โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
คู่มอื การปฏิบตั งิ านกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ ก คำนำ การบริหารงานงบประมาณ เป็นกระบวนการสนับสนุนที่สำคัญในการปฏิบัติงานตามภารกิจของ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา กลุ่มบริหารงานงบประมาณโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา จึงได้ พิจารณาจัดทำคู่มือการปฏิบัติงานตามมาตรฐานกระบวนการบริหารงานงบประมาณขึ้นเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงาน ตามกระบวนการที่สร้างคุณค่าของโรงเรียน เกิดคุณค่าแก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีประสิทธิภาพการทำงาน และเกิดประสิทธิผลของการทำงานทีเ่ ป็นไปตามพระราชบัญญตั ิกฎระเบียบที่เกี่ยวขอ้ งกับการบริหารงานงบประมาณ และเจตนารมณ์ของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ คือ “บริหารโดยยดึ หลักธรรมาภบิ าล บริการด้วยใจ” คู่มอื การปฏิบัติงานกลุม่ บริหารงานงบประมาณ โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จงั หวดั ยะลา ฉบับนี้ มสี าระสำคัญ ซ่ึงประกอบด้วย โครงสร้างการบริหารโรงเรียน โครงสร้างการบริหารกลุ่มบริหารงานงบประมาณ วัตถุประสงค์ ขอบข่ายภารกิจ แนวทางการปฏิบัติงาน กฎหมายที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงาน หน้าที่ความรับผิดชอบและระบบ ติดตามประเมินผล ขั้นตอนการปฏิบัติงาน และแผนผังของกระบวนการ (Work Flow) มุ่งหวังให้เกิดมาตรฐาน การปฏิบัติงานเป็นฐานในการพัฒนางานเพื่อสนับสนุนกระบวนการสร้างคุณค่าหลักของโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวดั ยะลา ให้ดยี ง่ิ ข้นึ กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเจ้าหน้า ท่ี ผู้ปฏิบัติงานด้านการบริหารงานงบประมาณและผู้ที่สนใจได้ใช้ประโยชน์จากคู่มือฉบับนี้ในการปฏิบัติงานตามหน้าท่ี ได้เปน็ อยา่ งดี กลมุ่ บรหิ ารงานงบประมาณ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จงั หวัดยะลา
คู่มอื การปฏิบตั ิงานกลมุ่ บริหารงานงบประมาณ ข สารบญั หนา้ ก คำนำ ข สารบญั ง โครงสรา้ งการบริหารโรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา จ โครงสร้างการบริหารกลุ่มบริหารงานงบประมาณ ฉ บุคลากรกลุม่ บริหารงานงบประมาณ ทศิ ทางการพฒั นาคณุ ภาพสถานศกึ ษา 1 2 วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกจิ เป้าประสงค์ กลยุทธร์ ะดบั องคก์ ร กลยทุ ธร์ ะดับแผนงาน 4 การปฏิบัติงานกลมุ่ บริหารงานงบประมาณ 4 ความนำ วตั ถุประสงค์ 5 ขอบข่าย ภารกิจ หน้าที่รบั ผิดชอบของกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 8 1. การจัดทำและเสนอของบประมาณ 9 2. การจดั สรรงบประมาณ 10 3. การตรวจสอบ ติดตาม ประเมนิ ผลและรายงานผลการใช้เงนิ และผลการดำเนินงาน 13 4. การบริหารการเงนิ 14 5. การบริหารการบญั ชี 6. การบรหิ ารพัสดุ 17 บทบาทและหนา้ ท่รี ับผดิ ชอบ 17 รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 18 หวั หนา้ กลมุ่ บริหารงานงบประมาณและท่ีปรึกษา 18 งานสำนกั งานกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 18 งานนโยบายและแผน 19 งานการเงินและบญั ชี งานพัสดุ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จงั หวัดยะลา
คูม่ อื การปฏิบตั ิงานกลมุ่ บรหิ ารงานงบประมาณ ค สารบญั (ต่อ) หนา้ 20 งานระดมทรพั ยากร 21 งานสวสั ดกิ ารภายใน 21 งานบริการ แผนภมู แิ สดงข้ันตอนการปฏิบัติงาน 22 แนวปฏบิ ัติการทำสญั ญายืมเงินราชการ(กรณีจัดโครงการ/กิจกรรม) 23 แนวปฏิบัตกิ ารทำสัญญายืมเงินราชการ (กรณเี ดินทางไปราชการ) 24 ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงานการเงนิ 25 ขัน้ ตอนการปฏบิ ัติงานพสั ดุ 26 ข้ันตอนการจัดทำแผนพฒั นาการศกึ ษา/แผนปฏิบัตกิ าร (Flowchart) 27 ข้นั ตอนการขอใช้งบประมาณในการจดั โครงการ/กจิ กรรม โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
คู่มือการปฏบิ ตั งิ านกลุม่ บรหิ ารงานงบประมาณ ง โครงสร้างการบริหารโรงเรยี น แผนภมู โิ ครงสรา้ งการบริหารงาน โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จงั หวดั ยะลา คณะกรรมการสถานศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ผู้อำนวยการโรงเรยี น สมาคมผู้ปกครอง สมาคมศษิ ยเ์ กา่ มลู นธิ ิทุนการศกึ ษา รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองผู้อำนวยการโรงเรยี น รองผู้อำนวยการโรงเรียน รองผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ฝา่ ยบรหิ ารงานวชิ าการ ฝา่ ยบรหิ ารงานงบประมาณ ฝ่ายบรหิ ารงานบุคคล ฝา่ ยบรหิ ารงานทว่ั ไป (ก) การพัฒนาหรอื การดำเนินการเกย่ี วกับการให้ (ก)การจดั ทำแผนงบประมาณและคำขอต้ังงบประมาณ (ก) การวางแผนอัตรากำลงั (ก) การพฒั นาระบบและเครือขา่ ยขอ้ มูล ความเห็นการพฒั นาสาระหลักสตู รทอ้ งถ่ิน เพ่ือแสดงตอ่ ปลัดกระทรวงศึกษาธกิ ารหรือเลขาธิการ (ข) การจัดสรรอตั รากำลังข้าราชการครูและ สารสนเทศ (ข) การวางแผนงานดา้ นวชิ าการ คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐานแล้วแต่กรณี บคุ ลากรทางการศึกษา (ข) การประสานงานและพฒั นาเครอื ข่าบ (ค) การจดั การเรยี นการสอนในสถานศึกษา (ข)การจัดทำแผนปฏิบตั กิ ารใช้จา่ ยเงนิ ตามท่ีได้รบั (ค) การสรรหาและบรรจุแต่งต้ัง การศกึ ษา (ง) การพฒั นาหลกั สูตรของสถานศึกษา จดั สรรงบประมาณจากสำนักคณะกรรมการการศึกษา (ง) การเปลีย่ นตำแหน่งให้สูงขึน้ การยา้ ย (ค) การวางแผนการบรหิ ารงานการศึกษา (จ) การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ ขน้ั พ้ืนฐานโดยตรง ขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา (ง) งานวิจัยเพือ่ พัฒนานโยบายและแผน (ฉ) การวัดผล ประเมินผล และดำเนินการเทยี บ (ค)การอนุมัตกิ ารใชจ้ า่ ยงบประมาณที่ไดร้ ับจัดสรร (จ) การดำเนินการเกีย่ วกับการเลอื่ นข้ันเงนิ เดือน (จ) การจัดระบบการบรหิ ารและพัฒนาองค์กร โอนผลการเรยี น (ง)การขอโอนและการขอเปลย่ี นแปลงงบประมาณ (ฉ) การลาทกุ ประเภท (ฉ) การพฒั นามาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (ช) การวิจัยเพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาใน (จ) การรายงานผลการเบิกจ่ายงบประมาณ (ช) การประเมินผลการปฏบิ ัตงิ าน (ช) งานเทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา สถานศึกษา (ฉ)การตรวจสอบติดตามและรายงานการใชง้ บประมาณ (ซ) การดำเนินการทางวินยั และการลงโทษ (ซ) การดำเนนิ งานธรุ การ (ซ) การพฒั นาและส่งเสรมิ ให้มแี หลง่ เรียนรู้ (ช)การตรวจสอบติดตามและรายงานการใชผ้ ลผลิตจาก (ฌ) การสัง่ พกั ราชการและการสั่งใหอ้ อกราชการไว้ (ฌ) การดูแลอาคารสถานท่ีและสภาพแวดล้อม (ฌ) การนิเทศการศึกษา งบประมาณ กอ่ น (ญ) การจดั ทำสำมะโนผู้เรยี น (ญ) การแนะแนว (ซ)การระดมทรพั ยากรและการลงทนุ เพอ่ื นการศกึ ษา (ญ) การรายงานการดำเนนิ การทางวินยั และการ (ฎ) การรบั นกั เรยี น (ฎ) การพฒั นาระบบประกนั คุณภาพภายในและ (ฌ) การปฏิบตั ิงานอนื่ ใดตามที่ได้รับมอบหมาย ลงโทษ (ฏ) การเสนอความเหน็ เกยี่ วกับการจดั ต้ังงบ ยุบ มาตรฐานการศกึ ษา เกีย่ วกับกองทนุ เพือ่ การศึกษา (ฎ) การอุทธรณแ์ ละการรอ้ งทกุ ข์ รวม หรือเลกิ สถานศึกษา (ฏ) การส่งเสริมชมุ ชนใหม้ ีความเขม้ แขง็ ทาง (ญ)การบรหิ ารจัดการทรัพยากรเพอ่ื การศึกษา (ฏ) การออกจากราชการ (ฐ) การประสานการจดั การศึกษาในระบบ นอก วชิ าการ (ฎ)การวางแผนพสั ดุ (ฐ) การจัดระบบและการจดั ทำทะเบยี นประวัติ ระบบและตามอัธยาศัย (ฐ) การประสานความร่วมมือในการพัฒนา (ฏ)การกำหนดรปู แบบรายการหรือคณุ ลักษณะเฉพาะ (ฑ) การจัดทำบญั ชีรายชือ่ และใหค้ วามเหน็ (ฑ) การระดมทรัพยากรเพอื่ การศึกษา วิชาการกบั สถานศกึ ษาและองคก์ รอ่นื ของครุภัณฑ์ หรอื สิ่งกอ่ สรา้ งที่ใช้เงินงบประมาณเพอ่ื เกี่ยวกบั การเสนอขอพระราชทาน (ฒ) การทัศนศึกษา (ฑ) การส่งเสรมิ และสนับสนนุ งานวชิ าการแก่ เสนอตอ่ ปลดั กระทรวงศึกษาธิการหรือเลขาธิการ เครอื่ งราชอสิ ริยาภรณ์ (ณ) งานกจิ การนกั เรยี น บุคคล ครอบครวั องคก์ ร หน่วยงาน สถาน คณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐานแล้วแต่กรณี (ฒ) การสง่ เสรมิ การประเมนิ การประเมนิ วิทย (ด) การประชาสมั พนั ธง์ านการศึกษา ประกอบการและสถาบันอ่นื ทีจ่ ดั การศกึ ษา (ฐ)การพฒั นาระบบขอ้ มลู และสารสนเทศเพอื่ การ ฐานะขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา (ต) การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ และประสานการจดั (ฒ) การจัดทำระเบียบและแนวปฏบิ ัติเก่ยี วกบั จัดทำและจัดหาพัสดุ (ณ) การสง่ เสริมและยกย่องเชิดชเู กยี รติ การศึกษาของบคุ คล ชุมชนองคก์ ร หนว่ ยงาน งานดา้ นวิชาการของสถานศกึ ษา (ฑ)การจัดทำพสั ดุ (ด) การส่งเสริมมาตรฐานวชิ าชพี และจรรยาบรรณ และสถานบันสังคมอืน่ ทจ่ี ัดการศึกษา (ณ) การคดั เลอื กหนังสือ แบบเรยี นเพอ่ื ใชใ้ น (ฒ)การควบคมุ ดแู ลบำรุงรักษาและจำหนา่ ยพัสดุ วิชาชีพ (ถ) งานประสานราชการกับส่วนภมู ภิ าคและส่วน สถานศึกษา (ณ)การจัดการหาผลประโยชน์จากทรัพยส์ ิน (ต) การส่งเสริมระเบียบวนิ ยั คุณธรรมและ ท้องถิ่น (ด) การพฒั นาและใช้ส่อื เทคโนโลยเี พ่อื การศึกษา (ด)การเบกิ เงนิ จากคลัง จริยธรรมสำหรบั ขา้ ราชการครูและบุคลากร (ท) การรายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน (ต)การรบั เงินการเก็บรักษาเงินและการจ่ายเงนิ ทางการศึกษา (ธ) การจดั ระบบการควบคมุ ภายใน (ถ) การนำเงินส่งคลัง (ถ) การรเิ ริม่ ส่งเสริมการขอใบอนญุ าต หนว่ ยงาน (ท)การจัดทำบญั ชีการเงิน (ท) การพัฒนาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการ (น) แนวทางการจัดกจิ กรรมเพอ่ื (ธ) การจัดทรายงานทางการเงินและงบการเงนิ ศกึ ษา ปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการลงโทษ (น)การจดั ทำหรือจดั หาแบบพมิ พบ์ ญั ชี ทะเบยี น นักเรยี น และรายงาน โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จงั หวัดยะลา
คมู่ ือการปฏบิ ตั งิ านกล่มุ บรหิ ารงานงบประมาณ จ โครงสรา้ งการบริหารกลุ่มบริหารงานงบประมาณ ผอู้ ำนวยการ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จงั หวัดยะลา รองผู้อำนวยการ กลุ่มบริหารงานงบประมาณ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จงั หวดั ยะลา หวั หน้ากลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ งานแผนงาน งานการเงินและบัญชี งานพัสดุ งานสำนักงาน งานสวัสดิการภายใน งานบรกิ าร สวัสดิการร้านคา้ งานบรกิ ารบุคลากรภายใน สหกรณ์ร้านคา้ งานบรกิ ารบคุ ลากรภายนอก สวสั ดิการเงินออม โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จงั หวดั ยะลา
ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ ฉ บคุ ลากรบริหารงานกลมุ่ บริหารงานงบประมาณ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวดั ยะลา
ค่มู อื การปฏิบตั งิ านกลุ่มบริหารงานงบประมาณ ช โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จงั หวดั ยะลา
คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 1 ทศิ ทางการพฒั นาคุณภาพสถานศกึ ษา วิสยั ทัศน์ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลาเป็นเลิศทางวิชาการ สืบสานศาสตร์พระราชา มีคุณธรรมจริยธรรม ระดับมาตรฐานสากล พันธกจิ 1. พัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนให้มีคุณภาพเทียบเคียงมาตรฐานสากล โดยใช้กระบวนการวิจัย ทบทวน นเิ ทศ กำกบั ตดิ ตาม 2. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสู่ระดับชาติ นานาชาติ ด้วยการพัฒนาความรู้ ทักษะของ นกั เรียนระดบั มาตรฐานสากล 3. สร้างศักยภาพของนักเรียนให้เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ นานาชาติ ด้วยการส่งเสริมและพัฒนาความรู้ ทักษะของนักเรียนใหม้ ีความเช่ียวชาญ 4. สร้างสือ่ นวตั กรรมในการจัดการเรยี นการสอน โดยนำเทคโนโลยมี าใช้ในการสอนอย่างมคี ณุ ภาพ 5. บรหิ ารจดั การองค์กรด้วยการนอ้ มนำศาสตรพ์ ระราชาเพือ่ พฒั นาองค์กรใหม้ คี ุณภาพอยา่ งยงั่ ยืน 6. พัฒนาความรู้ ความเข้าใจในการนำศาสตร์พระราชาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนและ ชีวติ ประจำวันเพอื่ สรา้ งคุณภาพชวี ติ ทย่ี ง่ั ยืนแก่ทุกคนในองคก์ ร 7. ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรมและคุณลักษณะอันพึงประสงค์บนพื้นฐานความเป็นไทย ด้วยการให้ความรแู้ ละจัดกิจกรรมทหี่ ลากหลาย เป้าหมาย 1. หลักสูตรและจดั การเรียนการสอนให้มคี ณุ ภาพเทยี บเคียงมาตรฐานสากล 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนผ่านการประเมินระดับชาติอยู่ในระดับดีเป็นที่ยอมรับ จากสถาบัน นานาชาติ 3. นักเรียนมีความสามารถ ความถนัดเป็นทป่ี ระจกั ษ์สามารถแข่งขนั ในระดับชาตแิ ละนานาชาติ 4. ครใู ชส้ ่ือ นวตั กรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน การวัดและประเมินผลและการเผยแพร่ผลงาน ท้ังระบบออนไลน์ (online) และออฟไลน์ (offline) 5. ผ้บู รหิ ารใชธ้ รรมาภิบาลในการบรหิ ารจัดการองคก์ ร 6. ลดอัตรากล่มุ เสยี่ งของนกั เรียนจากระบบดูแลช่วยเหลอื นกั เรยี น 7. บูรณาการศาสตร์พระราชาในการจัดการเรียนการสอนเพื่อเพิ่มระดับความรู้ ความเข้าใจท่ียั่งยืนแก่คุณภาพ ชีวติ 8. นักเรยี นคุณธรรม จริยธรรมและคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์บนพื้นฐานความเป็นไทย โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จงั หวดั ยะลา
คมู่ อื การปฏิบตั ิงานกลมุ่ บรหิ ารงานงบประมาณ 2 กลยุทธร์ ะดบั องคก์ ร 1. พัฒนาหลกั สตู รกระบวนการจดั การเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผล 2. พฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 3. ผลติ และพฒั นากำลงั คน รวมทั้งงานวจิ ัยทีส่ อดคล้องกบั ความต้องการของประเทศ 4. เพิ่มโอกาสให้นกั เรยี นช่วงช้นั ท่ี 3 และชว่ งชน้ั ที่ 4 เขา้ ถงึ บริการทางการศกึ ษาอย่างต่อเนื่อง 5. สง่ เสริมและพัฒนาระบบเทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพื่อการศกึ ษา 6. พัฒนาระบบบริหารจัดการและส่งเสรมิ ให้ทกุ ภาคส่วนมีส่วนรว่ มในการจดั การศกึ ษา กลยทุ ธ์ระดับแผนงาน 1. พัฒนาหลกั สูตรกระบวนการจดั การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล 1.1 พัฒนาและปรับปรุงโครงสร้างของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานให้ทันสมัย สอดคล้องกับทักษะที่จำเป็นใน ศตวรรษท่ี 21 และเหมาะสมกับผูเ้ รียนในแตล่ ะช่วงวัย 1.2 จัดการเรยี นรู้ที่มุ่งเน้นพหุปญั ญาของผู้เรียนตามศักยภาพ และสร้างทักษะพ้ืนฐานท่ีเช่ือมโยงสู่การสร้างอาชีพ และมงี านทำ 1.3 จัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ (Active Learning) โดยใช้สถานการณ์จริง/สถานการณ์จำลองที่ สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของแต่ละพื้นที่ และกำหนดกิจกรรมให้ผู้เรียนและครูได้แสดงความคิดเห็น รว่ มกนั 1.4 ออกแบบการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะการคิดแบบมีเหตุผลและเป็นขั้นตอน เพิ่มระดับการเรียนการสอนวิชา ภาษาคอมพิวเตอร์ (Coding) อยา่ งต่อเน่ือง 1.5 จัดการเรียนรู้และกิจกรรมโครงงานด้วยแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรม คณิตศาสตร์ และภูมิ สังคม บูรณาการร่วมกับการส่งเสริมการนำคุณธรรม จริยธรรมและความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็งมาสู่ผู้เรียน (STER STEMS) 1.6 นำกระบวนการลูกเสือมาใช้ในกิจกรรมเสริมทกั ษะชีวิตผูเ้ รียนอย่างเขม้ ข้นและจดั กจิ กรรมเสรมิ สรา้ งระเบียบ วินัย การมีจิตอาสาและการมีทัศนคติท่ีถูกต้องต่อการอยู่รว่ มกันในสงั คม 1.7 ส่งเสริมการเรียนรู้เพอื่ สร้างจติ สำนกึ ในการอนุรกั ษ์ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม 1.8 สง่ เสริมการเรียนรู้ในการนำแนวคิดตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ตั ิในการดำเนินชีวิต 1.9 ส่งเสริมการเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจ ความตระหนักในการเลือกรับ/การส่งต่อข้อมูลข่าวสารจากส่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศอยา่ งถูกตอ้ ง 1.10 ส่งเสริมกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อสร้างทักษะการอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม การขจัดความขัดแย้ง และ กิจกรรมสันติศกึ ษา โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวดั ยะลา
คู่มอื การปฏบิ ตั ิงานกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 3 2. พัฒนาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา 2.1 พัฒนาครูให้มีความสามารถในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการที่มุ่งเน้นพหุปัญญาที่ หลากหลาย 2.2 พัฒนากระบวนการนิเทศ การวดั ผล การประเมินผลครู ทสี่ ะท้อนต่อผลลพั ธ์ท่เี กิดขึน้ กบั ผ้เู รยี น 2.3 สรา้ งขวัญกำลงั ใจ สร้างแรงจูงใจใหแ้ ก่ครู 3. ผลิตและพฒั นากำลงั คนกำลงั คน รวมท้งั งานวจิ ัยท่ีสอดคล้องกับความต้องการของประเทศ 3.1 วางรากฐานผู้เรียนทุกระดับให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และเสริมให้ผู้เรียนมีทักษะด้าน ภาษาอังกฤษและภาษาทส่ี าม 4. เพ่มิ โอกาสให้นักเรียนชว่ งช้นั ท่ี 3 และช่วงช้นั ที่ 4 เขา้ ถึงบรกิ ารทางการศึกษาอยา่ งต่อเนื่อง 4.1 ปรับปรุงกิจกรรมแนะแนวการศึกษาต่อให้ทั่วถึงนักเรียนเป็นรายบุคคล รวมทั้งรณรงค์ให้เด็กและผู้ปกครอง เห็นถึงความสำคัญของการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต การฝึกฝนตนเองเพื่อมีงานทำโดยเฉพาะการ ประกอบอาชีพอิสระ 5. ส่งเสรมิ และพฒั นาระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัลเพ่ือการศึกษา 5.1 เพิ่มและขยายช่องทางการเรียนรู้ด้วยเทคโนโลยีดิจิทลั เข้าไปในการเรยี นการสอน เพื่อสร้างความคุ้นเคยและ ยกระดบั ความสามารถด้านการอ่านของนักเรยี น สำหรบั เป็นฐานในการเรยี นรวู้ ชิ าอน่ื ๆ 5.2 จดั หาและบริการระบบอนิ เทอรเ์ น็ตความเร็วสูงที่ทนั สมยั ภายในสถานศึกษา 5.3 สง่ เสริมการผลิตส่อื การเรียนการสอน เอกสารประกอบการเรียนในระบบดจิ ทิ ลั 5.4 จัดทำระบบฐานข้อมูล (Big data) ระบบสารสนเทศ รายงานผลการใช้ฐานข้อมูลที่ถูกต้องครบถ้วน ทันสมัย และสามารถเชื่อมโยงเข้ากับระบบฐานขอ้ มูลการพฒั นาทรัพยากรมนุษย์ของสว่ นราชการและหน่วยงานอื่น ๆ 5.5 จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่มีมาตรฐานแก่ครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อให้สามารถรองรับการจัดการเรียนการ สอนในรปู แบบออนไลน์ 6. พฒั นาระบบบริหารจัดการและส่งเสรมิ ให้ทุกภาคส่วนมสี ว่ นรว่ มในการจดั การศึกษา 6.1 พัฒนาระบบบรหิ ารจดั การให้มปี ระสทิ ธภิ าพ 6.2 สร้างความเขม้ แข็งในการบริหารจัดการแบบมีสว่ นรว่ ม โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จงั หวัดยะลา
คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานกล่มุ บรหิ ารงานงบประมาณ 4 การปฏบิ ัติงานกล่มุ บริหารงานงบประมาณ ความนำ การบริหารงานฝ่ายบริหาร งานงบประมาณ โรงเรียนคณะราษฏรบำรุง จังหวัดยะลา เป็นภารกิจสำคัญที่มุ่ง ส่งเสริมให้สามารถปฏิบัติงานเพื่อตอบสนองภารกิจของโรงเรียนมุ่งเน้นความเป็นอิสระ ในการบริหารจัดการมีความ คล่องตัว โปร่งใส ตรวจสอบได้ยึดหลักการบริหารมุ่งเน้นผลสัมฤทธิ์ และบริหารงานงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน ให้มีการจัดหาผลประโยชน์จากทรัพย์สินของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายได้จากบริการมาใช้บริหารจัดการเพ่ือ ประโยชน์ทางการศึกษา ส่งผลให้เกิดคุณภาพที่ดีขึ้นต่อผู้เรียนให้เกิดความคล่องตัว อิสระ ภายใต้กฎหมายระเบียบ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล ตลอดจนการประสานส่งเสริม สนับสนุนและการอำนวยการความสะดวกต่ าง ๆ ในการใหบ้ ริการการศกึ ษาทุกรปู แบบ ม่งุ พฒั นาสถานศึกษาให้ใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยอี ย่างเหมาะสม วตั ถปุ ระสงค์ 1. เพื่อให้สถานศึกษาบริหารงานด้านงบประมาณมีความเป็นอิสระ คล่องตัว โปร่งใสตรวจสอบได้ เป็นไปด้วยความถูกตอ้ ง รวดเร็วเป็นไปตามหลกั ธรรมาภบิ าล 2. เพอ่ื ใหไ้ ด้ผลผลิต ผลลัพธ์เปน็ ไปตามขอ้ ตกลงการใหบ้ ริการ 3. เพอื่ ใหส้ ถานศึกษาสามารถบริหารจดั การทรพั ยากรที่ได้อยา่ งเพียงพอและมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. เพื่อให้บริการ สนับสนุน ส่งเสริม ประสานงานและอำนวยการให้การปฏิบัติงานของสถานศึกษาเป็นไป ด้วยความเรียบร้อย มปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ล 5. เพื่อประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารและผลงานของสถานศึกษาต่อสาธารณชน ซึ่งจะก่อให้เกิด ความรู้ความเขา้ ใจ เจตคตทิ ีด่ เี ลือ่ มใส ศรทั ธาและใหก้ ารสนับสนนุ การจดั การศึกษา ขอบขา่ ย ภารกิจ หนา้ ทรี่ ับผดิ ชอบของกลุม่ บรหิ ารงานงบประมาณ 1. การจดั ทำและเสนอของบประมาณ 1.1 การวิเคราะห์และพฒั นานโยบายทางการศึกษา 1.2 การจัดทำแผนกลยุทธ์หรือแผนพฒั นาการศึกษา 1.3 การวิเคราะห์ความเหมาะสมการเสนอของบประมาณ 2. การจัดสรรงบประมาณ 2.1 การจัดสรรงบประมาณในสถานศกึ ษา 2.2 การเบิกจ่ายและการอนุมัตงิ บประมาณ 2.3 การโอนงบประมาณ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จงั หวัดยะลา
คูม่ อื การปฏบิ ตั งิ านกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 5 3. การตรวจสอบ ตดิ ตามประเมนิ ผล และรายงานผลการใช้เงินและผลการดำเนนิ งาน 3.1 การตรวจสอบติดตามการใชเ้ งนิ และผลการดำเนนิ งาน 3.2 การประเมินผลการใช้เงนิ และผลการดำเนนิ งาน 4. การบริหารการเงนิ 4.1 การเบิกเงนิ จากคลัง 4.2 การรับจา่ ยเงินทุกประเภท 4.3 การเก็บรักษาเงนิ 4.4 การนำส่งเงิน 4.5 การกันเงนิ ไวเ้ บกิ เหลื่อมปี 5. การบริหารบัญชี 5.1 การจดั ทำบญั ชกี ารเงิน 5.2 การจัดทำรายงานทางการเงินและงบการเงนิ 5.3 การจัดทำและจดั หาแบบพิมพบ์ ญั ชีทะเบยี นและรายงาน 6. การบรหิ ารพัสดุ 6.1 การจดั ทำระบบฐานข้อมูลสนิ ทรพั ยข์ องสถานศึกษา 6.2 การจดั หาพัสดุ 6.3 การกำหนดแบบรปู รายการหรอื คุณลักษณะเฉพาะและจดั ซื้อจัดจา้ ง 6.4 การควบคมุ ดูแลบำรงุ รกั ษาและจำหน่ายพสั ดุ 7. งานสวสั ดิการภายใน 8. งานบริการ 1. การจดั ทำและเสนอของบประมาณ 1.1 การวิเคราะห์และพฒั นานโยบายทางการศกึ ษา แนวทางการปฏิบัตงิ าน 1) วิเคราะห์ทิศทางและยุทธศาสตร์ของหน่วยงานต้นสังกัด ได้แก่เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ระดับชาติ แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนการศึกษาแห่งชาติ แผนปฏิบัติราชการของกระทรวงศึกษาธิการ และ แผนพฒั นาการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จังหวดั ยะลา
คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ านกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 6 2) ศึกษาข้อตกลงผลการปฏิบัติงานและเป้าหมายการให้บริการสาธารณะทุกระดับ ได้แก่ เป้าหมาย การให้บริการสาธารณะ (Public Service Agreement: PSA) ข้อตกลงการจัดทำผลผลิต (Service Delivery Agreement: SDA) ข้อตกลงผลการปฏิบัติงานของเขตพื้นที่และผลการดำเนินงานของสถานศึกษาที่ต้องดำเนินการ เพ่ือให้บรรลขุ อ้ ตกลงท่ีสถานศกึ ษาธรรมกับเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษา 3) ศึกษา วิเคราะห์วิจัยการจัดและพัฒนาการศึกษาของสถานศึกษาตามกรอบทิศทางของเขตพื้นท่ี การศึกษาและตามความตอ้ งการของสถานศึกษา 4) วิเคราะหผ์ ลการดำเนนิ งานของการศึกษาตามขอ้ ตกลงทีท่ ำกับเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ดา้ นปริมาณ คณุ ภาพ เวลา ตลอดจนต้นทุน ซงึ่ ตอ้ งคำนวณต้นทุน ผลผลิตขององคก์ รและผลผลิตงาน/โครงการ 5) จัดทำข้อมูลสารสนเทศผลการศึกษา วิเคราะห์วจิ ัยเพือ่ ใช้ในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบ ต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 6) เผยแพร่ข้อมูลสารสนเทศใหเ้ ขตพืน้ ที่การศึกษาและสาธารณะรับทราบ กฎหมาย ระเบยี บ และเอกสารที่เก่ียวข้อง 1) พระราชบัญญตั กิ ารศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และทีแ่ ก้ไขเพิ่มเตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 2) พระราชบัญญตั ริ ะเบียบบริหารราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2546 1.2 การจดั ทำแผนกลยุทธ์หรอื แผนพัฒนาการศึกษา แนวทางการปฏิบัติ ครู บุคลากรทางการศกึ ษา นักเรียน คณะกรรมการสถานศกึ ษา และชุมชนมีส่วนรว่ มดำเนนิ การ ดังนี้ 1) ทบทวนภารกิจการจัดการศึกษาของสถานศึกษา และศึกษารายงานข้อมลู สารสนเทศที่เก่ียวข้อง 2) วิเคราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศึกษาที่มีผลกระทบต่อการจัดการศึกษา (SWOT) และประเมิน สถานภาพของสถานศกึ ษา 3) กำหนดวิสัยทัศน์(Vision) พนั ธกจิ (Mission) และเป้าประสงค์(Corporate Objective)ของสถานศกึ ษา 4) กำหนดกลยุทธ์ของสถานศกึ ษา 5) กำหนดผลผลิต (Outputs) ผลลัพธ์ (Outcomes) และตัวชี้วัดความสำเร็จ (Key Performance Indicators : KPIs) โดยจัดทำเปน็ ขอ้ มลู สารสนเทศ 6) กำหนดเป้าหมายระยะปานกลางของผลผลิตในเชิงปริมาณ เชิงคุณภาพ และผลลัพธ์ท่ีสอดคลอ้ งกับผล การปฏบิ ัติงานของสถานศกึ ษาที่จะทำรา่ งขอ้ ตกลงกับเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา 7) จดั ทำรายละเอยี ดโครงสร้างแผนงาน งาน/โครงการและกิจกรรมหลกั 8) จัดให้รบั ฟังความคิดเห็นจากผทู้ ีเ่ กี่ยวข้อง เพื่อปรบั ปรงุ และนำเสนอขอความเหน็ ชอบตอ่ คณะกรรมการ สถานศกึ ษา 9) เผยแพร่ประกาศตอ่ สาธารณชนและผู้เกย่ี วข้อง โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จังหวัดยะลา
คู่มอื การปฏิบตั ิงานกลมุ่ บรหิ ารงานงบประมาณ 7 กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง 1) พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิม่ เตมิ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 2) พระราชบญั ญัตริ ะเบยี บบรหิ ารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 1.3 การวเิ คราะหค์ วามเหมาะสมการเสนอของบประมาณ แนวทางการปฏิบตั ิ 1) จัดทำรายละเอียดแผนงบประมาณ แผนงาน งาน/โครงการ ให้มีความเชื่อมโยงกับผลผลิตและผลลัพธ์ ตามตัวชี้วัดความสำเร็จของสถานศึกษา พร้อมกับวิเคราะห์และจดั ลำดบั ความสำคญั ของแผนงาน งาน/โครงการ เมื่อ เขตพื้นที่การศึกษาแจ้งนโยบาย แผนพัฒนามาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักเกณฑ์ขั้นตอนและวิธีการจัดตั้ง งบประมาณใหส้ ถานศกึ ษาศึกษาดำเนนิ การ 2) จัดทำกรอบประมาณการรายจ่ายระยะปานกลาง (Medium Term Expenditure Framework : MTEF) โดยวิเคราะห์นโยบายหน่วยเหนือที่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม วิเคราะห์ผลการดำเนินงานปีงบประมาณท่ี ผ่านมาของสถานศึกษา เพื่อปรับเป้าหมาย ผลผลิตที่ต้องการดำเนินการภายใน 3 ปีข้างหน้า พร้อมกับปรับแผนงาน งาน/โครงการและกิจกรรมหลักให้สอดคล้องกับประมาณรายได้ของสถานศึกษาทั้งจากงบประมาณและเงินนอก งบประมาณจัดทำคำขอรับงบประมาณของสถานศึกษา และกรอบประมาณการรายจ่ายระยะปานกลางเสนอต่อเขต พ้ืนท่กี ารศกึ ษาเพ่ือพิจารณาความเหมาะสมสอดคลอ้ งเชงิ นโยบาย 3) จัดทำร่างข้อตกลงบริการผลผลิต (ร่างข้อตกลงผลการปฏิบัติงาน) ของสถานศึกษาที่จะต้องทำกับ เขต พื้นที่การศึกษาเมื่อได้รับงบประมาณ โดยมีเป้าหมายการให้บริการที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์สถานศึกษา โดยผ่าน ความเหน็ ชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่ีเกย่ี วข้อง 1) ระเบยี บวา่ ดว้ ยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2545 2) ชดุ ปฏบิ ตั ิการจัดทำแผนกลยุทธแ์ ละกรอบประมาณการรายจ่ายลว่ งหน้าระยะปานกลาง : กองแผนงาน กรมสามัญศึกษา ขอบข่ายการดำเนินการตามภาระงานและอำนาจหน้าที่งานนโยบายและแผน 1) รับนโยบายจากฝ่ายบริหารเพื่อนำมาวิเคราะห์และประสานงานกับทุกหน่วยงานในโรงเรียน เพื่อวางแผน การจดั ทำแผนพฒั นาและแผนปฏบิ ตั กิ ารของโรงเรยี นให้เกดิ ประสิทธิภาพมากท่สี ดุ 2) ประสานงานกบั ทกุ กล่มุ บริหารทกุ กลุ่ม เพอ่ื จดั หาคณะทำงานแผนของงบประมาณ 3) ประชมุ คณะทำงานแผนเพอื่ วางแผนกำหนดหนา้ ท่รี ับผิดชอบการปฏบิ ัติหนา้ ที่ o รับนโยบายจากฝา่ ยบรหิ าร ร่วมปรกึ ษาหารือคณะทำงานแผน เพื่อวเิ คราะห์สภาพปัจจุบันและปัญหา พร้อมทั้งกำหนดกิจกรรมงาน/โครงการที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ มาตรฐานคุณภาพการศึกษา นโยบาย วิสัยทัศน์และสอดคล้องกบั สภาพปจั จุบันและปัญหาของโรงเรียน o เสนองานกิจกรรมโครงการเพ่ือขออนุมัตแิ ผนและงบประมาณ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จงั หวัดยะลา
คมู่ อื การปฏิบตั งิ านกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 8 o จดั ทำแผนปฏิบัตกิ ารประจำปีการศกึ ษา o ประสานกำกบั ตดิ ตามให้ขอ้ เสนอแนะแกท่ ุกงานในเร่ืองแผนปฏิบตั กิ ารประจำปีการศึกษา o กำหนดแบบประเมินผลการปฏิบัติงานตาม กิจกรรม/งาน/โครงการ ที่ปรากฏในแผนปฏิบัติการ ประจำปีการศกึ ษาและโครงการพเิ ศษ 4) ตรวจสอบความถูกต้องในการจัดทำเอกสารเก่ียวกบั แผนงานแผนปฏิบตั กิ ารทุกประเภท 5) บันทกึ ขอ้ มูลและสารสนเทศของสำนกั งาน 6) ประสานงานกับเจ้าหนา้ ที่พัสดเุ พอื่ กำหนดหน้าทีร่ บั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ิงาน ดังน้ี o จดั ทำเอกสารท่ีเกี่ยวขอ้ งกับการใช้งบประมาณตามแผนปฏิบตั ิการประจำปกี ารศกึ ษา o ประชุมเจ้าหน้าที่พัสดุทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้หรืองานเพื่อรับทราบแนวทางการจัดซื้อ จัดหาวัสดุ ครุภณั ฑ์ ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศกึ ษา o ดูแลกำกับตรวจสอบการใชง้ บประมาณทป่ี รากฏในแผนปฏบิ ัติการประจำปีการศกึ ษา 7) ประสานเพ่ือทำปฏทิ นิ โรงเรียน 8) รวบรวมและจัดทำรายงานผลการปฏิบัตงิ านตามแผนปฏิบตั งิ านประจำปีการศึกษา 9) ปฏิบัตหิ นา้ ทอ่ี ื่นๆท่ีไดร้ บั มอบหมาย 2. การจัดสรรงบประมาณ 2.1 การจดั สรรงบประมาณในสถานศึกษา แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) จดั ทำข้อตกลงบริการผลผลิตของสถานศึกษากับเขตพื้นท่ีการศึกษา เม่ือไดร้ บั งบประมาณ 2) ศึกษาข้อมูลการจัดสรรงบประมาณที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานแจ้งผ่านเขตพื้นที่ การศกึ ษา แจ้งใหส้ ถานศกึ ษาทราบในเรื่องนโยบายแผนพฒั นามาตรฐานการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน หลกั เกณฑ์ ข้นั ตอนและ วธิ กี ารจดั สรรงบประมาณ 3) ตรวจสอบกรอบวงเงินงบประมาณที่ได้รับจากหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสรรที่เขตพื้นที่การศึกษาแจ้ง ตลอดจนตรวจสอบวงเงินนอกงบประมาณทไี่ ดจ้ ากแผนการระดมทรัพยากร 4) วเิ คราะห์กิจกรรมตามภารกจิ งานที่จะต้องดำเนินการตามมาตรฐานโครงสร้างสายงานและตามแผนงาน งาน/โครงการของสถานศึกษา เพื่อจัดลำดับความสำคัญและกำหนดงบประมาณทรัพยากรของแต่ละสายงาน งาน/โครงการให้เป็นไปตามกรอบวงเงนิ งบประมาณทีไ่ ด้รบั และวงเงนิ นอกงบประมาณตามแผนระดมทรัพยากร 5) ปรับปรุงกรอบงบประมาณรายจ่ายระยะปานกลางให้สอดคล้องกับกรอบวงเงินที่ได้รับ จัดทำรายละเอียดแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษาซึ่งระบุแผนงานงาน/โครงการที่สอดคล้องวงเงินงบประมาณ ทีไ่ ด้รับและวงเงนิ นอกงบประมาณท่ีได้ตามแผนระดมทรัพยากร 6) รา่ งขอ้ ตกลงผลผลิตของหนว่ ยงานภายในสถานศกึ ษาและกำหนดผูร้ บั ผดิ ชอบ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จงั หวดั ยะลา
คู่มอื การปฏิบตั งิ านกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 9 7) นำเสนอแผนปฏบิ ัติการประจำปีการศึกษาและรา่ งข้อตกลงผลผลติ ขอความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการ สถานศกึ ษา 8) แจ้งจัดสรรวงเงินและจัดทำข้อตกลงผลผลิตให้หน่วยงานภายในสถานศึกษารับไปดำเนินการตาม แผนปฏิบตั ิการประจำปีการศึกษา กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่เี กีย่ วข้อง 1) ระเบียบว่าด้วยการบริหารงบประมาณ พ.ศ. 2545 2.2 การเบิกจ่ายและการอนุมตั ิงบประมาณ แนวทางการปฏิบัติ 1) จัดทำแผนการใช้งบประมาณรายไตรมาส โดยกำหนดปฏิทินปฏิบัติงานรายเดือนให้เป็นไปตาม แผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษาแล้วสรุปแยกเป็นรายไตรมาสเป็นงบบุคลากร งบอุดหนุน งบลงทุน (แยกเป็นค่า ครภุ ัณฑ์และค่ากอ่ สร้าง) และงบดำเนินการ (ตามนโยบายพเิ ศษ) 2) เสนอแผนการใช้งบประมาณวงเงินรวมเพื่อขออนุมัติเงินประจำงวดเป็นรายไตรมาสผ่านเขตพื้นที่ การศึกษาไปยังคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน รวบรวมเสนอตอ่ สำนกั งบประมาณ 3) เบิกจ่ายงบประมาณประเภทต่างๆ ให้เป็นไปตามแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษาและอนุมัติการใช้ งบประมาณของสถานศึกษาตามประเภทและรายการท่ีได้รบั งบประมาณ กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่เี กยี่ วข้อง 1) ระเบยี บว่าด้วยการบรหิ ารงบประมาณ พ.ศ. 2545 2.3 การโอนงบประมาณ แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) การโอนเงินใหเ้ ปน็ ไปตามขน้ั ตอนและวธิ กี ารท่ีกระทรวงการคลงั กำหนด 3. การตรวจสอบ ตดิ ตามประเมนิ ผล และรายงานผลการใช้เงินและผลการดำเนนิ งาน 3.1 การตรวจสอบตดิ ตามการใช้เงนิ และผลการดำเนินงาน แนวทางการปฏบิ ัติ 1) จดั ทำแผนการตรวจสอบ ตดิ ตามการใช้เงนิ คา้ งเงินงบประมาณและเงินนอกงบประมาณของสถานศึกษา ให้เป็นไปตามแผนปฏิบตั ิการประจำปีการศกึ ษาและแผนการใชง้ บประมาณรายไตรมาส 2) จัดทำแผนการตรวจสอบ ติดตามผลการดำเนินงานตามขอ้ ตกลงการให้บริการผลผลติ ของสถานศึกษาให้ เปน็ ไปตามแผนปฏบิ ัติการประจำปกี ารศึกษาและแผนการใชง้ บประมาณรายไตรมาส 3) จัดทำแผนการกำกับ ตรวจสอบ ติดตามและป้องกนั ความเส่ยี งสำหรับโครงการท่มี คี วามเส่ยี งสงู โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
คมู่ อื การปฏิบตั ิงานกล่มุ บรหิ ารงานงบประมาณ 10 4) ประสานแผนและดำเนินการตรวจสอบ ติดตามและนิเทศให้เป็นไปตามแผนการตรวจสอบ ติดตามของ สถานศึกษาโดยเฉพาะโครงการทม่ี คี วามเส่ียงสูง 5) จดั ทำข้อสรุปผลการตรวจสอบ ติดตามและนเิ ทศ พรอ้ มท้งั เสนอขอปัญหาท่ีอาจจะทำให้การดำเนินงาน ไมป่ ระสบความสำเรจ็ เพือ่ ใหส้ ถานศึกษาเรง่ แก้ปัญหาได้ทันสถานการณ์ 6) รายงานผลการดำเนินการตรวจสอบตอ่ คณะกรรมการสถานศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน 7) สรปุ ขอ้ มลู สารสนเทศท่ีไดแ้ ละจดั ทำรายงานข้อมูลการใชง้ บประมาณ ผลการดำเนินงานของสถานศึกษา เปน็ รายไตรมาสตอ่ เขตพนื้ ทกี่ ารศึกษา 3.2 การประเมินผลการใช้เงินและผลการดำเนนิ งาน แนวทางการปฏิบตั ิ 1) กำหนดปัจจัยหลกั ความสำเร็จและตัวชี้วัดของสถานศกึ ษา 2) จัดทำตวั ชี้วดั ความสำเรจ็ ของผลผลติ ทก่ี ำหนดตามข้อตกลงการให้บรกิ ารผลผลติ ของสถานศกึ ษา 3) สร้างเครื่องมือเพอ่ื การประเมนิ ผลผลผลติ ตามตวั ช้วี ดั ความสำเรจ็ ทีก่ ำหนดไว้ตามข้อตกลงการให้บริการ ผลผลติ ของสถานศึกษา 4) ประเมนิ แผนกลยุทธแ์ ละแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศกึ ษาของสถานศึกษาและจดั ทำรายงานประจำปี 5) รายงานผลการประเมนิ ตอ่ คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพน้ื ฐานและเขตพน้ื ที่การศึกษา 4. การบริหารการเงิน การเบิกเงินจากคลัง การรับเงิน การเก็บรักษาเงิน การจ่ายเงิน การนำส่งเงินการโอนเงิน การกันเงินไว้เบิก เหลอ่ื มปใี หเ้ ปน็ ไปตามขัน้ ตอนและวธิ กี ารทก่ี ระทรวงการคลงั กำหนด 1) วางแผนกำกบั ดแู ลการดำเนินงานด้านการเงินการบัญชีการระดมทรัพยากรและการลงทุนเพื่อการศึกษา 2) เบกิ จ่ายเงินเดือนเงินสวสั ดิการค่ารกั ษาพยาบาล คา่ การศึกษาบุตร คา่ เชา่ บ้านของข้าราชการและลูกจ้าง 3) จัดทำหนังสือรับรองการใช้สิทธิรับเงินค่ารักษาพยาบาลตนสังกัด หนังสือรับรองเงินเดือนของข้าราชการและ ลกู จ้าง 4) เบิกจา่ ยใบเสรจ็ รับเงินและจดั ทำทะเบียนใบเสรจ็ รับเงนิ 5) รายงานการใช้ใบเสรจ็ รับเงินเมื่อส้นิ ปีงบประมาณ 6) เก็บรักษาเงิน ดำเนินการรบั จา่ ยเงิน ถอนเงนิ ฝากเงนิ และนำส่งเงินทุกประเภท ทั้งเงินงบประมาณ เงินรายได้ สถานศกึ ษา เงินรายไดแ้ ผน่ ดนิ และเงินอุดหนุนการศึกษา 7) จัดทำรายงานคงเหลือประจำวันและลงบัญชีประเภทต่างๆ สมุดเงินสด ทะเบียนคุมเงินแยกประเภท ทั้งเงิน งบประมาณ เงินอดุ หนนุ การศึกษาและเงินรายได้สถานศึกษาทุกประเภท โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จังหวดั ยะลา
คูม่ อื การปฏบิ ตั ิงานกลมุ่ บริหารงานงบประมาณ 11 8) จัดทำรายงานงบเทียบยอดเงินฝากธนาคาร สำหรับบัญชีเงินฝากกระแสรายวัน บัญชีเงินอุดหนุนการศึกษา บญั ชีเงินรายไดส้ ถานศึกษาและเงินงบประมาณ 9) จัดทำรายงานการเงิน ได้แก่ รายงานการรับจ่าย เงินรายได้สถานศึกษาเงนิ อุดหนุนการศึกษาสง่ สำนักงาน เขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษายะลา 10) เกบ็ รกั ษาสญั ญาการยืมเงินและเอกสารแทนตัวเงนิ ทุกประเภท 11) วิเคราะห์วางแผน ติดตอ่ ประสานงาน ให้คำปรึกษาเกย่ี วกบั ระเบียบการเบกิ จ่ายเงนิ ใหแ้ ก่บคุ ลากรในโรงเรียน 12) จัดทำแบบกรอกข้อมูลประกอบการบริจาคทรัพยส์ ินหนังสือตอบขอบคุณและใบประกาศเกียรตคิ ุณ 13) จดั ทำงบเดอื น เงนิ อุดหนนุ การศึกษา เงินรายได้สถานศึกษา 14) จัดทำรายละเอยี ด และรวบรวมใบสำคญั ประกอบงบเดอื นและจัดเกบ็ งบเดือน 15) จัดทำข้อมลู ลูกจา้ งชั่วคราวทต่ี ้องการประกนั ตนกับสำนักงานประกนั สงั คมจงั หวดั 16) ประสานงานกบั สำนักงานประกนั สงั คมจงั หวดั เกยี่ วกับการใช้สทิ ธปิ ระกนั ตนเองของลูกจา้ ง 17) จดั ทำรายละเอยี ดการสง่ เงินประกนั สังคมรายเดือนของลูกจ้างและนำส่งเงินตอ่ สำนักงานประกันสงั คมจังหวัด กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารทีเ่ กยี่ วข้อง 1) แนวทางการดำเนินงานตามโครงการสนับสนุนคา่ ใช้จา่ ยในการจดั การศกึ ษาต้ังแตร่ ะดับอนุบาลจนจบ การศึกษาข้ันพ้ืนฐานปงี บประมาณ พ.ศ. 2566 2) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยการเบกิ เงนิ จากคลงั การรบั เงินการจ่ายเงนิ การเก็บรักษาเงนิ และการ นำเงินส่งคลัง พ.ศ. 2562 3) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ดว้ ยเงินทดรองราชการ พ.ศ. 2562 4) พระราชกฤษฎกี าค่าใช้จ่ายในการเดนิ ทางไปราชการ > ฉบับท่ี 1 พ.ศ. 2526 > ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2527 > ฉบับท่ี 3 พ.ศ. 2528 > ฉบบั ที่ 4 พ.ศ. 2529 > ฉบบั ที่ 5 พ.ศ. 2534 > ฉบบั ท่ี 6 พ.ศ. 2541 > ฉบบั ที่ 7 พ.ศ. 2548 > ฉบบั ที่ 8 พ.ศ. 2553 > ฉบับที่ 9 พ.ศ. 2560 5) ระเบยี บกระทรวงการคลงั ว่าดว้ ยการเบิกจายในการเดนิ ทางไปราชการ > ฉบบั ที่ 1 พ.ศ. 2550 > ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2554 6) หนงั สอื เวียน ปี 2562 โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จงั หวัดยะลา
คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ านกล่มุ บรหิ ารงานงบประมาณ 12 > ว.503 ซกั ซ้อมการเบกิ ค่าใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการประจำปี 2559 > กษ 1103/11117 ซักซ้อมความเขา้ ใจการเบกิ ค่าใช้จา่ ยในการเดินทางไปราชการเพ่ือการ ฝึกอบรมหรือการจัดงาน > ว.165 หลักเกณฑ์และหลักฐานประกอบการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ ในราชอาณาจักร และการเดินทางไปราชการต่างประเทศ และวิธีปฏิบัติกรณีผู้เดินทางทำหลักฐานประกอบการเบิก จา่ ยเงนิ สูญหาย ปี 2554 > ว.2 ซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการใช้งบประมาณรายจ่ายรายการค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ไปราชการตา่ งประเทศชั่วคราว ปี 2554 > ว.5 หลักเกณฑ์การเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการและการฝึกอบรม ภายในประเทศ ปี 2553 > การเดินทางไปราชการเพ่อื ร่วมงานกฐนิ พระราชทาน > 02250 การเบกิ คา่ ใชจ้ ่ายในการเดินทาง > ว.64 การเบิกคา่ ใช้จา่ ยในการเดนิ ทางไปราชการของข้าราชการผเู้ สยี ชีวติ > ว.138 ซ้อมความเข้าใจเก่ียวกบั การดำเนินการตามมาตรการประหยดั ในการเบกิ ค่าใช้จา่ ย ปี 2550 > ว.42 หลักเกณฑก์ ารเบิกค่าพาหนะรับจ้างข้ามเขตจังหวัดเงนิ ชดเชย ปี 2549 > ว.78 การเบกิ ค่าพาหนะรบั จา้ งกรณกี ารเดนิ ทางข้ามเขตจังหวดั ปี 2548 > ว.392 ซ้อมความเขา้ ใจเกี่ยวกบั การเบิกเบย้ี เลีย้ งในการเดินทางไปฝึกอบรม ปี 2547 > ว.74 การเบกิ จ่ายคา่ โดยสารเคร่ืองบิน > ว.40842 การเบิกค่าธรรมเนียมในการคืนตวั๋ เปลยี่ นตว๋ั โดยสารเครอ่ื งบนิ และรถไฟ > ว.13 หลักเกณฑ์การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเพื่อเป็นค่าใช้จ่ายในการเดินทางไป ราชการตา่ งประเทศ ปี 2545 > ว.1177 แบบใบเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ 7) ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยค่าใชจ้ ่ายในการฝกึ อบรม การจดั งาน และการประชุมระหว่างประเทศ > ฉบบั ที่ 1 พ.ศ. 2549 > ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2552 > ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2555 โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จงั หวดั ยะลา
ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 13 5. การบรหิ ารบัญชี 5.1 การจัดทำบัญชีการเงนิ แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) ตั้งยอดบัญชีระหว่างปีงบประมาณทั้งการตั้งยอดภายหลังการปิดบัญชีงบประมาณปีก่อนและการตั้ง ยอดกอ่ นปดิ บญั ชีปงี บประมาณปีก่อน 2) การจัดทำกระดาษทำการโดยปรับปรุงบัญชีเงินงบประมาณ โอนปิดบัญชีเงินนอกงบประมาณเข้าบญั ชี ทุนและบัญชีเงินรับฝากและเงินประกัน ตั้งยอดบัญชีสินทรัพย์ที่เป็นบัญชีวัสดุหรือ (บัญชีสินค้าคงเหลือ) และบัญชี สนิ ทรพั ยไ์ มห่ มุนเวยี น พร้อมทงั้ จดั ทำใบสำคัญการลงบัญชที ั่วไปโดยใชจ้ ำนวนเงินตามรายการหลังการปรับปรงุ 3) บันทึกเปิดบัญชีคงค้าง (พึงรับพึงจ่าย: Accrual Basis) โดยบันทึกรายการด้านเดบิตในบัญชีแยก ประเภท (สินทรัพยแ์ ละค่าใช้จา่ ย) และบนั ทึกรายการดา้ นเครดิตในบญั ชีแยกประเภท (หนี้สิน ทุน รายได้) 4) บันทึกบัญชีประจำวันให้ครอบคลุมการรับเงินงบประมาณ การรับรายได้จากการขายสินค้า หรือการ ให้บริการ การรับเงินรายได้จากการจ่ายเงินงบประมาณ การจ่ายเงินงบประมาณให้ยืม การจ่ายเงินนอกงบประมาณ ให้ยืม การซื้อวัสดุหรือสินค้าคงเหลือ เงินทดรองจ่ายเงินมัดจำและค่าปรับ รายได้จ่ายเงินกู้ของรัฐ สินทรัพย์ไม่ หมุนเวียน การรับเงินบริจาค การรับเงินรายได้แผ่นดิน การถอนเงินรายได้แผ่นดิน การเบิกเงินงบประมาณแทนกัน การจ่ายเงนิ ให้หนว่ ยงานทีป่ ฏิบัติตามระบบควบคุมการเงิน การรบั เงนิ ความรับผดิ ทางละเมิด 5) สรุปรายการบันทึกบัญชที ุกวันทำการ สรุปรายการรับหรือจ่ายเงินผ่านไปบญั ชีแยกประเภทเงินสด เงิน ฝากธนาคารและเงินฝากคลัง สำหรับรายการอื่นและรายการในสมุดรายวนั ทั่วไปให้ผ่านรายการเข้าบัญชีแยกประเภท ณ วนั ทำการสดุ ท้ายของเดอื น 6) ปรบั ปรงุ บญั ชเี ม่ือส้ินปีงบประมาณ โดยปรับรายการบัญชรี ายได้จากงบประมาณค้างรบั ค่าใช้จ่าย ค้าง จ่าย/รบั ท่ีได้รับล่วงหนา้ คา่ ใช้จา่ ยล่วงหนา้ /รายได้คา้ งรบั วัสดหุ รือสินค้าทีใ่ ชไ้ ประหว่างงวดบัญชคี ่าเส่ือมราคา /ค่าตัด จำหนา่ ย คา่ เผอื่ หน้สี งสัยจะสูญและหน้ีสญู 7) ปิดบัญชีรายได้และค่าใช้จ่ายเพื่อบันทึกบัญชีรายได้สูงกว่า(ต่ำกว่า) ค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีและปิด รายการรายได้สูงกว่า(ต่ำกว่า) ค่าใช้จ่ายงวดบัญชีเข้าบัญชีรายได้สูงกว่า(ต่ำกว่า) ค่าใช้จ่ายสะสม แล้วให้โอนบัญชี รายได้แผน่ ดินนำส่งคลงั เขา้ บญั ชรี ายได้แผ่นดิน หากมียอดคงเหลือให้โอนเขา้ บญั ชรี ายได้แผน่ ดนิ รอนำสง่ คลัง 8) ตรวจสอบความถูกต้องของตั๋วเงินสดและเงินฝากธนาคารตามรายงานคงเหลือประจำวันและงบพิสูจน์ ยอดฝากธนาคารตลอดจนตรวจสอบความถูกต้องของบัญชีแยกประเภททั่วไปและตรวจสอบความถูกต้องของบัญชี ย่อยและทะเบียน 9) แก้ไขข้อผิดพลาดจากการบันทึกรายการผิดบัญชีจากการเขียนข้อความผิดหรือตัวเลขผิด จากการ บันทึกตัวเลขผิดช่องบัญชีย่อยแต่ยอดรวมถูก โดยการขีดฆ่าข้อความหรือตัวเลขผิด ลงลายมือชื่อย่อกำกับ พร้อมวัน เดอื นปี แล้วเขียนขอ้ ความหรือตวั เลขท่ีถกู ตอ้ ง โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
คู่มือการปฏบิ ตั งิ านกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 14 กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง 1) หลักการนโยบายบัญชีสำหรับหนว่ ยงานภาครฐั ฉบับที่ 2 2) ค่มู ือแนวทางการปรบั เปล่ียนระบบบญั ชีสว่ นราชการจากเกณฑเ์ งินสดเขา้ สู่เกณฑ์คงค้าง 5.2 การจดั ทำรายงานทางการเงนิ และงบการเงิน แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) จัดทำรายงานประจำเดือนส่งหนว่ ยงานตน้ สงั กัดสำนักงานตรวจเงินแผน่ ดนิ และกรมบญั ชีกลางภายใน วนั ที่ 15 ของเดือนถัดไปโดยจดั ทำรายงานรายไดแ้ ผน่ ดนิ รายงานรายไดแ้ ละค่าใชจ้ า่ ย รายงานเงนิ ประจำงวด 2) จัดทำรายงานประจำปีโดยจัดทำงบแสดงฐานะการเงิน จัดทำงบแสดงผลการดำเนินงานทางการเงิน งบกระแสเงินสด จัดทำโดยวิธีตรง จัดทำหมายเหตุประกอบงบการเงินและจัดส่งรายงานประจำปีให้สำนักงาน คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานผ่านเขตพื้นที่การศึกษาและจัดส่งสำนักงานตรวจเงินแผ่นดินและกรมบัญชีกลาง ตามกำหนดระยะเวลาทก่ี ำหนด กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่เี กี่ยวข้อง 1) หลกั การนโยบายบัญชีสำหรับหนว่ ยงานภาครัฐ ฉบบั ที่ 2 5.3 การจดั ทำและจดั หาแบบพมิ พ์บญั ชีทะเบียนและรายงาน แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) จัดทำและจัดหาแบบพิมพ์ขึ้นใช้เองเวน้ แต่เป็นแบบพิมพ์กลางที่เขตพื้นที่การศึกษาหรือหนว่ ยงาน ตน้ สงั กดั หรอื ส่วนราชการทเ่ี ก่ยี วขอ้ งจัดทำขนึ้ เพือ่ จำหนา่ ยจา่ ยแจก กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง 1) หลกั การนโยบายบญั ชสี ำหรบั หน่วยงานภาครฐั ฉบับที่ 2 6. การบริหารพัสดุ 6.1 การจัดทำระบบฐานข้อมูลสินทรัพยข์ องสถานศึกษา แนวทางการปฏิบัติ 1) ตั้งคณะกรรมการหรือบุคลากรขึ้นสำรวจวัสดุ ครุภัณฑ์ ที่ดิน อาคาร และสิ่งก่อสร้างทั้งหมดเพื่อทราบ สภาพการใชง้ าน 2) จำหนา่ ย บรจิ าค หรือขายทอดตลาดให้เปน็ ไปตามระเบียบในกรณีทีห่ มดสภาพหรือไม่ได้ใชป้ ระโยชน์ 3) จดั ทำทะเบียนคมุ ทรพั ยส์ ินท่เี ป็นวสั ดุครุภัณฑ์ให้เป็นปัจจุบนั ทงั้ ท่ีซอ้ื หรือจดั หาจากเงนิ งบประมาณและ เงินนอกงบประมาณ ตลอดจนท่ีได้จากการบรจิ าคท่ยี ังไมไ่ ด้บันทึกคุมไว้ โดยบันทึกทะเบียนคมุ ราคา วนั เวลาทไ่ี ด้รบั สนิ ทรัพย์ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จังหวดั ยะลา
ค่มู อื การปฏิบตั ิงานกลุม่ บรหิ ารงานงบประมาณ 15 4) จดทะเบียนเป็นที่ราชพัสดุสำหรับที่ดิน อาคาร และสิ่งก่อสร้าง ในกรณีที่ยังไม่ดำเนินการ และที่ยังไม่ สมบูรณ์ ให้ประสานไปกับกรมธนารักษ์หรือสำนักงานธนารักษ์จังหวัด เพื่อดำเนินการให้เป็นปัจจุบันและให้จัดทำ ทะเบยี นคุมในสว่ นของโรงเรียนให้เป็นปัจจุบนั 5) จัดทำระบบฐานข้อมูลทรัพย์สินของสถานศึกษาซึ่งอาจใช้โปรแกรมระบบทะเบียนคุมสินทรัพย์ก็ได้ถ้า สถานศึกษามีความพรอ้ ม 6) จัดทำระเบียบการใช้ทรัพย์สินที่เกิดจากการจัดหาของศาลศึกษาโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ สถานศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน ขอบขา่ ยการดำเนนิ การตามภาระงานและอำนาจหน้าทขี่ องงานพัสดุ 1) ควบคุมดูแลการจัดซื้อ-จัดจ้าง พัสดุให้เป็นไปตามระเบียบ จัดทำทะเบียนควบคุมการจัดซื้อ-จัดจ้างของ กลมุ่ บรหิ าร กลุ่มสาระการเรยี นรูแ้ ละงานใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปกี ารศึกษา 2) ประสานงานใหบ้ ริการกับเจ้าหน้าที่พัสดุกลุ่มบรหิ าร กลมุ่ สาระการเรียนรแู้ ละงานในการจัดซ้ือ-จัดจ้างและ เบกิ จ่ายพัสดุ 3) ตรวจสอบเอกสารการจัดซ้อื -จัดจา้ งของกลุม่ บรหิ าร กล่มุ สาระการเรียนร้แู ละงานให้เปน็ ไปตามระเบียบ 4) จัดทำเอกสารตา่ งๆของงานพสั ดเุ พ่ือใหบ้ ริการแก่เจ้าหน้าทพ่ี ัสดุกลมุ่ บริหาร กลุม่ สาระการเรียนรู้และงาน 5) จัดทำบญั ชพี ัสดุและทะเบยี นคมุ ทรัพยส์ นิ ให้ถูกต้องครบถว้ น 6) กำกับ ตดิ ตาม การจัดทำบัญชีวัสดแุ ละทะเบยี นคมุ ทรัพย์สนิ ของพสั ดกุ ลมุ่ บรหิ าร กลุม่ สาระการเรยี นรู้และงาน 8) รบั ผิดชอบ ดูแลการตรวจสอบการจำหนา่ ยวสั ดุถาวรและพสั ดุประจำปี 9) จัดทำประมาณการคา่ เสอ่ื มสภาพวัสดแุ ละสนิ ทรัพย์ 10) จัดรวบรวมฐานข้อมลู โปรแกรมคอมพิวเตอร์ 11) จัดเกบ็ ข้อมูลและรักษาข้อมลู ใหถ้ กู ต้องเหมาะสม 12) ปฏบิ ตั ิหน้าท่ีท่ไี ด้รับมอบหมาย กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่ีเกีย่ วข้อง 1) พระราชบญั ญัติการจัดซ้อื จดั จ้างและการบริหารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.2560 6.2 การจดั หาพสั ดุ แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) วิเคราะหแ์ ผนงาน งานโครงการทีจ่ ะทำกรอบรายจา่ ยลว่ งหน้าระยะประมาณการเพือ่ ตรวจดกู ิจกรรมที่ ตอ้ งใชพ้ ัสดทุ ย่ี งั ไมม่ ตี ามทะเบยี นคุมทรพั ยส์ นิ และเป็นไปตามเกณฑค์ วามขาดท่ีกำหนดตามมาตรฐานกลาง 2) จัดทำแผนระยะปานกลางและจัดหาพัสดุทั้งในส่วนที่สถานศึกษาจัดหาเองแหละที่ร่ว มมือกับ สถานศกึ ษาหรอื หนว่ ยงานอืน่ จัดหา โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จงั หวัดยะลา
คมู่ ือการปฏิบตั งิ านกลมุ่ บรหิ ารงานงบประมาณ 16 กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่ีเกี่ยวข้อง 1) พระราชบญั ญตั กิ ารจัดซือ้ จดั จา้ งและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.2560 6.3 การกำหนดแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะและจัดซื้อจัดจ้าง แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1) จัดทำเอกสารแนบรูปรายงานหรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภณั ฑ์สิ่งก่อสร้างในกรณีทเ่ี ป็นแบบมาตรฐาน 2) ตง้ั คณะกรรมการขนึ้ กำหนดคุณลักษณะเฉพาะหรือแบบรปู รายการในกรณีที่ไมเ่ ป็นแบบมาตรฐาน โดย ดำเนินการให้เป็นไปตามระเบียบ 3) จัดซื้อจัดจ้างโดยตรวจสอบงบประมาณรายละเอียดเกณฑ์คุณลักษณะเฉพาะประกาศจ่าย/ขายแบบรปู รายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ พิจารณาซองโดยคณะกรรมการจัดทำสัญญาและเมื่อตรวจรับงานให้มอบเรื่องแก่ เจา้ หน้าทีก่ ารเงินวางฎกี าเบกิ เงินเพ่อื จา่ ยแกผ่ ขู้ าย/ผ้จู า้ ง กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่เี กย่ี วข้อง 1) พระราชบญั ญัติการจดั ซ้อื จดั จ้างและการบรหิ ารพัสดภุ าครฐั พ.ศ.2560 6.4 การควบคุมดูแลบำรงุ รกั ษาและจำหน่ายพัสดุ แนวทางการปฏบิ ัติ 1) จดั ทำทะเบียนคุมทรัพยส์ ินใหเ้ ป็นปัจจุบนั 2) กำหนดระเบียบและแนวปฏิบตั ิเก่ยี วกับการใชท้ รพั ยส์ ิน 3) กำหนดให้มีผ้รู บั ผิดชอบในการจัดเก็บควบคมุ และเบิกจา่ ยให้เปน็ ไปตามระบบและแต่งต้งั คณะกรรมการ ตรวจสอบพสั ดุประจำปอี ย่างสม่ำเสมอทกุ ปี 4) ตรวจสอบสภาพ บำรุงรักษาและซ่อมแซมทั้งก่อนและหลังการใช้งาน สำหรับทรัพย์สินที่มีสภาพไม่ สามารถใชง้ านได้ ใหต้ ้ังกรรมการขน้ึ พิจารณาและทำจำหนา่ ยหรือขอรื้อถอน กรณเี ป็นสิง่ ปลูกสรา้ ง กฎหมาย ระเบียบ และเอกสารท่ีเก่ยี วขอ้ ง 1) พระราชบญั ญตั ิการจดั ซอ้ื จดั จา้ งและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จังหวัดยะลา
คมู่ อื การปฏิบตั ิงานกลมุ่ บริหารงานงบประมาณ 17 บทบาทและหน้าทร่ี บั ผดิ ชอบ รองผู้อำนวยการกล่มุ บริหารงานงบประมาณ 1. ทำหนา้ ที่แท้และปฏิบตั งิ านตามที่ผู้อำนวยการมอบหมายและรกั ษาราชการแทนผูอ้ ำนวยการ 2. ทำหน้าท่ีเป็นท่ีปรกึ ษาของผ้อู ำนวยการและควบคมุ ดูแลกำกับ เกยี่ วกับงานต่างๆของกลุม่ บรหิ ารงานงบประมาณ 3. นิเทศ ตดิ ตาม การปฏบิ ตั หิ นา้ ทขี่ องบคุ ลากรและสร้างขวญั กำลงั ใจแกบ่ ุคลากรของทกุ กลุม่ งานบรหิ าร 4. ประเมินผลการปฏิบตั งิ านกลมุ่ บริหารท่รี ับผิดชอบและเสนอความดีความชอบใหแ้ ก่บคุ ลากรของทกุ กลุ่มบริหาร 5. ให้บริการทางวชิ าการแกโ่ รงเรียน หนว่ ยงานราชการ ผู้ปกครองและชุมชนที่มาขอรบั บริการ 6. ส่งเสริมให้บุคลากรไดร้ ับการพัฒนาในดา้ นการจดั การเรยี นการสอน ด้านวชิ าการและงานในกลมุ่ บรหิ ารต่างๆ 7. กำกับ ติดตาม ให้มีการจัดทำแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษาของทุกฝ่ายและดำเนินงานกิจกรรม โครงการให้เป็นไปตามแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปแี ละปฏทิ ินของโรงเรียน 8. ติดตามผลสัมฤทธิ์และการประเมินผลการปฏิบัติงานเพือ่ สรุปปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานเพื่อหา แนวทางในการพัฒนางานใหม้ ปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขน้ึ 9. กำกับ ติดตามและประสานงานการปฏิบัติงานของทุกฝ่ายพร้อมรายงานผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง เพื่อเสนอผู้อำนวยการ 10. ปฏบิ ัติหน้าท่ีอ่นื ๆตามทไี่ ดร้ ับมอบหมายจากผอู้ ำนวยการ หัวหน้ากลมุ่ บริหารงานงบประมาณและท่ีปรกึ ษา 1. รบั แนวปฏบิ ัตจิ ากผู้อำนวยการรองผู้อำนวยการเพอื่ สง่ั การ ดูแล กำกับ ตดิ ตามงานท่ีไดร้ ับมอบหมาย 2. ควบคุม กำกบั ติดตาม ดูแลการดำเนนิ ตามโครงสรา้ งกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ ดังน้ี 2.1 งานสำนักงานกลมุ่ บริหารงานงบประมาณ 2.2 งานนโยบายและแผน 2.3 งานการเงินและบญั ชี 2.4 งานตรวจสอบบัญชแี ละการเงนิ 2.5 งานพัสดุ 2.6 งานระดมทรัพยากร 2.7 งานสวสั ดิการภายใน 2.8 งานบริการ 3. ปฏิบัติงานอื่นๆตามที่ไดร้ บั มอบหมาย โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จังหวดั ยะลา
คมู่ อื การปฏิบตั งิ านกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 18 งานสำนกั งานกลมุ่ บริหารงานงบประมาณ บทบาทและหน้าทรี่ ับผิดชอบ 1. จัดทำทะเบียนรับ ส่งหนังสือราชการแยกประเภทเอกสารและหนังสือให้เป็นหมวดหมู่ มีระบบการเก็บ เอกสารทสี่ ามารถค้นหาไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ 2. โตต้ อบหนงั สอื ราชการ ตรวจสอบความถกู ต้องของเอกสารหลักฐานให้ถูกต้องตามระเบียบของงานสารบัญ อย่างรวดเรว็ และทันเวลา 3. จัดส่งหนังสือราชการ เอกสารของกลุ่มบริหารงานงบประมาณให้หน่วยงานที่รับผิดชอบ และติดตามเรื่อง เกบ็ คนื จัดเขา้ แฟ้มเรอ่ื ง 4. จัดพิมพ์เอกสารและถ่ายเอกสารต่างๆของกลุ่มบริหารงานงบประมาณ เช่น บันทึกข้อความ เเบบสำรวจ แบบสอบถาม แบบประเมนิ ผลงาน ระเบียบและคำส่งั 5. จดั ทำเอกสารเผยแพร่งานของกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ และใชใ้ นการวางแผนแกป้ ญั หา หรือพฒั นางาน ของกล่มุ ต่อไป 6. ประเมินผลและสรุปรายงานผลการปฏบิ ัติราชการประจำปกี ารศึกษา งานนโยบายและแผน บทบาทและหน้าทร่ี ับผิดชอบ 1. จัดทำแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาระยะปานกลางจัดทำแผนการใช้งบประมาณประจำปีแผนปฏิบัติการ ประจำปจี ัดทำปฏทิ นิ ปฏบิ ัตงิ านประจำปีเป็นรายภาค/รายปกี ารศกึ ษา 2. จัดประชมุ จัดทำแผน/หลอมแผนปฏิบตั ิการประจำปกี ารศึกษา 3. ควบคุม ดแู ลและตดิ ตามการปฏบิ ตั ิงานของกลุ่มบรหิ ารงานและกลุ่มสาระการเรยี นรู้ให้เปน็ ไปตามนโยบาย และปฏิทินปฏบิ ัตงิ าน 4. รวบรวมผลการประเมินโครงการ/งาน/กิจกรรม จากทุกฝ่ายเพื่อสรุปเป็นแนวทางในการจัดทำแผนปฏิบัติ การในปีต่อไป 5. ประสานงานกบั หน่วยงานอ่นื ๆทเี่ กยี่ วข้องในโรงเรียนเพือ่ ความคล่องตัวในการดำเนินงานตามแผน งานการเงินและบัญชี บทบาทและหนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบ 1.เบิก-จ่ายเงินทุกประเภทให้ถูกต้องตามระเบียบของราชการโดยให้เป็นไปตามขั้นตอนและวิธีการที่ กระทรวงการคลังกำหนด 2. จดั ทำทะเบยี นคุมการเก็บเงินงบประมาณ นอกงบประมาณ และรายได้สถานศกึ ษา 3. ตรวจสอบเอกสารหลกั ฐานใบสำคัญการเบิกจ่ายเงนิ ทกุ ประเภท โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จงั หวดั ยะลา
คมู่ อื การปฏิบตั ิงานกลมุ่ บรหิ ารงานงบประมาณ 19 4. นำสง่ เงินโอนเงนิ กลางกกั เกบ็ เงนิ ไว้เบกิ เหล่ือมปีตามวธิ กี ารท่ีกระทรวงการคลังกำหนด 5. รวบรวมรายละเอียดเกย่ี วกับการจดั ทำเรือ่ งอนุมตั ิเบกิ เงินงบประมาณประจำปี 6. ออกเอกสารทางการเงินตามระเบียบการบรหิ ารงบประมาณ 7. วเิ คราะหร์ ายจ่ายของโรงเรยี นเพื่อปรบั ปรุงการใชจ้ า่ ยให้มปี ระสิทธิภาพ 8. เบิกจ่ายเงินงบประมาณประเภทต่างๆใหเ้ ปน็ ไปตามแผนปฏิบัติการประจำปีการศึกษาของสถานศึกษา 9. ตรวจสอบความถูกต้องของเงินสดและเงินฝากธนาคารตามรายงานเงินคงเหลือประจำวัน และงบยอดเงิน ฝากธนาคาร ตลอดจนตรวจสอบความถกู ต้องของบญั ชแี ยกประเภททั่วไป 10. จัดทำรายงานประจำเดอื นส่งหนว่ ยงานตน้ สังกดั ตามระยะเวลาทีก่ ำหนด 11. จัดทำรายงานประจำปีโดยจัดทำงบแสดงฐานะการเงินส่งให้คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานผ่านเขต พนื้ ท่ีการศกึ ษาและจัดสง่ สำนักงานตรวจเงนิ แผ่นดินและกรมบัญชีกลางตามระยะเวลาท่ีกำหนด 12. จัดทำบัญชีการเงินทั้งงบประมาณและเงินรายได้สถานศึกษาตามระเบียบบญั ชีและจัดทำรายงานการเงนิ และงบการเงินเพอ่ื เสนอตอ่ ผู้บรหิ าร 13. เกบ็ รกั ษาใบเสรจ็ ทำบัญชคี วบคุมการใชใ้ บเสร็จ 14. จดั ทำบญั ชีทะเบยี นและรายงานการายงานทางการเงินทุกไตรมาส 15. ประเมินผลและรายงานผลการปฏบิ ตั งิ านต่อผู้อำนวยการสถานศกึ ษา 16. ปฏิบัติงานอ่ืนๆตามทไ่ี ด้รบั มอบหมายจากผ้บู ริหารสถานศึกษา งานพสั ดุ บทบาทและหนา้ ทรี่ บั ผิดชอบ 1. ตั้งคณะกรรมการหรือบคุ ลากรสำรวจวัสดคุ รภุ ัณฑ ทด่ี นิ อาคาร และสง่ิ ก่อสรา้ งท้ังหมดเพอื่ ทราบสภาพการใชง้ าน 2. จำหนา่ ย บริจาค หรอื ขายทอดตลาดใหเ้ ปน็ ไปตามระเบยี บในกรณีทีห่ มดสภาพหรือไมไ่ ด้ใช้ประโยชน์ 3. จัดทำทะเบียนคุมทรัพย์สินที่เป็นวัสดุครุภัณฑ์ให้เป็นปัจจุบัน ทั้งที่ซื้อหรือจัดหาจากงบประมาณและเงิน นอกงบประมาณ ตลอดจนไดร้ บั การบริจาคท่ียงั ไมไ่ ดบ้ ันทึกคุมไว้โดยบันทึกทะเบยี นคมุ ราคา วนั เวลาท่ีไดร้ บั สนิ ทรัพย์ 4. จดทะเบียนเป็นราชพัสดุสำหรับที่ดินอาคารและส่ิงก่อสร้างในกรณีที่ยังไม่ดำเนินการและที่ยังไม่สมบูรณ์ ให้ประสานกรมธนารักษ์หรอื สำนักงานธนารักษ์จังหวัด เพื่อดำเนินการให้เป็นปจั จุบนั และให้จัดทำทะเบียนคุมในสว่ น ของโรงเรียนใหเ้ ปน็ ปจั จบุ ัน 5. จดั ทำระบบฐานข้อมูลทรัพย์สนิ ของสถานศึกษา 6. จัดทำระเบียบการใช้ทรัพย์สินที่เกิดจากการจัดหาของสถานศึกษาโดยความชอบของคณะกรรมการ สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน 7. ในการจัดซื้อ-จัดจ้าง ดำเนินการจัดทำเอกสารแบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะของครุภัณฑ์ สงิ่ กอ่ สร้างในกรณที ่เี ปน็ มาตรฐาน โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จงั หวดั ยะลา
ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านกล่มุ บริหารงานงบประมาณ 20 8. ในการจัดซื้อ-จัดจ้าง ดำเนินการแต่งตั้งคณะกรรมการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะหรือรูปแบบรายการของ ครภุ ัณฑ์สงิ่ กอ่ สรา้ งในกรณีท่ีไม่เป็นแบบมาตรฐานโดยดำเนนิ การให้เปน็ ไปตามระเบยี บ 9. การจัดซื้อ-จัดจ้าง โดยตรวจสอบรายละเอียดเกณฑ์คุณลักษณะประกาศจ่าย-ขายแบบรปู รายการหรือคุณ ลักษณะเฉพาะ พิจารณาโดยคณะกรรมการ จัดทำสัญญาและเมื่อตรวจรับงานให้มอบเรือ่ งให้แก่เจ้าหน้าที่การเงินวาง ฎีกาเพ่ือเบิกจ่ายแกผ่ ูข้ าย/ผ้จู ้าง 10. กำหนดระเบียบและแนวปฏบิ ตั เิ กย่ี วกับการใชส้ นิ ทรพั ย์ 11. กำหนดใหผ้ มู้ ีความรบั ผดิ ชอบในการจดั เกบ็ ควบคมุ และเบิกจ่ายให้เปน็ ไปตามระบบ 12. แต่งตั้งคณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจำปอี ย่างสม่ำเสมอ 13. ตรวจสอบสภาพ บำรุงรักษาและซ่อมแซมทั้งก่อนและหลังการใช้งาน ทรัพย์สินที่มีสภาพไม่สามารถใช้ งานไดใ้ หต้ ั้งคณะกรรมการขนึ้ พิจารณาและทำจำหน่ายหรอื ขอรื้อถอน กรณเี ป็นสิ่งปลูกสรา้ ง 14. ดำเนินงานจัดซื้อ-จัดจ้างให้เป็นไปตามแบบแผนงานและจำนวนเงินงบประมาณที่แต่ละกลุ่มงาน/กลุ่ม สาระการเรียนรไู้ ด้รบั ตามแผนปฏบิ ตั กิ ารประจำปีการศึกษา 15. ประสานงานกบั หัวหน้ากลมุ่ งาน/หวั หนา้ กลุ่มสาระการเรียนรเู้ ก่ียวกับการเซ็นใบตรวจรบั ใบเบิก 16. ควบคมุ ติดตามและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานพัสดใุ หถ้ กู ต้องตามระเบียบเป็นปัจจบุ นั 17. จัดทำแบบฟอร์มงานพัสดปุ ระเภทตา่ งๆ 18. ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและรายงานผลการดำเนินงาน งานระดมทรพั ยากร บทบาทและหน้าท่รี บั ผิดชอบ 1. จัดการทรพั ยากรและประชาสัมพันธ์ให้หนว่ ยงานภายในสถานศึกษาและสถานศกึ ษาในเขตพื้นท่ีการศึกษา ทราบรายการสินทรพั ยข์ องสถานศึกษาเพื่อใช้ทรัพยากร 2. รว่ มกันวางระบบการใชท้ รพั ยากรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพร่วมกบั บุคคลและหน่วยงานทางภาครัฐและเอกชน 3. สนับสนุนให้บุคลากรและสถานศึกษาร่วมมือกันใช้ทรัพยากรในชุมชนให้เกิดประโยชน์ต่อกระบวนการ จัดการเรียนการสอนของสถานศกึ ษา 4. ระดมทรพั ยากรโดยการจดั หารายได้และผลประโยชน์ 5. จัดทำแผนการระดมทรัพยากรทางการศึกษาและทุนการศึกษาโดยกำหนดวิธีการแหล่งสนับสนุนเป้าหมาย เวลาดำเนนิ งานและผู้รับผดิ ชอบ 6. เสนอแผนการระดมทรัพยากรทางการศึกษาและทุนการศึกษาต่อคณะกรรมการสถานศึกษาเพื่อขอความ เหน็ ชอบและดำเนินการในรูปแบบคณะกรรมการ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จังหวดั ยะลา
ค่มู อื การปฏิบตั ิงานกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 21 งานสวสั ดิการภายใน บทบาทและหนา้ ทร่ี บั ผิดชอบ 1. วางแผนการดำเนินงานจัดทำแผนงานโครงการแผนควบคุมภายในและปฏิทินปฏิบัติงานประจำปีของงาน สวัสดกิ ารในแผนปฏิบัตงิ านประจำปกี ารศกึ ษาของโรงเรียน 2. ศึกษา สำรวจ วิเคราะห์และจัดทำหลักเกณฑ์หรือระเบียบว่าด้วยสวัสดิการของโรงเรียนและการจัด สวัสดกิ ารให้แก่บคุ ลากรของโรงเรียนในรปู แบบตา่ งๆและประชาสมั พนั ธใ์ หท้ ราบโดยทั่วกัน 3. ดำเนินการเก่ียวกบั การจัดสวัสดิการให้แก่บุคลากรตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด รวบรวมหลักฐานพรอ้ มจัดทำ บญั ชีการรับจา่ ยเงินสวัสดกิ ารใหเ้ ป็นปจั จบุ ัน 4. สรปุ ผลงาน/โครงการประจำภาคเรยี น ประจำปแี ละรายงานตามเวลาท่ีโรงเรียนกำหนด 5. สรุปผลการปฏบิ ตั ิงานของงานสวัสดกิ ารเพอื่ รายงานผลการดำเนินงานประจำปี งานบริการ บทบาทและหน้าทีร่ บั ผิดชอบ 1. วางแผนการดำเนินงานของงานบริการทั้งการบริการบุคลากรภายในและบคุ ลากรภายนอกโรงเรยี น 2. ทำหลักเกณฑ์งานบรกิ ารและประชาสัมพันธ์ให้ทราบโดยท่ัวกัน 3. ดำเนินการเกีย่ วกบั งานบรกิ าร โรงเรยี นคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
คูม่ ือการปฏบิ ตั งิ านกลมุ่ บริหารงานงบประมาณ 22 แผนภูมิแสดงข้นั ตอนการปฏิบัตงิ าน แนวปฏิบัติการทำสัญญายืมเงนิ ราชการ (กรณจี ดั โครงการ/กจิ กรรม) เรมิ่ ตน้ ผรู้ ับผิดชอบโครงการ/กิจกรรมบันทึกข้อความจดั โครงการ/ กจิ กรรมและบันทึกข้อความขออนุมตั ใิ ชง้ บประมาณ ผู้อำนายการโรงเรียน ไม่อนุมัติ อนมุ ัติ เจา้ หน้าทก่ี ารเงนิ ทำสญั ญายืมเงินราชการ (แบบ 8500) จำนวน 2 ฉบับกับงานการเงิน ผู้อำนายการโรงเรยี น ไม่อนุมัติ อนมุ ตั ิ เจ้าหน้าท่กี ารเงนิ สง่ คืนสัญญายมื เงนิ ราชการ จำนวน 1 ฉบับและมอบเงิน ผรู้ บั ผดิ ชอบลงชื่อรบั เงนิ ในสัญญาการยืมเงนิ (แบบ 8500) ผูร้ บั ผิดชอบส่งหลกั ฐานการจ่ายเงนิ (เช่น ใบเสรจ็ รับเงนิ ) เงินเหลอื จ่าย (ถ้ามี) ภายใน 30 วัน นบั จากวันที่ได้รับเงนิ สนิ้ สดุ โรงเรียนคณะราษฎรบำรงุ จังหวดั ยะลา
ค่มู ือการปฏบิ ตั ิงานกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 23 แผนภมู ิแสดงข้ันตอนการปฏิบตั งิ าน แนวปฏิบัตกิ ารทำสัญญายืมเงินราชการ (กรณีเดนิ ทางไปราชการ) เริ่มตน้ ผูเ้ ดนิ ทางไปราชการทำสญั ญายมื เงินราชการ (แบบ 8500) กบั เจ้าหนา้ ท่ีการเงินจำนวน 2 ฉบบั พรอ้ มแนบสำเนาบนั ทึกข้อความขออนุญาตไปราชการหรอื สำเนาคำส่งั ไปราชการ เจา้ หนา้ ทีก่ ารเงนิ ตรวจสอบเอกสาร ผอู้ ำนายการโรงเรยี น ไมอ่ นุมัติ อนุมัติ เจา้ หน้าทกี่ ารเงินส่งคืนสัญญายืมเงนิ ราชการ จำนวน 1 ฉบับและมอบเงิน ผเู้ ดนิ ทางไปราชการลงชือ่ รบั เงนิ ในสญั ญาการยืมเงิน (แบบ 8500) ผู้เดนิ ทางไปราชการส่งใบเบิกคา่ ใชจ้ า่ ยในการเดินทางไปราชการ (แบบ 8708 สว่ นท่ี 1 และ 2) และส่งคืนเงินเหลือจ่าย (ถ้าม)ี แนบใบรบั รองแทนใบเสร็จรับเงนิ (แบบ 4231) และบนั ทึกข้อความขออนุญาตใชร้ ถสว่ นตวั เดนิ ทางไปราชการ กรณที ่ีได้รับอนุญาตให้ใชร้ ถส่วนตัว (ภายใน 15 วันนบั จากวันทกี่ ลับจากการไปราชกา ) ส้นิ สุด โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
ค่มู ือการปฏบิ ตั งิ านกลุ่มบริหารงานงบประมาณ 24 เอกสารทเี่ ก่ียวขอ้ ง ข้นั ตอนการปฏิบัตงิ านการเงนิ (Flowchart) ผูร้ ับผิดชอบ ขนั้ ตอนการดำเนนิ งาน เรม่ิ ตน้ งานพสั ดุ ขออนุมัติเบิกจา่ ยงบประมาณ รายงานจัดซอื้ -จดั จ้าง งานการเงิน ตรวจสอบงบประมาณ แผนปฏิบัติการประจำปี การอนมุ ัติเงนิ ประจำงวด ผ้มู ีอำนาจอนุมตั ิ พิจารณา ไม่อนุมตั ิ บนั ทึกขออนมุ ตั ิเบิกจ่าย งานการเงิน อนมุ ตั ิ ใบตรวจรบั ไปเสรจ็ รับเงนิ เบิก-จา่ ยเงิน ใบสง่ มอบงาน งานบัญชี ลงบัญชกี ารเงนิ บัญชกี ารเงนิ งานการเงิน รายงานการใช้จ่ายงบประมาณ แบบฟอร์มรายงานการใช้ งานการเงนิ เกบ็ เอกสาร จา่ ยงบประมาณ เอกสารที่เกย่ี วข้อง ส้นิ สดุ โรงเรยี นคณะราษฎรบำรงุ จังหวดั ยะลา
ค่มู อื การปฏบิ ตั งิ านกลุ่มบรหิ ารงานงบประมาณ 25 ขั้นตอนปฏบิ ตั งิ านการพัสดุ(Flowchart) เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง ผรู้ ับผิดชอบ ขนั้ ตอนการดำเนินงาน บันทึกขอใชง้ บประมาณตาม แผนปฏิบัตกิ าร เร่มิ ตน้ ผู้รับผดิ ชอบกิจกรรม/โครงการ ขออนมุ ัติใช้งบประมาณ งานแผนงาน ตรวจสอบงบประมาณ บันทึกขอใช้งบประมาณตาม แผนปฏิบตั กิ าร ผู้มอี ำนาจลงนาม พจิ ารณา ไม่อนุมัติ บันทกึ ขอใชง้ บประมาณ งานพสั ดุ อนุมตั ิ ดำเนนิ การภายใน 5-7 วัน ดำเนินการจดั ซื้อ-จดั จา้ ง ตามระเบียบพสั ดุ งานพัสดุ/การเงนิ ตรวจรบั พสั ดุ เบกิ -จา่ ย ใบเสร็จรบั เงิน ใบส่งมอบงาน งานพัสดุ ลงทะเบยี นทรัพย์สิน/ลงทะเบียนคมุ พสั ดุ ทะเบียนคุมวสั ด/ุ ครภุ ัณฑ์ งานพสั ดุ ตรวจพัสดุประจำปี ใบเบกิ พสั ดุ งานพัสดุ รายงานการตรวจสอบ สนิ้ สุด คำส่งั แตง่ ตงั้ คณะกรรมการ เอกสารตรวจสอบ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา เอกสารรายงาน การตรวจสอบพัสดปุ ระจำปี
คู่มอื การปฏบิ ตั งิ านกลมุ่ บริหารงานงบประมาณ 26 ขน้ั ตอนการจัดทำแผนพฒั นาการจัดการศกึ ษา/แผนปฏิบตั กิ าร (Flowchart) ผรู้ บั ผิดชอบ ข้นั ตอนการดำเนนิ งาน เอกสารท่ีเกยี่ วขอ้ ง เร่ิมตน้ งานแผนงาน,คณะกรรมการ ศกึ ษาสภาพปญั หาและความต้องการ ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบาย/จุดเน้น สพฐ. ผมู้ ีสว่ นไดส้ ่วนเสยี กำหนดทศิ ทางการจัดการศึกษา มาตราฐานการศกึ ษา งานแผนงานและ นโยบาย/จดุ เนน้ สพม.ยะลา คณะกรรมการ กำหนดกลยทุ ธ์ นโยบาย/จดุ เนน้ โรงเรยี น โครงการ/กจิ กรรม คำส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการ วสิ ัยทศั น/์ พันธกจิ /เปา้ ประสงค/์ กลยุทธ์/โครงการ/กิจกรรม คณะกรรมการสถานศกึ ษา ไมเ่ หน็ ชอบ จดั สรรงบประมาณ ข้ันพนื้ ฐาน พจิ ารณาให้ความเห็นชอบ ผู้อำนวยการสถานศกึ ษา เหน็ ชอบ คณะกรรมการและ อนุมัตแิ ผนปฏิบัติการ โครงการ/กิจกรรม โครงการ/กิจกรรม ผูร้ บั ผิดชอบ จัดทำแผนปฏบิ ัตกิ ารประจำปี นำแผนสู่การปฏบิ ตั ิ สนิ้ สดุ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จังหวัดยะลา
คู่มือการปฏิบตั งิ านกล่มุ บริหารงานงบประมาณ 27 แผนภูมิแสดงขน้ั ตอนการปฏิบตั งิ าน แนวปฏิบัติการขอใช้งบประมาณในการจดั โครงการ/กจิ กรรม เริ่มตน้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู/้ กลุม่ งาน เขยี นแบบฟอร์มขออนมุ ตั ิใชเ้ งนิ (นย.03) กรณีโครงการ/กจิ กรรมมีการจัดซ้อื -จดั จ้าง กล่มุ สาระการเรียนรู้/ กล่มุ งาน เขยี นแบบฟอรม์ ขอจดั ซือ้ -จัดจ้าง (ขา้ งหลงั นย.03) และแนบใบเสนอราคา นำเอกสารขออนมุ ตั ิใชเ้ งิน (นย.03) เสนอตามลำดับดังนี้ หวั หน้ากลุ่มงาน/กลุ่มสาระการเรียน > รองผอู้ ำนวยการกลมุ่ ที่สังกัด > งานแผนงาน งานแผนงานเสนอแบบฟอร์ม ไมป่ รบั แก้ งานแผนงานตรวจเอกสาร ปรบั แก้ ขออนุมัติใชเ้ งนิ (นย.03) และแผนการใช้งบประมาณ รองผู้อำนวยการกลุ่ม ปรบั แก/้ ไมอ่ นุญาต-ไม่อนมุ ัติ บรหิ ารงานงบประมาณ กรณีไม่อนญุ าต-ไม่อนมุ ัติ ส่งเอกสารคืนผู้รบั ผดิ ชอบ อนุมัติ เสนอเอกสารไปยงั งานพสั ดุ ดำเนินการ อนมุ ัติ ผอู้ ำนวยการโรงเรยี น ปรับแก้/ไมอ่ นุญาต-ไม่อนุมัติ จัดซอื้ -จดั จ้างตามระเบยี บพสั ดุ พิจารณา ส้นิ สดุ โรงเรียนคณะราษฎรบำรุง จงั หวัดยะลา
บุคลากรกลุ่มบริหารงานบุคคล HUMAN RESOURCES นายวสันต์ จุลพล รองผู้อำนวยการ กลุ่มบริหารงานบุคคล นางสาวสุดา แก้วสุณีย์ หัวหน้ากลุ่ม นางรุ่งทิพย์ คงเกิด นางณัฐณพัชร์ พูลศรีรุ่งภารดา หัวหน้างาน หัวหน้างาน ส่งเสริมการประเมินวิทยฐานะ ดำเนินการเลื่ อนขั้นเงินเดือน นางศิรินทร์ทิพย์ ทองวิเศษ นางวิไล เรืองยิ่ง นางโฉมฉาย มณีนิล หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างาน การพัฒนาข้าราชการครูฯ ดำเนินการทางวินัย สรรหาและบรรจุแต่งตั้ง นางสาวอัยลีซาห์ มะดิง นางวิซาน่า จารง นายแวฮาซัน ลีหมะ นายธนูศักดิ์ ทองธรรมชาติ หัวหน้างาน หัวหน้างาน หัวหน้างานสารสนเทศ หัวหน้างาน จัดทำทะเบียนประวัติ ส่งเสริมและสร้างขวัญกำลังใจ ส่งเสริมวินัย คุณธรรรมฯ นางสาวนิโรบล เจริญสุข นางสาวขวัญรัตน์ ขวัญเลิศ นางสาวสารียะห์ มะแซ เวร-ยหัาวมหรนั้กาษงาานการณ์ หัวหน้างาน หัวหน้างาน ธุรการสำนักงานกลุ่ม แผนงานและพัสดุสำนักงาน
คาํ นาํ กลุ่มบริหารงานบุคคล เป็นกระบวนการสนับสนุนท่ีสําคัญในการปฏิบัติงานตามภารกิจของ โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จังหวัดยะลา ทีมงานบุคคลได้วางแผนจัดทําคู่มือการปฏิบัติงานตามมาตรฐาน กระบวนการบริหารงานบุคคลขึ้นเพื่อสนับสนุนการปฏิบัติงานตามกระบวนการที่สร้างคุณค่าของโรงเรียน เกิด คุณค่าแก่ผู้รับบริการ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีประสิทธิภาพการทํางาน และเกิดประสิทธิผลของการทํางานท่ีเป็นไป ตามพระราชบญั ญตั ิกฎระเบียบทเี่ ก่ยี วขอ้ งกบั การบริหารงานบคุ คล คู่มือการปฏิบัติงานกลุ่มบริหารงานบุคคล โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จังหวัดยะลา ฉบับน้ี มีสาระสําคัญซ่ึง ประกอบด้วย โครงสร้างกลุ่มบริหารงานบุคคล วัตถุประสงค์ ขอบข่ายภารกิจ แนวทางการปฏิบัติงาน หน้าท่ีความ รับผิดชอบและระบบติดตามประเมินผล ขั้นตอนการปฏิบัติงาน มุ่งหวังให้เกิดมาตรฐาน การปฏิบัติงานเป็นฐาน ในการพัฒนางานเพื่อสนับสนุนกระบวนการสร้างคุณค่าหลักของโรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จังหวัดยะลา ให้ดี ยง่ิ ขึน้ กลุ่มบริหารงานบุคคล โรงเรียนคณะราษฎรบํารุง จังหวัดยะลา หวังเป็นอย่างย่ิงว่าเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ด้านการบริหารงานบุคคลและผทู้ ส่ี นใจจะได้ใช้ประโยชน์จากคมู่ ือฉบับนใ้ี นการปฏบิ ัตงิ าน ไดเ้ ป็นอยา่ งดี กลุ่มบริหารงานบุคคล โรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รงุ จงั หวดั ยะลา
นายวสนั ต์ จุลพล : รองผ้อู าํ คนวยการฝา่ ยบริหารงานบคุ คล ครสู ดุ า แกว้ สุณยี ์ : หัวหนา้ กลุ่มงานบุคคล ๑. การวางแผนอตั รากําลัง : ครสู ุดา, ครูโฉมฉาย, ครูณัฐณพชั ร์ 13. การจดั ระบบและการจัดทําทะเบยี นประวตั ิ 2. การจัดสรรอัตรากําลังขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา : ครอู ยั ลซี าห์, ครรู ่งุ ทิพย์, ครูวซิ านา่ ครสู ดุ า, ครโู ฉมฉาย, ครูณฐั ณพัชร์ 14. การจัดทําบัญชรี ายช่ือและใหค้ วามเห็นเกี่ยวกับ 3. การสรรหาและบรรจแุ ตง่ ตั้ง : ครูโฉมฉาย, ครูสุดา, ครูณัฐณพชั ร์ การเสนอขอพระราชทานเคร่อื งราชอสิ ริยาภรณ์ 4. การเปลย่ี นตาํ แหนง่ ใหส้ ูงขึน้ การย้ายขา้ ราชการและบุคลากร : ครอู ัยลซี าห์, ครรู ่งุ ทพิ ย์, ครูวิซานา่ ทางการศกึ ษา : ครูวิซานา่ , ครูรงุ่ ทิพย์, ครอู ยั ลีซาห์ 15. งานสง่ เสรมิ การประเมินวิทยฐานะขา้ ฯ และ 5. การดําเนินการเกย่ี วกบั การเลื่อนข้นั เงนิ เดือน บคุ ลากรทางการศึกษา : ครูรงุ่ ทิพย์, ครูณัฐณพัชร์, ครูอยั ลซี าห,์ ครสู ารียะห,์ ครแู วฮาซัน : ครณู ฐั ณพชั ร์, ครสู ดุ า, ครสู ารียะห์ 6. การลาทกุ ประเภท : ครศู ิรินทร์ทพิ ย์, ครแู วฮาซนั , ครูวิไล 16. การสง่ เสริมและยกย่องเชิดชูเกียรติ : ครวู ซิ านา่ , ครอู ัยลีซาห์, ครรู ่งุ ทพิ ย์, ครูธนศู ักด์ิ 17. งานสง่ เสริมมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวิชาชพี : ครรู งุ่ ทพิ ย์, ครูวซิ าน่า, ครอู ัยลีซาห์ 7. การประเมนิ ผลการปฎิบัติงาน : 18. การสง่ เสรมิ วินัย คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรับข้าฯ ครูณฐั ณพชั ร์, ครูสารียะห,์ ครโู ฉมฉาย และบคุ ลากรทางการศึกษา : ครธู นูศกั ดิ์, ครวู ิไล, ครูนิโรบล, ครูวิซานา่ , ครศู ริ ินทรท์ ิพย์ 8. การดําเนินการทางวินัยและการลงโทษ : ครูวิไล, ครศู ิรินทร์ทิพย์, ครูแวฮาซนั 19. การริเริม่ สง่ เสรมิ การขอใบอนญุ าต : ครอู ยั ลีซาห์, ครรู ุ่งทพิ ย์, ครวู ิซานา่ 9. การสั่งพักราชการและการสั่งใหอ้ อกจากราชการไว้ก่อน : ครูวไิ ล, ครูศริ นิ ทร์ทพิ ย์, ครูแวฮาซนั 20. การพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา : ครูศิรนิ ทร์ทพิ ย์, ครูวิไล, ครูแวฮาซนั 10. การรายงานการดาํ เนินการทางวนิ ัยและการลงโทษ : ครูวไิ ล, ครศู ริ นิ ทร์ทพิ ย,์ ครแู วฮาซนั 21. งานเวร ยามฯ : ครนู โิ รบล, ครูขวัญรตั น์, ครสู ารยี ะห์ 11. การอทุ ธรณ์และการร้องทุกข์ : 22. งานธรุ การฝา่ ย : ครูขวัญรตั น์, ครูนิโรบล, ครสู ารียะห์ ครูวไิ ล, ครูศริ นิ ทรท์ ิพย์, ครูแวฮาซนั 23.งานแผนและพัสดุ : ครูสารยี ะห์, ครูขวัญรตั น์, ครูนิโรบล 24. งานสารสนเทศ : ครแู วฮาซนั , ครอู ยั ลซี าห์, ครโู ฉมฉาย 12. การออกจากราชการ : ครูวไิ ล, ครูศิรินทร์ทพิ ย์, ครูแวฮาซนั
ก ลุ่ ม บ ริ ห า ร ง า น บุ ค ค ล โ ร ง เ รี ย น ค ณ ะ ร า ษ ฎ ร บํา รุ ง จั ง ห วั ด ย ะ ล า ปี ก า ร ศึ ก ษ า ๒ ๕ ๖ ๖ นายนพปฎล มุณรี ัตน์ ผู้อํานวยการโรงเรยี นคณะราษฎรบาํ รุง จงั หวดั ยะลา แบง่ โครงสร้างกลุ่มบรหิ ารงานบุคคล ดังน้ี รองผ้อู าํ นวยการฝา่ ยบรหิ ารงานบุคคล ๑. นายวสนั ต์ จุลพล หวั หนา้ กลมุ่ บรหิ ารงานบคุ คล ๒. นางสาวสุดา แกว้ สณุ ีย์ - งานวางแผนกาํ ลงั อตั รา ๓. นางรงุ่ ทพิ ย์ คงเกิด - งานจัดสรรอัตรากาํ ลงั ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา - งานสรรหาและบรรจุแตง่ ตัง้ ๔. นางศริ นิ ทร์ทิพย์ ทองวเิ ศษ - งานดาํ เนินการเกยี่ วกบั การเลอื่ นขน้ั เงินเดอื น - งานประเมินผลการปฏิบตั งิ าน - งานเปลีย่ นตําแหน่งใหส้ ูงข้นึ , การยา้ ยข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา - งานจดั ระบบและการจดั ทําทะเบียนประวัติ - งานจัดทําบัญชีรายชอื่ และใหค้ วามเหน็ เกย่ี วกบั การเสนอ ขอพระราชทานเคร่อื งราชอิสริยาภรณ์ - งานส่งเสรมิ การประเมินวทิ ยฐานะข้าราชการและ บุคลากรทางการศกึ ษา - งานส่งเสรมิ ยกย่องเชดิ ชูเกียรติและสรา้ งขวัญกาํ ลงั ใจ - งานส่งเสริมมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณวิชาชพี - งานรเิ ริ่มสง่ เสรมิ การขอใบอนุญาต - งานการลาทกุ ประเภท - งานดาํ เนนิ การทางวินัยและการลงโทษ - งานสง่ั พกั ราชการและการสงั่ ใหอ้ อกจากราชการไว้กอ่ น - งานรายงานการดําเนนิ การทางวินัยและการลงโทษ - งานอุทธรณ์และการร้องทุกข์ - งานออกจากราชการ - งานสง่ เสริมวนิ ัย คุณธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรบั ขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา - งานพฒั นาขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา
๕. นางวไิ ล เรอื งยง่ิ - งานการลาทกุ ประเภท ๖. นางณัฐณพชั ร์ พูลศรีรุง่ ภารดา - งานดําเนนิ การทางวินัยและการลงโทษ ๗. นางโฉมฉาย มณนี ลิ - งานสง่ั พักราชการและการสั่งใหอ้ อกจากราชการ ๘. นางสาวอัยลซี าห์ มะดิง - งานรายงานการดาํ เนินการทางวินยั และการลงโทษ - งานอุทธรณ์และการร้องทุกข์ ๙. นางวซิ านา่ จารง - งานออกจากราชการ - งานสง่ เสรมิ วนิ ัย คุณธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรับข้าราชการ และบุคลากรทางการศึกษา - งานพัฒนาขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา - งานวางแผนกําลังอัตรา - งานจัดสรรอัตรากาํ ลงั ขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - งานสรรหาและบรรจุแต่งต้ัง - งานดําเนินการเกี่ยวกับการเลอื่ นขัน้ เงนิ เดอื น - งานประเมินผลการปฏิบตั งิ าน - งานส่งเสรมิ การประเมนิ วิทยฐานะข้าราชการและ บคุ ลากรทางการศึกษา - งานวางแผนกาํ ลังอตั รา - งานจัดสรรอัตรากําลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - งานสรรหาและบรรจแุ ต่งตั้ง - งานประเมินผลการปฏิบตั ิงาน - งานสารสนเทศ - งานเปลยี่ นตาํ แหนง่ ใหส้ ูงขนึ้ การยา้ ยข้าราชการครู และบคุ ลากรทางการศึกษา - งานจัดระบบและการจดั ทําทะเบียนประวัติ - งานจดั ทําบัญชรี ายช่ือและให้ความเห็นเกีย่ วกับการเสนอ ขอพระราชทานเคร่ืองราชอิสรยิ าภรณ์ - งานสง่ เสรมิ การประเมนิ วทิ ยฐานะข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศกึ ษา - งานส่งเสริม ยกย่องเชิดชูเกยี รติ และสรา้ งขวญั กาํ ลังใจ - งานส่งเสริมมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวชิ าชีพ - งานริเรม่ิ สง่ เสริมการขอใบอนุญาต - งานสารสนเทศ - งานเปลี่ยนตําแหน่งใหส้ ูงขนึ้ การยา้ ยข้าราชการครู - งานจดั ระบบและการจดั ทาํ ทะเบียนประวตั ิ - การจดั ทําบัญชรี ายชื่อและให้ความเหน็ เก่ยี วกับการเสนอ ขอพระราชทานเครื่องราชอสิ ริยาภรณ์ - งานสง่ เสริม ยกย่องเชดิ ชเู กียรติ และสรา้ งขวญั กาํ ลงั ใจ - การส่งเสริมมาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวิชาชีพ
๑๐. นางสาวขวญั รตั น์ ขวัญเลศิ - งานสง่ เสริมวินยั คุณธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรับข้าราชการและ ๑๑. นางสาวนิโรบล เจริญสุข บุคลากรทางการศึกษา ๑๒. นางสาวสารียะห์ มะแซ ๑๓. นายแวฮาซัน ลีหมะ - งานรเิ ร่มิ ส่งเสรมิ การขอใบอนญุ าต - งานธุรการ สํานกั งานกลมุ่ บริหารงานบคุ คล ๑๔. นายธนูศกั ด์ิ ทองธรรมชาติ - งานแผนงานและพัสดสุ าํ นักงาน - งานเวร-ยามรกั ษาการณ์ - งานเวร – ยามรักษาการณ์. - งานธรุ การ สาํ นกั งานกลมุ่ บรหิ ารงานบุคคล - งานแผนงานและพัสดสุ ํานกั งาน - งานแผนงานและพัสดสุ ํานกั งาน - งานธรุ การ สาํ นกั งานกลุ่มบรหิ ารงานบคุ คล - งานเวร-ยามรกั ษาการณ์ - งานสารสนเทศ - งานการลาทกุ ประเภท - งานดําเนนิ การทางวนิ ยั และการลงโทษ - งานสง่ั พกั ราชการและการสัง่ ใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อน - งานรายงานการดาํ เนินการทางวนิ ยั และการลงโทษ - งานอทุ ธรณ์และการรอ้ งทกุ ข์ - งานออกจากราชการ - งานสง่ เสริมการประเมินวทิ ยฐานะขา้ ราชการและ บุคลากรทางการศกึ ษา - งานพฒั นาขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา - งานส่งเสริมวินัย คณุ ธรรมและจรยิ ธรรมสาํ หรับ ขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษา - งานสง่ เสรมิ ยกย่องเชดิ ชเู กียรติ และสรา้ งขวญั กําลงั ใจ
พนั ธกจิ / ภาระหน้าที่ ฝ่ายบริหารงานบคุ คล การบริหารงานบคุ คล การบรหิ ารงานบคุ คลในสถานศกึ ษา เป็นภารกจิ สําคญั ท่ีมุง่ สง่ เสรมิ ใหส้ ถานศึกษาสามารถ ปฏิบตั งิ านเพื่อตอบสนอง ภารกิจของสถานศกึ ษา เพ่อื ดาํ เนนิ การดา้ นการบริหารงานบุคคลใหเ้ กิดความ คล่องตัว อสิ ระภายใตก้ ฎหมาย ระเบยี บ เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาลขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทาง การศึกษาไดร้ ับการพัฒนา มีความรู้ ความสามารถ มีขวัญกําลงั ใจ ไดร้ ับการยกย่องเชิดชเู กียรติ มีความม่นั คง และกา้ วหน้าในวิชาชีพ ซง่ึ จะสง่ ผลต่อการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของผูเ้ รยี นเปน็ สาํ คญั วตั ถุประสงค์ ๑. เพือ่ ใหก้ ารดําเนินงานด้านการบริหารงานบคุ คลเป็นไปอย่างถูกต้อง รวดเรว็ และเปน็ ไปตาม หลักธรรมาภิบาล ๒. เพ่ือส่งเสรมิ บคุ ลากร ให้มีความรู้ ความสามารถและมจี ิตสํานึกในการปฏิบัติภารกจิ ทีม่ ีความ รับผิดชอบใหเ้ กดิ ผล สาํ เรจ็ ตามการบริหารแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ ๓. เพอ่ื ส่งเสริมให้ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาปฏบิ ัตงิ านเต็มตามศักยภาพ โดยยึดมนั่ ใน ระเบยี บวนิ ยั จรรยาบรรณ อยา่ งมมี าตรฐานแห่งวชิ าชีพ ๔. เพอ่ื ใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาที่ปฏบิ ตั ิงานได้ตามมาตรฐานวชิ าชพี ได้รับ การยกยอ่ ง เชดิ ชู เกยี รตมิ ีความม่นั คงและความกา้ วหน้าในวิชาชีพ ซึ่งจะส่งผลตอ่ การพฒั นาคุณภาพ การศึกษา ของผเู้ รียนเป็นสําคญั
หน้าที่และขอบข่ายความรบั ผิดชอบของบคุ ลากรฝา่ ยบรหิ ารงานบุคคล รองผู้อํานวยการฝ่ายบรหิ ารงานบุคคล 1. ร่วมมอื กับผอู้ ํานวยการโรงเรยี นและประสานงานกบั ฝา่ ยบริหารของโรงเรียนในการดําเนินงาน และตดิ ตามงานให้เป็นไปตามนโยบายและเป้าหมายท่ีกําหนด 2. วางแผนการทาํ งานฝา่ ยบริหารงานบุคคล ใหเ้ ปน็ ไปตามพระราชบญั ญตั ิระเบียบ ขอ้ บงั คับ และนโยบายของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 3. ควบคมุ กํากับ ดแู ล ตดิ ตามและรบั ผดิ ชอบ ใหก้ ารบริหารฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คล ดําเนินไป ดว้ ยความเรยี บร้อยเปน็ ไปตามระเบียบและมปี ระสทิ ธภิ าพ ประกอบด้วยงานต่าง ๆ ดงั น้ี 3.1 งานวางแผนอตั รากาํ ลงั 3.2 งานจัดสรรอตั รากาํ ลังข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา 3.3 งานสรรหาและบรรจแุ ต่งตั้ง 3.4 งานเปลี่ยนตําแหนง่ ให้สงู ขึ้น การย้ายข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 3.5 งานดาํ เนินการเกีย่ วกบั การเล่ือนขน้ั เงินเดอื น 3.6 งานการลาทกุ ประเภท 3.7 งานประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน 3.8 งานดาํ เนนิ การทางวินัยและการลงโทษ 3.9 งานสั่งพกั ราชการและการสง่ั ให้ออกจากราชการไว้ก่อน 3.10 งานรายงานการดาํ เนนิ การทางวินัยและการลงโทษ 3.11 งานอุทธรณ์และการรอ้ งทกุ ข์ ๓.๑๒ งานออกจากราชการ ๓.๑๓ งานจดั ระบบและการจัดทาํ ทะเบียนประวัติ ๓.๑๔ งานจัดทําบัญชีรายชอ่ื และใหค้ วามเหน็ เกีย่ วกับการเสนอขอพระราชทาน เคร่ืองราชอิสริยาภรณ์ ๓.๑๕ งานสง่ เสริมการประเมนิ วทิ ยฐานะขา้ ราชการและบุคลากรทางการศกึ ษา ๓.๑๖ งานสง่ เสรมิ ยกย่องเชิดชเู กียรติ และสรา้ งขวัญกําลังใจ ๓.๑๗ งานส่งเสริมมาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ ๓.๑๘ งานส่งเสริมวนิ ัย คุณธรรมและจริยธรรมสาํ หรับข้าราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๑๙ งานริเริ่มสง่ เสริมการขอใบอนญุ าต ๓.๒๐ งานพัฒนาขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา ๓.๒๑ งานเวร-ยามรักษาการณ์ ๓.๒๒ งานธรุ การสํานกั งานฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คล ๓.๒๓ งานแผนงานและพัสดุสํานกั งาน ๓.๒๔ งานสารสนเทศ
หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารงานบคุ คล นางสาวสุดา แกว้ สณุ ีย์ 1. ปฏบิ ัติหนา้ ที่ตามที่ไดร้ ับมอบหมายจากผ้อู ํานวยการโรงเรยี นและรองผอู้ ํานวยการโรงเรียน ฝ่ายบริหารงานบคุ คล 2. ร่วมประสานงานกับฝ่ายบรหิ ารงานบุคคล ในการดําเนนิ งานติดตามงานให้เปน็ ไปตาม นโยบาย และเปา้ หมายทก่ี ําหนด 3. ประสานงานและอาํ นวยความสะดวกใหบ้ รกิ ารงานในฝ่ายบรหิ ารงานบคุ คล ดําเนินไป ดว้ ยความเรียบรอ้ ยตามระเบยี บและมปี ระสทิ ธภิ าพ 4. ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีอ่นื ๆ ในงานท่เี ก่ียวข้อง ๑. งานวางแผนอตั รากําลัง นางสาวสดุ า แกว้ สุณยี ์ หวั หน้า นางโฉมฉาย มณนี ิล เจา้ หนา้ ที่ นางณัฐณพชั ร์ พลู ศรรี งุ่ ภารดา เลขานุการ 1. วิเคราะหภ์ ารกจิ และประเมินสภาพความต้องการกาํ ลังคนกบั ภารกจิ ของสถานศกึ ษา 2. จดั ทาํ แผนอตั รากาํ ลงั ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาของสถานศกึ ษา โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานตามเกณฑท์ ่ี ก.ค.ศ. กาํ หนด 3. นาํ เสนอแผนอัตรากําลังเพ่ือขอความเหน็ ชอบตอ่ อ.ก.ค.ศ. เขตพน้ื ท่กี ารศึกษา 4. นําแผนอตั รากาํ ลงั ของสถานศึกษาสกู่ ารปฏิบตั ิ 5. เสนอคาํ รอ้ งขอย้ายไปยังสาํ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาเพื่อดาํ เนนิ การนําเสนอ อ.ก.ค.ศ. เขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษา เพื่อพจิ ารณาอนุมัติของผปู้ ระสงคย์ า้ ยและผู้รบั ยา้ ยแล้วแตก่ รณี 6. จัดทําหนงั สอื ราชการการมารายงานตัวขา้ ราชการทย่ี ้ายมาปฏิบัติงานไปยังสํานักงานเขตพ้ืนท่ี การศึกษามัธยมศึกษา เขต 15 7. ปฏบิ ตั ิหน้าทีอ่ ่ืนๆ ในงานทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ๒. งานจัดสรรอตั รากาํ ลังข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา นางสาวสดุ า แกว้ สณุ ยี ์ หวั หนา้ นางโฉมฉาย มณีนลิ เจ้าหนา้ ท่ี นางณฐั ณพชั ร์ พูลศรรี งุ่ ภารดา เลขานกุ าร 1. จัดให้มีการ ดําเนนิ การปฐมนเิ ทศโดยผู้อาํ นวยการโรงเรยี นแก่ผ้ทู ไ่ี ด้รับการสรรหาและ บรรจุ แต่งตงั้ เป็นข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในโรงเรยี น 2. ดําเนินการออกคาํ สัง่ บรรจแุ ตง่ ตั้งขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาทไ่ี ด้รบั การบรรจใุ หม่ ๓. ดําเนินการจัดทาํ หนงั สอื ราชการเพอ่ื สง่ ตวั ขา้ ราชการทีบ่ รรจุใหม่ไปพิมพล์ ายนิ้วมอื เพ่อื ตรวจสอบและจดั ทําทะเบยี นประวตั ิ ณ สถานตี าํ รวจภูธร ตามสาํ เนาทะเบียนบา้ น ๔. ดาํ เนินการจัดสง่ คําสัง่ บรรจุแต่งตงั้ และรายงานการบรรจแุ ตง่ ต้ังไปยังสํานักงานเขตพ้ืนท่ี การศกึ ษามัธยมศึกษา เขต 15 ๕. ดําเนนิ การสรรหาบคุ คลเพ่อื จัดจา้ งเป็นลกู จา้ งชวั่ คราวของโรงเรียนตามระเบยี บทางราชการ ๖. ปฏิบตั ิหน้าที่อื่นๆ ในงานท่เี กยี่ วข้อง
๓. งานสรรหาและบรรจแุ ต่งต้งั หวั หน้า นางโฉมฉาย มณนี ิล นางสาวสดุ า แก้วสณุ ีย์ เจา้ หน้าท่ี นางณฐั ณพชั ร์ พลู ศรรี ุ่งภารดา เลขานกุ าร 1. การสอบแขง่ ขัน การสอบคดั เลอื กและการคดั เลอื กในกรณีจําเป็นหรือมเี หตพุ ิเศษ ในตําแหนง่ ครูผู้ช่วย ครู และบุคลากรทางการศกึ ษาสถานศึกษาอื่นในสถานศกึ ษา ใหด้ ําเนนิ การตาม หลักเกณฑ์และวธิ กี าร ที่ ก.ค.ศ. กาํ หนด 2. การบรรจุแตง่ ตัง้ ผูช้ าํ นาญหรอื ผู้เชีย่ วชาญระดับสูง - ให้สถานศึกษาเสนอเหตผุ ลและความจําเปน็ อย่างยงิ่ ต่อการเรียนการสอนของสถานศกึ ษา ไปยงั สํานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา เพื่อขอความเหน็ ชอบจาก อ.ก.ค.ศ. เขตพืน้ ที่ การศึกษาและขออนมุ ตั ติ ่อ ก.ค.ศ. - เมื่อ ก.ค.ศ. อนุมัตแิ ล้วใหส้ ถานศกึ ษาดาํ เนินการบรรจุและแต่งต้งั ในตําแหนง่ วทิ ยฐานะและ ให้ไดร้ ับเงนิ เดือน ตามท่ี ก.ค.ศ. กาํ หนด ๔. งานเปลีย่ นตาํ แหน่งให้สูงขน้ึ การยา้ ยข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา นางวซิ าน่า จารง หัวหน้า นางรงุ่ ทพิ ย์ คงเกดิ เจา้ หน้าท่ี นางสาวอัยลีซาห์ มะดงิ เลขานุการ 1. จัดให้มีการดาํ เนนิ การปฐมนเิ ทศโดยผอู้ ํานวยการโรงเรียนแก่ผ้ทู ี่ได้รับการสรรหาและ บรรจุ แต่งตง้ั เป็นข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในโรงเรยี น ๕. การดําเนินการเกยี่ วกบั การเลื่อนขน้ั เงินเดอื น นางณฐั ณพชั ร์ พลู ศรรี ่งุ ภารดา หวั หนา้ นางสาวสุดา แกว้ สณุ ีย์ เจา้ หน้าท่ี นางสาวสารยี ะห์ มะแซ เลขานุการ 1. แต่งตัง้ คณะกรรมการพิจารณาความดีความชอบของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา ในสถานศึกษา 2. จัดเตรียมขอ้ มูลและเอกสารเพือ่ การพจิ ารณาความดีความชอบของข้าราชการครแู ละบคุ ลากร ทางการศึกษา และลูกจ้างในสถานศึกษา 3. ตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูลในการเลื่อนขนั้ เงนิ เดือนของข้าราชการครูและบคุ ลากร ทางการศึกษาภายในโรงเรียน 4. ประเมนิ ผลการปฏิบัตงิ านของขา้ ราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 5. รายงานการสง่ั เล่อื นและไมเ่ ลื่อนขั้นเงนิ เดอื นของขา้ ราชการครู และบคุ ลากรทางการศกึ ษา ไปยงั สาํ นกั งานเขตพน้ื ท่กี ารศกึ ษาเพอ่ื จดั เก็บข้อมลู ในทะเบียนประวตั ิ 6. ดาํ เนินการออกหนังสอื รบั รองเงินเดือนของครแู ละบุคลกรทางการศึกษา 7. ปฏบิ ัตหิ นา้ ทอี่ ่นื ๆ ในงานที่เกย่ี วขอ้ ง
๖. งานการลาทุกประเภท หวั หนา้ นางศิรินทร์ทิพย์ ทองวิเศษ เจา้ หน้าท่ี นายแวฮาซัน ลีหมะ เลขานกุ าร นางวิไล เรืองย่งิ ๑. เตรียมเอกสารต่าง ๆ ทเ่ี กย่ี วข้อง ๒. บรหิ ารการลาของขา้ ราชการและบคุ ลากรทางการศกึ ษา ดงั น้ี ๑) ตรวจสอบใบลา ๒) ลงทะเบยี นรบั ใบลา ๓) บันทึกประวัติการลาเปน็ รายบุคคล ๔) เสนอใบลาต่อผบู้ งั คับบญั ชาตามลาํ ดับ ๕) แจง้ ผลการลาใหผ้ ู้เกย่ี วขอ้ งทราบ ๖) จดั เกบ็ ใบลา ๓. ติดตามทวงถามกรณขี ้าราชการและบุคลากรทางการศกึ ษาไมส่ ง่ ใบลา ๔. สรุปและรายงานการลาของขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษาเดอื นมนี าคม และกนั ยายน ของทุกปีต่อผู้บงั คับบญั ชาตามลาํ ดบั ๕. สรุปและรายงานการลาของข้าราชการและบคุ ลากรทางการศกึ ษาทุกสน้ิ ปีงบประมาณเพอื่ นําส่ง สาํ นกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษา ๖. ประสานงานกบั บคุ คลต่าง ๆ ท่ีเกีย่ วขอ้ ง ๗. ปฏิบตั หิ น้าที่อ่ืน ๆ ตามท่ีผ้บู ังคบั บญั ชามอบหมาย ๗. งานประเมินผลการปฎิบตั ิงาน หัวหนา้ นางณัฐณพชั ร์ พลู ศรรี ุ่งภารดา นางสาวสารยี ะห์ มะแซ เจา้ หน้าท่ี นางโฉมฉาย เลขานกุ าร 1. จัดทําแผนงาน/กิจกรรมเกี่ยวกบั การประเมินผลการปฏบิ ัติงานของพนักงานราชการ และลูกจ้าง ในโรงเรยี น 2. จัดเตรยี มขอ้ มูล/คําส่ัง กรรมการประเมนิ ผลการปฏิบตั งิ าน 3. จัดทําบันทกึ ตกลงจา้ งลูกจา้ ง (สพม. 15) 4. จดั ทาํ สญั ญาจ้างพนกั งานราชการ (สพม. 15) 5. ดาํ เนนิ การประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานของพนกั งานราชการลูกจ้างของ สพม.15 ลูกจ้างโรงเรยี น 6. รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานเสนอผู้อาํ นวยการ 7. จดั ทําขอ้ มลู ครู พนกั งานราชการและลูกจา้ ง และบุคลากรในโรงเรยี น 8. ปฏบิ ตั ิหนา้ ทอี่ น่ื ๆ ตามท่ีได้รบั มอบหมาย
๘. งานดําเนนิ การทางวินยั และการลงโทษ หวั หนา้ นางวิไล เรืองย่ิง เจ้าหน้าท่ี นางศิรนิ ทรท์ พิ ย์ ทองวเิ ศษ เลขานุการ นายแวฮาซัน ลหี มะ ๑. การกระทาํ ผดิ วินัย การกระทําผดิ วินยั ไม่ร้ายแรง ๑) กรณีมมี ูลความผดิ วินยั ไม่รา้ ยแรง ให้แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวนการกระทําผดิ วินยั ไม่ร้ายแรงในฐานะผู้บงั คับบัญชา ๒) พิจารณาลงโทษทางวินัย หากปรากฏผลการสอบสวนว่าผู้ใตบ้ งั คับบญั ชากระทาํ ผิด วินัย ไมร่ า้ ยแรงตามอาํ นาจทีก่ ฎหมายกาํ หนด ๓) รายงานผลการพิจารณาลงโทษทางวินยั ไปยังสํานักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา การกระทําผิดวินยั อยา่ งรา้ ยแรง ๑) ดาํ เนนิ การสืบสวนข้อเท็จจรงิ เบือ้ งตน้ ในกรณที ่มี มี ูลทีค่ วรกล่าวหาวา่ กระทําผดิ วินยั อยา่ งร้ายแรงไมช่ ดั เจน ๒) กรณีทมี่ มี ลู การกระทาํ ผิดวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงของครผู ชู้ ่วยและครทู ย่ี ังไม่มีวทิ ยฐานะให้ แตง่ ตัง้ คณะกรรมการสอบสวนการกระทําผิดวนิ ยั อย่างรา้ ยแรงในฐานะผู้มอี ํานาจสัง่ บรรจแุ ละแต่งต้งั หรอื รายงานต่อผู้มอี าํ นาจแล้วแต่กรณี ไมร่ า้ ยแรง ๓) ประสานกับหน่วยงานการศกึ ษาอนื่ และกรรมการสอบสวน กรณีมกี ารกระทาํ ผดิ ร่วมกัน ๔) พจิ ารณาสถานโทษหรอื สั่งลงโทษตามอาํ นาจหน้าท่ีท่กี ฎหมายกําหนด กรณคี วามผิดวนิ ยั ๕) รายงานสาํ นักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาหรือเสนอสถานโทษไปยงั สาํ นักงานเขตพืน้ ท่ี การศกึ ษาพิจารณา ๒. การมาปฏิบตั ริ าชการของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา โดยใชเ้ ครอื่ งสแกนใบหน้า และสแกนน้ิวมือ ๑) เตรยี มขอ้ มลู พืน้ ฐานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ๒) บนั ทึกขอ้ มลู ต่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวข้อง เช่น ข้อมลู การลา ขอ้ มลู การขออนญุ าตไปราชการ ขอ้ มลู การขออนญุ าตออกนอกสถานที่ ข้อมูลการขออนุญาตออกก่อนเวลาราชการปกติ เปน็ ต้น ๓) สรุปและรายงานขอ้ มูลการมาปฏิบัติราชการของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา เป็นรายวนั รายเดอื นต่อผูบ้ ังคับบญั ชาตามลําดบั ๔) ติดตามผูท้ ม่ี ีปญั หาในการสแกนขอ้ มลู การมาหรือเลิกจากการปฏบิ ัตริ าชการไมไ่ ด้ และ บรหิ ารบนั ทึกขอ้ ความต่าง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง ๕) ประสานงานกบั บคุ คลต่าง ๆ ท่เี กีย่ วขอ้ ง ๖) ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่อ่นื ๆ ตามทีผ่ ้บู ังคบั บญั ชามอบหมาย
๙. งานส่งั พักราชการและการสั่งใหอ้ อกจากราชการไวก้ ่อน นางวไิ ล เรอื งยิง่ หวั หน้า นางศริ นิ ทร์ทิพย์ ทองวเิ ศษ เจา้ หนา้ ท่ี นายแวฮาซัน ลีหมะ เลขานกุ าร เมื่อมคี ําส่งั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการสอบสวนกรณีทําผิดวนิ ัยอยา่ งรา้ ยแรงและมเี หตสุ ัง่ พกั ราชการหรอื สัง่ ให้ออกจากราชการไว้ก่อน ใหด้ ําเนนิ การภายในขอบเขตอาํ นาจตามท่ีกฎหมายกาํ หนดในกรณีตาํ แหนง่ ครู ผูช้ ่วยและตาํ แหน่งครทู ่ียงั ไม่มีวิทยฐานะ ๑๐. งานรายงานการดาํ เนนิ การทางวินยั และการลงโทษ นางวิไล เรืองยิง่ หวั หน้า นางศิรินทรท์ ิพย์ ทองวเิ ศษ เจา้ หนา้ ที่ นายแวฮาซนั ลหี มะ เลขานุการ เสนอรายงานการดําเนินการลงโทษทางวนิ ัย และการลงโทษทไ่ี ด้ดาํ เนนิ การแก่ข้าราชการครูและ บคุ ลากรทางการศกึ ษาไปยงั ผู้อํานวยการสาํ นกั งานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษา และ อ.ก.ค.ศ. เขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา พิจารณาตามหลักเกณฑแ์ ละวธิ ีการท่ี ก.ค.ศ. กําหนด ๑๑. งานอทุ ธรณ์และการรอ้ งทกุ ข์ หัวหน้า นางวิไล เรืองยง่ิ นางศิรินทรท์ พิ ย์ ทองวเิ ศษ เจา้ หนา้ ท่ี นายแวฮาซัน ลีหมะ เลขานกุ าร ๑. การอุทธรณ์ รบั เรือ่ งอุทธรณ์คาํ ส่ังลงโทษทางวินัยของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษา แลว้ เสนอไปยงั ผู้มีอํานาจตามกฎหมายกาํ หนดเพื่อพิจารณาในกรณีทข่ี ้าราชการครแู ละบุคลากรทาง การศกึ ษาเสนอเร่อื งอุทธรณ์ผ่านหวั หน้าสถานศกึ ษา ๒. การร้องทกุ ข์ รบั เรื่องร้องทุกขข์ องข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาในสถานศึกษาแล้วเสนอไปยังผูม้ ี อาํ นาจตามกฎหมาย เพ่อื พจิ ารณาในกรณีท่ีข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาเสนอเรอื่ งรอ้ งทกุ ข์ผา่ น หวั หน้าสถานศกึ ษา ๑๒. งานออกจากราชการ หวั หนา้ นางวไิ ล เรืองย่งิ นางศริ นิ ทรท์ ิพย์ ทองวิเศษ เจ้าหน้าท่ี นายแวฮาซัน ลหี มะ เลขานุการ ๑. อนุญาตการลาออกจากราชการของขา้ ราชการครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษาในฐานะผู้มอี าํ นาจ สั่งบรรจแุ ละแตง่ ตั้งตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารทก่ี ฎหมายกําหนด หรือรับเร่ืองการลาออกจากราชการของ ข้าราชการครู และบุคลากรทางการศกึ ษา ในฐานะผ้บู งั คบั บญั ชาแล้วเสนอไปยงั ผมู้ ีอาํ นาจสงั่ บรรจุและ แต่งต้งั พิจารณาแล้วแต่กรณี ๒. สั่งให้ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาออกจากราชการในฐานะผ้มู ีอํานาจสงั่ บรรจุและ แตง่ ตง้ั หรอื เสนอให้เขตพนื้ ท่ีการศึกษาพจิ ารณาแลว้ แต่กรณี
๑๓. งานจดั ระบบและการจัดทาํ ทะเบียนประวตั ิ นางสาวอัยลซี าห์ มะดงิ หวั หน้า นางรงุ่ ทพิ ย์ คงเกดิ เจ้าหนา้ ที่ นางวซิ านา่ จารง เลขานกุ าร 1. จดั ทําข้อมลู ทะเบียนแฟม้ ประวตั ขิ องขา้ ราชการครู บุคลากรทางการศึกษาและลูกจ้าง ของโรงเรียนใหเ้ ป็นปจั จบุ ัน ๒. จัดทํารายงานสรปุ เกี่ยวกบั งานทะเบียนประวัติ ๑๔. งานจัดทาํ บญั ชรี ายช่ือและใหค้ วามเห็นเกี่ยวกับการเสนอขอพระราชทานเครื่องราชอิสรยิ าภรณ์ นางสาวอัยลซี าห์ มะดิง หัวหนา้ นางรุ่งทิพย์ คงเกิด เจ้าหน้าที่ นางวิซาน่า จารง เลขานุการ ๑. ตรวจสอบคณุ สมบตั ขิ องผ้ทู ไี่ ด้รบั การเสนอขอพระราชทานเครอ่ื งราชอสิ ริยาภรณ์ ๒. ดาํ เนินการเสนอขอพระราชทานเครือ่ งราชอสิ รยิ าภรณ์ เหรียญจักรพรรดิมาลา เหรยี ญชายแดน ฯลฯ แกค่ รูและบุคลากรทางการศึกษาภายในโรงเรยี น ๓. จดั ทาํ บตั รข้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษาของครูภายในโรงเรียนไปยงั สาํ นกั งาน เขตพ้นื ทีก่ ารศึกษามธั ยมศึกษาเขต 15 ๔. ประกาศแจ้งการรบั สมคั ร ช.พ.ค. ช.พ.ส. แกค่ รแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาในโรงเรยี น ๕. จดั ทํารายงานสรุปเก่ียวกบั งานเคร่ืองราชย์ 7. ปฏิบตั ิหน้าทีอ่ ่นื ๆ ในงานทเี่ กี่ยวข้อง ๑๕. งานส่งเสริมการประเมนิ วิทยฐานะข้าราชการและบุคลากรทางการศกึ ษา นางณัฐณพชั ร์ พูลศรีร่งุ ภารดา หวั หนา้ นางรุ่งทิพย์ คงเกิด เจา้ หนา้ ที่ นางสาวอัยลซี าห์ มะดงิ เจา้ หน้าที่ นางสาวสารยี ะห์ มะแซ เจ้าหน้าท่ี นายแวฮาซัน ลีหมะ เลขานกุ าร 1. ศึกษาวิเคราะห์วางแผนการปฏบิ ตั งิ านและกําหนดวิธกี ารดําเนนิ งานของตา่ ง ๆ ที่ส่งเสรมิ พัฒนาวิชาชีพครูและวิทยฐานะ 2. จัดทําแผนงาน/โครงการสง่ เสริมพฒั นาวิทยฐานะขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา 3. ดําเนนิ การสง่ เสริมสนับสนุนการจัดอบรมเพ่อื พฒั นาวิทยฐานะขา้ ราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา 4. ดาํ เนนิ การจดั การประเมนิ วิทยฐานะของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาในโรงเรียน 5. จดั ทาํ หนงั สือเพื่อขอมีและเลื่อนวิทยฐานะของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษาไปยัง สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 15 6. จัดทาํ รายงานสรปุ การสง่ เสรมิ พัฒนาวิชาชพี ครแู ละวทิ ยฐานะของครู 7. ปฏบิ ัตหิ นา้ ที่อน่ื ๆ ในงานท่เี ก่ยี วขอ้ ง
๑๖. งานส่งเสริมยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติและสรา้ งขวัญกาํ ลังใจ นางวิซานา่ จารง หัวหนา้ นางสาวอยั ลีซาห์ มะดงิ เจ้าหน้าท่ี นางรงุ่ ทิพย์ คงเกิด เจ้าหน้าที่ นายธนศู ักดิ์ ทองธรรมชาติ เลขานกุ าร 1. จัดทําแผนงาน/โครงการส่งเสริมยกย่องเชิดชูเกียรตขิ ้าราชการครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ภายในโรงเรยี น 2. สง่ เสรมิ การพัฒนาตนเองของบุคลากรเพอ่ื ใหก้ ารปฏิบัติงานมคี ณุ ภาพนําไปสู่พัฒนามาตรฐาน วชิ าชีพและคุณภาพการศกึ ษา 3. สรา้ งขวญั กาํ ลังใจและกาํ ลังใจแก่บุคลากรโดยการยกยอ่ งเชดิ ชเู กียรติ มีผลงานดเี ด่น และมคี ณุ งามความดีตามหลักเกณฑแ์ ละวิธกี ารท่กี าํ หนดหรอื กรณอี ื่นตามความเหมาะสม 1. ปฏิบัตหิ นา้ ท่ีอื่นๆ ในงานทเ่ี กย่ี วข้อง ๑๗. งานสง่ เสรมิ มาตรฐานวชิ าชีพและจรรยาบรรณวิชาชีพ นางรงุ่ ทพิ ย์ คงเกดิ หวั หนา้ นางวซิ านา่ จารง เจ้าหนา้ ที่ นางอยั ลซี าห์ มะดิง เลขานกุ าร 3. ช้แี จงภาระงาน มาตรฐานคุณภาพงาน มาตรฐานวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชพี เกณฑ์ การประเมนิ ผลงาน ฯลฯ แก่ข้าราชการครแู ละบคุ ลากรทางการ ศึกษาในโรงเรยี นกอ่ น มกี ารมอบหมายหน้าท่ีให้ปฏิบัติงาน 4. ดาํ เนินการตดิ ตามประเมนิ ผล และจัดให้มกี ารพัฒนาตามความเหมาะสม และต่อเน่อื ง 5. สง่ เสรมิ ใหม้ กี ารพฒั นาระหว่างปฏิบัติหน้าท่รี าชการ ตามแนวทางการปฏิบตั ิตาม มาตรฐานวิชาชพี และจรรยาบรรณวชิ าชีพ 6. ศึกษาวิเคราะห์ความตอ้ งการจาํ เปน็ ในการพฒั นาตนเองของขา้ ราชการครู และ บุคลากรทางการศกึ ษาและโรงเรียน 7. กาํ หนดหลักสตู รการพฒั นาใหส้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการจําเปน็ ในการพฒั นาตนเอง ของขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษาและโรงเรียน ๗. ดาํ เนินการพัฒนาตามหลกั สูตร – ตดิ ตามประเมินผลการพัฒนา ๘. รายงานผลการดาํ เนินงานไปยังสาํ นกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา ๑๘. งานสง่ เสริมวินัย คุณธรรมและจริยธรรมสําหรับขา้ ราชการและบุคลากรทางการศึกษา นายธนศู กั ดิ์ ทองธรรมชาติ หวั หนา้ นางวิไล เรืองยงิ่ เจา้ หน้าท่ี นางสาวนิโรบล เจริญสขุ เจา้ หน้าที่ นางวซิ านา่ จารง เจ้าหน้าที่ นางศริ นิ ทร์ทิพย์ ทองวเิ ศษ เลขานุการ 1. ส่งเสริมและปลูกฝังคา่ นิยมทดี่ ีงามให้แกบ่ ุคลากร 2. จดั กจิ กรรมให้เพือ่ เสรมิ สร้างคณุ ธรรม จรยิ ธรรมให้แก่บคุ ลากร 3. สรุปและรายงานการดาํ เนินงานตอ่ ผ้อู ํานวยการโรงเรยี น
Search