งโปรแกรมสําเร็จรูปนี้ มักจะมีการใช้งานในหน่วยงานมราขาดบุคลากรที่มีความชํานาญเป็นพิเศษในการเขียนโปรแกรม ดังนั้น การใช้โปรแกรมสําเร็จรูปจึงเป็นส่ิงท่ีอํานวยความสะดวกและเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง ตัวอย่างโปรแกรมสําเร็จรูปที่นิยมใช้ได้แก่ MS-Office, Lotus, Adobe Photoshop, SPSS,Internet Explorer และ เกมสต์ ่างๆ เปน็ ตน้ • บุคลากร (People ware) หมายถึง บุคลากรในงานด้านคอมพวิ เตอร์ ซงึ่ มีความรเู้ กี่ยวกบั คอมพิวเตอร์ สามารถใช้งาน สง่ั งานเพือ่ ใหค้ อมพิวเตอร์ทํางานตามที่ตอ้ งการ แบ่งออกได้ 4 ระดบั ดงั น้ี 1. ผูจ้ ัดการระบบ (System Manager) คือ ผู้วางนโยบายการใช้คอมพิวเตอร์ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหน่วยงาน 2. นักวิเคราะหร์ ะบบ (System Analyst) คือ ผูท้ ศี่ ึกษาระบบงานเดิมหรอื งานใหมแ่ ละทําการวิเคราะห์ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ในการใช้คอมพิวเตอร์กับระบบงาน เพื่อให้โปรแกรมเมอร์เป็นผ่เู ขียนโปรแกรมใหก้ ับระบบงาน 3. โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้เขียนโปรแกรมสั่งงานเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพอ่ื ให้ทาํ งานตามความต้องการของผู้ใช้ โดยเขยี นตามแผนผังทนี่ ักวเิ คราะหร์ ะบบไดเ้ ขยี นไว้ 4. ผู้ใช้ (User) คือ ผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์ท่ัวไป ซึ่งต้องเรียนรู้วิธีการใช้เครื่อง และวธิ ีการใช้งานโปรแกรม เพ่ือให้โปรแกรมทม่ี ีอยู่สามารถทาํ งานไดต้ ามที่ต้องการ เนื่องจากเป็นผู้กําหนดโปรแกรมและใช้งานเครื่องคอมพิวเตอร์ มนุษย์จึงเป็นตัวแปรสําคัญในอันที่จะทําให้ผลลัพธ์มีความน่าเชื่อถือ เนื่องจากคําส่ังและข้อมูลท่ีใช้ในการประมวลผลได้รับจากการกําหนดของมนุษย์ (People ware) ทัง้ ส้นิ

14 • ขอ้ มูล (Data) ข้อมูลเป็นองค์ประกอบท่ีสําคัญอย่างหน่ึงในระบบคอมพิวเตอร์ เป็นสิ่งท่ีต้องป้อนเข้าไปในคอมพิวเตอร์ พร้อมกับโปรแกรมท่ีนักคอมพิวเตอร์เขียนข้ึนเพื่อผลิตผลลัพธ์ท่ีต้องการออกมา ข้อมูลท่ีสามารถนํามาใช้กับคอมพิวเตอร์ได้ มี 5 ประเภท คือ ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ข้อมูลตัวอักษร(Text Data) ข้อมูลเสียง (Audio Data) ข้อมูลภาพ (Images Data) และข้อมูลภาพเคลื่อนไหว (VideoData) ในการนาํ ข้อมลู ไปใชน้ นั้ เรามรี ะดบั โครงสรา้ งของข้อมูลดังน้ี โครงสร้างข้อมูล (Data Structure) บิต (Bit) คอื ข้อมลู ท่มี ขี นาดเล็กทสี่ ดุ เป็นข้อมลู ทเ่ี ครอื่ งคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจ และนําไปใช้งานได้ ซ่งึ ได้แก่ เลข 0 หรอื เลข 1 เทา่ นนั้ ไบต์ (Byte) หรอื อักขระ (Character) ได้แก่ ตัวเลข หรือ ตัวอกั ษร หรือ สญั ลกั ษณพ์ เิ ศษ 1 ตัว เชน่ 0, 1, …, 9, A, B, …, Z และเครอ่ื งหมายตา่ งๆ ซงึ่ 1 ไบต์จะเทา่ กบั 8 บติ หรือ ตวั อกั ขระ 1 ตัว เป็นตน้ ฟลิ ด์ (Field) ไดแ้ ก่ ไบต์ หรอื อกั ขระตงั้ แต่ 1 ตวั ขึ้นไปรวมกันเป็นฟิลด์ เชน่ เลขประจาํ ตัว ช่ือพนักงาน เป็นต้น เรคคอร์ด (Record) ไดแ้ ก่ ฟิลดต์ ั้งแต่ 1 ฟิลด์ ขึน้ ไป ทม่ี ีความสมั พันธเ์ ก่ยี วข้องรวมกันเป็นเรคคอร์ด เช่น ช่ือ นามสกุล เลขประจาํ ตวั ยอดขาย ข้อมูลของพนักงาน 1 คน เป็น 1 เรคคอรด์ ไฟล์ (Files) หรือ แฟม้ ข้อมลู ไดแ้ ก่ เรคคอรด์ หลายๆ เรคคอรด์ รวมกัน ซงึ่ เป็นเรื่องเดยี วกัน เช่น ขอ้ มูลของประวัตพิ นกั งานแตล่ ะคนรวมกันทงั้ หมด เปน็ ไฟล์หรอื แฟม้ ขอ้ มลู เกีย่ วกับประวัติพนักงานของบริษัท เป็นตน้ ฐานข้อมูล (Database) คอื การเกบ็ รวบรวมไฟลข์ อ้ มลู หลายๆ ไฟลท์ เ่ี กยี่ วขอ้ งกนั มารวมเขา้ ดว้ ยกนั เช่น ไฟล์ขอ้ มลู ของแผนกต่างๆ มารวมกันเปน็ ฐานข้อมลู ของบริษทั เป็นต้น ตารางที่ 1 โครงสรา้ งข้อมลู

15การวัดขนาดขอ้ มลู ในการพิจารณาวา่ ขอ้ มูลใดมขี นาดมากนอ้ ยเพียงไร เรามหี นว่ ยในการวัดขนาดของขอ้ มลูดังต่อไปนี้ 8 Bit = 1 Byte 1,024 Byte = 1 KB (กโิ ลไบต์) 1,024 KB = 1 MB (เมกกะไบต์) 1,024 MB = 1 GB (กิกะไบต)์ 1,024 GB = 1TB (เทระไบต)์ประเภทของคอมพวิ เตอร์ จาํ แนกตามขนาดและความสามารถ เปน็ การจาํ แนกประเภทของคอมพิวเตอร์ทพี่ บเห็นได้มากท่สี ุดในปจั จบุ นั ซง่ึ ความสามารถแบง่ ออกไดเ้ ป็น 5 ประเภท คอื 1. ซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) เป็นคอมพิวเตอร์ที่มีความเร็วในการประมวลผลสูงท่ีสุด บางครั้งก็เรียกว่า เครื่องคอมพิวเตอร์สมรรถนะสูง (High-performance computer) ซ่ึงเครื่องส่วนใหญ่นําไปใช้กับการทํางานเฉพาะทางที่ต้องการความเร็วในการประมวลผลอย่างมาก เช่น งานวิเคราะห์และพยากรณ์อากาศ การสํารวจอากาศงานวิเคราะหภ์ าพถ่ายดาวเทียม ภาพที่ 21 เครอ่ื ง Supercomputer

16 2. เมนเฟรมคอมพวิ เตอร์ (Mainframe Computer) เป็นเคร่ืองที่มีสมรรถนะสูงเช่นเดียวกัน แต่จะไม่เน้นความเร็วในการคํานวณเป็นหลักอย่างซุปเปอร์คอมพิวเตอร์ เคร่ืองเมนเฟรมส่วนใหญ่ผลิตมากจากบริษัทคอมพิวเตอร์ช้ันนํา เช่น ไอบีเอ็ม เครื่องคอมพวิ เตอร์ประเภทนี้สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ไดม้ าก และทําได้หลายงานพร้อม ๆ กัน เหมาะสําหรับการทํางานกับองค์กรธุรกิจหรือหน่วยงานท่ีมีบริษัทสาขาและเก่ียวข้องกับการประมวลผลในปริมาณมาก เช่น ธนาคารหรือธุรกจิ สายการบิน ภาพท่ี 22 เครอ่ื ง Main Frame Computer 3. มินคิ อมพวิ เตอร์ (Minicomputer) เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มีสมรรถนะรองลงมาจากเครื่องเมนเฟรม ส่วนใหญ่จะนําไปใช้กับบรษิ ัทธรุ กจิ หรอื หน่วยงานขนาดกลางสําหรับให้บริการแก่เครื่องลูกข่าย (client) เพ่ือให้บริการข้อมูลต่าง ๆเชน่ ใหบ้ รกิ ารแฟ้มข้อมลู (file server) ภาพท่ี 23 เครอ่ื ง Minicomputer

17 4. ไมโครคอมพวิ เตอร์ (Microcomputer) เป็นเคร่ืองคอมพิวเตอร์ที่มคี นนยิ มใช้มากทส่ี ุด เน่ืองจากมีราคมถูกและหาซื้อได้ทั่วไป มีชื่อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (PC หรือ Personal Computer) ปัจจุบันได้รับการพัฒนาขดี ความสามารถให้สงู ขน้ึ มาก มกั พบเห็นในสาํ นักงานหรือบ้านที่พกั อาศยั ทว่ั ไป เครอ่ื งคอมพิวเตอร์ประเภทน้อี าจรวมถึงคอมพิวเตอร์ประเภทเคล่อื นย้ายได้สะดวก เชน่ โน้ตบุ๊ค เดสก์โนต้ และแท็บเลต็ พซี ดี ้วย ภาพที่ 24 เครอื่ ง Microcomputer 5. คอมพิวเตอรม์ อื ถือ (Handheld Computer) เป็นคอมพิวเตอร์ท่ีมีขนาดเล็กท่ีสุดเม่ือเทียบกับคอมพิวเตอร์ประเภทอื่นๆ อีกทั้งสามารถพกพาไปยังท่ีต่างๆ ได้ง่ายกว่า ประโยชน์ของการใช้คอมพิวเตอร์ประเภทนี้อาจนําไปใช้กับการจัดการข้อมูลประจําวัน การสรา้ งปฏทิ นิ นัดหมาย การดูหนงั ฟงั เพลง เป็นต้น ภาพที่ 25 คอมพวิ เตอร์มือถอื (Handheld Computer)

18ระบบเครอื ข่ายและอนิ เทอรเ์ นต็ หมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่มีการเช่ือมต่อระหว่างเครือข่ายหลายๆ เครือข่ายท่ัวโลก โดยใช้ภาษาที่ใช้สื่อสารกันระหว่างคอมพิวเตอร์ท่ีเรียกว่า โพรโทคอล (Protocol) ผู้ใช้เครือข่ายนี้สามารถส่ือสารถึงกันได้ในหลายๆ ทาง อาทิเช่น อีเมล เว็บบอร์ด และสามารถสืบค้นข้อมูลและข่าวสารต่างๆ รวมทัง้ คัดลอกแฟ้มข้อมูลและโปรแกรมมาใชไ้ ด้ ระบบเครือข่ายแบง่ ออกไดเ้ ปน็ กล่มุ ดงั น้ี 1. พีบีเอ็กซ์ (PBX หรือ Private Branch Exchanges) เป็นเครือข่ายขนาดเล็กท่ีใช้การติดต่อผา่ นสายโทรศัพท์ 2. แลน (LAN หรือ Local-Area Networks) เป็นลักษณะการเช่ือมต่อเครือข่ายคอมพิวเตอร์ถึงกันภายในพน้ื ที่ใกล้ ๆ กัน เครือข่าย LAN ออกแบบมาเพื่อให้บริการแลกเปล่ียนข่าวสารกัน ในส่วนต่างๆขององค์กรในบริเวณท่ีไม่ไกลกนั มาก เช่นอยู่ในอาคารเดียวกัน ระหว่างช้ันอาคาร สามารถดูแลได้เองโดยไม่ตอ้ งใชร้ ะบบส่อื สารขอ้ มลู แบบอน่ื ภาพท่ี 26 ระบบเครอื ขา่ ยแลน (LAN) 3. แวน (WAN หรือ Wide-Area Networks) เป็นระบบเครือข่ายในระดับท้องถิ่นจนถึงระดับประเทศ สว่ นใหญ่พบได้กับองค์กรขนาดใหญ่ท่ีครอบคลุมเน้ือท่ีเกือบท้ังประเทศ เกิดจากการเชื่อมต่อกนั ของระบบแลน (LAN) 4. แวน (VAN หรือ Value-Area Networks) เครือข่ายตัวน้ีในองค์กรท่ีมีระบบเครือข่ายเหลอื เฟือเลยแบง่ ส่วนที่เหลือใชม้ าใชผ้ ูอ้ ื่นเชา่ ต่อ เพอื่ หารายไดเ้ ขา้ องค์กร 5. อนิ เตอร์เนต็ (Internet) เป็นเครอื ข่ายของเครอื ขา่ ยอกี ที มกี ารตดิ ต่อสารพดั รูปแบบ ท่ีใช้กันมาก ๆ คือ ผา่ นสายโทรศพั ท์ที่ต่ออยกู่ ับโมเด็ม

19 บทท่ี 3 การบํารงุ รักษาเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เม่ือใช้ไประยะหนึ่งจะมีการเส่ือมชํารุดไปตามสภาพระยะเวลาที่ใช้งาน ผู้ใช้คอมพิวเตอร์จึงควรเอาใจใส่ดูแลและบํารุงรักษาอย่างเหมาะสมสมํ่าเสมอเพื่อเพ่ิมอายุการใช้งานของเครื่องคอมพิวเตอร์ ซ่ึงจะช่วยให้สามารถประหยัดงบประมาณในการซ่อมบํารุงหรือการเปล่ียนอุปกรณ์ส่ิงแวดล้อมท่ีเหมาะสมท่ีคอมพิวเตอร์ของจะทํางานได้ดีน้ันจะต้องทําอย่างไร เช่น ในห้องคอมพิวเตอร์ควรจะมีอุณหภมู สิ งู เทา่ ไร มคี วามชนื้ ไม่เกนิ เทา่ ไร ขดี จาํ กัดของการทาํ งานเป็นอย่างไร ระยะเวลาในการทํางานของเคร่ืองเป็นอย่างไร ดังนั้นห้องทํางานด้านคอมพิวเตอร์จึงควรเป็นห้องปรับอากาศที่ปราศจากฝุ่นและความชื้น แผ่นดิสก์ที่เก็บซอฟต์แวร์และไฟล์ข้อมูลหรือสารสนเทศนั้นอาจจะเสียหายได้ถ้าหากว่าแผ่นดิสต์ได้รับการขีดข่วนได้รับความร้อนสูงหรือตกกระทบกระแทกแรง ๆ ส่ิงที่ทําลายซอฟต์แวร์ ได้แก่ ความร้อนความชน้ื ฝนุ่ ควนั และการฉดี สเปรย์พวกน้ํายาหรอื น้าํ หอมต่าง ๆ เป็นตน้การทําความสะอาดระบบคอมพิวเตอร์ 1. ไม่ควรทําความสะอาดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ขณะที่เครื่องยังเปิดอยู่ถ้าคุณจะทําความ สะอาดเครอ่ื ง ควรปดิ เครอ่ื งทง้ิ ไว้ 5 นาที ก่อนลงมือทําความสะอาด 2. อยา่ ใชผ้ ้าเปยี กหรือผ้าชมุ่ นา้ํ เชด็ คอมพิวเตอรอ์ ยา่ งเด็ดขาด ให้ใชผ้ า้ แห้ง 3. อย่าใช้สบู่ น้ํายาทําความสะอาดใด ๆ กับคอมพิวเตอร์ เพราะจะทําให้ระบบของเคร่ืองเกิดความเสยี หาย 4. ไมค่ วรฉีดสเปรย์ใด ๆ ไปที่คอมพวิ เตอร์ แป้นพมิ พ์ และอปุ กรณต์ ่าง ๆ 5. ไมค่ วรใชเ้ ครอ่ื งดูดฝนุ่ กับคอมพิวเตอร์ และอปุ กรณป์ ระกอบอนื่ ๆ 6. ถ้าคุณจําเป็นต้องทําความสะอาดเคร่ืองคอมพิวเตอร์ โปรดใช้อุปกรณ์ทําความสะอาดท่ีคู่มือแนะนาํ ไว้เท่าน้นั 7. ไม่ควรดม่ื น้าํ ชา กาแฟ เครอื่ งดมื่ ต่าง ๆ ในขณะทีใ่ ชค้ อมพิวเตอร์ 8. ไม่ควรกนิ ของคบเคย้ี วหรอื อาหารใด ๆ ขณะทํางานดว้ ยเครอ่ื งคอมพิวเตอร์สาเหตุที่ทาํ ใหเ้ ครื่องพีซเี กิดความเสียหาย 1. ความร้อน ความร้อนท่ีเป็นสาเหตุทําให้คอมพิวเตอร์มีปัญหาส่วนใหญ่เกิดจากความร้อนของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บนเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์เอง วิธีแก้ปัญหาคือจะต้องรีบระบายความร้อนที่เกิดจากอุปกรณ์ต่างๆ ออกไปให้เร็วทสี่ ุด

20 วธิ แี ก้ปัญหา - พัดลมระบายความร้อนทุกตัวในระบบต้องอยู่ในสภาพดี 100 เปอร์เซนต์ อุณหภูมิที่เหมาะสมท่สี ุดควรจะอยรู่ ะหวา่ ง 60-70 องศาฟาเรนไฮต์ - ใช้เพาเวอรซ์ ัพพลาย ในขนาดที่ถกู ต้อง - ใช้งานเคร่ืองในย่านอุณหภูมิที่ปลอดภัย อย่าตั้งอยู่ในบริเวณท่ีมีแสงแดดส่องถึงเป็นเวลานานๆ 2. ฝุน่ ผง เป็นที่ทราบดีว่าในอากาศมีฝุ่นผงกระจัดกระจายอยู่ในทุก ๆ ที่ ฝุ่นผงที่เกาะติดอยู่บนแผงวงจรของคอมพิวเตอร์ทําหน้าท่ีเสมือนฉนวนป้องกันความร้อน ทําให้ความร้อนที่เกิดขึ้นในระบบไม่สามารถระบายออกสู่สภาพแวดล้อมภายนอก นอกจากนี้อาจไปอุดตันช่องระบายอากาศของเพาเวอร์ซัพพลายหรือฮาร์ดดิสค์ หรืออาจเข้าไปอยู่ระหว่างแผ่นดิสค์กับหัวอ่าน ทําให้แผ่นดิสค์หรือหัวอ่านเกิดความเสียหายได้ วธิ ีแกไ้ ข - ควรทาํ ความสะอาดภายในเคร่อื งทุก 6 เดือน หรอื ทกุ ครงั้ ทถ่ี อดฝาครอบ - ตัวถัง หรอื ชน้ิ สว่ นภายนอกอาจใช้สเปรยท์ ําความสะอาด - วงจรภายในใหใ้ ช้ลมเปา่ และใช้แปรงขนออ่ น ๆ ปัดฝุ่นออก - อย่าสูบบุหร่ีใกล้เครื่องคอมพิวเตอร์ 3. สนามแม่เหล็ก แม่เหล็กสามารถทําให้ข้อมูลในแผ่นดิสก์หรือฮาร์ดดิสก็สูญหายได้อย่างถาวรแหล่งท่ีให้กําเนิดสนามแมเ่ หล็กในสาํ นักงานมีอย่มู ากมาหลายประเภท อาทิเช่น - แม่เหล็กติดกระดาษบนั ทึกบนต้เู ก็บแฟม้ - คลิปแขวนกระดาษแบบแมเ่ หลก็ - ไขควงหัวแมเ่ หล็ก - ลาํ โพง - มอเตอร์ในพรนิ เตอร์ - UPS วธิ แี ก้ไข ควรโยกย้ายอุปกรณท์ ีม่ กี ําลงั แมเ่ หลก็ มากๆ ใหห้ ่างจากระบบคอมพวิ เตอร์

21 4. สัญญาณรบกวนในสายไฟฟา้ สัญญาณรบกวนในสายไฟฟา้ มีหลายลักษณะ อาทเิ ชน่ - แรงดันเกิน - แรงดันตก - ทรานเชียนต์ - ไฟกระเพอ่ื ม 1. แรงดันเกนิ ในกรณีท่ีเคร่ืองได้รับแรงดันไฟฟ้าเกินจากปกติเป็นเวลานานกว่า วินาที จะมีผลทําให้อุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ภายในเครื่องเกดิ ความเสยี หายได้ 2. แรงดนั ตก ในกรณที ่ีมกี ารใชไ้ ฟฟ้ากันมากเกนิ ความสามารถในการจ่ายพลังงานไฟฟ้า จะมีผลทําให้เกิดเหตกุ ารณไ์ ฟตกไดไ้ ฟตก อาจทําใหก้ ารทาํ งานของเพาเวอร์ซพั พลายผดิ พลาดได้ เน่ืองจากเพาเวอร์ซัพพลายพยายามจ่ายพลังงานให้กับวงจรอย่างสม่ําเสมอ โดยไปเพ่ิมกระแส แต่การเพ่ิมกระแสทําให้ตัวนําเพาเวอร์ซัพพลายและอุปกรณ์ตา่ ง ๆ รอ้ นขนึ้ ซึ่งมีผลทําใหอ้ ุปกรณ์ตา่ ง ๆ เกดิ ความเสียหายได้ 3. ทรานเชยี นต์ ทรานเชียนต์ หมายถึง การที่ไฟฟ้ามีแรงดันสุง (Sags) หรือตํ่ากว่าปกติ (surge) ในช่วงระยะเวลาส้ัน ๆ ทรานเชียนต์ที่เกิดในบางครั้งจะมีความถ่ีสูงมากจนกระทั่งสามารถเคล่ือนที่ผ่านตัวเก็บประจไุ ฟฟ้าในเพาเวอร์ซพั พลายเขา้ ไปทําความเสียหายให้แกอ่ ุปกรณ์อิเลก็ ทรอนิกสไ์ ด้ 4. ไฟกระเพอื่ ม ทุกครั้งที่เปิดเครื่องใช้ไฟฟ้าจะทําให้กําลังไฟเกิดการกระเพื่อม เคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ีต้องการกระแสไฟฟ้ามาก ๆ จะทําให้ความแรงของการกระเพ่ือมมีค่ามากตามไปด้วย จากการศึกษาพบว่าการเปิดใช้งานเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละครั้งจะทําให้เกิดการกระเพ่ือมภายในเส้ียววินาทีการกระเพื่อมจะมีผลต่อทุก ๆส่วนภายในตวั เครอื่ ง รวมท้ังหวั อา่ นข้อมลู ของฮารด์ ดสิ ค์ด้วยวธิ แี ก้ไข ในกรณีไฟเกิน ไฟตก และทรานเชยี นต์ แก้ไขไดโ้ ดยการใช้เครื่องควบคมุ - กระแสไฟฟ้า หรือ ที่เรียกวา่ Stabilizer สว่ นไปกระเพอื่ ม แก้ไดโ้ ดยการลดจํานวนครงั้ ในการปดิ เปดิ เคร่ือง -

22 5. ไฟฟา้ สถิตย์ ไฟฟ้าสถิตย์สามารถเกิดขึ้นได้ทุกฤดูกาล แต่ในสภาวะท่ีอากาศแห้งจะส่งผลให้ความเป็นฉนวนไฟฟ้าสูง ประจุของไฟฟ้าสถิตย์จะสะสมอยู่เป็นจํานวนมาก และหาทางวิ่งผ่านตัวนําไปยังบริเวณที่มีศักย์ไฟฟ้าต่ํากว่า ดังน้ันเมื่อท่านไปจับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ประจุของไฟฟ้าสถิตย์จากตัวเราจะวิ่งไปยังอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เหล่าน้ันทําให้อุปกรณ์เกิดความเสียหายได้แต่ในสภาวะที่มีความชื้นสูง ไฟฟ้าสถิตย์ท่ีเกิดข้ึนจะรว่ั ไหลหายไปในระยะเวลาอนั สัน้ วธิ แี ก้ไข - ควรทําการคายประจุไฟฟ้าสถิตย์ ด้วยการจบั ตอ้ งโลหะอ่ืนทีไ่ ม่ใชต้ วั ถงั เครื่อง คอมพวิ เตอร์ ก่อนจะสัมผัสอุปกรณ์ตา่ งๆ ในระบบคอมพิวเตอร์ 6. นํา้ และสนิม นํ้าและสนิมเป็นศัตรูตัวร้ายของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทุกชนิด สนิมที่พบในเมนบอร์ดของคอมพิวเตอร์มักจะเกิดจากการร่ัวซึมของแบตเตอร่ีบนเมนบอร์ด ซ่ึงถ้าเกิดปัญหาน้ีข้ึน นั่นหมายความว่าท่านจะต้องควกั กระเปา๋ ซ้ือเมนบอร์ดตัวใหมม่ าทดแทนตวั เกา่ ท่ีต้องท้งิ ลงถังขยะสถานเดยี ว วธิ ีแกไ้ ข - หลีกเล่ยี งการนําของเหลวทกุ ชนดิ มาวางบนโต๊ะคอมพิวเตอร์ของทา่ น - กรณีการร่วั ซมึ ของแบตเตอรี่ แกไ้ ขไดโ้ ดยการเปลยี่ นแบตเตอร่ใี หม่ เม่อื เครื่องของทา่ นมีอายกุ ารใชง้ านได้ประมาณ 1-2 ปีเปน็ ต้นไป 7. การบาํ รุงรักษาตวั เครอ่ื งท่วั ๆ ไป - เคร่ืองจ่ายไฟสํารอง (UPS) ถ้ามีงบประมาณเพียงพอควรติดตั้งร่วมกับตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ ด้วยเพราะ UPS จะช่วยป้องกันและแก้ปัญหาทางไฟฟ้าไม่ว่าจะเป็นไฟตก ไฟเกิน หรือไฟกระชาก อนั เปน็ สาเหตุท่จี ะทําให้เกดิ ความเสียหายของข้อมูลและชิ้นส่วนอ่ืน ๆ - การติดตั้งตัวเคร่ืองคอมพิวเตอร์ควรติดต้ังในห้องท่ีมีเครื่องปรับอากาศ หากไม่มีควรเลือกห้องที่ปลอดฝุ่นมากท่ีสุด และการติดต้ังตัวเคร่ืองควรห่างจากผนังพอสมควรเพื่อการระบายความร้อนทดี่ ี - การต่อสาย Cable ระหว่างเคร่ืองคอมพิวเตอร์กับอุปกรณ์ต่าง ๆ เช่น Printer,Modem, Fax หรือส่วนอื่น ๆ จะตอ้ งกระทําเมือ่ power off เทา่ นน้ั - อย่าปิดหรือเปิดเครื่องบ่อย ๆ เกินความจําเป็น เพราะจะทําให้เกิดความเสียหายแก่โปรแกรมทีก่ ําลังทาํ งานอยู่

23 - ไม่เคลื่อนย้ายเครื่องคอมพิวเตอร์ขณะที่เคร่ืองทํางานอยู่ เพราะจะทําให้อุปกรณ์บางตัวเกดิ ความเสยี หายได้ - อย่าเปิดฝาเคร่ืองขณะใช้งานอยู่ ถ้าตอ้ งการเปิดตอ้ ง power off และถอดปล๊กั ไฟก่อน - ควรศึกษาจากคู่มอื กอ่ นหรอื การอบรมการใชง้ าน Software กอ่ นการใช้งาน ตัวถังภายนอกของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ส่วนใหญ่เป็นส่วนประกอบของเหล็กกับพลาสติก เมื่อใช้นาน ๆ จะมีฝุ่นและคราบรอยน้ิวมือมาติดทําให้ดูไม่สวยงามและถ้าปล่อยไว้นาน ๆ จะทําความสะอาดยากจึงควรทําความสะอาดบ่อย ๆ อย่างน้อย 1-2 เดือนต่อคร้ัง โดยใช้ผ้าชุบนํ้าหมาด ๆ เช็ดที่ตัวเครื่องหรือใช้น้ํายาทําความสะอาดเคร่ืองคอมพิวเตอร์โดยเฉพาะ และท่ีสําคัญคือควรใช้ผ้าคลุมเครื่องให้เรียบร้อยหลังเลิกใช้งานทกุ ครัง้ เพอ่ื ปอ้ งกนั ฝุ่นผงตา่ ง ๆ 8. การบํารงุ รักษา Hard Disk ฮารด์ ดสิ ก์เปน็ อปุ กรณท์ ี่มีอายยุ ืนมาก ยากจะบาํ รุงรักษาด้วยตัวเอง ผ้ใู ชค้ อมพิวเตอร์จงึ ควรระมัดระวังไม่ใหเ้ กดิ ความเสียหายซง่ึ ควรปฏิบตั ดิ งั ตอ่ ไปนี้ - การตดิ ต้ังเคร่อื งคอมพิวเตอร์ควรตดิ ตัง้ เครื่องคอมพวิ เตอร์โดยให้ด้านหลังของตวั เครือ่ งคอมพวิ เตอร์หา่ งจากฝาผนงั ไม่น้อยกวา่ 3 นว้ิ เพอ่ื การระบายความร้อน เปน็ อย่างปกติ ไมท่ าํ ให้เครื่องรอ้ นได้ - ควรเลือกใช้โตะ๊ ทาํ งานท่แี ข็งแรงป้องกันการโยกไปมาเพราะทําให้หวั อา่ นของฮาร์ดดสิ กถ์ กู กระทบกระเทือนได้ - ควรมกี ารตรวจสอบสถานภาพของ Hard Disk ดว้ ยโปรแกรม Utility ตา่ ง ๆ วา่ ยงัสามารถใช้งานไดค้ รบ 100 % หรือมสี ่วนใดของ Hard Disk ที่ใช้งานไมไ่ ด้ - 9. การบํารงุ รกั ษา Disk Drive ช่องอ่านดิสก์เมื่อทํางานไปนาน ๆ หัวอ่านแผ่นดิสก์อาจจะเสื่อมสภาพไปได้ หัวอ่านดิสก์เกิดความสกปรกเน่ืองจากมีฝุ่นละอองเข้าไปเกาะที่หัวอ่านหรือเกิดจากความสกปรกของแผ่นดิสก์ท่ีมีฝุ่น หรือคราบไขมนั จากมอื ผลที่เกดิ ข้นึ ทาํ ใหก้ ารบันทกึ หรืออา่ นข้อมลู จากแผน่ ดิสกไ์ ม่สามารถดําเนนิ การได้ การดูแลรักษา Disk Drive ควรปฏิบัตดิ ังน้ี - เลือกใช้แผ่นดสิ ก์ทีส่ ะอาดคอื ไมม่ คี ราบฝุน่ ไขมนั หรือรอยขดู ขีดใด ๆ - ใชน้ ํ้ายาลา้ งหวั อ่านดิสก์ทกุ ๆ เดือน - หลีกเล่ยี งการใชแ้ ผ่นดสิ กเ์ กา่ ทเ่ี กบ็ ไวน้ าน ๆ เพราะจะทาํ ใหห้ ัวอา่ น Disk Drive สกปรกได้งา่ ย

24 10. การบาํ รงุ รกั ษา Monitor ในส่วนของจอภาพน้นั อาจเสียหายได้เชน่ ภาพอาการเลอื่ นไหลภาพล้ม ภาพเต้นหรอื ไม่มีภาพเลย ซ่งึ ความเสยี หายดังกล่าวจะตอ้ งใหช้ ่างเทา่ นัน้ เปน็ ผู้แก้ไขผใู้ ชค้ อมพวิ เคอร์ควรระมัดระวงั โดยปฏิบัติดังนี้ - อยา่ ให้วัตถหุ รือน้าํ ไปกระทบหน้าจอคอมพิวเตอร์ - ควรเปิดไฟทีจ่ อก่อนที่สวิซไฟที่ CPU เพ่ือ boot เครื่อง - ไม่ควรปดิ ๆ เปดิ ๆ เครอ่ื งตดิ ๆ กัน เมื่อปดิ เคร่อื งแลว้ ทิ้งระยะไว้เล็กน้อยก่อน เปดิ ใหม่ - ควรปรบั ความสว่างของจอภาพให้เหมาะสมกับสภาพของห้องทาํ งาน เพราะถ้า สว่างมากเกินไปย่อมทําให้จอภาพอายุสน้ั ลง - อยา่ เปดิ ฝาหลัง Monitor ซอ่ มเอง เพราะจะเปน็ อนั ตรายจากกระแสไฟฟ้าแรงสูง - เม่ือมกี ารเปิดจอภาพทิง้ ไว้นาน ๆ ควรจะมีการเรยี กโปรแกมถนอมจอภาพ (Screen Saver) ขึน้ มาทาํ งานเพ่อื ยืดอายุการใช้งานของจอภาพ 11. การบํารงุ รกั ษา Inkjet & Dot-matrix Printer เครือ่ งพิมพเ์ ป็นอุปกรณ์ทใ่ี ชส้ าํ หรับแสดงผล รายงาน ของข้อมูลตา่ ง ๆ ทางกระดาษ การทจี่ ะใช้เคร่ืองพิมพท์ าํ งานไดเ้ ป็นปกติผู้ใชค้ อมพิวเตอรค์ วรหมัน่ ดูแลรักษาดังนี้ - รักษาความสะอาดโดยดูดฝุ่นเศษกระดาษท่ีติดอยู่ในเคร่ืองพิมพ์ทุกเดือนหรือใช้แปรงขนนุม่ ปัดฝนุ่ เศษกระดาษออกจากเคร่อื งพิมพ์ อยา่ ใชแ้ ปรงชนิดแข็งเพราะอาจทําให้เคร่อื งเป็นรอยได้ - ถ้าตัวเครื่องพิมพ์มีความสกปรกอาจ ใช้ผ้านุ่มหรือฟองน้ําชุบน้ํายาทําความสะอาดเครื่องใช้สํานักงานเช็ดถูส่วนที่เป็นพลาสติก แต่ต้องระมัดระวังอย่าใช้น้ําเข้าตัวเคร่ืองพิมพ์ได้และควรหลีกเลีย่ งการใช้น้าํ มันหล่อลืน่ ทกุ ชนดิ ในตวั เครอ่ื ง เพราะอาจทําให้ระบบกลไกเสียหายได้ - ก่อนพิมพ์ทุกครั้งควรปรับความแรงของหัวเข็มให้พอเหมาะกับความหนาของกระดาษ - ระหว่างพิมพ์ควรระวังหัวพิมพ์จะติดกระดาษ เช่น การพิมพ์ซองจดหมาย หรือกระดาษทม่ี คี วามหนาหรอื บางเกินไป - อย่าถอดหรือเสียบสาย Cable ในขณะท่ีเคร่ืองพิมพ์ หรือเคร่ืองคอมพิวเตอร์กําลังทํางานอยู่ - ไม่ควรพิมพ์กระดาษติดต่อกันนานเกินไป เพราะอาจทําให้หัวอ่านร้อนมากทําให้เคร่อื งชะงักหยดุ พิมพ์กระดาษ - เมือ่ เลกิ พิมพ์งานควรนํากระดาษออกจากถาดกระดาษและชอ่ งนาํ กระดาษ

25 - ไม่ควรใช้กระดาษไข (Stencil Paper) แบบธรรมดากับเคร่ืองพิมพ์ประเภทแบบกระแทก (Dot-matrix Printer) เนื่องจากเศษของกระดาษไขอาจจะไปอุดตันเข็มพิมพ์ อาจทําให้เข็มพิมพ์อาจหักได้ ควรใช้กระดาษไขสาํ หรับเครือ่ งพิมพแ์ ทนเพ่อื ป้องกันการชํารุดของเฟืองทใี่ ชห้ มุนกระดาษ 12. การบาํ รงุ รกั ษา Laser Printer Laser Printer เปน็ เครื่องพิมพ์ที่มีประสิทธิภาพสูง สามารถพิมพ์ภาพได้อย่างคมชัดมากมีความละเอยี ดสวยงาม แตร่ าคาค่อนข้างสงู ผู้ใช้คอมพิวเตอรจ์ งึ ควรระมัดระวงั ในการใช้งานแม้ว่าโอกาสจะเสียหายมีนอ้ ยกต็ าม ขอ้ ควรปฏิบตั ดิ ังน้ี - การเลือกใช้กระดาษไม่ควรใช้กระดาษที่หนาเกินไปเพราะจะทําให้กระดาษติดเครื่องพิมพ์ได้ - ควรกรีดกระดาษให้ดีอย่าให้กระดาษติดกันเพราะอาจจะเป็นสาเหตุหน่ึงท่ีทําให้กระดาษติดในตัวเครื่องพมิ พไ์ ด้ - การใช้พมิ พ์ Laser Printer พิมพ์ลงในแผน่ ใสต้องเลือกใช้แผ่นใสท่ีใช้ถ่ายเอกสารได้เท่านั้นหากใช่แผ่นใสแบบธรรดาซึ่งไม่สามารถทนความร้อนได้อาจจะหลอมละลายติดเครื่องพิมพ์ทําให้เกิดความเสียหายได้ ภาพท่ี 27 Brother Laser Printer DCP-7030

26 บทท่ี 4 องค์ประกอบภายในเครอ่ื งคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์ถ้ามองจากภายนอกจะเห็นเป็นกล่องสี่เหลี่ยมธรรมดา โดยปุ่มควบคุมจะส่วนมากจะอยูด่ ้านหน้าของตวั เครื่อง ดสิ กไ์ ดรฟ์ ซีดีไดรฟ์ ปมุ่ เปดิ -ปดิ ภาพที่ 28 รปู ตัวเครอ่ื งหรอื ซีพียภู ายนอก สว่ นอปุ กรณ์ภายในประกอั บไปดว้ ยช้นิ ส่วนมากมายซ่งึ เปน็ ตัวขบั เครื่องใหเ้ ครอื่ งคอมพิวเตอร์สามารถทาํ งานได้พดั ลมระบายอากาศ เมนบอร์ด ซพี ียูเพาเวอร์ซัปพลาย ภาพท่ี 29 ส่วนประกอบข้างในเครอ่ื งคอมพวิ เตอร์

27เมนบอร์ด (Mainboard) ถอื วา่ เปน็ ชิน้ ส่วนสําคัญของคอมพิวเตอร์ เพราะเปน็ แผน่ ของแผงวรจรทั้งหมด โดยอุปกรณ์ชิ้นสว่ นอีเล็กทรอนกิ สเ์ กือบท้ังหมดถกู ตดิ ตั้งไว้ในเมนบอรด์ รวมไปถงึ ซีพีอยดู่ ว้ ย ซึ่งมีสว่ นสําคญั อย่างยงิ่ ในระบบคอมพิวเตอร์PCI Slot CPU AGP Slot RAM Slot ถ่านนาฬกิ า ภาพที่ 30 เมนบอร์ด 1. ซพี ยี ู (CPU) CPU ย่อมาจาก Central Processing Unit คือ หน่วยประมวลผลกลาง หรือฎเรียกอีกช่ือหน่ึงว่าโปรเซสเซอร์ (Processor) หรือ ชิป (Chip) CPU มีลักษณะเป็นชิปตัวเล็ก ๆ ตัวหนึ่ง ภายใน CPU จะประกอบไปดว้ ยวงจรอิเลก็ ทรอนิกสจ์ ํานวนมากมายมหาศาล ซึ่งไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่า CPU จะทําหน้าที่คํานวณตัวเลขจากชุดคําสั่งที่ผู้ใช้ป้อนโปรแกรมเข้าไปแล้ว CPU จะไปอ่านชุดคําสั่งมาแปลความหมาย และทําการคํานวณ เมอื่ ได้ผลลพั ธก์ จ็ ะส่งผลลัพธอ์ อกไปแสดงผลทางหน้าจอ ภาพที่ 31 ซีพยี ู

282. PCI Slot เป็นช่องสาํ หรับเสยี บอุปกรณ์ท่จี ะชว่ ยซพี ยี ทู ํางาน เช่น แลนการ์ด LAN (Local Area Network)ซาวด์การด์ เป็นตน้ ซง่ึ ทง้ั หมดนจ้ี ะเปน็ อปุ กรณแ์ ยกช้ินท่ใี ชใ้ ส่เข้าไปใน slot โดยปจั จบุ ัน slot ส่วนใหญ่บนเมนบอรด์ จะเป็นแบบ PCIPCI Slot AGP Slot ภาพที่ 32 แสดงส่วนของ PCI slot และ AGP slot 3. AGP slot ถูกออกแบบมาสําหรับการด์ แสดงผล สําหรบั ผู้ใช้ทีต่ ้องการความละเอียดเป็นกรณีพิเศษกส็ ามารถใส่ช้ินส่วนการด์ แสดงผลลงไปท่ี AGP slot นไี้ ด้ ภาพท่ี 33 การด์ จอ หรือการ์ดแสดงผล 4. RAM Slot (ชอ่ งเสยี บ RAM) ใช้เป็นช่องสําหรับเสียบชิ้นส่วนท่ีเรียกว่า แรม หรือ (random access memory: RAM) เป็นหน่วยความจําหลกั ทีใ่ ชใ้ นระบบคอมพวิ เตอรย์ ุคปัจจุบนั

29 5. แบตเตอรี่ (Battery) แบตเตอรหี่ รือถา่ นนาฬกิ า เป็นตัวควบคุมวันเดอื นปี เวลาของเคร่อื งคอมพิวเตอร์ โดยท่ัวไปแลว้ จะมีอายรุ าวๆ 3 - 4 ปี ถา่ นก็จะเรมิ่ อ่อน ภาพท่ี 34 battery 6. RAM แรม หรือ หน่วยความจําเข้าถึงโดยสุ่ม (random access memory: RAM) เป็นหน่วยความจําหลัก ท่ีใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ยุคปัจจุบัน หน่วยความจําชนิดน้ี อนุญาตให้เขียนและอ่านข้อมูลได้ในตําแหน่งต่างๆ อย่างอิสระ และรวดเร็วพอสมควร ซึ่งต่างจากส่ือเก็บข้อมูลชนิดอื่นๆ อย่างเทป หรือดิสก์ ท่ีมีขอ้ จาํ กดั ในการอ่านและเขยี นขอ้ มูล ทต่ี อ้ งทาํ ตามลาํ ดบั กอ่ นหลงั ตามทจี่ ดั เก็บไว้ในส่ือ หรือมีข้อกําจัดแบบรอม ท่ีอนุญาตใหอ้ ่านเพยี งอยา่ งเดยี ว ภาพที่ 35 หนว่ ยความจําแรม 7. หน่วยความจําแคช (Cache) ในระบบคอมพิวเตอร์จะมีอุปกรณ์บางส่วนที่ทํางานช้า จึงการใช้วิธีนําหน่วยความจําแบบแรมมาเพิ่มความเร็วของอุปกรณ์เหล่านั้น อันจะทําให้การทํางานของคอมพิวเตอร์โดยรวมเร็วขึ้นมาก เรียกหนว่ ยความจาํ ส่วนน้วี ่า หน่วยความจาํ แคช (cache memory) ซ่งึ สามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบ คือ • แคชสําหรับหน่วยความจํา (memory cache) จะเป็นการใช้หน่วยความจําแรมชนิดความเร็วสูงพิเศษมากเก็บคําส่ังและข้อมูลท่ีใช้บ่อย ๆ จากหน่วยความจําแรกปกติของระบบ เพื่อลดเวลาท่ีซีพียูใชใ้ นการอา่ นหน่วยความจําแรมของระบบ ซง่ึ มคี วามเร็วในการทาํ งานช้ากว่าการทาํ งานของซพี ยี ูมาก

30 • แคชสําหรับอุปกรณ์ (device cache) เป็นการออกแบบเพื่อเพิ่มความเร็วในการเข้าถึงข้อมูลในอุปกรณ์อ่ืน ๆ เช่น หน่วยความจําสํารอง โดยจัดสรรแรมมาใช้เก็บข้อมูลและคําสั่งต่าง ๆ ท่ีใช้บ่อยๆ จากอุปกรณ์ท่มี ีความเร็วตํ่า เช่น ฮาร์ดดิสก์ มาไว้ในแคช ทําให้จํานวนคร้ังที่ต้องทําากรเรียกใช้ข้อมูลจากอุปกรณ์เหล่านั้นลดลง จึงทํางานได้รวดเร็วข้ึน นอกน้ี ในบางคร้ังจะพบกัน หน่วยความจําแบบบัฟเฟอร์(buffer memory) ซึ่งเปน็ แคชสาํ หรับอุปกรณ์แบบง่าย ๆ ทําหน้าที่พักข้อมูลจากอุปกรณ์ไว้ชั่วคราวเพ่ือรอใหซ้ ีพียูมาอ่านไปใช้ โดยไม่มีการใช้วิธีการท่ีซับซ้อนในการเลือกว่าข้อมูลใดที่มีโอกาสสูงท่ีสุดซีพียูจะเรียกใช้งาน 8. ROM รอม (ROM: Read-only Memory หน่วยความจําอ่านอย่างเดียว) เป็นหน่วยความจําแบบสารกึ่งตัวนําช่ัวคราวชนิดอ่านได้อย่างเดียว ใช้เป็นสื่อบันทึกในคอมพิวเตอร์ เพราะไม่สามารถบันทึกซ้ําได้ (อย่างง่ายๆ) เป็นหน่วยความจําที่มีซอฟต์แวร์หรือข้อมูลอยู่แล้ว และพร้อมที่จะนํามาต่อกับไมโครโพรเซสเซอร์ได้โดยตรง หน่วยความจําประเภทนี้แม้ไม่มีไฟเล้ียงต่ออยู่ ข้อมูลก็จะไม่หายไปจากหน่วยความจํา(nonvolatile) โดยทั่วไปจะใช้เก็บข้อมลู ทีไ่ ม่ต้องมีการแกไ้ ขอกี เช่น • เก็บโปรแกรมไบออส (Basic Input output System : BIOS) หรือเฟิร์มแวร์ ที่ควบคุม การทํางานของคอมพิวเตอร์ • ใชเ้ กบ็ โปรแกรมการทํางานสําหรับเครื่องคิดเลข • ใช้เก็บโปรแกรมของคอมพิวเตอร์ท่ีทํางานเฉพาะด้าน เช่น ในรถยนต์ท่ีใช้ระบบ คอมพวิ เตอร์ควบคุมวงจร ควบคุมในเครือ่ งซกั ผา้ เป็นต้น ภาพท่ี 36 หนว่ ยความจํารอม 9. CMOS CMOS (ซีมอส) ย่อมาจาก \"Complementary Metal Oxide Semiconductor\" เป็นชิปไอซีที่ใช้เก็บขอ้ มลู ทีเ่ ป็นคา่ เฉพาะของแต่ละระบบ เพ่ือให้ Bios (ไบออส) นําไปใช้ในการบู๊ตระบบ ข้อมูลท่ีถูกเก็บอยู่ใน CMOS เช่น เวลา และวันที่ของระบบ ค่าของฮาร์ดดิสก์ และไดรว์ซีดี/ดีวีดี, การปรับค่าความเร็วในการอ่านเขียนของแรม เป็นต้น เป็นชิปสารกึ่งตัวนําท่ีถูกติดตั้งแบบออนบอร์ดมากับเมนบอร์ดเลย เราจะมองไม่เหน็ ตวั ชปิ เพราะมนั ถูกผนวกเข้ากับชิปเซ็ต ชิป CMOS เป็นหน่วยความจําท่ีได้รับการออกแบบมาเพ่ือให้กินไฟน้อย และทาํ งานได้เร็ว

31 ภาพที่ 36 CMOS 10. BIOS โปรแกรมท่ีทําหน้าที่ในการควบคุมการทํางานในการบู๊ตเข้าระบบคอมพิวเตอร์ ถูกติดต้ังอยู่ในชิบประเภท ROM บนเมนบอร์ด การทํางานของ ไบออส จะทํางานหลังจากมีการเปิดสวิทซ์ ทันที ที่มีการใช้งานคอมพิวเตอร์ โดยจะทําการตรวจสอบอุปกรณ์ต่าง ๆ ที่ติดตั้งในคอมพิวเตอร์ เช่น harddisk, diskdrive, cd-rom, ram เป็นต้น 11. พอรต์ ของ PC หากเราดูด้านหลงั ของเครือ่ ง PC จะเหน็ วา่ มชี อ่ งตา่ งๆ มากมาย ซ่งึ ชอ่ งเหลา่ นคี้ อื พอรต์ ที่ใช้ตดิ ตอ่กับอุปกรณ์ภายนอก พอรต์ คียบ์ อร์ด พอร์ตเมาส์ พอร์ตจอภาพ พอร์ต LAN พอร์ตยูเอสบี ภาพที่ 37 พอร์ตของ PC12. บสั (BUS)เป็นเส้นทางของการส่งข้อมูล โดยบัสจะทําหน้าท่ีในการส่งข้อมูลจากอุปกรณ์ต่าง ๆ กับหนว่ ยความจํา และระหว่างหน่วยความจาํ กับซีพียซู ่งึ เป็นการสง่ ขอ้ มลู 2 ทางทงั้ ไปและกลับ13. เพาเวอรซ์ ปั พลาย (Power Supply)แหล่งจ่ายไฟสําหรับคอมพิวเตอร์ หรือ พาวเวอร์ซัพพลาย (Power Supply) เป็นอุปกรณ์ที่มีความสําคัญอย่างมากต่ออุปกรณ์เกือบทุกตัวในระบบคอมพิวเตอร์ ซัพพลายของคอมพิวเตอร์น้ันมีลักษณะการทํางาน คือทําหน้าที่แปลงกระแสไฟฟ้าจาก 220 โวลต์ เป็น 3.3 โวลต์, 5 โวลต์ และ 12 โวลต์ ตามแต่ความต้องการของอุปกรณ์น้ันๆ โดยชนิดของพาวเวอร์ซัพพลาย ในคอมพิวเตอร์จะแบ่งได้เป็น 2 ชนิดตามเคส คอื แบบ AT และแบบ ATX

32 12 โวลต์ สําหรับมอเตอรข์ องดิสกไ์ ดรฟแ์ ละพดั ลมระบายความร้อน 5 โวลต์ สาํ หรับซพี ยี แู ละเมนบอร์ดร่นุ เก่า 3.3 โวลต์ สาํ หรบั ซพี ยี รู ุ่นตัง้ แต่ Pentium เปน็ ต้นมาจะเป็นอุปกรณ์ทีอ่ ยู่ภายในเคส ไม่วา่ จะเป็นเคสแบบแนวตง้ั หรอื แนวนอนภาพที่ 38 Power Supply

33 บทที่ 5 ซอฟตแ์ วร์ ซอฟต์แวร์ (Software) หมายถึงชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่ใช้สั่งงานให้คอมพิวเตอร์ทํางานซอฟต์แวร์จึงหมายถึงลําดับข้ันตอนการทํางานที่เขียนขึ้นด้วยคําสั่งของคอมพิวเตอร์ คําสั่งเหล่าน้ีเรียงกันเปน็ โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ จากทท่ี ราบมาแลว้ ว่าคอมพิวเตอร์ทํางานตามคําส่ัง การทํางานพ้ืนฐานเป็นเพียงการกระทํากับข้อมูลที่เป็นตัวเลขฐานสอง ซึ่งใช้แทนข้อมูลที่เป็นตัวเลข ตัวอักษร รูปภาพ หรือแม้แต่เป็นเสียงพูดกไ็ ด้ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ท่ีใช้สั่งงานคอมพิวเตอร์จึงเป็นซอฟต์แวร์ เพราะเป็นลําดับขั้นตอนการทํางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์เครื่องหน่ึงทํางานแตกต่างกันได้มากมายด้วยซอฟต์แวร์ที่แตกต่างกันซอฟตแ์ วรจ์ ึงหมายรวมถึงโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ทุกประเภทที่ทาํ ใหค้ อมพวิ เตอรท์ าํ งานได้ การท่ีเราเห็นคอมพิวเตอรท์ าํ งานใหก้ บั เราได้มากมาย เพราะวา่ มีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์มาให้เราส่ังงานคอมพิวเตอร์ ร้านค้าอาจใช้คอมพิวเตอร์ทําบัญชีที่ยุ่งยากซับซ้อน บริษัทขายตั๋วใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในระบบการจองต๋ัว คอมพิวเตอร์ช่วยในเรื่องกิจการงานธนาคารท่ีมีข้อมูลต่าง ๆ มากมายคอมพวิ เตอรช์ ่วยงานพมิ พ์เอกสารให้สวยงาม เป็นต้น การท่ีคอมพิวเตอร์ดําเนินการให้ประโยชน์ได้มากมายมหาศาลจะอยู่ท่ีซอฟต์แวร์ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่วนสําคัญของระบบคอมพิวเตอร์ หากขาดซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์ก็ไม่สามารถทํางานได้ ซอฟต์แวร์จึงเป็นส่ิงที่จําเป็น และมีความสําคัญมาก และเป็นสว่ นประกอบหนึ่งทีท่ าํ ใหร้ ะบบสารสนเทศเป็นไปได้ตามทตี่ ้องการซอฟตแ์ วรแ์ ละภาษาคอมพวิ เตอร์ เมื่อมนุษย์ต้องการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการทํางาน มนุษย์จะต้องบอกข้ันตอนวิธีการให้คอมพวิ เตอรท์ ราบ การทบี่ อกสิ่งท่ีมนุษย์เข้าใจให้คอมพิวเตอร์รับรู้ และทํางานได้อย่างถูกต้อง จําเป็นต้องมีส่ือกลาง ถ้าเปรียบเทียบกับชีวิตประจําวันแล้ว เรามีภาษาท่ีใช้ในการติดต่อซึ่งกันและกัน เช่นเดียวกันถ้ามนุษย์ต้องการจะถ่ายทอดความต้องการให้คอมพิวเตอร์รับรู้และปฏิบัติตาม จะต้องมีสื่อกลางสําหรับการตดิ ต่อเพื่อใหค้ อมพวิ เตอรร์ บั รู้ เราเรียกสื่อกลางนว้ี า่ ภาษาคอมพวิ เตอร์ เน่ืองจากคอมพิวเตอร์ทํางานด้วยสัญญาณทางไฟฟ้า ใช้แทนด้วยตัวเลข 0 และ 1 ได้ผู้ออกแบบคอมพิวเตอร์ใช้ตัวเลข 0 และ 1 น้ีเป็นรหัสแทนคําส่ังในการส่ังงานคอมพิวเตอร์ รหัสแทนข้อมูลและคําส่ังโดยใช้ระบบเลขฐานสองนี้ คอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้ เราเรียกเลขฐานสองที่ประกอบกันเป็นชุดคาํ สั่งและใชส้ ัง่ งานคอมพวิ เตอรว์ ่าภาษาเครื่อง การใช้ภาษาเครอ่ื งนีถ้ งึ แม้คอมพวิ เตอร์จะเข้าใจได้ทันที แต่มนุษย์ผู้ใช้จะมีข้อยุ่งยากมาก เพราะเขา้ ใจและจดจําได้ยาก จึงมีผู้สร้างภาษาคอมพิวเตอร์ในรูปแบบที่เป็นตัวอักษร เป็นประโยคข้อความ ภาษาในลักษณะดังกล่าวน้ีเรียกว่า ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง ภาษาระดับสูงมีอยู่มากมาย บางภาษามีความ

34เหมาะสมกับการใช้สั่งงานการคํานวณทางคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ บางภาษามีความเหมาะสมไว้ใช้สั่งงานทางดา้ นการจดั การข้อมูล ในการทํางานของคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ดังน้ันจึงมีผู้พัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สําหรับแปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง โปรแกรมท่ีใช้แปลภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่องเรียกว่า คอมไพเลอร์ (Compiler) หรืออินเทอร์พรีเตอร์(interpreter) คอมไพเลอร์จะทําการแปลโปรแกรมที่เขียนเป็นภาษาระดับสูงท้ังโปรแกรมให้เป็นภาษาเครื่องกอ่ น แลว้ จึงใหค้ อมพวิ เตอรท์ ํางานตามภาษาเครอื่ งนัน้ ส่วนอนิ เทอร์พรีเตอร์จะทําการแปลทีละคําสั่ง แล้วให้คอมพิวเตอร์ทําตามคําสั่งน้ัน เม่ือทําเสร็จแล้วจึงมาทําการแปลคําส่ังลําดับต่อไป ข้อแตกต่างระหว่างคอมไพเลอร์กับอินเทอร์พรีเตอร์จึงอยู่ท่ีการแปลทง้ั โปรแกรมหรอื แปลทลี ะคําสั่ง ตัวแปลภาษาทรี่ ู้จักกันดี เชน่ ตัวแปลภาษาเบสิก ตวั แปลภาษาโคบอล ซอฟต์แวร์หรอื โปรแกรมคอมพิวเตอร์จึงเป็นส่วนสําคัญที่ควบคุมการทํางานของคอมพิวเตอร์ให้ดําเนินการตามแนวความคิดท่ีได้กําหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว คอมพิวเตอร์ต้องทํางานตามโปรแกรมเท่านั้น ไม่สามารถทาํ งานทีน่ อกเหนอื จากทีก่ าํ หนดไว้ในโปรแกรม ภาพท่ี 39 Editor ภาษา Pascal

35ชนดิ ของซอฟต์แวร์ ในบรรดาซอฟต์แวร์หรือโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีผู้พัฒนาข้ึนเพื่อใช้งานกับคอมพิวเตอร์มีมากมาย ซอฟตแ์ วร์เหลา่ นอี้ าจได้รบั การพัฒนาโดยผู้ใช้งานเอง หรือผู้พัฒนาระบบ หรือผู้ผลิตจําหน่าย หากแบง่ แยกชนดิ ของซอฟตแ์ วร์ตามสภาพการทํางาน พอแบ่งแยกซอฟต์แวร์ได้เป็นสองประเภท คือ ซอฟต์แวร์ระบบ (System software) และซอฟต์แวรป์ ระยุกต์ (application software) ซอฟต์แวร์ระบบ คือซอฟต์แวร์ที่บริษัทผู้ผลิตสร้างขึ้นมาเพ่ือใช้จัดการกับระบบ หน้าที่การทาํ งานของซอฟต์แวร์ระบบคือดาํ เนินงานพื้นฐานต่าง ๆ ของระบบคอมพิวเตอร์ เช่น รับข้อมูลจากแผงแป้นอักขระแล้วแปลความหมายให้คอมพิวเตอร์เข้าใจ นําข้อมูลไปแสดงผลบนจอภาพหรือนําออกไปยังเครื่องพมิ พ์ จัดการข้อมูลในระบบแฟ้มข้อมูลบนหน่วยความจํารอง เม่ือเราเปิดเครื่องคอมพิวเตอร์ ทันทีท่ีมีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับคอมพิวเตอร์ คอมพิวเตอร์จะทํางานตามโปรแกรมทันที โปรแกรมแรกท่ีส่ังคอมพวิ เตอรท์ ํางานน้ีเป็นซอฟตแ์ วรร์ ะบบ ซอฟตแ์ วรร์ ะบบอาจเก็บไว้ในรอม หรือในแผ่นจานแม่เหล็ก หากไม่มีซอฟต์แวร์ระบบ คอมพิวเตอร์จะทํางานไม่ได้ ซอฟต์แวร์ระบบยังใช้เป็นเครื่องมือในการพัฒนาซอฟตแ์ วรอ์ ืน่ ๆ และยงั รวมไปถงึ ซอฟต์แวรท์ ใี่ ช้ในการแปลภาษาต่าง ๆ ซอฟตแ์ วร์ประยุกต์ เป็นซอฟต์แวร์ท่ีใช้กับงานด้านต่าง ๆ ตามความต้องการของผู้ใช้ ที่สามารถนํามาใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ปัจจุบันมีผู้พัฒนาซอฟต์แวร์ใช้งานทางด้านต่าง ๆ ออกจําหน่ายมาก การประยุกต์งานคอมพิวเตอร์จึงกว้างขวางและแพร่หลาย เราอาจแบ่งซอฟต์แวร์ประยุกต์ออกเป็นสองกลุ่มคือซอฟต์แวร์สําเร็จ และซอฟต์แวร์ที่พัฒนาข้ึนใช้งานเฉพาะ ซอฟต์แวร์สําเร็จในปัจจุบันมีมากมาย เช่นซอฟต์แวรป์ ระมวลคาํ ซอฟต์แวรต์ ารางทาํ งาน ฯลฯ ภาพที่ 40 การแบ่งชนิดของซอฟตแ์ วร์

36ซอฟตแ์ วรร์ ะบบ คอมพิวเตอร์ประกอบด้วย หนว่ ยรับเขา้ หนว่ ยสง่ ออก หนว่ ยความจํา และหน่วยประมวลผล ในการทํางานของคอมพิวเตอร์จําเป็นต้องมีการดําเนินงานกับอุปกรณ์พื้นฐานที่จําเป็น ดังนั้นจึงต้องมีซอฟต์แวรร์ ะบบเพอ่ื ใช้ในการจัดการระบบ หน้าที่หลักของซอฟตแ์ วร์ระบบประกอบด้วย - ใช้ในการจัดการหน่วยรบั เข้าและหนว่ ยสง่ ออก เช่น รบั การกดแปน้ ตา่ ง ๆ บนแผงแปน้ อกั ขระ ส่งรหสั ตวั อกั ษรออกทางจอภาพหรือเคร่ืองพิมพ์ ติดตอ่ กับอุปกรณร์ ับเขา้ และ สง่ ออกอน่ื ๆ เช่น เมาส์ อปุ กรณ์สังเคราะหเ์ สยี ง - ใชใ้ นการจดั การหน่วยความจํา เพ่ือนําข้อมูลจากแผน่ บันทึกมาบรรจยุ งั หน่วยความจาํ หลัก หรอื ในทํานองกลับกัน คอื นาํ ข้อมลู จากหน่วยความจาํ หลักมาเก็บไวใ้ นแผน่ บันทึก - ใช้เป็นตัวเช่อื มต่อระหว่างผู้ใช้งานกับคอมพวิ เตอร์ สามารถใชง้ านได้งา่ ยขึ้น เชน่ การขอดู รายการสารบบในแผ่นบนั ทกึ การทาํ สําเนาแฟม้ ข้อมลู ซอฟต์แวร์ระบบพื้นฐานท่ีเห็นกันท่ัวไป แบ่งออกเป็นระบบปฏิบัติการ และตัวแปลภาษาซอฟต์แวร์ทัง่ สองประเภทน้ที ําใหเ้ กิดพัฒนาการประยุกตใ์ ช้งานไดง้ า่ ยขึ้น ระบบปฏิบตั ิการ ระบบปฏิบัติการ หรือท่ีเรียกย่อ ๆ ว่า โอเอส (Operating System : OS) เป็นซอฟต์แวร์ใช้ในการดูแลระบบคอมพิวเตอร์ เครื่องคอมพิวเตอร์ทุกเครื่องจะต้องมีซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการนี้ระบบปฏิบัติการที่นิยมใช้กันมากและเป็นที่รู้จักกันดีเช่นดอส (Disk Operating System : DOS) วินโดวส์(Windows) โอเอสทู (OS/2) ยูนกิ ซ์ (UNIX) 1. ดอส เป็นซอฟต์แวร์จัดระบบงานท่ีพัฒนามานานแล้ว การใช้งานจึงใช้คําส่ังเป็นตัวอักษร ดอสเป็นซอฟต์แวรท์ ีร่ ู้จกั กันดีในหม่ผู ูใ้ ช้ไมโครคอมพวิ เตอร์ 2. วินโดวส์ เป็นระบบปฏิบัติการท่ีพัฒนาต่อจากดอส เพ่ือเน้นการใช้งานที่ง่ายขึ้น สามารถ ทํางานหลายงานพร้อมกันได้ โดยงานแต่ละงานจะอยู่ในกรอบช่องหน้าต่างท่ีแสดงผลบนจอภาพ การใช้ งานเน้นรูปแบบกราฟิก ผู้ใช้งานสามารถใช้เมาส์เล่ือนตัวช้ีตําแหน่งเพื่อเลือกตําแหน่งท่ีปรากฏบนจอภาพ ทาํ ให้ใชง้ านคอมพิวเตอร์ได้ง่าย วนิ โดวสจ์ ึงไดร้ บั ความนิยมในปจั จบุ ัน 3. โอเอสทู เป็นระบบปฏิบัติการแบบเดียวกับวินโดว์ส แต่บริษัทผู้พัฒนาคือ บริษัทไอบีเอ็ม เป็นระบบปฏิบัติการที่ให้ผู้ใช้สามารถใช้ทํางานได้หลายงานพร้อมกัน และการใช้งานก็เป็นแบบกราฟิก เชน่ เดยี วกับวินโดวส์ 4. ยูนิกซ์ เป็นระบบปฏิบัติการท่ีพัฒนามาตั้งแต่คร้ังใช้กับเครื่องมินิคอมพิวเตอร์ ระบบปฎิบัติ การยูนิกซ์เป็นระบบปฏิบัติการที่สามารถใช้งานได้หลายงานพร้อมกัน และทํางานได้หลาย ๆ งานในเวลา เดียวกัน ยูนิกซจ์ งึ ใช้ไดก้ ับเคร่ืองที่เช่ือมโยงและตอ่ กบั เคร่อื ปลายทางได้หลายเครอื่ งพร้อมกัน

37 ระบบปฏิบัติการยังมีอีกมาก โดยเฉพาะระบบปฏิบัติการที่ใช้ในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้คอมพิวเตอรท์ าํ งานรว่ มกนั เป็นระบบ เชน่ ระบบปฏิบตั กิ ารเน็ตแวร์ วนิ โดว์สเอน็ ที ภาพที่ 41 ตัวอย่างซอฟตแ์ วรร์ ะบบปฏบิ ตั ิการวินโดว์ ตัวแปลภาษา ในการพัฒนาซอฟต์แวร์จําเป็นต้องมีซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการแปลภาษาระดับสูง เพื่อแปลภาษาระดับสูงให้เป็นภาษาเครื่อง ภาษาระดับสูงมีหลายภาษา ภาษาระดับสูงเหล่าน้ีสร้างข้ึนเพื่อให้ผู้เขียนโปรแกรมเขียนชุดคําส่ังได้ง่าย เข้าใจได้ ตลอดจนถึงสามารถปรับปรุงแก้ไขซอฟต์แวร์ในภายหลังได้ภาษาระดับสูงที่พัฒนาข้ึนมาทุกภาษาจะต้องมีตัวแปลภาษาสําหรับแปลภาษา ภาษาระดับสูงซึ่งเป็นที่รู้จักและนยิ มกนั มากในปจั จบุ นั เชน่ ภาษาปาสคาล ภาษาเบสกิ ภาษาซี และภาษาโลโก 1. ภาษาปาสคาล เป็นภาษาส่ังงานคอมพิวเตอร์ที่มีรูปแบบเป็นโครงสร้าง เขียนสั่งงานคอมพวิ เตอร์เป็นกระบวนความ ผูเ้ ขียนสามารถแบ่งแยกงานออกเป็นช้ินเลก็ ๆ แล้วมารวมกันเป็นโปรแกรมขนาดใหญ่ได้ 2. ภาษาเบสิก เป็นภาษาท่ีมีรูปแบบคําสั่งไม่ยุ่งยาก สามารถเรียนรู้และเข้าใจได้ง่าย มีรูปแบบคําส่งั พื้นฐานทีส่ ามารถนาํ มาเขียนเรยี งต่อกันเป็นโปรแกรมได้ 3. ภาษาซี เป็นภาษาที่เหมาะสําหรับใช้ในการพัฒนาซอฟต์แวร์อ่ืน ๆ ภาษาซีเป็นภาษาท่ีมีโครงสรา้ งคล่องตวั สําหรับการเขียนโปรแกรมหรอื ให้คอมพิวเตอร์ตดิ ต่อกบั อุปกรณ์ต่าง ๆ 4. ภาษาโลโก เป็นภาษาที่เหมาะสําหรับการเรียนรู้และเข้าใจหลักการโปรแกรมภาษาโลโกได้รับการพฒั นาสําหรับเด็ก นอกจากภาษาที่กล่าวถึงแล้ว ยังมีภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบันอีกมากมายหลายภาษา เช่น ภาษาฟอรแ์ ทรน ภาษาโคบอล ภาษาอาร์พีจี

38การจดั การปญั หาภาษาไทยใน Widows XP การคอนฟกิ ซใ์ ห้วนิ โดว์สามารถใชง้ านภาษาไทยไดใ้ หค้ ลิกที่ 1. Start->Settings->Control Panel ภาพที่ 42 หน้าต่าง control panel2. เลือก Regional and Language Options3. เมอ่ื ไดห้ น้าตา่ ง Regional and Language Options ให้คลกิ ที่แทบ็ Languages 1 2 ภาพที่ 43 ติดต้งั ภาษาไทยสําหรับ windows xp ใส่เคร่อื งหมาย 3 กรณีทยี่ ังไม่ไดต้ ดิ ตัง้ ภาษาไทยสาํ หรับ windows xp จากนั้นคลิก Apply โปรแกรม windows จะทําการสาํ เนาไฟล์เปน็ เป็นขอ้ มูลภาษาไทยมาไว้ที่เคร่อื ง จนกระท่ังเสร็จเครอื่ งจะบอกให้ restart ให้คลกิ ทป่ี มุ่ Yes

394. รอจนกระทงั่ เครื่อง restart กลับมาใหม่ ให้เปดิ Control panel และ Regional and Language Options ใหค้ ลิกที่แท็บ Advanced แล้วเลอื กเปน็ Thai ดงั ภาพท่ี 44 จากนั้นกดปมุ่ Apply1 2 ภาพที่ 44 เลอื กภาษาไทย5. จากนน้ั คลกิ ทแ่ี ท็บ Languages แล้วคลกิ ท่ีปุ่ม Details ภาพที่ 45 Detailsจากภาพท่ี 45 คลิกทีป่ มุ่ Key Settings

40ที่หนา้ ต่าง Advanced Key Setting ใหค้ ลกิ ทป่ี มุ่ ภาพที่ 46 Advanced Key Setting หากตอ้ งการสลบั ภาษไทยและอังกฤษดว้ ยเพียงป่มุ เดียวต้องเลอื ก Grave Accent (‘) ดังภาพที่486. จากนนั้ คลิกทปี่ ุ่ม ภาพที่ 47 Change Key Sequence มาจนจบ แลว้ restart อกี ครั้งเมื่อเคร่ืองเปิดขึ้นมาอกี คร้งั กส็ ามารถเปล่ียนภาษาไดด้ ้วยการกด เพยี งปุม่ เดยี ว

41ซอฟต์แวร์ประยกุ ต์ การท่ีเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาก้าวหน้าอย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะการท่ีมีคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ทําให้มีการใช้งานคล่องตัวขึ้น จนในปัจจุบันสามารถนําคอมพิวเตอร์ขนาดเล็ก ติดตัวไปใช้งานในที่ตา่ ง ๆ ได้สะดวก การใช้งานคอมพิวเตอร์ต้องมีซอฟตืแวร์ประยุกต์ ซ่ึงอาจเป็นซอฟต์แวร์สําเร็จท่ีมีผู้พัฒนาเพื่อใช้งานท่ัวไปทําให้ทํางานได้สะดวกข้ึน หรืออาจเป็นซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะ ซ่ึงผู้ใช้เป็นผู้พัฒนาข้ึนเองเพ่ือให้เหมาะสมกบั สภาพการทํางานของตน ซอฟตแ์ วรส์ ําเรจ็ ในบรรดาซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่มีใช้กันทั่วไป ซอฟต์แวร์สําเร็จ (package) เป็นซอฟต์แวร์ที่มีความนิยมใช้กันสูงมาก ซอฟต์แวร์สําเร็จเป็นซอฟต์แวร์ท่ีบริษัทพัฒนาขึ้น แล้วนําออกมาจําหน่าย เพื่อให้ผู้ใช้งานซ้ือไปใช้ได้โดยตรง ไม่ต้องเสียเวลาในการพัฒนาซอฟต์แวร์อีก ซอฟต์แวร์สําเร็จท่ีมีจําหน่ายในท้องตลาดท่ัวไป และเป็นท่ีนิยมของผู้ใช้มี 5 กลุ่มใหญ่ ได้แก่ ซอฟต์แวร์ประมวลคํา (word processingsoftware) ซอฟต์แวร์ตารางทํางาน (spread sheet software) ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล (data basemanagement software) ซอฟต์แวร์นําเสนอ (presentation software) และซอฟต์แวร์ส่ือสารข้อมูล(data communication software) 1. ซอฟต์แวร์ประมวลคํา เป็นซอฟต์แวร์ประยุกต์ใช้สําหรับการพิมพ์เอกสาร สามารถแก้ไขเพม่ิ แทรก ลบ และจัดรปู แบบเอกสารได้อยา่ งดี เอกสารท่พี มิ พ์ไว้จัดเปน็ แฟ้มข้อมูล เรยี กมาพิมพ์หรือแก้ไขใหม่ได้ การพิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์ก็มีรูปแบบตัวอักษรให้เลือกหลายรูปแบบ เอกสารจึงดูเรียบร้อยสวยงาม ปัจจุบันมีการเพิ่มขีดความสามารถของซอฟต์แวร์ประมวลคําอีกมากมาย ซอฟต์แวร์ประมวลคําที่นิยมอยู่ในปจั จุบัน เช่น วินสเ์ วริ ด์ จุฬาจารึก โลตสั เอมโิ ปร 2. ซอฟต์แวร์ตารางทํางาน เป็นซอฟต์แวร์ท่ีช่วยในการคิดคํานวณ การทํางานของซอฟต์แวร์ตารางทํางาน ใช้หลักการเสมือนมีโต๊ะทํางานท่ีมีกระดาษขนาดใหญ่วางไว้ มีเครื่องมือคล้ายปากกา ยางลบและเครื่องคํานวณเตรียมไว้ให้เสร็จ บนกระดาษมีช่องให้ใส่ตัวเลข ข้อความหรือสูตร สามารถส่ังให้คํานวณตามสูตรหรือเงื่อนไขที่กําหนด ผู้ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทํางานสามารถประยุกต์ใช้งานประมวลผลตัวเลขอ่ืน ๆได้กวา้ งขวาง ซอฟตแ์ วร์ตารางทาํ งานทนี่ ยิ มใช้ เช่น เอกเซล โลตัส 3. ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูล การใช้คอมพิวเตอร์อย่างหน่ึงคือการใช้เก็บข้อมูล และจัดการกบั ขอ้ มูลทจี่ ัดเกบ็ ในคอมพวิ เตอร์ จงึ จาํ เปน็ ต้องมซี อฟตแ์ วร์จดั การขอ้ มลู การรวบรวมขอ้ มลู หลาย ๆ เรอื่ งท่ีเก่ียวข้องกันไว้ในคอมพิวเตอร์ เราก็เรียกว่าฐานข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลจึงหมายถึงซอฟต์แวร์ท่ีช่วยในการเก็บ การเรียกค้นมาใช้งาน การทํารายงาน การสรุปผลจากข้อมูล ซอฟต์แวร์จัดการฐานข้อมูลท่ีนิยมใช้ เชน่ เอกเซส ดีเบส พาราด็อก ฟ๊อกเบส 4. ซอฟต์แวรน์ ําเสนอ เป็นซอฟตแ์ วรท์ ีใ่ ชส้ ําหรับนําเสนอข้อมูล การแสดงผลต้องสามารถดึงดูดความสนใจ ซอฟต์แวร์เหล่านี้จึงเป็นซอฟต์แวร์ท่ีนอกจากสามารถแสดงข้อความในลักษณะท่ีจะส่ือ

42ความหมายได้ง่ายแล้วจะต้องสร้างแผนภูมิ กราฟ และรูปภาพได้ ตัวอย่างของซอฟต์แวร์นําเสนอ เช่นเพาเวอร์พอยต์ โลตัสฟรแี ลนซ์ ฮารว์ าร์ดกราฟกิ 5. ซอฟต์แวร์สื่อสารข้อมูล ซอฟต์แวร์ส่ือสารข้อมูลน้ีหมายถึงซอฟต์แวร์ที่จะช่วยให้ไมโครคอมพวิ เตอร์ตดิ ตอ่ สื่อสารกับเครอ่ื งคอมพิวเตอรอ์ ่นื ในท่หี า่ งไกล โดยผ่านทางสายโทรศัพท์ ซอฟต์แวร์ส่ือสารใช้เชื่อมโยงต่อเข้ากับระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เช่น อินเทอร์เน็ต ทําให้สามารถใช้บริการอ่ืน ๆเพ่ิมเติมได้ สามารถใช้รับส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ ใช้โอนย้ายแฟ้มข้อมูล ใช้แลกเปลี่ยนข้อมูล อ่านข่าวสาร นอกจากน้ียังใช้ในการเช่ือมเข้าหามินิคอมพิวเตอร์หรือเมนเฟรม เพ่ือเรียกใช้งานจากเคร่ืองเหลา่ น้ันได้ ซอฟตแ์ วร์ส่ือสารข้อมลู ทนี่ ิยมมีมากมายหลายซอฟต์แวร์ เชน่ โปรคอม ครอสทอล์ค เทลกิ ภาพที่ 48 ตัวอย่างซอฟตแ์ วร์สําเรจ็ (Microsoft Office) ซอฟต์แวร์ใชง้ านเฉพาะ การประยุกต์ใช้งานด้วยซอฟต์แวร์สําเร็จมักจะเน้นการใช้งานทั่วไป แต่อาจจะนํามาประยุกต์โดยตรงกับงานทางธุรกจิ บางอยา่ งไมไ่ ด้ เช่นในกจิ การธนาคาร มีการฝากถอนเงิน งานทางด้านบัญชี หรือในห้างสรรพสินค้าก็มีงานการขายสินค้า การออกใบเสร็จรับเงิน การควบคุมสินค้าคงคลัง ดังนั้นจึงต้องมีการพฒั นาซอฟตแ์ วรใ์ ชง้ านเฉพาะสาํ หรับงานแต่ละประเภทให้ตรงกับความตอ้ งการของผู้ใชแ้ ตล่ ะราย ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะมักเป็นซอฟต์แวร์ที่ผู้พัฒนาต้องเข้าไปศึกษารูปแบบการทํางานหรือความต้องการของธุรกิจน้ัน ๆ แล้วจัดทําขึ้น โดยท่ัวไปจะเป็นซอฟต์แวร์ท่ีมีหลายส่วนรวมกันเพื่อร่วมกันทํางาน ซอฟต์แวร์ใช้งานเฉพาะท่ีใช้กันในทางธุรกิจ เช่น ระบบงานทางด้านบัญชี ระบบงานจัดจําหน่ายระบบงานในโรงงานอุตสาหกรรม บรหิ ารการเงิน และการเชา่ ซอ้ื ความต้องการของการใช้คอมพิวเตอร์ในงานทางธุรกิจยังมีอีกมาก ดังนั้นจึงต้องมีความต้องการผู้พฒั นาซอฟตแ์ วร์เพ่ือพฒั นาซอฟต์แวรใ์ ช้งานเฉพาะต่าง ๆ อีกมากมาย

43 ตวั อยา่ งการใช้ซอฟตแ์ วรป์ ระยกุ ต์ ไดแ้ ก่ ประเภทงานท่ีถนัดลําดบั ที่ ชอ่ื โปรแกรม พิมพเ์ อกสาร จดหมาย การคํานวณ บญั ชี งบดุล ฯลฯ 1 Microsoft Word การบีบอัดไฟล์ให้มีขนาดเลก็ ลง 2 Microsoft Excel ตกแต่งรปู ภาพ 3 WinZip ดรู ปู ภาพ 4 Adobe Photoshop ฟงั เพลง 5 ACDsee ดูภาพยนต์ 6 WinAmp การทอ่ งไปในโลกอินเทอร์เน็ต 7 CyberLink PowerDVD 8 Internet Explorer (IE)ยังมซี อฟต์แวรป์ ระยุกต์อนื่ ๆ อีกมากมาย ซง่ึ ไม่ขออธบิ ายในเอกสารการอบรมครั้งนี้1. พมิ พ์จดหมายดว้ ย Microsoft WordMicrosoft Word เป็นโปรแกรมสําหรบั พมิ พเ์ อกสารไม่วา่ จะเปน็ จดหมาย งานวจิ ัย ฯลฯสามารถทําได้โดยง่าย ข้ันตอนมดี งั นี้ไปทป่ี ุ่ม Start->Programs->Microsoft Office->Microsoft Word ไตเติลบาร์ ทูลบาร์ หน้ากระดาษ ภาพที่ 49 หนา้ ตา่ งโปรแกรม Microsoft Wordเวลาพิมพ์ข้อมลู กพ็ มิ พ์ลงไปตามปกติ แต่อยา่ ลมื บนั ทกึ ข้อมูลเพื่อป้องกันข้อมูลสญู หาย

44วธิ กี ารบนั ทกึ ขอ้ มลู มใี หเ้ ลือกหลายวธิ ี - เลือก File->Save ทีเ่ มนบู าร์ ดงั ภาพ ภาพท่ี 50 แสดงการบนั ทกึ ขอ้ มูล - นาํ เมาส์ไปคลกิ รูปแผน่ ดิสกเ์ ล็กๆ ตรงทูลบาร์ - กดป่มุ Ctrl+S บนแป้นพิมพ์ ถ้าหากไฟล์นยี้ ังไม่เคยบันทกึ โปรแกรมกจ็ ะถามหาชื่อไฟล์ที่ตอ้ งการ และสถานท่เี กบ็ ไฟล์หรอื ที่เรยี กวา่ โฟลเ์ ดอร์ ภาพที่ 51 การบนั ทกึ ขอ้ มลู ใน Microsoft Word

45การสรา้ งตารางใน Microsoft Word ใน Microsoft Word สามารถใสข่ ้อมลู แบบตารางได้ ซ่ึงมีวธิ กี ารดงั นี้ วธิ ีที่ 1 คลิกทปี่ ุ่ม บนทลู บาร์ ถ้าตอ้ งการสรา้ งตารางขนาดเทา่ ไหร่กใ็ ชเ้ มาส์ลาก จนไดพ้ น้ื ทส่ี ีน้าํ เงินที่ต้องการ Insert Table 2. คํานวณดว้ ย Microsoft Excel การคํานวณด้วย Excel ไม่ยากอย่างทผ่ี ูใ้ ชค้ ดิ โปรแกรมนจ้ี ะชว่ ยท่าน บวกเลข หาค่าเฉลี่ย หรอื หาคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐาน โปแกรม Excel หน้าตายังไงมาดกู นัInsert function Formula bar Active cellSheet Scroll bar ภาพที่ 52 โปรแกรม Microsoft Excel

46 การคํานวณตวั เลขใน Excel ทําไดด้ งั น้ี เช่น ท่ี A1 มคี ่าเทา่ กับ 8 และ A2 มีคา่ เท่ากบั 9 ดงัภาพ ถา้ ตอ้ งการนํา A1 มาบวกกบั A2 และให้ผลลัพธ์แสดงที่ A3 ก็ให้พิมพ์ = ทีช่ อ่ ง A3 จากนน้ั นาํเมาสไ์ ปคลกิ ที่ A1 ตามดว้ ยการพิมพ์เคร่ืองหมาย + แล้วนาํ เมาส์ไปคลกิ ท่ี A2 จะเหน็ ว่ามสี ตู รคํานวณทีช่ ่องformula bar พอกดปุ่ม Enter ก็จะไดผ้ ลลพั ธอ์ อกมา หากต้องการใชเ้ ครอ่ื งหมายลบ (-) ซงึ่ มพี รอ้ มอยแู่ ลว้บนแป้นพมิ พ์ การคูณใชส้ ตาร์ (*) ส่วนการหารใช้เครื่องหมาย / เปน็ ตน้ นีเ่ ปน็ แคส่ ่วนหนึ่งของการใชส้ ูตรคาํ นวณใน Excel ซ่งึ มีมากมายหลายหลาย สามารถเลอื กใชไ้ ด้ท่ปี มุ่ การหาค่าเฉลีย่ เร่ิมตน้ ด้วยโจทย์ สมมุติวา่ มขี ้อมลู อยู่ ดงั นี้ มีขอ้ มลู a, b, c, d ซ่ึงผลรวมกไ็ ดอ้ ธบิ ายไปแล้ว จากนล้ี องมาหาคา่ เฉลย่ี โดยเอาเมาสไ์ ปคลิกท่ีE2 เพ่ือตอ้ งการให้ผลลัพธแ์ สดงท่ีนั่น จากนนั้ คลกิ ที่ป่มุ แลว้ ไป AVERAGE ภาพท่ี 53 หาค่าเฉลี่ย

47 จากนัน้ คลิกทปี่ ุม่ OK โปรแกรมจะใหเ้ ลือกชว่ งในการคน้ หา โดยเมาส์ไปลากจาก A2 ถงึ D2เสร็จแล้วตอบ OK จะได้ผลลพั ธด์ งั น้ี หากต้องการดูผลลพั ธ์ในแถวถัดไปกเ็ พียงเอาเมาสไ์ ปชตี้ รงมมุ ขวาล่างของ active cell จากนนั้ คลกิ คา้ งไว้แลว้ ลากลงมาจนถงึ บรรทุดสุดทา้ ยท่ีมีตัวเลขใหค้ ํานวณ จะได้ ภาพท่ี 54 การหาคา่ เฉล่ยี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook