Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Ebook เรื่องเล่า เขานิเวศน์

Ebook เรื่องเล่า เขานิเวศน์

Published by pratchayasukanan, 2021-11-28 15:09:31

Description: Ebook เรื่องเล่า เขานิเวศน์

Search

Read the Text Version

วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

“กำรรูจ้ กั ประมำณตน ไดแ้ ก่ กำรรูจ้ กั และยอมรบั ว่ำตนเองมภี มู ิปญั ญำและควำมสำมำรถดำ้ นไหน เพยี งใด และควรจะทำงำนดำ้ นไหน อย่ำงไร กำรรูจ้ กั ประมำณตนน้ี จะทำใหค้ นเรำรูจ้ กั ใชค้ วำมรู้ ควำมสำมำรถท่มี อี ยูไ่ ดถ้ กู ตอ้ งเหมำะสมกบั งำน และไดป้ ระโยชน์สูงสดุ เตม็ ตำมประสทิ ธิภำพ ทง้ั ยงั ทำใหร้ ูจ้ กั ขวนขวำยศึกษำหำควำมรูแ้ ละ เพม่ิ พนู ประสบกำรณอ์ ยู่เสมอ เพอ่ื ปรบั ปรุงสง่ เสรมิ ศกั ยภำพท่มี ีอยูใ่ นตนเองใหย้ ่งิ สูงข้นึ ” พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธเิ บศร มหาภมู พิ ลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพติ ร ในพธิ พี ระราชทานปริญญาบตั รของจฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั 18 กรกฎาคม 2541 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

คำนำ หนงั สอื เล่มน้ี จดั ทาเพ่อื ยกระดบั เศรษฐกิจและสงั คมรายตาบลแบบบูรณาการ เพ่ือใหเ้ กิดการพฒั นาตามปญั หาและความตอ้ งการของชุมชน โดยมีจุดประสงค์เพ่ือ สารวจขอ้ มูลในพ้นื ท่ขี องตาบลเขานิเวศน์ อาเภอเมอื ง จงั หวดั ระนอง ซ่ึงหนงั สอื เล่มน้ีมี เน้ือหาเก่ียวกบั ขอ้ มูลพ้นื ฐานตาบล โครงสรา้ งของชุมชน โครงสรา้ งเศรษฐกิจและอาชีพ สถานท่ีท่องเท่ียว การวิเคราะห์ศกั ยภาพชุมชน หนังสือเล่มน้ีสามารถดา เนินการ จนประสบความสาเรจ็ ลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี เน่ืองจากไดร้ บั ความอนุเคราะหแ์ ละการสนบั สนุน เป็นอย่างดีย่งิ จากชาวบา้ นและประธานชุมชนทงั้ 20 ชุมชน ในพ้นื ท่ตี าบลเขานิเวศนท์ ่ไี ด้ สละเวลาอนั มคี ่าแก่คณะผูจ้ ดั ทา เพอ่ื ใหค้ าปรึกษาและแนะนาตลอดจนดาเนินงานตาม โครงการเสร็จส้ินจนหนงั สือเล่มน้ีสาเร็จสมบูรณ์คณะผูจ้ ดั ทาขอกราบขอบพระคุณ เป็นอย่างสูงไว้ ณ ทน่ี ้ี ขอขอบคุณผูใ้ หข้ อ้ มลู เก่ียวกบั ตาบล ตลอดจนอานวยความสะดวกในการลงพ้นื ท่ี ขอบคุณนายเอกลกั ษณ์ บวั พูล ครูชานาญการโรงเรียนเทศบาลบา้ นเขานิเวศน์ ทส่ี นบั ช่วยประสานงานกบั หน่วยงานต่างๆ ในการคน้ ควา้ ขอ้ มลู ขอขอบคุณอาจารยอ์ งั คณาภรณ์ จนั ทร์แกว้ อาจารยท์ ่ีปรึกษาประจาตาบล ทใ่ี หค้ าปรกึ ษาและแนะนาในการจดั ทาดาเนินงาน ขอขอบคุณมหาวทิ ยาลยั ราชภฏั สุราษฎรธ์ านี ท่มี อบโอกาสในการสรา้ งงานใหก้ บั วศิ วกรสงั คม สุดทา้ ยน้ีคณะผูจ้ ดั ทาหวงั ว่าหนงั สือเล่มน้ีจะเป็นประโยชน์สาหรบั หน่วยงานท่ี เก่ียวขอ้ งและผูท้ ส่ี นใจศึกษาต่อไป คณะผูจ้ ดั วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

35 บนั ทกึ ท่ี 3 วฒั นธรรม สำรบญั สถำนท่สี ำคญั 02 ควำมเช่ือ ประเพณีและพธิ กี รรม 36 งานอาบนา้ แร่ 01 บนั ทกึ ท่ี 1 ขอ้ มลู พ้นื าำน 37 เทศกาลสงกรานตน์ า้ แร่ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ 37 งานอาบนา้ เพญ็ 02 ขนำดและท่ตี ง้ั ตำบลเขำนิเวศน์ 38 สถำนท่สี ำคญั 03 ลกั ษณะภมู ปิ ระเทศ 38 พระราชวงั รตั นรงั สรรค์ (จาลอง) 04 แม่น้ำสำคญั 42 จวนเจา้ เมอื งระนอง 05 ภมู ิอำกำศ 43 บา้ นเทยี นสอื 06 ทรพั ยำกรธรรมชำติ 44 หอพระ 9 เกจอิ าจารย์ 08 กำรคมนำคม 44 อนุสาวรยี พ์ ระยาดารงสุจรติ 09 ประวตั คิ วำมเป็นมำของชมุ ชน มหศิ รภกั ดี (คอซูเ้จยี ง) 45 วดั สวุ รรณครี วี หิ าร 29 บนั ทกึ ท่ี 2 โครงสรำ้ งชมุ ชน 46 ป่าชายเลนกลางเมอื ง 30 ดำ้ นกำรปกครอง โกงกางดกึ ดาบรรพ์ 200 ปี 31 ดำ้ นประชำกร 46 บอ่ นา้ รอ้ นรกั ษะวารนิ 32 ดำ้ นกำรศึกษำ 47 บนั ทกึ ท่ี 4 วศิ วกรสงั คม 33 ดำ้ นศำสนำ ตำบลเขำนิเวศน์ 34 ดำ้ ยเศรษากจิ และอำชีพ 48 โครงกำรท่ี 1 49 โครงกำรท่ี 2 50 โครงกำรท่ี 3 51 บรรณำนุกรม 52 ภำคผนวก วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

สำรบญั ภำพ 39 ภาพท่ี 9 พระยารตั นเศรษฐี (คอซมิ กอ๊ ง) 04 ภาพท่ี 1 อ่างเกบ็ นา้ คลองหาดสม้ แป้น 39 ภาพท่ี 10 พระราชวงั รตั นรงั สรรค์ (จาลอง) 33 ภาพท่ี 2 มสั ยดิ อรั รดิ วาน 42 ภาพท่ี 11 จวนเจา้ เมอื งระนอง 33 ภาพท่ี 3 วดั สุวรรณครี วี หิ าร 43 ภาพท่ี 12 บา้ นเทยี นสอื ในปจั จบุ นั 33 ภาพท่ี 4 วดั อปุ นนั ทาราม 44 ภาพท่ี 13 หอพระ 9 เกจอิ าจารย์ 33 ภาพท่ี 5 วดั พระหฤทยั แห่งพระเยซูเจา้ หรอื วดั คาทอลกิ 44 ภาพท่ี 14 อนุสาวรยี พ์ ระยาดารง สุจรติ มหศิ รภกั ดี 36 ภาพท่ี 6 พธิ ีเปิดงานอาบนา้ แร่แลระนอง ประจาปี 2564 45 ภาพท่ี 15 วดั สุวรรณครี วี หิ าร 37 ภาพท่ี 7 เทศกาลสงกรานตน์ า้ แร่ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ 46 ภาพท่ี 16 ป่าในเมอื ง ป่าชายเลนกลางเมอื ง รดนา้ ขอพรผูส้ ูงอายุ โกงกางยกั ษด์ กึ ดาบรรพ์ 200 ปี 37 ภาพท่ี 8 งานอาบนา้ เพญ็ 46 ภาพท่ี 17 บอ่ นา้ รอ้ นรกั ษะวารนิ วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

สำรบญั ตำรำง ตำรำงท่ี 1 รำยช่ือผูน้ ำชมุ ชน ตำรำงท่ี 2 รำยช่ือผูน้ ำชมุ ชน วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

1บนั ทกึ ท่ี ขอ้ มูลพ้นื าำน วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 1

1.1 ขนำดและท่ตี ง้ั ตำบลเขำนิเวศน์ ตาบลเขานิเวศน์ อาเภอเมอื งระนอง จงั หวดั ระนอง มเี น้ือท่ีคลอบคลุม ทง้ั ตาบล 4.285 ตารางกิโลเมตร เท่ากบั 0.13 % ของพ้นื ท่ีในจงั หวดั ระนอง โดยมอี าณาเขตตดิ ต่อตาบลอน่ื ๆ ดงั น้ี ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกบั เทศบาลตาบลบางนอน ทศิ ตะวนั ตก ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั เทศบาลเมอื งบางร้นิ ตดิ ต่อกบั เทศบาลเมอื งบางร้นิ เทศบาลตาบลปากนา้ ท่าเรอื เทศบาลตาบลบางนอน องคก์ ารบรหิ ารส่วนตาบลหาดสม้ แป้น ตดิ ต่อกบั เทศบาลเมอื งบางร้นิ ทศิ ใต้ 2 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

1.2 ลกั ษณะภมู ิประเทศ สภาพพ้นื ท่สี ่วนใหญ่มลี กั ษณะพ้นื ท่สี ูงตา่ ตามเนินเขามพี ้นื ท่รี าบนอ้ ย ภูเขาลอ้ มรอบตวั ตาบล ตง้ั อยู่ทางดา้ นฝงั่ ทะเลอนั ดามนั หรือมหาสมทุ รอนิ เดีย มลี กั ษณะลาดเอียงจากทางทิศตะวนั ตกสู่ทะเลอนั ดามนั อาเภอเมืองระนอง มพี ้นื ท่ที งั้ หมด 713.17 ตารางกิโลเมตร มอี าณาเขตติดต่อกบั อาเภอขา้ งเคียง ดงั น้ี ทศิ เหนือ ตดิ ต่อกบั อาเภอละอ่นุ ทศิ ตะวนั ตก ทศิ ตะวนั ออก ตดิ ต่อกบั ทะเลอนั ดามนั ตดิ ต่อกบั อาเภอพะโตะ๊ (จงั หวดั ชมุ พร) แมน่ า้ กระบรุ ี ฝงั่ ตรงขา้ มของแมน่ า้ คือ เขตตะนาวศรี (ประเทศพมา่ ) ตดิ ต่อกบั อาเภอกะเปอร์ ทศิ ใต้ วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 3

1.3 แม่สำยน้ำสำคญั พ้ืนท่ีอาเภอเมืองระนอง จงั หวดั ระนอง มีแม่นา้ ลาคลองท่ีเกิดจาก เทือกเขาทางดา้ นทิศตะวนั ออกเป็นส่วนใหญ่ มีลกั ษณะเป็นทางนา้ สายสนั้ ๆ ไหลลงสู่ทะเลอนั ดามนั ทางดา้ นทศิ ตะวนั ตก ลานา้ สาคญั ของพ้ืนทเ่ี ขตเทศบาล เมอื งระนอง ไดแ้ ก่ “คลองหาดสม้ แป้น” เป็นคลองสายสาคญั ของจงั หวดั ระนอง ซง่ึ ไหลผ่านบอ่ นา้ แร่รอ้ นซง่ึ เป็นสถานทท่ี ่องเทย่ี วทม่ี ชี ่ือเสยี งของจงั หวดั ระนอง ภำพท่ี 1 อำ่ งเกบ็ น้ำคลองหำดสม้ แป้ น 4 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

1.4 ภมู อิ ำกำศ เน่ืองจากเป็นจงั หวดั ท่ีตง้ั อยู่ทางภาคใตด้ า้ นฝงั่ ตะวนั ตก จึงไดร้ บั อทิ ธพิ ลของลมมรสมุ ตะวนั ตกเฉียงใตอ้ ย่างเต็มท่ี จงึ มฝี นตกชุกหนาแน่นกว่า จงั หวดั อ่ืนๆ ของทางภาคใต้ และตกเกือบตลอดปี ส่วนฤดูหนาวอากาศ ไม่หนาวจดั เพราะอยู่ไกลจากอทิ ธิพลของอากาศหนาวพอสมควร แต่บางครงั้ อาจมีฝนตกได้ เน่ืองจากลมมรสุมตะวนั ออกเฉียงเหนือท่ีพดั ผ่านอ่าวไทย ซง่ึ มี 3 ฤดู ดงั น้ี ฤดูรอ้ น เร่ิมตงั้ แต่กลางเดอื นกุมภาพนั ธถ์ งึ กลางเดอื นพฤษภาคม ระยะน้ี เป็นช่วงว่างของฤดูมรสุม จะมลี มจากทิศตะวนั ออกเฉียงใตพ้ ดั ปกคลุม ทาใหอ้ ากาศรอ้ นทวั่ ไป อากาศจะรอ้ นสูงสุดในเดอื นเมษายน แต่ไมร่ อ้ นมาก นกั เน่ืองจากภูมปิ ระเทศเป็นคาบสมทุ รอยู่ใกลท้ ะเล กระแสลมและไอนา้ จากทะเลทาใหอ้ ากาศคลายความรอ้ นลงไปมาก ฤดูฝน เร่มิ ตงั้ แต่กลางเดอื นพฤษภาคมถงึ กลางเดอื นตลุ าคม จะมีลมมรสุม ตะวนั ตกเฉียงใตพ้ ดั ปกคลุมประเทศไทย และร่องความกดอากาศตา่ จะพาดผ่านภาคใตเ้ ป็นระยะๆ อีกดว้ ย จึงทาใหม้ ฝี นตกหนกั ตลอดฤดูฝน และเดอื นสงิ หาคมจะมฝี นตกชกุ ชมุ ทส่ี ุดในรอบปี ฤดูหนำว เร่ิมตงั้ แต่กลางเดอื นตุลาคมถงึ กลางเดอื นกุมภาพนั ธ์ ในระยะน้ี จะมลี มมรสุมตะวนั ออก เฉียงเหนือซ่งึ เย็นและแหง้ จากประเทศจีนพดั ปก คลุมประเทศไทย ทาใหอ้ ุณหภูมิลดลงทวั่ ไปและมอี ากาศหนาวเย็น แต่ เน่ืองจากจงั หวดั ระนองอยู่ใกลท้ ะเล อุณหภูมิจึงลดลงเล็กน้อยเป็นครง้ั คราว อากาศจึงไม่หนาวเย็นมากนกั และตามชายฝงั่ มฝี นตกทวั่ ไป แต่มี ปรมิ าณไมม่ าก วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 5

1.5 ทรพั ยำกรธรรมชำติ ทรพั ยากรนา้ แหล่งน้ำใตด้ ิน ผลการวจิ ยั จากของบริษทั ทป่ี รึกษา แหลง่ นา้ ใตด้ นิ ในเขตเทศบาลเมืองระนองพบตามรอยแยกรอยแตก หรือบริเวณ ท่ีหินกาลงั สลายตวั ความลึกไม่แน่นอน เป็นแหล่งนา้ จากหินแกรนิต ประกอบดว้ ยหนิ แกรนติ เน้อื แน่น หนิ ลกิ ไนตซ์ ง่ึ พบเฉพาะบางแหง่ แหล่งน้าผิวดิน แหล่งน้ำผิวดินในเขตเทศบำลเมืองระนอง มสี ถำนะเปน็ คลองระบำยนำ้ ท่ีสำ้ คญั ทงั สนิ 3 คลอง ดงั นี้ คลองโรงหดั ไหลผา่ นเทศบาลเมอื งระนองเป็นระยะทางสนั้ ๆ จากนนั้ จงึ ไหลไปรวมกบั คลองหาดสม้ แป้น คลองหาดสม้ แปน้ เปน็ คลองที่ระบำยน้ำไหลลงส่ทู ะเล และ เปน็ คลองทกี่ นั พรมแดนของเขตเทศบำล คลองสะพำนยูง เป็นคลองทร่ี ะบายนา้ ไหลลงสทู่ ะเล ใชป้ ระโยชนใ์ นดา้ นการระบายนา้ เป็นสาคญั 6 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

ทรพั ยากรป่ำไม้ ภเู ขำ จงั หวดั ระนองมปี ่าไมอ้ ยู่สองประเภทคือ ป่าบกและป่าชายเลน ป่ ำบก จากขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากภาพถ่ายดาวเทียม เม่ือปี พ.ศ.2534 จงั หวดั ระนองมพี ้นื ทป่ี ่าไมอ้ ยู่ประมาณ 603,000 ไร่ ประมาณรอ้ ยละ 25 ของพ้ืนท่ีจงั หวดั ไดม้ ีการประกาศเป็นพ้ืนท่ีป่ าสงวนแห่งชาติ ทงั้ หมด 8 แห่ง เป็นพ้ืนท่ีประมาณ 507 ตารางกิโลเมตร หรือ ประมาณ 317,000 ไร่ ในส่วนของพ้นื ท่เี ทศบาลเมอื งระนองจะเป็ น พ้นื ทข่ี องป่าคลองหวั เขยี ว และป่าคลองเกาะสุย พ้นื ท่ี 77,000 ไร่ ป่ ำชำยเลน มพี ้นื ท่ีประมาณ 172,000 ไร่ ประมาณรอ้ ยละ 8 ของ พ้นื ท่ีจงั หวดั ไมป้ ่าชายเลนท่สี าคญั ไดแ้ ก่ โกงกาง ปรง ถวั่ ตะบูน และอน่ื ๆ นาเผาถ่านทม่ี คี ุณภาพสูง พ้นื ทป่ี ่าชายเลนทเ่ี ป็นแนวตลอด เขตทางทิศตะวนั ตกของจงั หวดั อยู่ในเขตพ้นื ท่ชี ุมชนด่านท่าเมอื ง ชมุ ชนตรอกชายโสด และชมุ ชนตลาดองคก์ าร วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 7

1.6 กำรคมนำคม การคมนาคมของต้าบลเขานเิ วศน์นนั ประกอบไปด้วย ทำงบก สญั จรโดยใชย้ านพาหนะเช่น รถจกั รยานยนต์ รถยนต์ เป็นตน้ รถยนต์ โ ด ย ส า ร ส่ ว น ใ ห ญ่ ต า บ ล เ ข า นิ เ ว ศ น์ มรี ถยนตไ์ ม้ เป็นรถยนตโ์ ดยสาร ซ่ึงจะ รวมคิวรถเมย์โดยสารต่างๆ ไวจ้ ุด ศูนยก์ ลางตาบลในตลาดเทศบาล ทำงน้ำ เน่ืองจากมีพ้ืนท่ีบางส่วน อยู่ติดกบั ชายฝงั่ ทะเลอนั ดามนั ชาวบา้ น มกั จะใชเ้ รอื ประมงขนาดเลก็ ในการสญั จร และการประกอบอาชพี ประมง 8 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

1.7 ประวตั คิ วำมเป็นมำของชมุ ชน ในพ้นื ท่ตี ำบลเขำนิเวศนแ์ บ่งออกเป็นชมุ ชน 20 ชมุ ชน ดงั น้ี 1. ชมุ ชนตรอกชำยโสด 2. ชมุ ชนพอ่ ตำขิง 3. ชมุ ชนตลำดพม่ำ 4. ชมุ ชนสะพำนยูง 5. ชมุ ชนตลำดใหม่ 6. ชมุ ชนโรงกลวง 7. ชมุ ชนซอย 2 8. ชมุ ชนซอย 9 9. ชมุ ชนด่ำนท่ำเมือง 10. ชมุ ชนเสอื ป่ำ 11. ชมุ ชนตลำดองคก์ ำร 12. ชมุ ชนสหพนั ธ์ 13. ชมุ ชนตลำดลำ่ งภกั ดี 14. ชมุ ชนตลำดเกำ่ 15. ชมุ ชนบำงสำ้ นพฒั นำ 16. ชมุ ชนรว่ มจติ 17. ชมุ ชนระนองแลนด์ 18. ชมุ ชนเสำวลกั ษณพ์ ฒั นำ 19. ชมุ ชนตลำดแขก 20. ชมุ ชนเฉลมิ พระเกยี รติ วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 9

อดตี ส่วนใหญ่เป็นชาวประมงทอ่ี อกเรือ แลว้ เขา้ มาพกั อาศยั และตามกนั มาอยู่ประมาณ 15 หลงั ส่วนใหญ่ทาประมงเรอื อวนดา ยา้ ยมา จากพ้ืนท่ีอ่ืน เช่น มหาชยั ประจวบคีรีขนั ธ์ สมทุ รปราการ สมทุ รสาคร ฯลฯ พ้นื ท่เี ดิมเป็น ท่ีเหมืองแร่ ชาวบา้ นจึงเขา้ มาอยู่ประมาณ ปลายปี พ.ศ.2501 นา้ ทะเลยงั ท่วมถงึ ชาวบา้ น จงึ ตอ้ งยกบา้ นพ้นื สูง ชาวบา้ นใชค้ นั กนั้ นา้ ของ เรือขดุ แร่เป็นท่สี ญั จร ต่อมาจงึ มชี าวบา้ นอพยพเขา้ มาอาศยั อยู่เร่ือยๆ ปี พ.ศ.2519 เทศบาล เขา้ มาจดั เก็บภาษีโรงเรือนปีละ 350 บาท ต่อมามเี จา้ หนา้ ท่มี าแจง้ หากเสยี กบั องคก์ ารบริหาร ส่วนจงั หวดั จะถูกกว่าประมาณปีละ 100 บาท ชาวบา้ นบางส่วนจึงไปขอเช่าและเสียใหก้ บั องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวดั ปีละ 120 บาท ในอดตี ยงั ไมม่ ชี อ่ื เรยี กชมุ ชน แต่มไี ตเ๋ รอื ประมาณ 7 - 8 คน ไดข้ ้นึ ฝงั่ และเป็นหนุ่มโสด ทง้ั หมด และส่วนใหญ่คนท่อี าศยั เป็นหนุ่มโสดจึงมกั เรียกกนั ติดปากว่าตรอกชายโสดจนถึง ปจั จุบนั เทศบาลเขา้ มาจดั ตงั้ เป็นชุมชนเม่อื ปี พ.ศ.2534 อดตี กินพ้นื ท่ยี าวไปถงึ ชุมชนตลาด องคก์ าร และหมู่บา้ นจดั สรรเสาวลกั ษณ์ ซ่งึ สามารถออกโฉนดไดท้ ง้ั หมด ทงั้ น้ีเป็นพ้นื ท่ที ่ีมี อาณาเขตตดิ กบั ชมุ ชนตรอกชายโสด 10 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

นางผ่องศรี จนั ทรี อายุ 68 ปี บา้ นเลขท่ี 19/10 ชุมชนพ่อตาขิง ซ่ึงเป็นคนจงั หวดั ระนอง เดิมอาศัยอยู่ท่ีตลาดบางสา้ น ถนนเรืองราษฎร์ เม่อื ปี พ.ศ. 2497 ไดย้ า้ ยออกจากตลาดบางสา้ น มาอาศยั อยู่กบั พ่อช่อื นายผจญ เจริญผล ไดม้ กี าร สรา้ งบา้ นเรือนอาศัยอยู่ใกลก้ ับศาลพ่อต าขิง เป็นบรเิ วณพ้นื ทใ่ี กลค้ ลองทม่ี นี า้ ไหลลงมาจาก ตาบลหาดสม้ แป้ น ในขณะนน้ั บริเวณแถบนนั้ เป็นท่ดี นิ สมั ปทานขดุ แร่ของบริษทั เรือขดุ แร่ ระนองคอนโซน ซ่งึ ไดท้ าการขดุ แร่อยู่บริเวณนน้ั ส่วนใหญ่พ้นื ท่บี ริเวณนน้ั ไดท้ าการขุดแร่ ผ่านไปแลว้ แทบทงั้ หมด เหลอื อยู่เฉพาะบริเวณลอ้ มรอบศาลพอ่ ตาขงิ ท่ไี ม่สามารถทาการขดุ แร่ได้ เพราะบรษิ ทั พยายามเขา้ ทาการขดุ หลายครง้ั แต่ทุกครงั้ เรือขดุ ก็เสยี โดยไม่ทราบสาเหตุ ชาวบา้ นจงึ ขอต่อบรษิ ทั เขา้ ไปอยู่อาศยั โดยมนี ายผจญ เจริญผล, นายนพ โมฬ,ี นายกุ่ยหอ้ ง แซ่พวั่ , นางเหมาะ แซ่หย่นิ , นายหดี พนั ธกิจ, นายประคอง สุวราษฎร,์ นายดา ไผสะอาด, นายดา แซ่อุย๋ , นางหย้ิน และท่ดี ินบริเวณใกลเ้ คียงตรงขา้ มบริเวณนนั้ ส่วนใหญ่ ขนุ นิคม ประสาตร์ ไดเ้ ขา้ ทาการจงั จองไว้ ซ่งึ ต่อมาไดม้ อบใหโ้ รงพยาบาลคร่ึงหน่ึง ส่วนท่เี หลอื ได้ ออกเป็น น.ศ. 3 ไวแ้ ละไดจ้ ดั แบ่งเป็นลอ็ กๆ 50 ตารางวา จานวนหลายสบิ ลอ็ ก และไดแ้ บ่ง ขายท่ดี นิ ใหช้ าวบา้ นสรา้ งบา้ นอยู่อาศยั ต่อมาท่ดี นิ ดงั กล่าวบางลอ็ กก็ออกเป็นโฉนด แต่บาง รายยงั เป็น น.ศ. 3 อยู่จนถงึ ปจั จบุ นั ส่วนท่ดี นิ ท่บี ริเวณศาลพ่อตาขงิ ขณะน้ียงั ไม่มเี อกสาร สทิ ธ์ิใดๆ ต่อมาเมอ่ื ปี พ.ศ. 2536 เทศบาลไดจ้ ดั ตงั้ เป็นชมุ ชนเรยี กว่าชมุ ชนพอ่ ตาขงิ ปจั จบุ นั มี 83 ครวั เรอื น ประชากร 350 คน และเมอ่ื 50 ปีก่อน นายกุ่ยหอ้ ง แซ่พวั่ ซ่งึ เป็นบดิ าของนาง เพ็ญรตั น์ พยฆั ยุทธ์ิ ท่านเล่าใหฟ้ งั ว่า เม่ือก่อนมีคนอาศยั อยู่ประมาณ 12 ครวั เรือน ประชาชนทอ่ี ยู่หาดสม้ แป้นหรอื บ่อนา้ รอ้ นเวลาจะไปตลาดตอ้ งออ้ มไปทางแขวงการทางระนอง ส่วนท่พี ่อตาขงิ เป็นถนนทางเดิน ต่อมาท่านขุนนิคม ประสาตร์ ไดจ้ บั จองท่ีและขายใหก้ บั ชาวบา้ น เมอ่ื มชี าวบา้ นเขา้ มาอยู่มากกก็ ลายเป็นชมุ ชนใหญ่ วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 11

ชมุ ชนตลาดพมา่ แต่เดมิ ในอดตี เป็นหมบู่ า้ นอยู่อาศยั ของคนงานชาวพม่าทบ่ี รษิ ทั องั กฤษเกณฑม์ า เพอ่ื ทางานบน เรือขดุ แร่ดีบุก ตรงบริเวณบางนอน โดยมคี นงานแยกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มคนงานท่มี าจากพม่าจะอยู่ตรงพ้นื ท่ตี ลาดพม่า ในปจั จบุ นั และกลมุ่ คนงานท่มี าจากอนิ เดยี จะอยู่ตรงตลาด แขกในปจั จุบนั และน่ีคือท่ีมาของช่ือท่ีเกิดจากการเรียก ตดิ ปากคนในสมยั นนั้ เมอื งระนอง เดิมเป็นหวั เมอื งเลก็ ๆ มาตงั้ แต่สมยั กรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของไทย โดยแบ่งการปกครองออกเป็น 2 เมอื ง คือ เมอื งระนองและเมอื งตระ (อาเภอกระบุรี) ซ่งึ อยู่ใน การปกครองของเมอื งชุมพร แต่ดว้ ยระนองเป็นเมอื งท่อี ุดมสมบูรณ์พรอ้ มไปดว้ ยทรพั ยากร ธรรมชาติ ทม่ี ชี ่อื เรียกกนั ในสมยั โบราณวา่ ตะกวั่ ดาหรอื ดบี กุ ทม่ี อี ยู่ใตแ้ ผ่นดนิ เป็นจานวนมาก และเป็นเมอื งแรกท่มี ีเจา้ ของเหมอื งแร่ (นายนอง) ไดร้ บั พระราชทานบรรดาศกั ด์ิเป็นหลวง ระนอง เป็นเจา้ เมอื งคนแรกและเป็นนายอากรแต่โบราณ ในการผูกขาดส่งอากรดบี ุกใหร้ ัฐบาล ซง่ึ นบั วา่ มบี ทบาทสาคญั ในการสรา้ งความเจรญิ ร่งุ เรอื งทางเศรษฐกจิ ของประเทศ ครน้ั ตน้ สมยั กรุงรตั นโกสนิ ทร์ มชี าวจนี ฮกเก้ยี นช่อื “คอซูเ้ จียง” ไดย้ ่นื ขอประมลู อากร ดีบุกในเขตเมืองระนองและเมืองตระ ซ่ึงพระบาทสมเด็จพระนงั่ เกลา้ เจา้ อยู่หวั ท รงโปรด อนุญาตพรอ้ มกบั พระราชทานบรรดาศกั ด์ใิ หค้ อซูเ้จยี งเป็น หลวงรตั นเศรษฐี ดารงตาแหน่งนาย อากรเมอื งตระและเมอื งระนองต่อมา และเน่อื งจากสถานการณ์บา้ นเมอื งในปจั จบุ นั มีเหตกุ ารณ์ หลายอย่างมีผลต่อการพฒั นาเมืองและการพฒั นาประเทศ เปล่ียนแปลงไปอย่างรวดเร็ว จนทาใหช้ มุ ชนทอ้ งถน่ิ ตอ้ งพฒั นาอย่างต่อเน่อื งและรวดเรว็ เช่นกนั การท่จี ะพง่ึ พาหน่วยงานของ รฐั เพยี งอย่างเดยี วคงไม่ทนั การ เทศบาลเมอื งระนองจึงเปิดโอกาสใหป้ ระชาชนไดม้ สี ่วนร่วม พฒั นาชมุ ชนของตนเอง มอี งคก์ รการบรหิ ารงานชมุ ชนในรูปแบบของคณะกรรมการมวี าระดารง ตาแหน่งคราวละ 2 ปี “ชมุ ชนตลาดพมา่ ” จงึ ไดเ้กดิ และจดั ตง้ั ข้นึ เมอ่ื วนั ท่ี 12 มนี าคม 2554 12 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

คาว่า “ตลาดใหม่” ทุกคนเขา้ ใจว่าเป็นตลาด ท่สี รา้ งข้นึ ใหม่ แต่ความเป็นจริงตลาดแห่งน้ีสรา้ งข้นึ ภายหลงั พ.ศ. 2387 เพียงเล็กนอ้ ยนบั ถึงปจั จุบนั ประมาณ 160 ปี ประมาณปี พ.ศ. 2387 คอซูเ้ จียงไดย้ า้ ยจากตะกวั่ ป่ามาอยู่ท่เี มอื งระนองและไดต้ งั้ สานกั งานอยู่ท่ี ถนนท่าเมอื ง ห่างจากส่แี ยกถนนเรืองราษฎร์ ประมาณ 300 เมตร ปจั จุบนั เป็นท่วี ่างเปลา่ บริเวณรอบๆ เบ่ยี นเบยี๋ นประมาณ 1 กโิ ลเมตร มผี ูค้ นอาศยั อยู่มากจงึ จดั ตงั้ เป็นชมุ ชนหน่งึ และต่อมาก็ยา้ ยไปตงั้ อยู่ทต่ี ลาดใหม่ บรเิ วณรอบๆ เบย่ี นเบยี๋ น ต่อมาเมอ่ื มโี รงถลุง มโี รงระหดั มที ่าเรือ มเี หมอื งแร่ และมดี ่านศุลกากร มผี ูค้ นมาก พอสมควร จงึ ไดจ้ ดั โรงเตยี๊ มข้นึ หลงั ศาลจงั หวดั ระนอง โดยขยายมาจากเบย่ี นเบยี๋ นทาการรบั ซ้อื แร่ดบี กุ จากชาวบา้ น โดยสรา้ งเป็นตกึ ชน้ั เดยี ว หลงั คามงุ กระเบ้ยื งดนิ เผา ชาวบา้ นเรยี กช่อื โรงเตีย๊ มน้ีว่า “โรงเตีย๊ มหลวงอฐั ” และโรงเตีย๊ มหลวงอฐั ในปจั จุบนั ไดร้ ้ือสรา้ งข้นึ ใหม่และ กลายมาเป็นรา้ นนา้ ชาโกเ้หล บา้ นนายเชดิ และบา้ นนายธงชยั ณ ระนอง ตงั้ อยู่ริมถนนผาดาด ชาวบา้ นตงั้ ชอ่ื ชมุ ชนน้วี า่ “ชมุ ชนตลาดใหม”่ มาจนถงึ ปจั จบุ นั บา้ นเสาแดงทุกหลงั เสาทุกดา้ น ภายในชมุ ชนเสาแดงต่างก็ทาสแี ดงหมด ชาวบา้ นจงึ เรยี กวา่ “บา้ นเสาแดง” อดตี เป็นหมบู่ า้ นจดั สรรระนองโครงการ 2 มโี ฉนดให้ ตอนแรกมปี ระมาณ 20 หลงั คา เรือน และบา้ นเรือนส่วนใหญ่มีโฉนดท่ีดินทง้ั หมด ไดร้ บั การจดั ต้งั เป็ นชุ มชน เม่ือปี พ.ศ.2537 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 13

ประมาณปี พ.ศ. 2516 มีชาวบา้ นอาศยั อยู่ ประมาณ 10 หลงั คาเรือน ประกอบอาชีพตดั ไม้ เผาถ่าน ทาเรือประมง เย็บจาก ภายหลงั มีบุคคล ภายนอกเขา้ มาอยู่อาศยั เป็นจานวนมาก และอาศยั แบบการเช่าบา้ น อดีตเป็นป่าชายเลนมลี กั ษณะท่ดี ิน คลา้ ยเป็ นเกาะข้ึนหลายพ้ืนท่ี ชาวบา้ นอาศัยอยู่ ประมาณ 20 หลงั คาเรอื น ปี พ.ศ. 2516 ชาวบา้ นซ่ึงส่วนใหญ่เป็นคนเก่าแก่ท่อี าศยั อยู่ในพ้นื ท่ีท่ไี ดม้ กี ารขยบั ขยายครอบครวั โดยการถมท่ีจนเต็มพ้นื ท่ี เน่ืองจากท่ีดินมโี ฉนดอยู่เดิมและโฉนดออกให้ ปี พ.ศ. 2502 ชาวบา้ นก็ไดอ้ าศยั อยู่อย่างปกติ จนปี พ.ศ. 2543 ไดเ้ กิดกรณีพิพาทเป็นคดี ฟ้องรอ้ งเร่ืองเอกสทิ ธ์ิการถอื ครองท่ดี นิ กบั ตระกูล ณ ระนอง ไดฟ้ ้องชาวบา้ น 3 แปลง และ ศาลตดั สินยึดท่ชี าวบา้ นใหก้ บั ตระกูล ณ ระนอง ไปแลว้ 2 แปลง ท่เี หลอื อยู่ 1 แปลง อยู่ ระหว่างการย่ืนอุทธรณ์ ชาวบา้ นท่เี หลอื ท่ีมโี ฉนด 156 แปลง จึงเกิดความไม่มนั่ ใจในท่อี ยู่ อาศยั อีกส่วนหน่ึงคือ ชาวบา้ นท่อี าศยั อยู่ในชุมชนเหมอื นกนั แต่อยู่ในพ้ืนท่ตี กสารวจหรือ พ้นื ท่สี าธารณะเดมิ แต่อยู่อาศยั นานกว่า 30 ปี ยงั ไม่มกี ารใหเ้ ช่าหรือออกเอกสารสทิ ธ์ิใดๆ ประมาณ 12 หลงั คาเรอื น ทต่ี อ้ งการการแกไ้ ขปญั หาเอกสทิ ธ์ิ 14 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

ปี พ.ศ. 2496 บริษทั ระนองคอลโซลลมิ เิ ต็ด ผูถ้ อื ประทานบตั รแปลงท่ี 8042/6277, 8043/2628 และ 8044/6287 ซ่ึงส่วนใหญ่ตั้งอยู่ในท่ีหมู่ 1 ตาบลบางร้นิ อาเภอเมอื ง จงั หวดั ระนอง ไดส้ มั ปทาน การทาเหมอื งแร่ดว้ ยวธิ ีเหมอื นเรือขดุ ผ่านทป่ี ระทาน บตั รทงั้ 3 แปลง จนหมดและม่งุ ต่อลงทะเลอนั ดามนั ทป่ี ระทานบตั รทง้ั 3 แปลงจงึ รกรา้ งวา่ งเปล่า ชาวบา้ น ส่งตวั แทนเขา้ เจรจากบั บริษทั เพ่ือขอเขา้ ปลูกท่ีอยู่ อาศยั ทางบริษทั ตอบปฏเิ สธเพราะผดิ พระราชบญั ญตั ิ ของกรมโลหกิจ (กรมทรพั ยากรธรณี ปจั จุบนั ) และ หากชาวบา้ นจะเขา้ ไปอยู่อาศยั ก็ดาเนินการกันเอง ทางบรษิ ทั ไมเ่ ก่ยี วขอ้ ง ประมาณปี พ.ศ. 2498 บริษทั ระนองคอลโซลลิมิเต็ด เลิกกิจการโดยขายกิจการต่อให้ นายฟู คุณหลวง ซง่ึ เป็นคนเช้ือชาติจีน สญั ชาติองั กฤษ เขา้ ดาเนินกิจการแทน และไดเ้ วนคืนประทาน บตั รเลขท่ี 5042/6277 และ 8044/6287 คืนใหแ้ ก่ทางราชการ ประทานบตั ร 2 แปลงน้ีตง้ั อยู่ทิศใต้ ของประทานบตั รเลขท่ี 8043/2628 ซง่ึ มคี ลองหาดสม้ แป้นกนั้ แบ่งประทานบตั ร กรมการปกครองไดน้ า ท่ปี ระทานบตั ร 2 แปลงเวนคืนมาจดั สรรใหร้ าชการและชาวบา้ นท่ไี ม่มที ่อี ยู่อาศยั ทาการจบั ฉลากและ ออกโฉนดให้ แต่ประชาชนในส่วนท่อี าศยั แปลงท่ี 8043/2628 ซง่ึ มเี น้ือท่ี 290 ไร่ 2 งาน 72 ตารางวา ไม่มีสิทธ์ิเขา้ ไปจบั ฉลากจึงตอ้ งอาศยั อยู่ต่อไป พยายามเรียกรอ้ งขอสิทธ์ิในการอยู่อาศยั มาตลอด หลายยุค แต่กไ็ มไ่ ดร้ บั การแกไ้ ขแต่อย่างใด ตามหนงั สือของจงั หวดั ท่ี รน 25/13490 ลงวนั ท่ี 19 สงิ หาคม 2523 ความว่าถา้ จะจดั ท่ีดิน แปลงน้ีจาเป็นตอ้ งทาตามขน้ั ตอนทางกฎหมาย ซ่ึงตอ้ งใหร้ ้ือส่งิ ก่อสรา้ งนามาจัดผงั ใหม่ทง้ั หมด ให้ เทศบาลเมอื งระนองและองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั จดั ดาเนินการต่อไป และท่ดี นิ แปลงน้ีทางการบอกว่า ออกโฉนดไม่ไดแ้ ต่เม่อื โอนไปองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั แลว้ สามารถออกโฉนดได้ 8 ราย เม่ือ พ.ศ. 2526 ซง่ึ มเี ลขท่ดี งั น้ี 54/2, 81/9, 81/10, 192/1, 54/3, 54/4, 54/5 และ 170 ซ่งึ ตง้ั อยู่ซอย 2 ถนน ท่าเมือง อาเภอเมือง จงั หวดั ระนอง จะเห็นความแตกต่างว่าทางทิศตะวนั ออกใหโ้ ฉนดได้ แ ต่ทาง ทศิ ตะวนั ตกใหโ้ ฉนดไมไ่ ดท้ งั้ ทอ่ี ยู่ถนนเสน้ เดยี วกนั แต่แค่คนละฝงั่ ถนนแต่สิทธ์ทิ ไ่ี ดร้ บั ต่างกนั โดยส้นิ เชงิ ประมาณปี พ.ศ. 2531 เทศบาลเมืองระนองไดเ้ ขา้ มาดูแลและจดั หาผลประโยชน์ดงั กล่าว ดว้ ยวธิ ีการขออนุญาตหน่วยงานใดไม่ปรากฏชดั และจดั ตง้ั เป็นชุมชนโดยใชช้ ่ือชุมชนสหพนั ธซ์ อย 2 ต่อมาปี พ.ศ.2535 มปี ระชาชนเขา้ มาอาศยั หนาแน่นข้นึ จงึ ไดแ้ ยกจากชมุ ชนสหพนั ธซ์ อย 2 มาจดั ตง้ั เป็น ชมุ ชนใหมใ่ ชช้ อ่ื ชมุ ชนซอย 2 จนถงึ ปจั จบุ นั วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 15

เดิมท่ีดินน้ันเป็ นท่ีสมั ปทานขุดแร่ของบริษทั ระนองคอนโซน (ชาวองั กฤษ) เมอ่ื บรษิ ทั ไดท้ าการขดุ แร่ ท่ีดินเป็นหลุมเป็นบ่อมีแต่ทรายปนเลน มีตน้ มงั เคร ข้นึ เต็มไปหมดเป็นพ้นื ท่ีรกรา้ งว่างเปล่า ต่อมาจึงไดม้ ี ประชาชนเขา้ มาขออนุญาตต่อบริษทั เพอ่ื สรา้ งบา้ นเรือน อยู่อาศยั ขณะนน้ั เม่ือปี พ.ศ. 2485 มีประมาณ 10 หลงั คาเรอื น ต่อมาเมอ่ื ปี พ.ศ. 2498 บรษิ ทั หมดสญั ญาสมั ปทานทางจงั หวดั ไม่ใหต้ ่อสญั ญา ชาวบา้ นก็ไดท้ ยอยเขา้ มาอยู่อาศยั อกี หลายหลงั คาเรอื น เมอ่ื ปี พ.ศ. 2501 ทางจงั หวดั ไดเ้ ร่ิมดาเนินการจดั แบ่งท่ีดินเป็นล็อกๆ ละประมาณ 100 ตารางวา ประมาณ 400 ลอ็ ก เพ่อื จดั สรรใหช้ าวบา้ นเขา้ อยู่อาศยั โดยใหจ้ บั ฉลาก 2 - 3 ครง้ั ขณะนน้ั ชาวบา้ นไม่สนใจและยงั เหลอื ท่ดี นิ อยู่บางส่วนซ่งึ เป็นคูคลองบา้ ง เป็นหลุมเป็นบ่อบา้ ง พ.ศ. 2502 ชาวบา้ นเร่ิมทยอยเขา้ มาอยู่อาศยั เร่ือยๆ จนถงึ ปี พ.ศ.2510 จงึ มผี ูอ้ าศยั หนาแน่นมากข้นึ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชพี ร่อนแร่ รบั จา้ ง ตดั ไมข้ าย ทอดแห จบั ปูจบั ปลา ในการจดั ล็อกจดั สรรท่ีดินตอนนนั้ ไดต้ ง้ั ช่ือลอ็ กเรียงลาดับจากล็อกท่ี 1-15 ซอย 15 ปจั จบุ นั ส่วนลอ็ กท่ี 9 ขณะนน้ั เมอ่ื ปี พ.ศ. 2492 สานกั งานประปาและไฟฟ้า อยู่ตรงจดุ ลอ็ กซอย 9 แลว้ จดั ตงั้ เป็นชมุ ชนเมอ่ื ปี พ.ศ. 2537 เรยี กว่า ชมุ ชนซอย 9 มี 155 ครวั เรอื น ประชากร 449 คน ชาย 218 คน หญงิ 231 คน 16 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

ในอดีต ประมาณปี พ.ศ.2445 มีคนจีนกลุ่มหน่ึง ไดเ้ ดนิ ทางโดยเรือสนิ คา้ มาคา้ ขายกบั คนไทย และไดม้ าปลูก ทพ่ี กั ชวั่ คราวอยู่บรเิ วณรมิ คลองทา่ ดา่ น ต่อมาพ้นื ทบ่ี รเิ วณคลองทา่ ด่านไดพ้ ฒั นาจนกลายเป็น ท่าเรือสาคญั ของระนองในการขนถ่ายสินคา้ และเป็นท่าเรือ เพ่ือสญั จรไปยงั เมืองอ่ืน เช่น เมอื งกระบุรี เมืองตะกวั่ ป่ า เมอื งภูเก็ต ฯลฯ เพราะในอดตี การเดนิ ทางจากระนองเพ่ือไป เมอื งอน่ื ไมม่ ถี นนตอ้ งเดนิ ทางดว้ ยเรอื เทา่ นน้ั ปี พ.ศ. 2494บริษทั เหมืองแร่ ไซมิสติล ไดร้ บั สมั ปทานการขุดแร่ดีบุก และได้ ทาการขุดแร่บริเวณท่ตี ง้ั ชุมชนในปจั จุบนั เม่อื ขดุ ไปบริเวณพ้นื ท่ีนน้ั จงึ เป็นป่าเลนสลบั กบั หนองนา้ และคูคลองจานวนมาก ชาวบา้ นส่วนหน่ึงประมาณ 25 ครวั เรอื น ไดเ้ขา้ มาจบั จอง พ้นื ท่เี พ่อื ปลูกท่พี กั อาศยั ซ่งึ ทงั้ หมดเป็นคนพ้นื ท่จี งั หวดั ระนอง โดยบา้ นท่สี รา้ งมลี กั ษณะ ยกพ้นื สูงหลงั คามงุ จาก เน่ืองจากนา้ ทะเลท่วมถงึ อาชพี ส่วนใหญ่คือทาประมง รบั จา้ ง และ คา้ ขาย จนประมาณปี พ.ศ. 2501 มชี าวบา้ นอพยพเขา้ มาอยู่เพ่มิ รวม 200 หลงั คาเรือน เพราะช่วงนน้ั ด่านท่าเมอื งเศรษฐกิจรุ่งเรืองมาก รวมถงึ ความอุดมสมบูรณ์ของธรรมชาติ ดา้ นการประมง วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 17

ปี พ.ศ. 2508 ไดเ้ กิดไฟไหมค้ รง้ั ใหญ่ในชมุ ชนด่านท่าเมอื ง ซง่ึ ขณะนนั้ มชี าวบา้ น อาศยั อยู่ประมาณ 300 หลงั คาเรอื น ถูกไฟไหมเ้ สยี หายเกือบทงั้ หมด แต่เหลือท่ไี มโ่ ดน ไฟไหมป้ ระมาณ 10 หลงั คาเรือน ชาวบา้ นท่ถี ูกไฟไหมต้ อ้ งอาศยั อยู่ตามวดั และบา้ นญาติ โดยสมยั นน้ั หน่วยงานภาครฐั ไม่ไดเ้ขา้ มาช่วยเหลอื ปี พ.ศ. 2509 ชาวบา้ นไดเ้ ขา้ มาปลูก บา้ นอาศยั อีกครง้ั และทางราชพสั ดุและเทศบาลเมอื งระนอง เร่ิมเขา้ มาจดั เก็บค่าเช่าท่ี โดยราชพสั ดุเก็บดา้ นหนา้ ตลอดแนวถนนท่าเมอื ง ส่วนเทศบาลจดั เก็บดา้ นหลังส่วนทน่ี า้ ท่วมถงึ ต่อมาเมอ่ื เหมอื งแร่ขดุ ผ่านท่บี ริเวณดา้ นหลงั บางส่วนจึงเป็ นท่รี าบนา้ ท่วมไม่ถงึ ทาใหร้ าชพสั ดขุ ยายพ้นื ทด่ี า้ นหลงั อกี บางสว่ น ค่าเช่าในอดตี เสยี ท่ีอาเภอปีละ 6 บาท ปี พ.ศ. 2523 ส.ส. ยงยุทธ นพเกตุ ร่วมกบั ชาวบา้ นพฒั นาทาถนนกน้ั แนวเขต ระหว่างราชพสั ดุกบั ป่าชายเลนช่ือซอยร่วมใจ และชาวบา้ นก็ไดอ้ าศยั อยู่จนถงึ ปจั จุบนั พ้นื ทบ่ี างสว่ นกส็ ามารถขอเช่ากบั เทศบาลได้ แต่บางส่วนขอเช่าไมไ่ ดท้ งั้ ทอ่ี ยู่ตดิ กนั ปี พ.ศ. 2534 เทศบาลเมอื งระนองไดแ้ ต่งตง้ั เป็นชมุ ชนด่านท่าเมอื ง โดยตดั พ้นื ท่ี ทางทศิ ตะวนั ออกส่วนหน่ึงจดั ตง้ั เป็นชุมชนตรอกชายโสด และปี พ.ศ. 2538 ตดั พ้นื ท่ี ดา้ นทศิ ตะวนั ตกจดั ตงั้ เป็นชมุ ชนร่วมจติ ร ปจั จุบนั มปี ระชากรอาศยั อยู่ 283 หลงั คาเรือน จานวน 1,113 คน ปญั หาหลกั เร่อื งทด่ี นิ อยู่อาศยั คอื การจดั เก็บค่าเช่าจากหลายหน่วยงาน เช่น ราชพสั ดุ เทศบาลเมอื ง ระนอง ทข่ี าดความชดั เจน บางส่วนก็อยู่อาศยั มาหลายสบิ ปีแต่ไม่มหี น่วยงานไหนใหเ้ ช่า อกี ทง้ั ปญั หาของครอบครวั ขยายทอ่ี ยู่กนั แออดั ไมส่ ามารถหาทอ่ี ยู่อาศยั ได้ 18 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

อดีตเป็นท่วี ่างเปล่า อาจารยถ์ าวรเป็นผูด้ ูแลสถานท่ี ชาวบา้ นจึงเขา้ มาอยู่ อาศยั โดยเสียค่าเช่าใหท้ างจงั หวดั ปีละ 500 บาท/หลงั คาเรือน ปี พ.ศ. 2544 ปรบั ค่าเช่าใหม่ดา้ นหนา้ ถนนเรืองราษฎรต์ ารางวาละ 10 บาท/เดอื น ส่วนดา้ นใน ตารางวาละ 4 บาท/เดอื น ปจั จุบนั มปี ระชากร 78 หลงั คาเรือน 300 คน ท่ดี ินน้ีเดมิ เป็นของลูกเสือ ท่ดี ินพระราชทาน ปจั จุบนั ข้งึ ตรงกบั ท่ดี นิ จงั หวดั ขณะน้ีไดม้ ีการขยายเขตพ้นื ท่ี ออกไปอีกประมาณ 200 หลงั คาเรือน ส่วนใหญ่เป็นท่ีดินมีโฉนดเกือบท้ังหมด ยกเวน้ ทข่ี องลูกเสอื ทเ่ี ป็นทต่ี งั้ ของชมุ ชนเสอื ป่า ขอ้ เสนอต่อทางจงั หวดั ขณะน้ีชาวบา้ นส่วนใหญ่ 78 หลงั คาเรือน เป็นท่เี ช่า จงั หวดั ไม่สามารถแปลงสนิ ทรพั ยเ์ ป็นทุน และต่อมาทางเทศบาลเขา้ มาจัดตงั้ เป็น ชุมชนเสือป่ าแต่ก็ไม่ไดเ้ สียค่าเช่าใหก้ บั เทศบาล แต่ตอ้ งเสียใหท้ างจงั หวดั แต่ งบประมาณทไ่ี ดม้ าพฒั นาชมุ ชนสว่ นใหญ่จะไดม้ าจากเทศบาลเมอื งระนอง วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 19

ท่ดี ินดา้ นในชุมชนอดีตเคยเป็นท่สี มั ปทานของ เหมอื งแร่ไซมสิ ติล เม่อื มกี ารขดุ แร่ผ่านไป จึงเป็นท่วี ่าง เปล่ามหี ลุมบ่อและเนินดนิ นา้ ทะเลท่วมถงึ จนปี 2513 มคี นเขา้ มาอยู่อาศยั ประมาณ 8 หลงั คาเรอื น ปี พ.ศ.2521 ดา้ นหนา้ ซง่ึ ตดิ กบั ถนนสายท่าเมอื ง - สะพานปลา ไดม้ กี ารจดั สรา้ งอาคารพาณิชยต์ ึก 3 ชนั้ ส่วนบริเวณดา้ นหลงั ขณะนนั้ ก็เร่ิมมีชาวบา้ นเขา้ มา อาศยั อกี ประมาณ 60 หลงั คาเรอื น ซ่งึ ส่วนใหญ่มอี าชีพ ออกเรอื และมาจากต่างจงั หวดั ต่อมาทางองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั จงึ เขา้ มาบรหิ ารและจดั สรา้ งถนนประมาณปี 2522 เร่มิ เขา้ มาจดั เก็บสญั ญาเช่า โดยกาหนดพ้นื ท่ี 20x30 เมตร ต่อ 1 ครวั เรือน เก็บค่าเช่า 150 บาท/ปี และเก็บค่าใชจ้ ่ายในการพฒั นาทด่ี นิ ของ อบจ. อกี 500 บาท โดย อบจ. เขา้ มาจดั สรร พ้นื ทอ่ี ยู่อาศยั ใหช้ าวบา้ น หากบา้ นใครท่สี รา้ งก่อนแต่เป็นทต่ี อ้ งตดั ถนนก็จะมกี ารจดั สรรพ้นื ท่ี ใหมใ่ ห้ อกี พ้นื ทห่ี น่งึ คอื ดา้ นหลงั อาคารพาณิชย์ ทต่ี ิดซอยพฒั นา 8 เขตตาบลบางร้นิ ซ่งึ เป็นท่ี ว่างเปล่าประมาณ 3 ไร่เศษ ปี 2523 นายรศั มี พนั พพิ ฒั น์ จึงไดเ้ ขา้ มาปลูกบา้ นอาศยั ต่อมา จึงมชี าวบา้ นอพยพมาจากต่างจงั หวดั เขา้ มาอาศยั ประมาณ 30 ครวั เรือน ส่วนใหญ่เป็นคน จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี นครศรธี รรมราช ยโสธร ปจั จบุ นั ก็ยงั ไมเ่ ช่าทด่ี นิ เคยรอ้ งขอทาสญั ญาเช่า แต่ทางการไมย่ นิ ยอม มบี างส่วนในพ้นื ทเ่ี ดยี วกนั ทส่ี ามารถขอเช่าทด่ี นิ ไดจ้ าก อบจ. ปี 2534 ยงั เป็นชุมชนตรอกชายโสด จนปี พ.ศ.2536 เทศบาลเมอื งระนองจึงเขา้ มา จดั ตงั้ แยกออกจากชุมชนตรอกชายโสด โดยใชช้ ่ือชุมชนตลาดองคก์ าร มีประชาชน 370 หลงั คาเรอื น 1,030 คน 20 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

เมอ่ื ปี พ.ศ. 2506 มบี ริษทั ซ่งึ ร่วมทุนมหี ุน้ ส่วนระหว่างคนไทยหลายคนและต่างชาติ ชาวมาเลเซีย ซ่งึ มชี ่อื ว่านายคุลหลอง แซ่ฟู ไดน้ าเรือขุดแร่มาจากจงั หวดั พงั งาเขา้ มาทาการ ขดุ แร่ดบี กุ ในเขตพ้นื ท่ี ตาบลปากนา้ ตาบลบางร้นิ ตาบลบางนอน และตาบลเขานิเวศน์ ไดต้ ง้ั สานกั งานอยู่บา้ นเลขท่ี 118/1 ถนนท่าเมอื ง ตาบลเขานิเวศน์ เขตเทศบาลเมอื งระนอง โดยใช้ ช่ือว่า บริษทั เรือขุดแร่สหพนั ธ์ จากดั ในการทางานบริษทั มีพนกั งานประมาณ 100 คน เป็นคนงานในเขตพ้นื ท่จี งั หวดั ระนอง และอีกส่วนหน่ึงมาจากต่างจงั หวดั คนงานท่มี าจาก ต่างจงั หวดั ไม่มที พ่ี กั อาศยั บริษทั จงึ สรา้ งบา้ นพกั คนงานข้นึ ประมาณ 60 หอ้ ง เพอ่ื ใหค้ นงาน พกั อาศยั ปี พ.ศ. 2525 บริษทั เลกิ กิจการใหค้ นงานออกจากบา้ นพกั ไปหาท่อี ยู่ใหม่ คนงาน บางส่วนกลบั ถ่นิ เดมิ แต่บางส่วนไม่มที ่จี ะไปประกอบอาชีพ ขณะนนั้ บุตรธิดา กาลงั ศึกษา ตดิ พนั ในภาคเรยี น จงึ ไมส่ ามารถยา้ ยออกไปได้ มกี ารรวมกลมุ่ รอ้ งขอต่อเทศบาลเมอื งระนอง เพอ่ื ขอเช่าท่ดี นิ เป็นท่อี ยู่อาศยั อีกทงั้ ตอนนนั้ คนงานทง้ั หมดถูกลอยแพ บริษทั ตดั นา้ ตดั ไฟ ชาวบา้ นจงึ รวมตวั กนั เรยี กรอ้ งสทิ ธ์ิกบั หน่วยงานทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง ปี พ.ศ. 2531 นายววิ ทิ ย์ ปนั ฉิม นายกเทศมนตรเี มอื งระนองใหค้ วามช่วยเหลอื เปิดใหเ้ช่าทด่ี นิ กบั เทศบาลและจดั ตงั้ เป็นชมุ ชน ในปี พ.ศ. 2534 มชี อ่ื วา่ ชมุ ชนสหพนั ธ์ วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 21

ชมุ ชนตลาดลา่ งภกั ดี เกดิ ข้นึ เน่อื งจากการยา้ ยถน่ิ ฐานของประชาชนจากจงั หวดั ใกลเ้คยี ง อนั สบื เน่อื งมาจากจงั หวดั ระนองเป็นจงั หวดั ทอ่ี ดุ มสมบูรณไ์ ปดว้ ยทรพั ยากร ธรรมชาติ เช่น การทาเหมืองแร่ การทาอุตสาหกรรม ป่ าไม้ และการทาประมง ประกอบกบั จงั หวดั ระนองมอี าณาเขตติดต่อกบั ประเทศเมยี นมาร์ คอื จงั หวดั เกาะสอง มชี าวเมยี นมารเ์ ขา้ มาซ้อื ของมากมาย จึงทาใหก้ ารคา้ ขายของจงั หวดั ระนองมคี วาม เจริญ กา้ วหนา้ มาก จึงทาใหป้ ระชากรของจงั หวดั ใกลเ้ คียงอพยพมาประกอบอาชีพ ต่างๆ ในจงั หวดั ระนองมากมาย การประกอบอาชีพคา้ ขาย เป็นอาชีพหน่ึงท่ผี ูอ้ พยพเขา้ มากระทาการ เม่อื มผี ู้ เขา้ มาคา้ ขายมากๆ ประกอบกบั ตลาดของเทศบาลเป็นตลาดท่มี พี ้นื ท่คี า้ ขายนอ้ ย จึง ทาใหก้ ารคา้ ขายขยายเขา้ ไปในทเ่ี อกชน เมอ่ื นานวนั ข้นึ ก็ทาใหเ้กดิ เป็นตลาดลา่ ง คาว่าภกั ดี เป็นช่อื ซอยหน่ึง มที างแคบๆ เป็นทางเดนิ ของประชาชนจากสแ่ี ยก โรงจานามาท่ตี ลาดล่าง และไดต้ งั้ ช่ือใหเ้ ป็นอนุสรณ์ของสกุล ณ ระนอง เม่อื มกี าร จดั ตง้ั ชมุ ชนจงึ ใชค้ าวา่ “ชมุ ชนตลาดลา่ งภกั ด”ี 22 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

ชุมชนตลาดเก่า คงเป็ นตลาดท่ีเก่าแก่จริงๆ ศาลเจา้ ต่ายเตเ๊ อยี๋ ตงั้ อยู่ในชมุ ชน หลกั ฐานบอกวา่ ก่อตงั้ เม่อื 142 ปีมาแลว้ นบั มาถงึ พ.ศ.2564 คนดงั้ เดมิ เรียก เขตตลาดเก่า ตงั้ แต่โรงเรียนหมิงซินลงไปถึงส่ีแยก แต่เทศบาลมาแบ่งภายหลงั ใหเ้ ขตตลาดเก่าเร่ิมจาก รา้ นทรงประจกั ษ์ลงไปเล้ียวซา้ ยถึงวิมลรตั น์คาร์แคร์ เล้ยี วขวาไปถงึ สแ่ี ยกโรงรบั จานา ในอดตี ชมุ ชนตลาดเก่า ตงั้ ทาเลบรเิ วณน้ีเพราะใกลก้ ารสญั จรทางนา้ คือคลองหาด สม้ แป้น และพ้นื ทเ่ี ป็นทร่ี าบตนี เขา กบั ทร่ี าบทอดยาวไปออกทะเลทางท่าด่าน สมยั โบราณระนองใชท้ างเทา้ ทางเรอื เกวยี น เมอ่ื บา้ นเมอื งเจรญิ ข้นึ ก็เร่มิ ใชจ้ กั รยาน รถจกั รยานยนต์ รถยนต์ เคร่ืองบิน จากเสน้ ทางเดนิ เรือทางฝงั่ อนั ดามนั จะไปกรุงเทพฯ หรือไปพงั งา ภูเก็ต ปีนัง ตอ้ งไปลงเรือท่ีท่าด่าน ถนนท่าเมืองจึงเป็นถนนสายท่ีสาคญั ของการเดินทางในอดตี ตึกเก่าบริเวณชุมชนตลาดเก่า เป็นเคร่ืองยืนยนั ของความเจริญ ในอดีต ตึกล่ิมตงั้ ตึกบา้ นขุนรตั น์ ตึกบา้ นจ้ีเง็ก (โกช้ิน) ตึกบา้ นโกเต็กขุน้ ลว้ นเป็น ตกึ โบราณทย่ี งั คงมใี หเ้หน็ ส่วนตึกเก่าแก่ท่ถี ูกร้อื ถอนออกไป เพราะความทรุดโทรมของตวั อาคาร คอื ตึกเบย่ี นเบยี๋ นของตระกูล ณ ระนอง ทอ่ี าคารเดมิ ของตระกูล ณ ระนอง ใชเ้ป็น สานกั งานคา้ ขาย ต่อมาใหธ้ นาคารออมสนิ เช่า และใหบ้ ริษทั ไทยคา้ เช่าทากิจการดา้ นประมง เมอ่ื ตกึ ทรดุ โทรมเกนิ การบูรณะ จงึ ขายทอดไปสูเ่ จา้ ของรายใหม่ วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 23

ในอดตี เคยเป็นท่ตี งั้ ของโรงหนงั พูนผล ปมั ๊ เชลล์ โรงนา้ แขง็ เสยี งไทย โรงนา้ แขง็ ขุนรตั น์ รา้ นโกป้ีอ่ายขุน รา้ นโกป้ีบะแดป้ิน รา้ นโกป้ีโกโดงอา รา้ นโกป้ีโกตงั หมน่ิ ในอดตี คนจีนในชมุ ชน สว่ นใหญ่เป็นจนี ฮกเก้ยี น รองลงไปก็เป็นจนี ไหหลา ปจั จบุ นั มกี ารเปลย่ี นมอื ผูถ้ อื ครองท่ดี นิ อาคาร กิจการรา้ นคา้ ท่อี ยู่อาศยั มากหนา้ หลายตา มธี นาคารอยู่ในชมุ ชน 6 แห่ง แพทย์ 5 แห่ง และจะเปิดเพม่ิ อกี 1 แห่ง หมอฟนั 3 แห่ง มตี ลาด ทา่ เมอื งขายอาหารปรุงสาเร็จ จดั เป็นชมุ ชนท่มี คี วามหนาแน่น มที งั้ ตระกูลดง้ั เดมิ คนต่างถ่นิ หลาย ชาติหลายภาษา มีทง้ั เจา้ ของบา้ นเองและเช่าบา้ นทาการคา้ นบั เป็นชุมชนในเมืองย่ านคา้ ขาย มคี วามหลากหลายดา้ นเช้อื ชาติ ภาษา ความเช่อื แต่ภายใตธ้ งไตรรงคเ์ ดยี วกนั ชุมชนตลาดแขกเป็นชุมชนท่ีตงั้ อยู่ในเขตเทศบาล เมอื งระนอง ตาบลเขานิเวศน์ อาเภอเมอื ง จงั หวดั ระนอง เดมิ ทกี เ็ ป็นสว่ นหน่งึ ของด่านท่าเมอื ง เพราะมีวดั หน่ึงตง้ั อยู่ ในเขตชุมชนน้ี เรียกว่า วดั อุปนันทาราม หรือวดั ด่าน ต่อมาไดม้ ีบริษทั มาขอสมั ปทานทาเหมืองแร่ ช่ือบริษทั เรอื ขดุ แร่ระนองคอนโซ (Ranongcolso) ทางบริษทั ก็ไดร้ บั แขกกะลาจากพมา่ บา้ ง มาเลเซยี บา้ ง มาเป็นกรรมกร ซ่งึ ส่วนใหญ่แขกกะลาไดน้ าครอบครวั มาดว้ ย จึงไดส้ รา้ งบา้ นพกั อาศยั อยู่กนั เป็นกลุ่ม บรรดาภรรยาของกะลาก็ไดข้ ายของเลก็ ๆ น้อยๆ ผูค้ นทผ่ี ่านไปมาหรอื บริษทั ใกลเ้คยี งเมอ่ื ตอ้ งการซ้อื ของก็บอกว่าไปซ้อื ของ ทต่ี ลาดแขกและเรยี กกนั จนตดิ ปากวา่ “ตลาดแขก” ปี พ.ศ. 2534 เทศบาล เมอื งระนองไดจ้ ดั ตง้ั เป็นชมุ ชนและเรยี กวา่ ชมุ ชนตลาดแขก 24 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

ชมุ ชนบางสา้ นพฒั นา เป็นชมุ ชนเก่าแก่มากกว่ารอ้ ยปี ซง่ึ เดมิ ช่อื ตลาดบางสา้ นเป็นตลาดแรกของจงั หวดั ต้ังแต่สมยั เจา้ เมอื งระนอง (พระยาคอซูเ้จียง) เคยเป็นชมุ ชนท่ีจดั ทาซุม้ ประตูรบั เสด็จพระบาทสมเด็จพระปกเกลา้ เจา้ อยู่หวั เสด็จ ประพาสเมอื งระนองผ่านซุม้ ประตู “ซุนลนั่ เซยี ” ภายในตลาด บางสา้ น ซ่ึงคนจีนอพยพและคนไทยเช้ือสายจีน (สมาคม รวมมติ ร) ร่วมกบั ชาวตลาดบางสา้ น สมยั นนั้ ร่วมกันจดั ทา ถวาย ในปี พ.ศ.2471 คาว่า “บางสา้ น” เดมิ มาจากคาว่า “บนั่ สา้ น” เป็นภาษาจนี ฮกเก้ยี นแปลว่า เนินเขาเต้ยี ๆ หลายๆลูก ซ่ึงตรงกบั ลกั ษณะภูมิประเทศของชุมชน เป็นย่านการคา้ ของชาวจีนฮกเก้ียน โพน้ ทะเล ท่อี พยพและมารบั จา้ งทาเหมอื ง ดบี ุก ทางานเป็นคนงานโรงแยกแร่ ท่จี วนเจา้ เมอื ง (ปจั จุบนั คือชุมชนโรงกลวง) มาตง้ั รกราก ดา้ นท่อี ยู่อาศยั บริเวณชุมชนซ่งึ เป็นเนินเขา เพราะ รอบๆ ชมุ ชนเป็นคลองและท่ดี นิ นา้ ทะเลท่วมถงึ เม่อื ถงึ ฤดูฝนรอบๆ ชุมชนจะเต็มไปดว้ ยนา้ จากอยู่อาศยั คนจีนฮกเก้ียนก็เร่ิมคา้ ขายสนิ คา้ ท่เี ก่ียวเน่ืองกบั การทาเหมอื งแร่ เช่น จอบ มดี พรา้ เรยี งร่อนแร่ เส้อื หมวก รองเทา้ และอาหารทน่ี าปรงุ เพอ่ื ใชเ้ป็นอาหารระหวา่ งการทาเหมอื ง การร่อนแร่ตามลาคลอง เช่น ขา้ วสาร อาหารแหง้ จากนนั้ เมอ่ื มชี าวยุโรปเขา้ มาทาการคา้ ร่วมกบั ชาวเอเชยี วฒั นธรรมการก่อสรา้ งอาคารเร่มิ เปลย่ี นจากไม้ และการมงุ จากเป็นบา้ นตกึ ทรงชโิ น โปรตุกีส เช่นเดยี วกบั ท่เี กาะหมาก (ปีนงั ) ปจั จบุ นั และท่จี งั หวดั ภูเก็ต ปัจจบุ นั อาคารทรงชโิ น โปรตุกีส ยงั คงมีใหเ้ ห็นและเป็นถาวรวตั ถุทางประวตั ิศาสตร์ดา้ นวฒั นธรรมของ ชุมชน เช่นเดยี วกบั ทป่ี ีนงั และภเู ก็ต วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 25

จากหลกั ฐานดา้ นการปกครอง เม่ือปี 2479 ผูใ้ หญ่บา้ นคนสุดทา้ ยช่ือ นายเทยี นเข ต้วิ ฮ่งฉู (หงสช์ ูเกยี รติ) ก่อนจะเปลย่ี นจากสุขาภบิ าลมาเป็นเทศบาล เมอื งระนอง จากปู่...สู่หลาน ภายหลงั จากยกฐานะการปกครองเป็นเทศบาลเมอื งระนอง จนกระทงั่ ปี พ.ศ.2551 ลูก-หลานชาวบางสา้ น คณะหน่ึงรวมตวั ทาหนงั สือขอให้ เทศบาลจดั ตงั้ เป็นชุมชนและไดป้ ระชมุ ประชาคมชุมชนจดั ตงั้ เป็นชุมชน ภายใต้ การดูแลของเทศบาลเมืองระนอง เม่ือวนั ท่ี 17 กุมภาพนั ธ์ 2551 โดยมติ ประชาคมใชช้ อ่ื ชมุ ชน คอื “ชมุ ชนบางสา้ นพฒั นา” ชมุ ชนเฉลมิ พระเกียรตเิ ป็นชมุ ชนนอ้ งใหม่ ซ่ึงเป็นชุมชนลาดบั ท่ี 20 ความว่าบุคคลจานวน หน่ึงอาศยั อยู่บริเวณอาคารพาณิชยไ์ ดร้ วมตวั กนั เพ่อื จดั ตงั้ เป็นชุมชน ใหเ้ หมอื นกบั ชุมชนรอบขา้ ง ท่ีติดต่อกันและมีความร่วมมือกันดี เวน้ แต่ บริเวณอาคารพาณิชยซ์ ่งึ ยงั ไม่เป็นชุมชน เวลามี กจิ กรรมร่วมกนั จะไดร้ ูจ้ กั มากยง่ิ ข้นึ จงึ ไดร้ วบรวมประชาชนบา้ นใกลเ้ รือนเคียงจานวนหน่ึง เสนอไปท่เี ทศบาลขอจดั ตงั้ เป็น ชมุ ชนถงึ 2 ครง้ั แต่ไมส่ าเรจ็ เหตเุ พราะนายกเทศมนตรเี มอื งระนองไมอ่ นุมตั กิ บั การจดั ตง้ั ต่อมาหลงั จากนน้ั ก็มบี คุ คลจานวนหน่ึงไดป้ ระสานการจดั ตงั้ ต่อ โดยปรกึ ษาชมุ ชนต่างๆ และบุคคลท่ีมคี วามรู้ รวบรวมหลกั ฐานไปแสดงอีกครง้ั โดยขณะนน้ั คุณสมชาย ขา้ มสมทุ ร เป็นนายกเทศมนตรเี มอื งระนอง ท่านไดท้ ราบและเลง็ เหน็ ความสาคญั และท่านก็เสนอแนะว่าให้ รวบรวมคนในชมุ ชนใหม้ ากทส่ี ุดพรอ้ มเมอ่ื ไหร่แลว้ ท่านจะลงมาดูแลและช่วยเหลอื ตามสมควร ปลายปี พ.ศ. 2555 จึงไดจ้ ดั ตงั้ ชุมชนข้นึ ซ่ึงมนี ายกเทศมนตรีเมอื งระนอง โดยคุณ สมชาย ขา้ มสมุทร ลงมาดูและจดั ตงั้ พรอ้ มบุคคลในชุมชนจานวนมากไดจ้ ดั ตงั้ ชุมชนและ คณะกรรมการชุมชนไดส้ าเร็จ ขณะนนั้ บุคคลในชุมชนก็ไดเ้ สนอช่อื ชุมชนต่างๆ หลายช่อื เช่น ชมุ ชนอาคารพาณิชย์ ชมุ ชนซอยหน่ึง หรือชมุ ชนซอยพฒั นา เป็นตน้ แต่ในท่สี ุดดว้ ยความคิด ความร่วมมอื เป็นนา้ หน่งึ ในเดยี วกนั ก็ตกลงเสนอชอ่ื เป็น “ชมุ ชนเฉลมิ พระเกียรติ” ซง่ึ มคี วามสงา่ งามฟงั แลว้ ไพเราะ และเป็นช่อื เดยี วกบั ถนนสายน้ซี ง่ึ ชอ่ื วา่ ถนนเฉลมิ พระเกียรติ เช่นกนั 26 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

ประมาณ ปี พ.ศ.2505 มบี า้ นเรือนประมาณ 4 - 5 หลงั คาเรือน พ้ืนท่ีส่วนใหญ่เป็นป่ าชายเลน ยกบา้ นแบบมใี ตถ้ นุ กนั นา้ ทะเลท่วม จากน้ันชาวบา้ น จากเกาะลา้ นดา้ นตะวนั ออก (ชลบุรี) ท่มี าทาประมง แถวเกาะชา้ ง เม่ือเจอมรสุมก็หลบมาตั้งถ่ินฐาน บริเวณชุมชนร่วมจิตร โดยส่วนใหญ่เป็นชาวบา้ นท่ี อพยพมาจากภาคตะวนั ออก เช่น ระยอง เพชรบุรี ตราด ชลบรุ ี ฯลฯ ลกั ษณะการอยู่อาศยั ในตอนแรกใชไ้ มเ้ ป็นสะพานทอดเพ่อื เป็นเสน้ ทางสญั จร และ เมอ่ื ตอ้ งการข้นึ ฝงั่ ดา้ นชมุ ชนด่านท่าเมอื งจะมเี จา้ หนา้ ท่ปี ่าไมเ้ขา้ มาจบั กุมบ่อยครงั้ ในขอ้ หา บกุ รกุ ป่าชายเลน โดยเสยี ค่าปรบั ครง้ั ละ 150 บาท แต่ชาวบา้ นก็กลบั มาอยู่อาศยั ไดต้ ามปกติ ต่อมาชาวบา้ นไดร้ วมตวั กนั โดยสมทบค่านา้ มนั ใหร้ ถบรรทกุ ดนิ ของจงั หวดั เขา้ มาถมท่เี พอ่ื ให้ มเี สน้ ทางในการคมนาคมสะดวกข้นึ ปี พ.ศ.2522 เมอ่ื ถมทแ่ี ละทาถนนเสร็จ สมยั นายกเทศมนตรวี วิ ิทย์ ปนั ฉิม ไดเ้ขา้ มา ช่วยเหลอื เพ่อื ทารงั วดั ใหท้ าสญั ญาเช่ากบั ทางเทศบาลเมอื งระนอง ชาวบา้ นบางส่วนไดท้ า สญั ญาเช่าและเอาท่ไี ปไวก้ บั ธนาคาร เพ่อื เป็นทุนประกอบอาชีพ บางรายทาแพ บางรายทา เรือประมง ต่อมาชาวบา้ นบางส่วนมปี ญั หาในการชาระคืนเงนิ กบั ธนาคาร ทางเทศบาลจงึ ไม่ เซน็ รบั รองการกูใ้ หเ้พอ่ื ตดั ปญั หา ปี พ.ศ.2523 ทางเทศบาลไดเ้ ขา้ มาทารงั วดั ท่ี เพ่อื จดั ทาผงั ชุมชนและกาหนดเขต บา้ นเลขท่ี เพอ่ื นาไฟฟ้าและถนน สมยั นายกเทศมนตรวี วิ ิทย์ ปนั ฉิม ไดใ้ หท้ าสญั ญาเช่า และ เซ็นรบั รองการนาท่ีไปกูธ้ นาคารได้ เม่อื มีปญั หาฟ้ องรอ้ งเร่ืองการผิดสัญญาชาระคืนกบั ธนาคาร ทางเทศบาลชดุ หลงั จงึ ไมเ่ ซน็ รบั รองการกูก้ บั ธนาคารให้ แต่ยงั ใหผ้ ูต้ อ้ งการเช่าไปทา สญั ญาเช่าได้ ชาวบา้ นส่วนใหญ่จึงไม่ยอมไปเสียค่าเช่ากบั เทศบาล และรายท่ียงั ไม่ไดเ้ ช่า ก็ไมไ่ ปขอเช่า เพราะเหน็ วา่ อยู่เฉยๆ กไ็ ด้ ปี พ.ศ.2537 ยงั เป็นส่วนหน่ึงของชุมชนด่านท่าเมือง จนถึงปี พ.ศ.2538 จึงได้ แยกตวั ออกจากชมุ ชนด่านทา่ เมอื ง มาจดั ตง้ั โดยเทศบาลเมอื งระนองเป็นชมุ ชนร่วมจติ ร วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 27

เป็นท่ดี นิ โครงการหม่บู า้ นจดั สรร ซ่ึงอยู่ติด เขตหมู่ 2 องค์การบริหารส่วนตาบลบางนอน ชาวบา้ นส่วนใหญ่เขา้ มาซ้อื บา้ นจดั สรรและมโี ฉนด ท่ีดิน เดิมอดีตเป็นขุมเหมืองเป็นท่ีประทานบตั ร เดิมของบริษทั สหพนั ธ์ ขุดแร่เม่อื ปี พ.ศ. 2516 มีพรมแดนติดกบั ชุมชนโรงกลวง อดีตเป็ นป่ า ชายเลนมนี า้ ทะเลท่วมถงึ เมอ่ื หมดสมั ปทานเรือขดุ กอ็ อกไป ต่อมาปี พ.ศ. 2538 มนี ายทนุ เขา้ มาจดั สรรทาหม่บู า้ นจดั สรรข้นึ มาและออกโฉนดให้ ทุกหลงั ประมาณ 150 หลงั คาเรือน ประชากร 350 คน ตอนแรกอยู่ในเขตหมู่ 2 ตาบลบาง นอน และติดเขตเทศบาลบางส่วน ต่อมาแกนนาธรรมชาติในหมู่บา้ นระนองแลนดไ์ ดส้ ่ ง ตวั แทนไปประสานกบั เทศบาลเมอื งระนอง จนปี พ.ศ. 2540 เพอ่ื ขอเขา้ อยู่ในการดูแลของเขต เทศบาลเมอื งระนอง จนปี พ.ศ. 2543 เทศบาลเมอื งระนองจงึ เขา้ มาจดั ตงั้ เป็นชมุ ชนโดยใชช้ ่อื ชมุ ชนระนองแลนด์ เดมิ ชุมชนเสาวลกั ษณ์พฒั นาเป็นท่ีรกรา้ ง ว่างเปลา่ นา้ ทะเลท่วมถงึ จะมแี ต่ท่เี ป็นหอ้ งแถว ริมถนนท่าเมืองเท่านัน้ ท่ีมีประชาชนอาศัยอยู่ ต่อมาบริษทั จงลกั ษณ์ไดเ้ ขา้ มาซ้ือพ้ืนท่ีและเขา้ ปรบั ปรุงพ้นื ท่วี ่างเปลา่ พฒั นาเป็นหมู่บา้ นจดั สรร โดยใชช้ ่อื ว่า “หม่บู า้ นเสาวลกั ษณ์” โดยขายใหก้ บั ประชาชนท่ีสนใจ แรกๆ ก็มปี ระชาชนเขา้ มาอยู่ อาศยั ไม่มากนกั มีการเปล่ยี นถ่ายกนั หลายช่วง จากกลุ่มไต๋เรือ จนมาถึงกลุ่มขา้ ราชการ และ ประชาชนทวั่ ไปจนมาถงึ ปจั จบุ นั 28 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

2บนั ทกึ ท่ี โครงสรำ้ งชมุ ชน วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 29

2.1 ดำ้ นกำรปกครอง ตำบลเขำนิเวศน์ในเทศบำลเมืองระนอง ประชำชนมีควำมสนใจ ในดำ้ นกำรเมืองและกำรบริหำร ไดม้ ีกำรจดั ตง้ั ชุมชนและมีกำรเลอื กตง้ั คณะกรรมกำรชุมชน โดยประชำชนในชุมชนข้ึน 20 ชุมชน กระจำยทวั่ เขตเทศบำล ตำรำงท่ี 1 รำยช่ือผูน้ ำชมุ ชน 30 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

ตำรำงท่ี 2 รำยช่ือผูน้ ำชมุ ชน 2.2 ดำ้ นประชำกร จำนวนประชำกรเทศบำลเมืองระนองมีประชำกรตำมทะเบียนรำษฎร์ ณ เดือนพฤษภำคม พ.ศ. 2562 มีครัวเรือนท้งั หมด 8,024 ครวั เรือน ประชำกรเฉล่ียครวั เรือนละ 3 คน จำนวนประชำกรท่ีอำศยั อยู่จริงทง้ั หมด 18,969 คน แบง่ เป็น เพศชำย 9,379 คน เพศหญงิ 9,590 คน วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 31

2.3 ดำ้ นกำรศึกษำ 1.หอ้ งสมดุ ประชำชน ทอ่ี ยู่ ณ ถ.เพม่ิ ผล 2.โรงเรยี นสตรรี ะนอง ทต่ี งั้ ถ.เพม่ิ ผล 3. โรงเรยี นดวงกมล ทต่ี งั้ 244 ถ.เรอื งราษฎร์ 4.โรงเรยี นศรอี รุโณทยั ทต่ี ง้ั 71 ถ.ท่าเมอื ง 5.โรงเรยี นโรงเรยี นหมิงซิน ทต่ี ง้ั 65 ถ.เรอื งราษฎร์ 6.โรงเรยี นชำตเิ ฉลมิ ทต่ี ง้ั 7 ถ.ชาตเิ ฉลมิ 7.โรงเรยี นอนุบำลระนอง ทต่ี งั้ 2 ถ.ลวุ งั 8.โรงเรยี นเทศบำลวดั อปุ นันทำรำม ทต่ี ง้ั 135 ถ.ทา่ เมอื ง 9.โรงเรยี นเทศบำลบำ้ นเขำนิเวศน์ ทต่ี งั้ 4 ถ.ลวุ งั 32 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

2.4 ดำ้ นศำสนำ กำรนบั ถอื ศำสนำในเขตทศบำลเมืองระนองตำบลเขำนิเวศน์ มีศำสนสถำนจำนวน 4 แหง่ แบ่งเป็น ผูน้ บั ถอื ศำสนำพทุ ธ ประมำณรอ้ ยละ 95 ของจำนวนประชำกรทง้ั หมด ผูน้ ับถอื ศำสนำอสิ ลำม ประมำณรอ้ ยละ 3 ของจำนวนประชำกรทง้ั หมด ผูน้ บั ถอื ศำสนำครสิ ต์ ประมำณรอ้ ยละ 1.5 ของจำนวนประชำกรทง้ั หมด ผูน้ บั ถอื ศำสนำอน่ื ๆ ประมำณรอ้ ยละ 0.5 ของจำนวนประชำกรทง้ั หมด ภำพท่ี 3 วดั สุวรรณครี ีวหิ ำร ภำพท่ี 2 มสั ยดิ อรั รดิ วำน ภำพท่ี 4 วดั อปุ นันทำรำม ภำพท่ี 5 วดั พระหฤทยั แหง่ พระเยซูเจำ้ หรอื วดั คำทอลกิ วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 33

2.5 ดำ้ นเศรษากจิ และอำชีพ ประชำชนสว่ นใหญ่ประกอบอำชีพธุรกจิ กำรคำ้ ทง้ั ภำยในจงั หวดั และกำรคำ้ ขำยกบั ประเทศเพ่ือนบำ้ น และนอกจำกน้ีอำชีพรอง ไดแ้ ก่ กำรประมง กำรบรกิ ำร เป็นตน้ 34 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

3บนั ทึกท่ี วฒั นธรรม สถำนท่สี ำคญั วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 35

3.1 ควำมเช่ือ ประเพณีและพธิ กี รรม งำนอำบน้ำแรแ่ ลระนอง จงั หวดั ระนองมที รพั ยากรทางธรรมชาติ ท่สี าคญั คือ นา้ แร่รอ้ นท่ีลอื ช่ือ ทง้ั ยงั มีความ หลากหลายทางชีวภาพทงั้ ป่ าเขา ป่ าชายเลน ทะเล และเกาะแก่งท่ีสวยงาม ซ่ึงไดช้ ่ือว่า “ ระนองเมือง 3 นา้ ” ประกอบดว้ ย นา้ ตก นา้ แร่ และนา้ ทะเล โดยธรรมชาติท่ีโดดเด่น นอกจากนา้ แร่รอ้ น ท่มี คี ุณสมบตั ิไรก้ ลน่ิ ไรส้ ี และใชเ้ป็นวารบี าบดั ไดเ้ป็นอย่างดี ภำพท่ี 6 พธิ เี ปิดงำนอำบน้ำแร่แลระนอง ประจำปี 2564 นอกจากนน้ั ยงั มปี ่าธรรมชาตกิ ลางเมอื ง ซ่งึ ทาใหอ้ ากาศบริสุทธ์ิ เหมาะแก่การพกั ผ่อน ท่ดี ีต่อสุขภาพกายและจิตใจ อีกทงั้ ยงั มอี าหารการกินท่ีอุดมสมบูรณ์ พืชผกั ผลไม้ และ อาหารทะเล ปลอดสารพษิ ดว้ ยคุณสมบตั ิดงั ท่กี ล่าวมาแลว้ จึงทาใหร้ ะนองเป็ นจงั หวดั ท่มี ี ความพรอ้ มในการเป็นเมอื งแห่งสุขภาพท่นี ่าเดนิ ทางมาพกั ผ่อนและท่องเท่ยี ว และเพ่อื เป็น การแบ่งปนั ความสุขสมบูรณน์ ้แี ก่ผูท้ ่เี ดนิ ทางมาเย่ยี มเยยี น จงั หวดั ระนองจงึ จดั งานอาบนา้ แร่ แลระนองข้ึน ในช่วงวนั ท่ี 22-30 มีนาคม ของทุกปี (อาจเปล่ยี นแปลงดว้ ยความจาเป็น) กิจกรรมท่นี ่าสนใจภายในงาน ไดแ้ ก่ ตลาดยอ้ นยุค เทศกาลนา้ แร่ การส่งเสริมธุ รกิจสปา การจดั แสดงศิลปวฒั นธรรม เอกลกั ษณไ์ ทย - พมา่ การจาหน่ายสนิ คา้ OTOP เทศกาลเมนู พ้นื บา้ นอาหารพ้นื เมอื ง การประกวดรอ้ งเพลงและการแสดงดนตรีและดนตรีพ้นื บ้าน การ ประกวดธิดาระนองมกุ งามอนั ดามนั และการแขง่ ขนั กฬี าตกปลานานาชาติ 36 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

เทศกำลสงกรำนตน์ ้ำแรศ่ กั ด์สิ ทิ ธ์ิ ภำพท่ี 7 เทศกำลสงกรำนตน์ ้ำแร่ศกั ด์ิสทิ ธ์ิ รดน้ำขอพรผูส้ ูงอำยุ จดั ข้ึนในช่วงเทศกาลสงกรานต์เดือนเมษายน โดยมีกิจกรรมท่ีน่าสนใจไดแ้ ก่พิธีเจริญพระพุทธมนต์ นา้ แร่ศกั ด์ิสิทธ์ิ สรงนา้ พระพุทธสิหิงค์ รดนา้ ผูส้ ูงอายุ ดว้ ยน้าแร่ศักด์ิสิทธ์ิ การแสดง การละเล่นพ้ืนเมือง บรเิ วณลานอเนกประสงคห์ นา้ เทศบาลเมอื งระนอง และมี การจดั งานเย็นทวั่ หลา้ มหาสงกรานต์ โดย ททท.ร่วมกบั จงั หวดั ระนองและเทศบาลเมอื งระนอง ช่มุ ฉา่ กบั อุโมงค์ นา้ แร่ประดบั แสงสขี นาด 30 เมตรหน่งึ เดยี วในไทย งำนอำบน้ำเพญ็ งานอาบนา้ เพ็ญเป็ นพิธีกรรมอนั ศักด์ิสิทธ์ิ อาบนา้ แร่ในคืนพระจนั ทรว์ นั เพญ็ วนั ลอยกระทง ณ ภำพท่ี 8 งำนอำบน้ำเพญ็ บ่อนา้ รอ้ นรกั ษะวาริน เพ่อื เสริมบารมีและเพ่ิมพลงั ชวี ติ โดยพระเกจิอาจารยร์ ่วมกนั สรา้ งบุญ มหากุศล อนั ย่งิ ใหญ่ อธิษฐานจติ ในส่งิ ท่พี งึ ปรารถนาแลว้ จะพบ กบั ส่ิงท่ีดีๆ ในชีวติ สาหรบั การเขา้ ร่วมพิธีอาบนา้ แร่ ท่ามกลางแสงจนั ทร์ ถือเป็ นพิธีกรรมท่ีทากันมา อย่างต่อเน่ือง เป็นโบราณประเพณีท่เี ช่ือกันว่าเมอ่ื ได้ ทาพิธีกรรมทางศาสนาและชาระร่างกายดว้ ยนา้ แร่ อนั ศกั ด์สิ ทิ ธ์ิ ก็จะพบกบั ความเป็นสริ ิมงคลเสรมิ ชะตา ชวี ติ ปรารถนาสง่ิ ใดก็จะพลนั สาเรจ็ ทกุ ประการ วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 37

3.2 สถำนท่สี ำคญั และทอ่ งเท่ยี ว พระรำชวงั รตั นรงั สรรค์ (จำลอง) เม่ือปีพุทธศักราช 2433 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั เสด็จฯ ประพาสหวั เมอื งแหลมมลายู การเสดจ็ ไปครงั้ นน้ั ทรงเรือสุริยมณฑลเป็นเรอื พระท่นี งั่ จาก กรงุ เทพฯ ไปยงั เมอื งชมุ พร จากนน้ั ไดเ้สดจ็ ทรงชา้ งพระท่นี งั่ เสดจ็ ทางสถลมารคจากเมอื ง ชุมพรขา้ มแหลมมลายูไปลงเรือท่ีเมืองตระบุรี เพ่ือเสด็จตรวจหวั เมืองชาย ทะเล ในพระราชอาณาเขต ซง่ึ นบั เป็นครง้ั แรกทไ่ี ดเ้สดจ็ ไปถงึ จงั หวดั ระนอง โดยพระบาทสมเดจ็ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั โปรดฯ ใหพ้ ระเจา้ บรมวงศเ์ ธอ กรมหลวงสรรพสาตรศุภกิจ กาหนดแผนท่ที าเรือนไมบ้ นเขาโดยใชเ้ คร่ืองไมจ้ ริง และพระยารตั นเศรษฐี (คอซมิ กอ๊ ง) เจา้ เมืองระนองขณะนนั้ ไดส้ รา้ งพลบั พลาถวายเป็นท่ีประทบั บนยอดเขา ซ่ึงไดเ้ สด็จฯ ประทบั แรม ณ พระท่ีนงั่ รตั นรงั สรรค์ เป็นเวลา 3 ราตรี ระหว่างวนั ท่ี 23-25 เมษายน พ.ศ. 2433 38 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

พระราชทานชอ่ื พระทน่ี งั่ นามวา่ พระทน่ี งั่ รตั นรงั สรรค์ มีความหมายว่า พระท่ีนงั่ ท่ีพระยารตั นเศรษฐีเป็ นผูส้ รา้ ง โดยในวนั ท่ี 25 เมษายน 2433 ไดท้ รงมีพระราชนิพนธ์ ความตอนหน่ึงว่า “ พระยาระนอง (พระยารตั นรงั สรรค์) ขอใหต้ ง้ั ช่อื พลบั พลาน้ีเป็นพระท่นี งั่ ดว้ ยเขาจะรกั ษาไวเ้ป็นท่ี ถอื นา้ พระพพิ ฒั นส์ จั จา และขอใหต้ ง้ั ช่อื ถนนดว้ ย จงึ ไดใ้ หช้ ่อื พระท่นี งั่ ว่า รตั นรงั สรรค์ เพ่อื จะไดแ้ ปลกลา้ ๆ พอมชี ่ือผูท้ า เป็นทย่ี นิ ดี เขาทท่ี าวงั น้ใี หช้ ่อื วา่ นิเวศนค์ รี ี ...” ลกั ษณะทวั่ ไป ภำพท่ี 9 พระยำรตั นเศรษาี ของพระท่นี งั่ รตั นรงั สรรค์ พระท่ีนงั่ รตั นรงั สรรคม์ ลี กั ษณะ (คอซิมกอ๊ ง) เป็นกลมุ่ เรอื นไมข้ นาดใหญ่ มที างเดนิ เชอ่ื มต่อกนั โดยตลอด องคพ์ ระทน่ี งั่ สรา้ งดว้ ยไมส้ กั และไมก้ ระยาเลย ส่วนฝาพระตาหนกั ใชไ้ มร้ ะกา หลงั คาเป็นรูปแปดเหลย่ี มมงุ ดว้ ยกระเบ้อื งไม้ ซง่ึ ลกั ษณะพเิ ศษคือเป็นพระทน่ี งั่ ท่มี ี การเขา้ สลกั ไมแ้ ทนตะปูซ่งึ เป็นการนาวฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินของภาคใต้ มาเป็นสถาปตั ยกรรม วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ ภำพท่ี 10 พระรำชวงั รตั นรงั สรรค์ (จำลอง) 39

ต่อมาพระทน่ี งั่ รตั นรงั สรรค์ ไดช้ ารุดทรุดโทรมลงในสมยั พระยาดารงสุจรติ มหศิ รภกั ดี (คอยู่หง)่ี เป็นเจา้ เมอื งระนอง (พ.ศ.2433 - 2460) จงึ ไดร้ ่วมกบั สมหุ เทศาภบิ าลมณฑลภเู ก็ต ปรบั ปรุงและดดั แปลงพระท่นี งั่ รตั นรงั สรรคใ์ หม่ โดยสรา้ งเป็นรูปเรือนตึกก่ออฐิ ถอื ปูน 2 ชนั้ ทาสีขาว หนั หนา้ มขุ ไปทางดา้ นทิศตะวนั ตกและประดบั ตราพระครุฑพ่าห์ ก่อสรา้ งเสร็จเม่อื พ.ศ.2444 แลว้ ใชอ้ าคารหลงั น้ีเป็นศาลากลางเมืองระนองเร่ือยมา พระท่ีนงั่ รตั นรงั สรรค์ องคใ์ หมน่ ้ยี งั ไดใ้ ชเ้ป็นท่ปี ระทบั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หวั รชั กาลท่ี 6 และ รชั กาลท่ี 7 อกี สามครง้ั 40 วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์

การร้ือถอนกระทงั่ เดือนพฤษภาคม 2507 สมยั ท่ี พ.ต.อ.บุญณรงค์ วฒั ฑนายน เป็นผูว้ ่าราชการจงั หวดั จึงไดร้ ้ือถอนองคพ์ ระท่นี งั่ เพ่อื สรา้ งเป็นศาลากลางจงั หวดั โดยไดว้ างศิลาฤกษใ์ นวนั ท่ี 9 สงิ หาคม 2507 พระท่นี งั่ รตั น รงั สรรคจ์ งึ สูญหายไปจากจงั หวดั ระนองตงั้ แต่บดั นน้ั นบั เป็น การสูญเสียโบราณสถานอนั มีคุณค่าและมคี วามสาคัญย่ิง ของชาวจงั หวดั ระนอง ปจั จบุ นั บริเวณท่ตี งั้ ของพระท่นี งั่ เป็นเนินเขาซ่งึ มชี ่อื ว่าเขานิเวศนค์ ีรี และมศี ิลาสลกั ประดบั ไวเ้ป็นสาคญั ปจั จบุ นั อยู่ตดิ กบั ศาลากลางจงั หวดั หลงั เก่า โดยยงั มรี ่องรอยเป็นบนั ได และบรเิ วณใหเ้หน็ ทางจงั หวดั ไดอ้ นุรกั ษไ์ วแ้ ละกรมศิลปากรไดข้ ้นึ ทะเบยี นเป็นโบราณสถาน แลว้ เมอ่ื ปี พ.ศ.2520 (ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เลม่ ท่ี 94 ตอนท่ี 39 วนั ท่ี 10 ตลุ าคม 2520) ในโอกาสฉลองกรุงรตั นโกสินทร์ 200 ปี เม่ือปีพุทธศกั ราช 2525 ทางจงั หวดั ได้ คน้ ควา้ หลกั ฐานภาพถ่ายโดยขอความร่วมมอื จากกรมศิลปากรใหค้ าแนะนาเก่ยี วกบั รูปแบบ ความถูกตอ้ ง แลว้ จาลองพระทน่ี งั่ รตั นรงั สรรค์ ย่อส่วนขนาด 1:100 ตง้ั แสดงไวบ้ ริเวณชน้ั ล่างของศาลากลางจงั หวดั ระนอง เพ่อื เป็นอนุสรณ์ใหอ้ นุชนรุ่นหลงั ไดช้ ่ืนชมพระท่ีน่งั ท่ีมี ความสวยงามทางสถาปัตยกรรม และเป็นตราสญั ลกั ษณป์ ระจาจงั หวดั สืบไป วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 41

จวนเจำ้ เมอื งระนอง จวนเจา้ เมอื งระนองท่เี ห็นอยู่ในปจั จุบนั สรา้ งในรชั สมยั พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั เม่อื พ.ศ.2425 โดยพระยาดารงสุจริตมหิศรภกั ดี (คอซิมก๊อง) ผูเ้ ป็ นบุตรเจา้ เมืองคนแรกเป็ นผูส้ รา้ ง บริเวณพ้ืนท่ีแห่งน้ี มนี กั ท่องเท่ยี วมาเท่ยี วชมเป็นจานวนมากในแต่ละปี ปจั จบุ นั ยังมโี บราณสถานท่ี รอการบูรณะอยู่หลายจุด หากมกี าดาเนินงานอย่างเหมาะสมจะสามารถรกั ษา โบราณสถานทส่ี าคญั แหง่ น้ใี หค้ งอยู่ต่อไป นอกจากจะเป็นการรกั ษาโบราณสถาน ซง่ึ ปรากฏตามหลกั ฐานแสดงถงึ ความต่อเน่ืองทางประวตั ิศาสตรซ์ ่งึ เก่ยี วขอ้ งกบั พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา้ เจา้ อยู่หวั แลว้ ยงั เป็นการเชิดชูเกียรติบุคคล ผูท้ าประโยชนแ์ ก่แผ่นดนิ ใหเ้ป็นตวั อย่างแก่อนุชนร่นุ หลงั อีกดว้ ย จวนเจา้ เมอื งสรา้ งดว้ ยอฐิ สอปูนสดแบบจนี โครงบนทาดว้ ยไมห้ ลงั คามุงกระเบ้อื ง ตง้ั อยู่ไมไ่ กลจากประตูทางเขา้ มากนกั และเมอ่ื สรา้ งจวนเสรจ็ เรยี บรอ้ ยแลว้ เจา้ เมอื งเหน็ ว่า บริเวณตรงท่สี รา้ งนนั้ ไม่เหมาะสมท่จี ะพกั อาศยั เหตุเพราะว่าตงั้ อยู่ใกลก้ บั ประตูทางเขา้ มากเกินไป จงึ ใชเ้ รือนหลงั น้ีเป็นเรือนรบั รอง ส่วนจวนเจา้ เมอื งหลงั ใหม่ท่สี รา้ งข้นึ เพ่อื ใช้ เป็นท่พี กั อาศยั นน้ั อยู่ลกึ เขา้ ไปดา้ นหลงั เป็นอาคารเช่ือมต่อกนั 3 หลงั ปจั จุบนั คงเหลอื เพียงพ้ืนและเสา ภายในจวนเจา้ เมืองระนองเป็นบา้ นพกั อาศยั ของลูกหลานในสกุล ณ ระนอง หลายครอบครวั บา้ นพกั ส่วนหน่ึงไดร้ บั การบูรณะปรบั ปรุงเป็นอาคารชน้ั เดยี ว เพอ่ื ใชเ้ป็นศาลบรรพบรุ ษุ และใชป้ ระกอบพธิ ีสกั การบูชาป้ายบรรพบรุ ุษตามประเพณี ภำพท่ี 11 จวนเจำ้ เมอื งระนอง วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ 42

บำ้ นเทียนสอื ตงั้ อยู่ในอาเภอเมอื งระนอง เป็นบา้ นเก่าท่มี อี ายุกว่า 150 ปี สรา้ งข้นึ ตง้ั แต่สมยั รชั กาล ท่ี 5 ซ่งึ ถือว่าเป็นบา้ นเก่าแก่ท่สี ุดบา้ นหน่ึงของเมอื งระนอง เปรียบเสมือนพพิ ธิ ภณั ฑม์ ชี ีวติ ท่ีบอกเล่าเร่ืองราวในอดีตของคนจีนในรุ่นแรกๆ ท่ีมาตง้ั ถ่ินฐานอยู่ในจังหวดั ระนอง เจา้ ของบา้ น คอื ท่านเทยี นสอื ซง่ึ เป็นหลานเขยของคอซ่มิ ชวั่ ณ ระนอง ท่านเจา้ เมอื งระนอง ซ่ึงท่านเทียนสือไดแ้ ต่งงานกบั “ฉ่ายหล่วน” ซ่ึงเป็นหลานสาวของเจา้ เมืองระนอง และ หลานสาวของพระยารษั ฎานุประดษิ ฐ์ (คอซนิ บ้)ี เจา้ เมอื งตรงั หลงั จากแต่งงานจึงไดส้ รา้ งบา้ น หลงั น้ปี ระมาณปี พ.ศ.2433 ซง่ึ ตง้ั อยู่ไมห่ า่ งไกลจากค่าย ณ ระนอง มากนกั ทายาทคนปจั จบุ นั คอื คณุ ศุภพรพงษช์ ยั พรพงษ์ (โกศุภ) ซง่ึ ยงั อาศยั อยู่ในบา้ นหลงั น้ี คอยตอ้ นรับนักท่องเท่ียวท่ีเขา้ มาเย่ียมชม รวมถึงบอกเล่าเร่ืองราวคว ามเป็ นมา รายละเอยี ดมมุ เลก็ มมุ นอ้ ยของบา้ นเทยี นสอื ใหผ้ ูเ้ ขา้ เย่ยี มชมไดท้ ราบ ตวั บา้ นเทยี นสอื เป็น เรือน 2 ชนั้ ท่กี ่อสรา้ งอย่างมนั่ คง ชนั้ บนเป็นไมช้ น้ั ล่างเป็นตึก มีตวั บา้ นดา้ นหนา้ ดา้ นหลงั มลี กั ษณะเหมือนบา้ นแฝดมีสวนกลางบา้ น หนา้ ต่างทุกช่องเป็นไมแ้ ผ่นหนา รู ปทรงแบบ หมวกทหารจนี โบราณ ภายในบา้ นเต็มไปดว้ ยภาพถ่ายเก่าแก่ของเจา้ ของบา้ นหลายชัว่ อายุคน ขา้ วของเคร่ืองใชโ้ บราณท่ีผสมผสานศิลปะทงั้ ไทย จีน และยุโรป เช่น โคมไฟโบร าณ ภาพวาดในกรอบรูปตดิ ฝาผนงั โตะ๊ และเกา้ อ้ฉี ลลุ วดลาย เคร่อื งใชไ้ มโ้ บราณท่หี าชมไดย้ าก วศิ วกรสงั คมตำบลเขำนิเวศน์ ภำพท่ี 12 บำ้ นเทยี นสอื ในปจั จุบนั 43


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook