บทท่ี 4 อญั พจนและการอางอิง การเรียบเรียงสารนิพนธทุกประเภทจะตองมีการศึกษาคนควาและอางถึงขอมูลความรู ตลอดจนการศึกษาวิจัยจากแหลงความรูตางๆ ขอความที่นํามาอางน้ีเรียกวา “อัญพจน” ช่ึงตอง เสนอควบคูกับการระบุแหลงท่ีมาของอัญพจนที่เรียกวา “การอางอิง” ทั้งนี้ เปนรูปแบบปกติของ การเสนองานศึกษาคนควาอันถือเปนมาตรฐาน เพราะเปนการแสดงถึงการศึกษาคนควาที่เปน ระบบ ประกอบดวยขอมูลความรูท่ีมีความนาเชื่อถือ มีการอางแหลงท่ีมาอยางชัดเจน ตรวจสอบ ได ผูจัดทําสารนิพนธจึงตองมีความรูความเขาใจในระเบียบแบบแผนการเรียบเรียง “อัญพจน” และ “การอางองิ ” น้ีเปน อยางดี ความหมายและลกั ษณะของอัญพจน อัญพจน คอื ขอ ความในสารนิพนธท่ีผูจัดทํานํามาจากขอเขียนหรือคํากลาวของบุคคลใด บุคคลหนงึ่ ซ่งึ อาจนาํ เสนอในลักษณะตอ ไปนี้ 1. อญั พจนตรง (Direct Quotation) คอื อญั พจนทีน่ ํามาอา งโดยคัดลอกตามขอความเดมิ 2. อญั พจนรอง (Indirect Quotation) คอื อญั พจนทีน่ ํามาอางในลักษณะการจับใจความ ถอดความ สรุปความ หรอื แปลมาจากขอความเดมิ การเรียบเรียงในลักษณะอัญพจนรองจึงตองเรียบเรียงข้ึนใหมดวยถอยคําภาษาของ ผจู ัดทาํ สารนิพนธ ไมใ ชภ าษาของขอ ความที่นํามาอางแบบอญั พจนต รง การเรยี บเรยี งอญั พจน การอางอัญพจนในลักษณะใดลักษณะหน่ึงดังกลาวขางตน มีแนวการเรียบเรียง ดังตอ ไปน้ี 1. ตอ งระบแุ หลง ท่ีมาของอญั พจนท เี่ รียกวา “การอางอิง” อยางเปนระบบ ตามรูปแบบที่ มหาวทิ ยาลัยกาํ หนด ทั้งน้ี ผูจัดทําสารนิพนธพึงระวังวา การอางขอความใดๆของผูอื่นโดยไมมีการอางอิง แหลงท่ีมา นอกจากจะผิดมารยาททางวิชาการ ไมใหเกียรติแกผูเปนเจาของขอความท่ีนํามาอาง แลว ยงั ถือเปน การผดิ กฎหมายวา ดวยลิขสทิ ธิ์อีกดวย
24 2. โดยทั่วไป ควรใชอัญพจนรองเพื่อใหการใชภาษาของสารนิพนธเปนภาษาของ ผูเ รยี บเรียงโดยราบรื่นกลมกลนื ตวั อยา ง อญั พจนต รง ชัยวัฒน คุประตกุล (2543, หนา 50-51) กลาวถึงทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของ ไอนสไตนวา “โดยท่ัวๆ ไป เมื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ก็ทดสอบไดยากกวามาก จนกระท่ังนักฟสิกสผูมีชื่อเสียงคนหน่ึงคือ จอหน วีลเลอร (John Wheeler) ถึงกับกลาววา ‘ในครึ่งศตวรรษแรกของทฤษฎีสัมพัทธภาพท่ัวไป ทฤษฎีนี้เปนสวรรค ของนักทฤษฎี แตเปน นรกของนกั ทดลอง...’ ” อัญพจนร อง ชัยวัฒน คุประตกุล ใหความเห็นวา ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปทดสอบไดยากกวา ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ โดยยืนยันดวยคํากลาวของวีลเลอร (John Wheeler) นักฟสิกสผูมีช่ือเสียง ท่ีแสดงความเห็นวา ในชวงครึ่งศตวรรษแรกของการเผยแพรทฤษฎีสัมพัทธภาพน้ันจัดเปน ความสําเร็จอยา งย่ิงใหญของนักทฤษฎแี ตเ ปน ความยากลาํ บากอยางมากของนกั ทดลอง (2543, หนา 50-51) 3. การใชอญั พจนตรงมกั ใชใ นกรณีอา งจากขอความท่มี ลี ักษณะตอไปน้ี 3.1 บทประพันธท่ีมีรูปแบบเฉพาะซึ่งผูเรียบเรียงสารนิพนธประสงคใหผูอานไดอาน รปู แบบที่สมบรู ณข องขอเขยี นทนี่ าํ มาอาง เชน บทรอ ยกรอง โวหาร คําคม 3.2 ขอความท่ีมีลักษณะเฉพาะ เชน สุภาษิต คําพังเพย นิยามศัพท กฎระเบียบ ขอ บงั คบั กฎหมาย 3.3 ขอความที่ผูจัดทําสารนิพนธพิจารณาวามีความกระชับ สละสลวย หรือให ความหมายหรอื อารมณท พี่ ึงประสงคดแี ลว ไมควรนาํ เสนอเปน ถอ ยคาํ ทเ่ี รยี บเรยี งข้นึ ใหม 4. อัญพจนตรงที่มีความยาวไมเกิน 4 บรรทัด ใหเรียบเรียงตอเน่ืองกับความกอนหนา ตามปกติ โดยใชเครื่องหมายอัญประกาศกํากับขอความท่ีเปนอัญพจน ถามีคําหรือความที่กํากับ อัญประกาศอยูในอัญพจนดวย ใหเปล่ียนอัญประกาศของคําหรือความขางในเปนอัญประกาศ เดี่ยว
25 ตวั อยาง จักษ พันธชูเพชร (2548, หนา 27) กลาววา “รัฐศาสตรจึงเปนวิชาที่ชวยใหผูศึกษา ไดรูจักกลไกแหงการปกครองและรูจักการใชสิทธิ หนาท่ีและความรับผิดชอบของตนในฐานะ พลเมืองทดี่ ีของสงั คม” 5. อัญพจนตรงท่ียาวเกิน 4 บรรทัด ใหจัดแยกจากขอความอ่ืนๆ ไมตองมีเคร่ืองหมาย อัญประกาศกํากับ โดยเวน 2 บรรทัดจากขอ ความทัง้ สวนบน และสวนลาง กรณีเปนขอความยอหนา ความบรรทัดแรกใหยอหนา 2.50 ซม. บรรทัดตอๆ ไปให เวน ขอบหนา 1.50 ซม. ถาไมใชขอความยอหนา ซ่ึงตองใชเคร่ืองหมายละขอความกอนหนานี้ ใหถือ เครอ่ื งหมายละเปนจุดเริม่ ตน โดยเวนขอบหนา 1.50 ซม. บรรทัดตอๆ ไปใหเวนขอบหนา 1.50 ซม. เชนเดยี วกนั ตัวอยา ง ลักษณะอันงามของพระพทุ ธรปู ปางลีลา ซ่งึ สรา งสรรคโดยสกุลชางสุโขทยั นน้ั จะเห็นไดจ ากความพรรณนาตอไปน้ี (จิตร ภมู ิศกั ด,ิ์ 2547, หนา 375-376) ...ลกั ษณะพระพทุ ธรูปลีลาของสุโขทัยนั้น มกี ารแสดงออกอันออนชอยราวกับการลลี า ของหญิงงาม เสนรูปนอกระทวยพลวิ้ ไหวไปทกุ สดั สวน และมีลกั ษณะพุงพวยราวกบั เปลวเพลงิ ท่กี าํ ลงั ลกุ โชตชิ วง พระพกั ตรอิ่มเอบิ แสดงถงึ ความรักในสันตภิ าพ ความ กาวหนาที่กา วไปบนเสน ทางพัฒนาทยี่ ึดมนั่ ในความผาสกุ ใหมของเสรชี นทหี่ ลดุ พน จาก แอกของรฐั สังคมทาส และความปต ใิ นเสรภี าพอนั เพียบพรอมไปดว ยมนษุ ยธรรม 6. การละขอความบางสวนของอัญพจนตรง ใหใสเคร่ืองหมายจุดไขปลา 3 จุด แทน ขอความสวนท่ีละ ซ่ึงอาจเปนขอความในสวนตน สวนกลาง หรือสวนทายของขอความก็ได ดัง ตัวอยา งขา งตน 7. การเสนออัญพจนอาจมีการเกริ่นนํา ขยายความ หรือสรุปความของผูเรียบเรียง สารนพิ นธ เพ่ือชวยใหเน้อื ความสมบูรณย่ิงข้นึ 8. อญั พจนรองใหเรยี บเรยี งในบรรทัดเดียวกับเนือ้ ความทเี่ ปน สวนเกร่ินหรืออธิบายความ ของผเู รียบเรียง โดยไมจ ํากดั ความยาว
26 9. อัญพจนตรงท่ีเปนบทรอยกรอง แมจะมีความยาวไมเกิน 4 บรรทัด ก็อาจจัดไวกลาง หนากระดาษ หากผเู รยี บเรียงเห็นเหมาะสม ทง้ั น้ี ใหจัดแยกจากขอความสวนบนและสวนลาง โดย เวน 2 บรรทัด ตามขอกําหนดขอ 5 โดยอนุโลม และใหระบุช่ือผูประพันธในวงเล็บกํากับทายบท รอยกรอง สว นวงเล็บอา งอิง ใหก ํากบั ทา ยความอธิบายตามปกติ ตวั อยา ง เก่ียวกับความทุกขอันเกิดจากความรัก กวีไทยหลายทานไดพรรณนาไวอยาง เราอารมณสะเทอื นใจ ดังเชน (พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา นภาลยั , 2508, หนา 305) แลววาอนจิ จาความรัก เพิง่ ประจกั ษดงั สายน้ําไหล ตั้งแตจะเชย่ี วเปนเกลยี วไป ท่ีไหนเลยจะไหลคืนมา (พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัย) 10. กรณีอางบทรอยกรองจากหนังสือที่ผูแตงมิใชเปนผูประพันธบทรอยกรอง ใหระบุช่ือ ผปู ระพันธก ํากับทายบทรอยกรอง และระบแุ หลงอา งอิงดว ย เชน ตัวอยาง บทกลอนบทหน่ึงไดแสดงถึงความรักและความหวังของพอแมที่มีตอลูกไดอยาง จบั ใจ ดงั นี้ (สมพร พฒุ ตาล เบ็ทซ, 2546, หนา 88) แกวรูไ หมตัวแกว นม้ี ีคา กวาจะเตบิ ใหญม าถงึ บัดนี้ พอ กบั แมถ นอมเลี้ยงเพยี งชวี ี หยาดเหงอื่ พลเี พอ่ื แกว มณมี ปี ริญญา อยา ทอดกายใหใครเขางายงา ย พอ จะโศกแมจ ะอายขายหนา ตวั แกวเองกจ็ ะเศราเฉาวญิ ญา เปน แกวรา วไรราคาคา ของคน (วนดิ า บาํ รงุ ไทย) 11. การอางอัญพจนจากภาษาตางประเทศในสารนิพนธภาษาไทย โดยท่ัวไปควรเปน การแปลหรือถอดความเปนภาษาไทย ซึ่งจัดเปนอญั พจนรอง
27 ตวั อยาง เพรสคอตตกลาววา นวนิยายประวัติศาสตรเปนงานที่ประพันธยากท่ีสุด เพราะตอง มีการคนควาขอมูลขอเท็จจริงมาก ตัวละครทั้งท่ีเปนบุคคลจริงและตัวละครสมมุติ ตองมีอารมณ ความนึกคิดและความเช่ือตามยุคสมัยของบานเมืองที่เขามีชีวิตอยู นอกจากน้ี ผูเขียนยังตองระวัง ไมเสนอรายละเอียดทางประวัติศาสตรมากจนกลายเปนบทความวิชาการ ไมใชเรื่องแตง (Prescott, 1963, pp. 135-136 อา งองิ ใน วนิดา บาํ รุงไทย, 2544, หนา 61) 12. ในบางคร้งั การอา งอญั พจนหนงึ่ ๆ อาจเสนอท้ังในรปู อญั พจนตรงและอญั พจนร อง ตัวอยา ง เกี่ยวกับขอพิจารณาวา วรรณคดีควรสอนศีลธรรมหรือไมนั้น วิทย ศิวะศริยานนท อธิบายวา เนื่องจากวรรณคดีสรางข้ึนจากชีวิตจริง เปนการจําลองชีวิต ความนึกคิด และ เหตกุ ารณท เี่ กดิ ขึ้นในชวี ิตของมนษุ ย วรรณคดจี งึ ตองมคี วามของเกย่ี วกบั ปญหาทางศลี ธรรม แตก็ ไมไดหมายความวา วรรณคดีมีหนาที่สอนศีลธรรม ทั้งนี้ วิทย ศิวะศริยานนท (2531, หนา 116) ไดอา งคํากลาวของสก็อต ในหนงั สอื The making of literature วา นักวทิ ยาศาสตรม หี นา ทีเ่ รียนรูและพิสจู น นักสนุ ทรพจนม ีหนา ท่พี ูดจงู ใจ นกั ศลี ธรรมมหี นา ทส่ี อน แตศ ลิ ปนมีหนา ที่แสดง นักศีลธรรมจะกลา ววา ชวี ติ ควรจะเปน เชน นนั้ แตกวีจะพูดวา “ชีวิตเปน เชน นน้ั ” 13. โดยปกติการเรียบเรียงสารนิพนธควรอางอัญพจนจากแหลงเดิม (Direct Citation) เชน อางพระดํารัสของพลตรี พระเจาวรวงศเธอ กรมหม่ืนนราธิปพงศประพันธ จากหนังสือพระ นิพนธของพระองค อางนิยามศัพทของราชบัณฑิตยสถานจากหนังสือพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน เปน ตน 14. ถาไมอาจสืบคนจากแหลงขอมูลแหลงเดิม จําเปนตองอางจากแหลงรอง (Indirect Citation) คือเปนแหลงขอมูลท่ีไดอางมาแลวจากแหลงเดิม การเรียบเรียงตองมีการอางอิงที่ให ความชดั เจนถึงแหลงเดมิ
28 ตวั อยาง เกี่ยวกับปญหาภาวะลนขอมูลขาวสารของโลกยุคโลกาภิวัตนน้ี โรซาคิส ไดแสดง ขอเปรียบเทียบจํานวนขอมูลระหวางอดีตกับปจจุบันไวอยางนาสนใจ เชน ขอมูลขาวสารใน หนังสือพิมพนิวยอรกไทมส 1 ฉบับ มีจํานวนมากกวาขอมูลที่ผูมีการศึกษาดีในศตวรรษที่ 16 ไดรับตลอดชีวิต ขอมูลที่เปนหนังสือและนิตยสารก็ทวีจํานวนที่แตกตางจากสมัยกอนมาก เฉพาะ ในสหรัฐอเมรกิ า มีหนงั สอื ประมาณ 5 พันเลม และนิตยสาร 1 หมื่นฉบับ ตอ 1 ป ดานงานวิจัย มีจํานวน 7 พันเรื่องที่ตีพิมพเผยแพรทั่วโลกตอ 1 วัน นอกจากนี้ การเพ่ิมข้ึนของขอมูลก็จะเปน จํานวนท่ีทวีขึ้นเร่ือยๆ โดยในปจจุบันมีจํานวนเพ่ิมข้ึนเปน 2 เทาในเวลาไมถึง 2 ป (Rozakis, 1995, p.5 อา งอิงใน กจิ จา กาํ แหง, 2547, หนา 98) 15. ขอความอธิบายใหความรูหรือความเขาใจแกผูอานเปนสวนเพ่ิมเติมนอกเหนือจาก เน้ือเรื่อง ซ่ึงแตเดิมเรียกวา “เชิงอรรถขยายความ” และขอความท่ีระบุใหติดตามอานเน้ือความใน แหลงอื่นเพ่มิ เตมิ ท่ีเรียกวา “เชิงอรรถโยงความ” นั้น ใหแสดงการบงช้ีแหลงดวยความในวงเล็บแทรก ในเน้ือหา โดยมีเลขกํากับรายการตามลําดับการอาง เชน (ดูท่ีเชิงอรรถ 1) หรือ (see Footnote 1) ใน สารนิพนธภาษาอังกฤษ เพ่ือโยงใหดูที่รายการ “เชิงอรรถ” ซ่ึงจะแสดงตอจากรายการบรรณานุกรม โดยใชหวั เรอ่ื ง “เชงิ อรรถ” หรือ “Footnote” กลางหนากระดาษ ตัวอยาง ในพระนิพนธอีกเร่ืองหนึ่ง พระราชวรวงศเธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ทรงปรารภ วาคําที่ทรงใชวา “อพยบ” ต้ังแตคร้ังทรงเปนนักเรียน ไดมีการแกไขการสะกดคําเปน “อพยพ” โดยมีคําอธิบายวาเปนคําที่มาจากศัพทสันสกฤตวา อวยว แตเม่ือทรงคน ความหมายของศัพทสันสกฤตคํานี้ก็ไมทรงพบความหมายวา ยายครอบครัว เปลี่ยน ภูมิลําเนา ดังความหมายที่ใชในภาษาไทย จึงทรงเรียกลักษณะความพยายามเปล่ียน ตัวสะกดคําไทยที่ไมทราบท่ีมาใหเปนคําสันสกฤตอยางมีพระอารมณขันวา “โรคอพยบ” ทรงอธิบายไวดวยวา โรคน้ีบางทีก็มีอาการตรงกันขาม คือเมื่อรูคําไทยถิ่นนอกประเทศ มากๆ เขาก็มีการ “อพยบ” คํา ใหกลับเปนคําไทยอีก (2513, หนา 49-55) (ดูที่เชิงอรรถ 3) …such as the knowledge-based augmentation of detection…(as defined in Footnote 3)
29 กรณีอางเชิงอรรถเดิม ใหแสดงความในวงเล็บแทรกในเน้ือหาเปน (อางแลวใน เชงิ อรรถ 3) หรอื (as defined in Footnote 3) ในสารนพิ นธภ าษาองั กฤษ ความหมายและความสําคญั ของการอา งอิง การอางอิง หมายถึงการระบุแหลงที่มาของขอมูลที่สารนิพนธนํามาอางถึง คือ อัญพจน การอางอิงจึงเปนส่งิ ที่ควบคกู บั อญั พจนเ สมอ ในการจัดทําสารนิพนธ การอางอิงถือเปนสวนประกอบอันสําคัญย่ิง ดวยเหตุผล ดังตอ ไปน้ี 1. การอางองิ คือการระบแุ หลงที่มาขอมูลสารสนเทศ เปนการใหความเช่ือม่ันแกผูอานวา ผจู ดั ทําสารนพิ นธไ ดศกึ ษาคน ความาเปน อยางดจี ากแหลง ความรูท่เี ชื่อถือได 2. เปนการใหขอ มูลแกผ ูอา นทตี่ อ งการตรวจสอบหรือศึกษาคนควา แหลง ขอมูลเดิม 3. เปน การแสดงคณุ ธรรมความรบั ผดิ ชอบของนกั วชิ าการทจี่ ะไมลวงละเมิดหรือแอบอาง ผลงานของผูอ่ืน ซ่ึงนอกจากจะผิดแบบแผนของการเรียบเรียงงานวิชาการแลว ยังถือเปนการผิด กฎหมายวาดว ยลิขสทิ ธ์ิ อกี ดว ย การอางอิงในสารนิพนธของมหาวิทยาลัยนเรศวร กําหนดไว 2 รูปแบบ ทั้งน้ี ผูจัดทํา สารนิพนธเรอื่ งหน่ึงๆ ตองใชร ูปแบบใดรูปแบบหน่งึ เปนแบบแผนเดยี วกนั ตลอดท้ังเร่ือง รูปแบบการ อางอิงดังกลา ว ไดแ ก การอางองิ แทรกในเน้ือหา และ การอางอิงแบบใชต ัวเลข การอางอิงแทรกในเนอื้ หา การอางองิ แทรกในเนอ้ื หา เปนการวงเล็บระบแุ หลงทีม่ าของอัญพจนอ ยา งกวา งๆ แทรก อยูในเนอ้ื หาของสารนพิ นธ สวนรายละเอยี ดทีส่ มบรู ณข องแหลงขอ มลู จะแสดงใน “บรรณานุกรม” ในสวนทา ยของสารนพิ นธ การลงรายการของแหลงขอมูลทีอ่ างอิงแทรกในเน้ือหา มีขอกาํ หนดดงั ตอ ไปนี้ 1. ขอมูลที่ตองระบุในการอางอิง คือแหลงที่มาของขอมูลหรืออัญพจน โดยท่ัวไป ประกอบดวย ช่ือผูแตงหรือผูผลิต ปที่พิมพหรือปที่ผลิต และหนาที่อาง อยูในเคร่ืองหมายวงเล็บ โดยใชเคร่อื งหมายจลุ ภาคค่ันระหวางรายการ 1.1 ช่ือผูแตง หรือผูผลิต 1.1.1 แหลงขอมูลภาษาไทยใหระบุท้ังชื่อและนามสกุลของผูแตง สวน แหลงขอมูลภาษาตางประเทศใหใชเฉพาะนามสกุลของผูแตงเทานั้น กรณีผูแตงเปนคนไทยในสาร นพิ นธภ าษาตางประเทศ ใหใ ชเฉพาะนามสกุลของผูแตงเชนเดยี วกนั
30 1.1.2 ผูแตง 2 คน ใหใชคําเช่ือม “และ” หรือ “and” ระหวางชื่อผูแตง สําหรับ แหลงขอมลู ภาษาไทย และแหลง ขอมลู ภาษาอังกฤษ ตามลาํ ดบั 1.1.3 ผูแตง 3 คน ใหใชเครื่องหมายจุลภาคคั่นระหวางช่ือผูแตงสองคนแรก และใชคําวา “และ” หรอื “and” แลวแตกรณี คัน่ ระหวางช่อื ผแู ตงคนท่ีสองกบั คนท่สี าม 1.1.4 ผูแตงมากกวา 3 คน ใหใสชื่อผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา “และคณะ” ในแหลงขอมูลภาษาไทย หรือ “et al.” (ยอมาจากภาษาละตินวา et alli หรือ et allia) ใน แหลงขอมูลภาษาอังกฤษ เพ่ือมิใหการอางอิงยืดยาวเกินจําเปน ท้ังน้ี รายละเอียดแหลงขอมูลโดย สมบูรณจ ะปรากฏในรายการ “บรรณานุกรม” ขา งทา ยสารนิพนธ 1.2 ปท่ีพิมพห รือปทผ่ี ลติ แหลงขอมูลภาษาไทยใหระบุป พ.ศ. สําหรับแหลงขอมูลภาษาตางประเทศ โดยทั่วไปใหระบุป ค.ศ. ท้งั น้ี ระบุเพยี งตัวเลข และใชป ทพี่ ิมพค ร้ังลา สุด 1.3 หนาทอ่ี า ง แหลงขอมูลภาษาไทยใหใชคําวา “หนา” ตามดวยเลขหนาของขอมูลที่อางถึง สาํ หรับแหลงขอมูลภาษาอังกฤษใหแทนคําวา “หนา ” ดว ย p. ในการอางหนาเดียว และ pp. ในการ อางมากกวา หน่งึ หนา รูปแบบและตัวอยา ง ในการแสดงรปู แบบตอไปนี้ ใชเ ครอ่ื งหมาย9แทนการเวน 1 ชวงตวั อกั ษร ผูแ ตง 1 คน (ผูแ ตง,9ปทพี่ มิ พ, 9หนา 9เลขหนาที่อา ง) (จกั ษ พนั ธุช ูเพชร, 2545, หนา 28, 39-41) (สมพร พฒุ ตาล เบท็ ซ, 2546, หนา 25-32) (Brown, 1999, p. 9) ผแู ตง 2 คน (ผแู ตง คนแรก9และผูแตงคนท่ี 2,9ปทพ่ี มิ พ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (ชศู ักดิ์ เวชแพศย และสมศรี ดาวฉาย, 2543, หนา 82) (Syananondh and Padgate, 2005, pp. 69, 80-87)
31 ผูแ ตง 3 คน (ผูแตงคนแรก,9ผูแตงคนที่ 29และผูแ ตง คนท่ี 3,9ปทพ่ี มิ พ, 9 หนา 9เลขหนา ที่อาง) หนา 38-39) (แสงหลา พลนอก, เชาวนี ลองชูผล และสุวนยี เกยี่ วกิง่ แกว , 2548, (Chokmaviroj, Rakwichian and Ketjoy, 2004, p. 1101) ผูแตง มากกวา 3 คน (ผแู ตงคนแรก9และคณะ,9ปท พี่ ิมพ, 9หนา 9เลขหนา ท่อี า ง) (มัลลกิ า ต้ังคา วานิช และคณะ, 2545, หนา 140) (Kerdpin, et al., 2004, pp. 7839-7840) 2. ผูแตงท่ีมีคํานําหนาช่ือเปนฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ ยศ และสมณศักด์ิ เชน พระบาทสมเด็จพระ พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจา ม.ร.ว. พระยา หลวง พล อ.อ. Duke Pope St. (อักษรยอ ของ Saint) ใหร ะบุคาํ นําหนา ช่ือเหลาน้ตี ามปกติ กรณีที่ยศของสังกัดตางกันแตใชอักษรยอเหมือนกัน เชน ร.ต. ซึ่งเปนอักษรยอของ รอ ยตรี เรือตรี และเรอื อากาศตรี ใหใ ชคําเต็ม กรณคี ําลงทา ยแสดงสงั กดั ของทหารเรอื คอื ร.น. และคําลงทา ยชอ่ื ชาวตา งชาติ เชน Sr. และ Jr. (อกั ษรยอของ Senior และ Junior) ใหระบไุ วตามปกติ ตัวอยาง (สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร,ี 2546, หนา 5 - 11) (พระพรหมคุณาภรณ (ประยุทธ ปยทุ โต), 2546, หนา 36 -40) (พระสิงหทอง ธมมวโร, 2531, หนา 21-36) (พล ต. ม.ร.ว.คกึ ฤทธิ์ ปราโมช, 2547, หนา 9) (พล อ.เปรม ตณิ สูลานนท, 2544, หนา 13 - 19) (พระยาศรสี ุนทรโวหาร, 2508, หนา 63 - 74) (ขุนวิจิตรมาตรา, 2541, หนา 135-139) (น.อ.สมภพ ภิรมย ร.น., 2548, หนา 60)
32 3. วัสดุท่ีจัดพิมพในชื่อของหนวยงาน ใหใชช่ือหนวยงานอยางตํ่าในระดับกรม หรือ หนวยงานเทียบเทากรม เปนรายการผูแตง หากไมปรากฏช่ือหนวยงานระดับกรม หรือเปน หนวยงานทไี่ มใชส ว นราชการ ใหระบุชื่อหนวยงานตามที่ปรากฏในวสั ดอุ างองิ เปนรายการผูแ ตง รูปแบบและตัวอยา ง (หนว ยงาน,9ปท พี่ ิมพ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (หนว ยงานแรก9และหนว ยงานที่ 2,9ปท ี่พมิ พ, 9หนา9เลขหนา ที่อา ง) (หนว ยงานแรก,9หนว ยงานที่ 29และหนวยงานท่ี 3,9ปท พ่ี ิมพ, 9 หนา 9เลขหนา ที่อา ง) (มหาวิทยาลยั มหิดล, 2543, หนา 17) (สํานกั ราชบณั ฑิตยสถาน, 2545, หนา 96-105) (สํานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหงชาติ และสมาคมวทิ ยาศาสตรการเกษตร แหงประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ, 2542, หนา 79-98) (สํานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง ชาต,ิ สมาคมวิจยั เชงิ คณุ ภาพ แหงประเทศไทย และจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2536, หนา 86) (Thailand. Ministry of Public Health. The Chemical Safety Section of the Food and Drug Administration, 2000, pp.175-183) (United States. Department of Defense, 1988, pp. 55-63) 4. วสั ดุทไี่ มป รากฏชือ่ ผแู ตง หรอื ผูจัดทาํ ใหใ ชชอื่ เอกสารแทนรายการช่ือผูแตง สําหรับชื่อเอกสารภาษาอังกฤษ ใหปรับช่ือเปนอักษรพิมพเล็กท้ังหมด ยกเวนอักษร ตัวแรกของชื่อเอกสาร อักษรตัวแรกของชื่อรองหลังเครื่องหมายทวิภาค (ถามี) และอักษรตัวแรก ของคาํ ที่เปน ช่อื เฉพาะ ใหใ ชอักษรพมิ พใหญ ตวั อยาง (คูมอื สําหรบั ผปู กครองเด็กออทสิ ตกิ , 2539, หนา 3-6) (ลลิ ติ พระลอ, 2516, หนา 5-6) (The new international Webster’s comprehensive dictionary of the English language, 1998, pp. 325-327) 5. หนงั สือแปล ใหใสชื่อสกลุ ผแู ตง เปนภาษาแปลของเอกสารนัน้ ๆ หากไมท ราบชอื่ ผแู ตง ใหใชช ่อื เรอื่ งในภาษาทแี่ ปล
33 รปู แบบและตัวอยาง (ช่อื สกลุ ผแู ตง ,9ปท ่ีพิมพ,9หนา9เลขหนา ทอ่ี า ง) (ชอ่ื เรอ่ื งในภาษาที่แปล,9ปทพี่ มิ พ, 9หนา9เลขหนาที่อา ง) (เชก็ สเปยร, 2498, หนา 200) (เสยี งเพรียกจากขนุ เขา, 2528, หนา 60) 6. ผแู ตงท่ใี ชน ามแฝง ใหใ ชน ามแฝงเปนชอ่ื ผแู ตง รปู แบบและตัวอยาง (นามแฝง,9ปทพ่ี มิ พ, 9หนา 9เลขหนาที่อาง) (น. ณ ปากนา้ํ , 2525, หนา 15) (เสฐยี รโกเศศ, 2515, หนา 54 - 59) (Twain, 1965, pp. 21-35) (Dr.Seuss, 1959) 7. วัสดุท่ีไมปรากฏปที่พิมพใหใชอักษรยอ ม.ป.ป. ยอมาจากคําวา ไมปรากฏปท่ีพิมพ สําหรับวัสดอุ า งอิงภาษาองั กฤษใหใช n.d. ยอมาจากคําวา no date รปู แบบและตัวอยา ง (ผูแตง,9ม.ป.ป.,9หนา 9เลขหนา ท่ีอา ง) (ทินวฒั น มฤคพิทักษ, ม.ป.ป., หนา 45) (Naresuan University, n.d., p. 20) 8. วัสดุภาษาไทยท่ีไมมีเลขหนาใหใชคําวา ไมมีเลขหนา สําหรับวัสดุอางอิง ภาษาอังกฤษใหใ ช unpaged รปู แบบและตัวอยาง (ผูแตง,9ปทพี่ มิ พ, 9ไมม ีเลขหนา ) (มณฑล สงวนเสริมศร,ี 2549, ไมม เี ลขหนา ) (Thompson, 1988, unpaged)
34 9. การอางวัสดุท้ังเลมโดยไมเจาะจงหนา ซ่ึงสวนมากจะเปนผลสรุปจากรายงานการ ศึกษาวิจยั หรอื วิทยานิพนธ ใหระบุเฉพาะผูแตง กับปที่พิมพ รูปแบบและตัวอยาง (ผแู ตง ,9ปทพี่ ิมพ) (กาญจน เรืองมนตร,ี 2547) (Darling, 1976) (Singnoi, 2000) 10. การอางวัสดุมากกวาหนึ่งรายการประกอบเนื้อหาเดียวกัน ใหใสรายการวัสดุอางอิง ท้ังหมด โดยใชเครื่องหมายอัฒภาคคั่นระหวางรายการวัสดุอางอิง ทั้งน้ี ใหเรียงปที่พิมพกอนหลัง ตามลาํ ดับ ถา เปนวัสดทุ พี่ มิ พปเ ดียวกันใหเ รยี งตามลําดบั อักษรชอ่ื ผูแตง รูปแบบและตวั อยา ง (ผแู ตง ,9ปท พ่ี ิมพ, หนา9เลขหนา ท่อี า ง;9ผแู ตง,9ปท ่พี มิ พ, หนา 9 เลขหนา ที่อา ง;9ผูแตง ,9ปท พ่ี มิ พ, หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (เธยี รศรี ววิ ธิ สริ ิ, 2527, หนา 32-38; นวลละออ สภุ าผล, 2527, หนา 27-33; สุชา จนั ทนเอม, 2536, หนา 12-17) (Stolotsky, 1992, pp. 18 - 20; Heckels, 1996, pp. 23 -24; Jones, 1998, p. 30) 11. วัสดุหลายเรื่องของผูแตงคนเดียวกัน และจัดพิมพปเดียวกันในสารนิพนธภาษาไทย ใหใชอักษร ก ข ค ง… หรือ a b c d… .ในสารนิพนธภาษาอังกฤษกํากับหลังปที่พิมพ โดยเรียง ตามลําดบั การอา งอิง รูปแบบและตัวอยาง (ผูแตง ,9ปทพี่ มิ พแ ละลาํ ดบั ท่ีวัสดอุ างองิ .9หนา 9เลขหนา ทอ่ี าง) (วลุลี โพธริ งั สยิ ากร, 2539ก, หนา 171-173) (วลุลี โพธริ งั สยิ ากร, 2539ข, หนา 26) (วลลุ ี โพธริ งั สยิ ากร, 2539ค, หนา 80-82) (Drucker, 1995a, p. 101-110) (Drucker, 1995b, p. 121-127) (Drucker, 1995c, p. 98-96)
35 12. กรณีจําเปนตองอางถึงวัสดุที่อางในเอกสารอื่น เพราะไมสามารถคนและอางอิง จากแหลงเดิมได เรียกวาเปนการอางจากแหลงรอง ใหอางจากแหลงเดิมเทาท่ีสามารถระบุได สารนิพนธภาษาไทยใหใชคําวา “อางอิงใน” สําหรับสารนิพนธภาษาอังกฤษใหใชคําวา “as cited in” รูปแบบและตัวอยา ง (ผแู ตง เดมิ ,9ปทพ่ี มิ พเ ดิม,9หนา 9เลขหนา ที่อา ง9อางอิงใน ผูแตง,9 ปท พี่ มิ พ, 9หนา9เลขหนาทอี่ าง) (Prescott, 1963, pp. 135-136 อางอิงใน วนดิ า บาํ รงุ ไทย, 2544, หนา 61) (Anderson, 1982, p. 21 as cited in Hernon, 1999, p. 35 c) กรณอี างท้งั ฉบบั (ผูแ ตง เดิม,9ปที่พิมพเ ดมิ 9อา งองิ ใน ผแู ตง ,9ปทีพ่ มิ พ,9หนา 9 เลขหนา ทอ่ี า ง) (เสถียร โพธนิ นั ทะ, 2496 อา งองิ ใน ประภาศรี สหี อาํ ไพ, 2535, หนา 164) (Allwright and Bailey, 1991 as cited in Syananondh and Padgate, 2548, p. 73) 13. การอางบทความหรือคอลัมนใ นหนงั สือพมิ พ รูปแบบและตัวอยาง (ผูแตง ,9ปท พ่ี ิมพ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (สมบตั ิ นพรัก, 2548, หนา 30) (Wiriyapong, 2001, p. B1) 14. การอางขา วในหนังสือพมิ พ เน่ืองจากหัวขอขาวสวนใหญคอนขางยาว การลงหัวขอขาวจึงใหใชคําหรือความ เริ่มตนเทาน้ัน โดยอยูในเครื่องหมายอัญประกาศ ทั้งนี้ หัวขอเต็มจะปรากฏในรายการ บรรณานกุ รมขา งทา ยสารนพิ นธ
36 รปู แบบและตวั อยา ง (“หวั ขอ ขาว”,9ปทพี่ ิมพ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (“สคบ. เขม ”, 2549, หนา 1, 15) (“Court rejects EC“, 2006, p. 1, 10) 15. การอา งบทความในวารสาร ใหลงรายการอา งองิ เชน เดียวกบั การอา งอิงจากหนังสือ รปู แบบและตวั อยา ง (ผเู ขยี นบทความ,9ปทพี่ มิ พ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (จนั ทมิ า ซมิ สนั , 2547, หนา 125) (มิสเตอรไ อที, 2544, หนา 104-105) (วลลุ ี โพธริ งั สยิ ากร, 2543, หนา 111) (สุภาพร คงศิริรตั น, 2548, หนา 79-80) (Limpeanchob, 2005, p. 48) (Ounaroon, Frick and Kutchan, 2005, pp. 161-162) (Tolle, 2000, pp. 310-317) กรณไี มปรากฏชือ่ ผแู ตง ใหล งช่ือบทความแทนชื่อผแู ตง สําหรับบทความภาษาอังกฤษ ใหปรับชื่อบทความเปนอักษรพิมพเล็กทั้งหมด ยกเวนอักษรตวั แรกของชื่อบทความ อักษรตัวแรกของช่ือรองหลังเครื่องหมายทวิภาค (ถามี) และ อักษรตัวแรกของคาํ ที่เปน ชือ่ เฉพาะ ใหใ ชอักษรพิมพใหญ รปู แบบและตวั อยา ง (ชอ่ื บทความ,9ปท พี่ มิ พ, 9หนา9เลขหนา ทอี่ า ง) (การจดั การและแกไขความขดั แยงอยางสนั ติวิธ:ี การอบรม, 2546, หนา 90 – 101) (ไทยยกแผนพฒั นาการเงนิ : ย้อื เปด เสรกี ับสหรฐั ฯ อกี 3 ป, 2548, หนา 49 – 51) (Foreign direct investment: Why Japan, 2004, pp. 6 –11) (Thailand’s soda ash project, 1977, pp. 9 – 12) 16. การอางองิ เอกสารพเิ ศษ เชน จดหมายเหตุ คําสงั่ ประกาศ แผน ปลิว ฯลฯ รูปแบบและตัวอยาง (หนว ยงาน,9วนั ท9ี่ เดอื น9ปท ่ปี ระกาศหรอื บนั ทึก)
37 สาํ หรบั เอกสารพิเศษภาษาองั กฤษ ใหลําดับ เดือน กอน วนั ที่ การอา งอิงจดหมายเหตุ (หอสมุดแหง ชาต,ิ จ.ศ.1206) การอางอิงคาํ สัง่ (มหาวิทยาลยั นเรศวร, 10 เมษายน 2549) การอา งองิ ประกาศ (มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, 23 กรกฎาคม 2547) การอางอิงแผน ปลิว (มหาวิทยาลยั นเรศวร, ม.ป.ป.) 17. การอา งอิงกฎหมายที่ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา หรือเอกสารอนื่ รูปแบบและตัวอยาง (ชอ่ื กฎหมาย,9วันท9่ี เดือน9ปท ี่ประกาศ,9หนา 9เลขหนา ทอ่ี า ง) กรณเี ปนภาษาองั กฤษ ใหใชรปู แบบดงั นี้ (ชื่อกฎหมาย,9ปทีป่ ระกาศ) (พระราชบัญญัตมิ หาวทิ ยาลยั นเรศวร พ.ศ. 2533, 29 กรกฎาคม 2533, หนา 1 - 33) (กฎกระทรวง ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2519) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิ ระเบยี บขา ราชการพลเรอื นในมหาวิทยาลยั พ.ศ. 2507, 11 มีนาคม 2519, หนา 39) (RU486: The Import Ban, 1990) (Urban America’s Need, 1992) 18. การอางอิงจากรายการวทิ ยหุ รอื โทรทศั น รปู แบบและตวั อยา ง (ผูจัดทํา,9วันท9่ี เดอื น9ปท จ่ี ดั ทาํ ) กรณีภาษาองั กฤษ ใหลําดบั เดอื น กอน วนั ที่ (ปญญา นิรนั ดรก ลุ , 26 พฤษภาคม 2549) (Keillor and Smith, October 2, 1993)
38 19. การอา งองิ จากสื่อโสตทัศนูปกรณท่ีเปนภาพ สิ่งจําลอง หรือภาพถายของเอกสาร เชน แผนที่ (Map) ภาพถาย (Picture) ภาพวาด (Painting) ลูกโลกจําลอง (Globe) ภาพยนตร (Film) วีดิทัศน (Videotape) วีดิทัศนซีดี (VCD) ดิจิทัลอเนกประสงค (DVD) ภาพเลื่อน (Filmstrip) ภาพน่งิ (Slide) ไมโครฟลม (Microfilm) ไมโครฟช (Microfiche) รูปแบบและตวั อยาง (ผูจัดทํา,9ปท จ่ี ดั ทาํ ,9ประเภทสื่อ) (ม.จ.ชาตรีเฉลมิ ยคุ ล, 2544, ภาพยนตร) (สุดแดน วิสทุ ธลิ กั ษณ, 2538, วดี ทิ ัศน) (มหาวิทยาลัยนเรศวร, ม.ป.ป., วีดิทัศนซดี )ี (สํานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง ชาต,ิ 2540, ภาพนง่ิ ) (Redford, 1980, Film) (Weir and Harrison, 1992, Videotape) (Ferguson, 1984, Microfilm) 20. การอางอิงจากสื่อโสตทัศนูปกรณประเภทสื่อเสียงทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เชน แผนเสียง (Phonodisc) แถบบนั ทกึ เสียง (Cassette) ซีดี (CD) รปู แบบและตัวอยาง (ผูข ับรอง หรือผบู รรยาย หรอื ผผู ลิต,9ปทีจ่ ัดทาํ ,9ประเภทสือ่ ) (พูนพงษ งามเกษม, 2548, แถบบันทกึ เสยี ง) (อาร.เอส., 2543, ซดี )ี (Lake, 1989, Cassette) (Martin, 1991, CD) (Young, 2004, Cassette) 21. การอางอิงงานแสดงศิลปะ เชน จิตรกรรม ประติมากรรม งานแกะสลัก งานหัตถกรรม ฯลฯ รูปแบบและตัวอยา ง (ผสู รา ง,9ปท ี่สรา ง,9ประเภทงานศิลปะ)
39 (เฉลิมชัย โฆษติ พพิ ฒั น, 2539, จติ รกรรม) (Gogh, 1888, Painting) 22. การอา งองิ จากฐานขอ มลู สําเรจ็ รปู ซีดี-รอม (CD-ROM) ใหใ ชรปู แบบดงั น้ี รปู แบบและตัวอยาง (ผแู ตง ,9ปทจี่ ดั ทํา,9ฐานขอ มลู สําเร็จรูปซดี ี-รอม) (Bower, 1997, CD-ROM) (McNicol, 1980, CD-ROM) 23. การอางอิงขอมูลจากสื่อออนไลน (Online) จากระบบเครือขายอินเทอรเน็ต หรือ อินทราเน็ต ซ่ึงปรากฏในประเภทตางๆ เชน บทความ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ บทเรียน อเิ ล็กทรอนิกส (e-learning) เปนตน รูปแบบการอา งอิงประกอบดว ยขอมูลเชน เดียวกบั ส่อื สง่ิ พิมพท ว่ั ไป รปู แบบและตัวอยา ง (ผูแตง,9ปทจี่ ัดทํา) (จริ วัฒน พริ ะสนั ต และวนดิ า บาํ รุงไทย, 2543) (ลักษณา ลขิ ติ เกียรตขิ จร, 2545) (แสมดาํ , 2544) (American Psychological Association, 1995) (Bain, 2006) (Munson and Degelman, 1997) (Sleek, 1996) 24. การอางอิงจากการปาฐกถา บรรยาย อภิปราย การประชุมเชิงปฏิบัติการ การ ประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ประชาพิจารณ การแสดง ใหลงรายการหลักคอื ผูบรรยายหรอื ผแู สดง และเวลาเผยแพร กรณีการแสดงเปนหมคู ณะ ใหลงช่อื การแสดง แทนรายการผูแสดง รปู แบบและตัวอยาง (ผบู รรยาย หรือผูแ สดง,9วันท9ี่ เดือน9ปท ี่บรรยาย)
40 กรณีเปน ภาษาองั กฤษ ใหลาํ ดบั เดอื น กอ นวนั ที่ (เกษม วฒั นชัย, 26 กรกฎาคม 2546) (การสมั มนาเรอื่ ง “อุดมศึกษาไทยในยุคเปด เสรีทางการคา โลกดาน การศกึ ษา”, 23 – 25 มกราคม 2547) (คูก รรม, 15-25 สงิ หาคม 2549.) (รัฐภมู ิ โตคงทรพั ย, 28 พฤษภาคม 2549) (Burns, March 20, 1987) 25. การอา งองิ จากการสมั ภาษณที่เผยแพรใ นส่ิงพมิ พห รอื วัสดสุ ารสนเทศ รูปแบบและตวั อยาง (ชอื่ ผูใ หส มั ภาษณ, 9ปท ี่สัมภาษณ) (มณฑล สงวนเสรมิ ศรี, 2549) (Chumsai and Sirisumphan, 1985) 26. การอา งองิ จากการสัมภาษณโ ดยตรงทีไ่ มมีการเผยแพร รปู แบบและตวั อยา ง (ชอื่ ผใู หสัมภาษณ, ผูใหสัมภาษณ, 9วันท9่ี เดือน9ปท่ีสมั ภาษณ) กรณีเปน ภาษาอังกฤษ ใหร ะบุชือ่ สกุลผูใหสมั ภาษณ และระบุเดือนกอ นวนั ที่ (สจุ ินต จินายน, ผใู หสมั ภาษณ, 27 มีนาคม 2549) (Eaton, personal communication, September 4, 1987) การสัมภาษณโดยไมมีการเผยแพรน้ี ใหระบุการอางอิงในเน้ือหาเทาน้ัน ไมตองลง ในรายการ “บรรณานุกรม” เนือ่ งจากไมปรากฏหลกั ฐานใหสามารถสบื คน ได 27. การอางอิงจากการทัศนศึกษา หรือการสังเกต หรือการสํารวจ ท่ีเผยแพรในส่ิงพิมพ หรอื วสั ดุสารสนเทศใดๆ ใหอางอิงตามรปู แบบของวสั ดนุ ั้นๆ การอางอิงจากประสบการณที่ไมมีการเผยแพรดังกรณีน้ี ใหระบุการอางอิงใน เนอ้ื หาเทา นั้น ไมตอ งลงในรายการ “บรรณานกุ รม” เพราะไมป รากฎหลักฐานท่ีจะสบื คน ได
41 รูปแบบและตวั อยาง (ชอื่ ผทู ศั นศกึ ษา หรอื สงั เกต,9ผทู ศั นศกึ ษาหรอื สงั เกตหรือสาํ รวจ,9 วนั 9เดือน9ป) ถาอางอิงเปนภาษาอังกฤษ ใหระบุช่ือสกุลของผูทัศนศึกษา และระบุเดือนกอน วนั ที่ (ธติ มิ า สุบนิ , ผทู ศั นศึกษา, 4 – 6 สิงหาคม 2549) (Conley, observer, March 19 – 20, 2007) การอางองิ แบบใชตัวเลข การอางอิงแบบใชตัวเลขน้ี จะไมแสดงรายการแหลงท่ีมาของขอมูลอางอิงในเน้ือหาแบบ การอางอิงแทรกในเน้ือหา เพียงแตใชตัวเลขกํากับอัญพจนเพ่ือบงช้ีไปท่ีรายการบรรณานุกรมท่ี สวนทายเลม ซึ่งจะกํากับตวั เลขตรงกัน การอา งองิ แบบใชตวั เลข มขี อกําหนดดงั น้ี 1. ตัวเลขกํากับอัญพจนอยูในวงเล็บเหล่ียม ขางทายหรือหนาอัญพจน หรือที่ชื่อผูแตง แลวแตความเหมาะสม ทัง้ นี้ ตวั เลขกํากบั น้ีตองตรงกับตวั เลขกํากับรายการบรรณานุกรม 2. ตวั เลขกํากบั อญั พจนใหล าํ ดบั ตามการอา ง 3. ถาอางซ้าํ ใหใ ชต ัวเลขเดิมกาํ กับ 4. กรณีมี “เชิงอรรถขยายความ” หรือ “เชิงอรรถโยงความ” ใชวงเล็บบงชี้ใหดูท่ีรายการ “เชงิ อรรถ” เชนเดียวกับการอา งองิ แทรกในเน้ือหา ดังรายละเอยี ดในหนา 25 ของคมู อื ฯ ฉบบั น้ี ตวั อยาง จนั ทมิ า ซิมสนั [3] กลาววา… พระยาอนมุ านราชธน [14] เสนอแนะวา… พลตรี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สรุปเร่ืองราวทเี่ ลา ถงึ พระราชกรณยี กิจของ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ในตอนนวี้ า ทาํ ใหไ ดประจกั ษในพระราชหฤทยั อนั เปยมดว ยพระมหา กรณุ าธิคุณตอ ราษฎรผูย ากจนขัดสน [13] Freud [4] viewed… Saint Laurent [16] described that… ปนดา เตชทรพั ยอมร และบญุ รงุ อรยิ ชยั กลุ [6] กลาววา … Cornuelle and Gronefeld [7] stated that…
42 ปรญิ ญา เลิศสินไทย กนั ยา ปาละววิ ธั น และวรรธนะ ชลายเดชะ [8] กลาววา … Brumfit, Robert and Richards [9] conducted… ไพโรจน ศรีอรณุ และคณะ [10] กลา ววา … Kitbunnadaj, et al. [11] suggested that… โดยทัว่ ไปเปน ที่ยอมรบั กนั วา ภาษาเปนกระเปา ใบใหญข องวัฒนธรรม [9]… 5. กรณอี างขอมลู เดียวกนั จากหลายแหลง อาจระบแุ ยกเปน รายแหลง ขอมลู หรืออา ง รวมกนั ตวั อยา ง พระยาอนุมานราชธน [12], นายตาํ รา ณ เมอื งใต [13], คณุ หญงิ กุหลาบ มลั ลกิ ะมาส [14] แสดงความเหน็ วา … Robinson and Munbuy [7], Brumfit, Robert and Richards [8] mentioned that… การเพม่ิ ปริมาณการใชย าในทางทผ่ี ิดมีผลกระทบตอ ความมนั่ คงของชาติ อยา งมาก [3, 4, 5] The increased drug abuse had an impact on the nation’s stability [10, 11, 12] กลาวโดยสรุป การเสนออัญพจนและการอางอิงแหลงที่มาเปนสิ่งท่ีผูจัดทําสารนิพนธ ตองใหความเอาใจใสทั้งความถูกตองนาเชื่อถือของเนื้อหาที่นํามาอาง และรูปแบบการเขียนอางอิง ซ่ึงตองเปนไปตามขอกําหนดของมหาวิทยาลัย ท้ังนี้ ผูจัดทําสารนิพนธพึงเขาใจวา รูปแบบการ เรียบเรียงอัญพจนและการอางอิงท่ีกําหนดเปนแบบแผนในแตละสถาบัน แมจะมีหลักการและ โครงสรา งสําคญั เชนเดียวกนั แตก ม็ กั มีความแตกตา งกันในรายละเอียด จึงไมอาจยึดถือสารนิพนธ ของตางสถาบันเปนแบบได และแมจะยึดถือรูปแบบของสารนิพนธท่ีจัดทําในสถาบันเดียวกันเปน ตัวอยางก็อาจผิดพลาดได เพราะอาจเปนฉบับท่ีละเลยการใชรูปแบบที่ถูกตอง ผูจัดทําสารนิพนธ จงึ ควรระมดั ระวงั ศึกษาและตรวจสอบรปู แบบท่ถี กู ตองจากคูมอื การจัดทําสารนิพนธที่มหาวิทยาลัย กาํ หนดขน้ึ เปน สําคญั
Search
Read the Text Version
- 1 - 20
Pages: