Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อัญพจน์และการอ้างอิง

อัญพจน์และการอ้างอิง

Published by Naresuan University Archive, 2020-02-28 03:10:45

Description: อัญพจน์และการอ้างอิง
บทที่ 4 ในคู่มือการเขียนสารนิพนธ์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร

Keywords: อัญพจน์และการอ้างอิง,การอ้างอิงในเนื้อหา

Search

Read the Text Version

บทท่ี 4 อญั พจนและการอางอิง การเรียบเรียงสารนิพนธทุกประเภทจะตองมีการศึกษาคนควาและอางถึงขอมูลความรู ตลอดจนการศึกษาวิจัยจากแหลงความรูตางๆ ขอความที่นํามาอางน้ีเรียกวา “อัญพจน” ช่ึงตอง เสนอควบคูกับการระบุแหลงท่ีมาของอัญพจนที่เรียกวา “การอางอิง” ทั้งนี้ เปนรูปแบบปกติของ การเสนองานศึกษาคนควาอันถือเปนมาตรฐาน เพราะเปนการแสดงถึงการศึกษาคนควาที่เปน ระบบ ประกอบดวยขอมูลความรูท่ีมีความนาเชื่อถือ มีการอางแหลงท่ีมาอยางชัดเจน ตรวจสอบ ได ผูจัดทําสารนิพนธจึงตองมีความรูความเขาใจในระเบียบแบบแผนการเรียบเรียง “อัญพจน” และ “การอางองิ ” น้ีเปน อยางดี ความหมายและลกั ษณะของอัญพจน อัญพจน คอื ขอ ความในสารนิพนธท่ีผูจัดทํานํามาจากขอเขียนหรือคํากลาวของบุคคลใด บุคคลหนงึ่ ซ่งึ อาจนาํ เสนอในลักษณะตอ ไปนี้ 1. อญั พจนตรง (Direct Quotation) คอื อญั พจนทีน่ ํามาอา งโดยคัดลอกตามขอความเดมิ 2. อญั พจนรอง (Indirect Quotation) คอื อญั พจนทีน่ ํามาอางในลักษณะการจับใจความ ถอดความ สรุปความ หรอื แปลมาจากขอความเดมิ การเรียบเรียงในลักษณะอัญพจนรองจึงตองเรียบเรียงข้ึนใหมดวยถอยคําภาษาของ ผจู ัดทาํ สารนิพนธ ไมใ ชภ าษาของขอ ความที่นํามาอางแบบอญั พจนต รง การเรยี บเรยี งอญั พจน การอางอัญพจนในลักษณะใดลักษณะหน่ึงดังกลาวขางตน มีแนวการเรียบเรียง ดังตอ ไปน้ี 1. ตอ งระบแุ หลง ท่ีมาของอญั พจนท เี่ รียกวา “การอางอิง” อยางเปนระบบ ตามรูปแบบที่ มหาวทิ ยาลัยกาํ หนด ทั้งน้ี ผูจัดทําสารนิพนธพึงระวังวา การอางขอความใดๆของผูอื่นโดยไมมีการอางอิง แหลงท่ีมา นอกจากจะผิดมารยาททางวิชาการ ไมใหเกียรติแกผูเปนเจาของขอความท่ีนํามาอาง แลว ยงั ถือเปน การผดิ กฎหมายวา ดวยลิขสทิ ธิ์อีกดวย

24 2. โดยทั่วไป ควรใชอัญพจนรองเพื่อใหการใชภาษาของสารนิพนธเปนภาษาของ ผูเ รยี บเรียงโดยราบรื่นกลมกลนื ตวั อยา ง อญั พจนต รง ชัยวัฒน คุประตกุล (2543, หนา 50-51) กลาวถึงทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปของ ไอนสไตนวา “โดยท่ัวๆ ไป เมื่อเปรียบเทียบกับทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไป ก็ทดสอบไดยากกวามาก จนกระท่ังนักฟสิกสผูมีชื่อเสียงคนหน่ึงคือ จอหน วีลเลอร (John Wheeler) ถึงกับกลาววา ‘ในครึ่งศตวรรษแรกของทฤษฎีสัมพัทธภาพท่ัวไป ทฤษฎีนี้เปนสวรรค ของนักทฤษฎี แตเปน นรกของนกั ทดลอง...’ ” อัญพจนร อง ชัยวัฒน คุประตกุล ใหความเห็นวา ทฤษฎีสัมพัทธภาพทั่วไปทดสอบไดยากกวา ทฤษฎีสัมพัทธภาพพิเศษ โดยยืนยันดวยคํากลาวของวีลเลอร (John Wheeler) นักฟสิกสผูมีช่ือเสียง ท่ีแสดงความเห็นวา ในชวงครึ่งศตวรรษแรกของการเผยแพรทฤษฎีสัมพัทธภาพน้ันจัดเปน ความสําเร็จอยา งย่ิงใหญของนักทฤษฎแี ตเ ปน ความยากลาํ บากอยางมากของนกั ทดลอง (2543, หนา 50-51) 3. การใชอญั พจนตรงมกั ใชใ นกรณีอา งจากขอความท่มี ลี ักษณะตอไปน้ี 3.1 บทประพันธท่ีมีรูปแบบเฉพาะซึ่งผูเรียบเรียงสารนิพนธประสงคใหผูอานไดอาน รปู แบบที่สมบรู ณข องขอเขยี นทนี่ าํ มาอาง เชน บทรอ ยกรอง โวหาร คําคม 3.2 ขอความท่ีมีลักษณะเฉพาะ เชน สุภาษิต คําพังเพย นิยามศัพท กฎระเบียบ ขอ บงั คบั กฎหมาย 3.3 ขอความที่ผูจัดทําสารนิพนธพิจารณาวามีความกระชับ สละสลวย หรือให ความหมายหรอื อารมณท พี่ ึงประสงคดแี ลว ไมควรนาํ เสนอเปน ถอ ยคาํ ทเ่ี รยี บเรยี งข้นึ ใหม 4. อัญพจนตรงที่มีความยาวไมเกิน 4 บรรทัด ใหเรียบเรียงตอเน่ืองกับความกอนหนา ตามปกติ โดยใชเครื่องหมายอัญประกาศกํากับขอความท่ีเปนอัญพจน ถามีคําหรือความที่กํากับ อัญประกาศอยูในอัญพจนดวย ใหเปล่ียนอัญประกาศของคําหรือความขางในเปนอัญประกาศ เดี่ยว

25 ตวั อยาง จักษ พันธชูเพชร (2548, หนา 27) กลาววา “รัฐศาสตรจึงเปนวิชาที่ชวยใหผูศึกษา ไดรูจักกลไกแหงการปกครองและรูจักการใชสิทธิ หนาท่ีและความรับผิดชอบของตนในฐานะ พลเมืองทดี่ ีของสงั คม” 5. อัญพจนตรงท่ียาวเกิน 4 บรรทัด ใหจัดแยกจากขอความอ่ืนๆ ไมตองมีเคร่ืองหมาย อัญประกาศกํากับ โดยเวน 2 บรรทัดจากขอ ความทัง้ สวนบน และสวนลาง กรณีเปนขอความยอหนา ความบรรทัดแรกใหยอหนา 2.50 ซม. บรรทัดตอๆ ไปให เวน ขอบหนา 1.50 ซม. ถาไมใชขอความยอหนา ซ่ึงตองใชเคร่ืองหมายละขอความกอนหนานี้ ใหถือ เครอ่ื งหมายละเปนจุดเริม่ ตน โดยเวนขอบหนา 1.50 ซม. บรรทัดตอๆ ไปใหเวนขอบหนา 1.50 ซม. เชนเดยี วกนั ตัวอยา ง ลักษณะอันงามของพระพทุ ธรปู ปางลีลา ซ่งึ สรา งสรรคโดยสกุลชางสุโขทยั นน้ั จะเห็นไดจ ากความพรรณนาตอไปน้ี (จิตร ภมู ิศกั ด,ิ์ 2547, หนา 375-376) ...ลกั ษณะพระพทุ ธรูปลีลาของสุโขทัยนั้น มกี ารแสดงออกอันออนชอยราวกับการลลี า ของหญิงงาม เสนรูปนอกระทวยพลวิ้ ไหวไปทกุ สดั สวน และมีลกั ษณะพุงพวยราวกบั เปลวเพลงิ ท่กี าํ ลงั ลกุ โชตชิ วง พระพกั ตรอิ่มเอบิ แสดงถงึ ความรักในสันตภิ าพ ความ กาวหนาที่กา วไปบนเสน ทางพัฒนาทยี่ ึดมนั่ ในความผาสกุ ใหมของเสรชี นทหี่ ลดุ พน จาก แอกของรฐั สังคมทาส และความปต ใิ นเสรภี าพอนั เพียบพรอมไปดว ยมนษุ ยธรรม 6. การละขอความบางสวนของอัญพจนตรง ใหใสเคร่ืองหมายจุดไขปลา 3 จุด แทน ขอความสวนท่ีละ ซ่ึงอาจเปนขอความในสวนตน สวนกลาง หรือสวนทายของขอความก็ได ดัง ตัวอยา งขา งตน 7. การเสนออัญพจนอาจมีการเกริ่นนํา ขยายความ หรือสรุปความของผูเรียบเรียง สารนพิ นธ เพ่ือชวยใหเน้อื ความสมบูรณย่ิงข้นึ 8. อญั พจนรองใหเรยี บเรยี งในบรรทัดเดียวกับเนือ้ ความทเี่ ปน สวนเกร่ินหรืออธิบายความ ของผเู รียบเรียง โดยไมจ ํากดั ความยาว

26 9. อัญพจนตรงท่ีเปนบทรอยกรอง แมจะมีความยาวไมเกิน 4 บรรทัด ก็อาจจัดไวกลาง หนากระดาษ หากผเู รยี บเรียงเห็นเหมาะสม ทง้ั น้ี ใหจัดแยกจากขอความสวนบนและสวนลาง โดย เวน 2 บรรทัด ตามขอกําหนดขอ 5 โดยอนุโลม และใหระบุช่ือผูประพันธในวงเล็บกํากับทายบท รอยกรอง สว นวงเล็บอา งอิง ใหก ํากบั ทา ยความอธิบายตามปกติ ตวั อยา ง เก่ียวกับความทุกขอันเกิดจากความรัก กวีไทยหลายทานไดพรรณนาไวอยาง เราอารมณสะเทอื นใจ ดังเชน (พระบาทสมเด็จพระพทุ ธเลิศหลา นภาลยั , 2508, หนา 305) แลววาอนจิ จาความรัก เพิง่ ประจกั ษดงั สายน้ําไหล ตั้งแตจะเชย่ี วเปนเกลยี วไป ท่ีไหนเลยจะไหลคืนมา (พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา นภาลัย) 10. กรณีอางบทรอยกรองจากหนังสือที่ผูแตงมิใชเปนผูประพันธบทรอยกรอง ใหระบุช่ือ ผปู ระพันธก ํากับทายบทรอยกรอง และระบแุ หลงอา งอิงดว ย เชน ตัวอยาง บทกลอนบทหน่ึงไดแสดงถึงความรักและความหวังของพอแมที่มีตอลูกไดอยาง จบั ใจ ดงั นี้ (สมพร พฒุ ตาล เบ็ทซ, 2546, หนา 88) แกวรูไ หมตัวแกว นม้ี ีคา กวาจะเตบิ ใหญม าถงึ บัดนี้ พอ กบั แมถ นอมเลี้ยงเพยี งชวี ี หยาดเหงอื่ พลเี พอ่ื แกว มณมี ปี ริญญา อยา ทอดกายใหใครเขางายงา ย พอ จะโศกแมจ ะอายขายหนา ตวั แกวเองกจ็ ะเศราเฉาวญิ ญา เปน แกวรา วไรราคาคา ของคน (วนดิ า บาํ รงุ ไทย) 11. การอางอัญพจนจากภาษาตางประเทศในสารนิพนธภาษาไทย โดยท่ัวไปควรเปน การแปลหรือถอดความเปนภาษาไทย ซึ่งจัดเปนอญั พจนรอง

27 ตวั อยาง เพรสคอตตกลาววา นวนิยายประวัติศาสตรเปนงานที่ประพันธยากท่ีสุด เพราะตอง มีการคนควาขอมูลขอเท็จจริงมาก ตัวละครทั้งท่ีเปนบุคคลจริงและตัวละครสมมุติ ตองมีอารมณ ความนึกคิดและความเช่ือตามยุคสมัยของบานเมืองที่เขามีชีวิตอยู นอกจากน้ี ผูเขียนยังตองระวัง ไมเสนอรายละเอียดทางประวัติศาสตรมากจนกลายเปนบทความวิชาการ ไมใชเรื่องแตง (Prescott, 1963, pp. 135-136 อา งองิ ใน วนิดา บาํ รุงไทย, 2544, หนา 61) 12. ในบางคร้งั การอา งอญั พจนหนงึ่ ๆ อาจเสนอท้ังในรปู อญั พจนตรงและอญั พจนร อง ตัวอยา ง เกี่ยวกับขอพิจารณาวา วรรณคดีควรสอนศีลธรรมหรือไมนั้น วิทย ศิวะศริยานนท อธิบายวา เนื่องจากวรรณคดีสรางข้ึนจากชีวิตจริง เปนการจําลองชีวิต ความนึกคิด และ เหตกุ ารณท เี่ กดิ ขึ้นในชวี ิตของมนษุ ย วรรณคดจี งึ ตองมคี วามของเกย่ี วกบั ปญหาทางศลี ธรรม แตก็ ไมไดหมายความวา วรรณคดีมีหนาที่สอนศีลธรรม ทั้งนี้ วิทย ศิวะศริยานนท (2531, หนา 116) ไดอา งคํากลาวของสก็อต ในหนงั สอื The making of literature วา นักวทิ ยาศาสตรม หี นา ทีเ่ รียนรูและพิสจู น นักสนุ ทรพจนม ีหนา ท่พี ูดจงู ใจ นกั ศลี ธรรมมหี นา ทส่ี อน แตศ ลิ ปนมีหนา ที่แสดง นักศีลธรรมจะกลา ววา ชวี ติ ควรจะเปน เชน นนั้ แตกวีจะพูดวา “ชีวิตเปน เชน นน้ั ” 13. โดยปกติการเรียบเรียงสารนิพนธควรอางอัญพจนจากแหลงเดิม (Direct Citation) เชน อางพระดํารัสของพลตรี พระเจาวรวงศเธอ กรมหม่ืนนราธิปพงศประพันธ จากหนังสือพระ นิพนธของพระองค อางนิยามศัพทของราชบัณฑิตยสถานจากหนังสือพจนานุกรม ฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน เปน ตน 14. ถาไมอาจสืบคนจากแหลงขอมูลแหลงเดิม จําเปนตองอางจากแหลงรอง (Indirect Citation) คือเปนแหลงขอมูลท่ีไดอางมาแลวจากแหลงเดิม การเรียบเรียงตองมีการอางอิงที่ให ความชดั เจนถึงแหลงเดมิ

28 ตวั อยาง เกี่ยวกับปญหาภาวะลนขอมูลขาวสารของโลกยุคโลกาภิวัตนน้ี โรซาคิส ไดแสดง ขอเปรียบเทียบจํานวนขอมูลระหวางอดีตกับปจจุบันไวอยางนาสนใจ เชน ขอมูลขาวสารใน หนังสือพิมพนิวยอรกไทมส 1 ฉบับ มีจํานวนมากกวาขอมูลที่ผูมีการศึกษาดีในศตวรรษที่ 16 ไดรับตลอดชีวิต ขอมูลที่เปนหนังสือและนิตยสารก็ทวีจํานวนที่แตกตางจากสมัยกอนมาก เฉพาะ ในสหรัฐอเมรกิ า มีหนงั สอื ประมาณ 5 พันเลม และนิตยสาร 1 หมื่นฉบับ ตอ 1 ป ดานงานวิจัย มีจํานวน 7 พันเรื่องที่ตีพิมพเผยแพรทั่วโลกตอ 1 วัน นอกจากนี้ การเพ่ิมข้ึนของขอมูลก็จะเปน จํานวนท่ีทวีขึ้นเร่ือยๆ โดยในปจจุบันมีจํานวนเพ่ิมข้ึนเปน 2 เทาในเวลาไมถึง 2 ป (Rozakis, 1995, p.5 อา งอิงใน กจิ จา กาํ แหง, 2547, หนา 98) 15. ขอความอธิบายใหความรูหรือความเขาใจแกผูอานเปนสวนเพ่ิมเติมนอกเหนือจาก เน้ือเรื่อง ซ่ึงแตเดิมเรียกวา “เชิงอรรถขยายความ” และขอความท่ีระบุใหติดตามอานเน้ือความใน แหลงอื่นเพ่มิ เตมิ ท่ีเรียกวา “เชิงอรรถโยงความ” นั้น ใหแสดงการบงช้ีแหลงดวยความในวงเล็บแทรก ในเน้ือหา โดยมีเลขกํากับรายการตามลําดับการอาง เชน (ดูท่ีเชิงอรรถ 1) หรือ (see Footnote 1) ใน สารนิพนธภาษาอังกฤษ เพ่ือโยงใหดูที่รายการ “เชิงอรรถ” ซ่ึงจะแสดงตอจากรายการบรรณานุกรม โดยใชหวั เรอ่ื ง “เชงิ อรรถ” หรือ “Footnote” กลางหนากระดาษ ตัวอยาง ในพระนิพนธอีกเร่ืองหนึ่ง พระราชวรวงศเธอ กรมหมื่นพิทยาลงกรณ ทรงปรารภ วาคําที่ทรงใชวา “อพยบ” ต้ังแตคร้ังทรงเปนนักเรียน ไดมีการแกไขการสะกดคําเปน “อพยพ” โดยมีคําอธิบายวาเปนคําที่มาจากศัพทสันสกฤตวา อวยว แตเม่ือทรงคน ความหมายของศัพทสันสกฤตคํานี้ก็ไมทรงพบความหมายวา ยายครอบครัว เปลี่ยน ภูมิลําเนา ดังความหมายที่ใชในภาษาไทย จึงทรงเรียกลักษณะความพยายามเปล่ียน ตัวสะกดคําไทยที่ไมทราบท่ีมาใหเปนคําสันสกฤตอยางมีพระอารมณขันวา “โรคอพยบ” ทรงอธิบายไวดวยวา โรคน้ีบางทีก็มีอาการตรงกันขาม คือเมื่อรูคําไทยถิ่นนอกประเทศ มากๆ เขาก็มีการ “อพยบ” คํา ใหกลับเปนคําไทยอีก (2513, หนา 49-55) (ดูที่เชิงอรรถ 3) …such as the knowledge-based augmentation of detection…(as defined in Footnote 3)

29 กรณีอางเชิงอรรถเดิม ใหแสดงความในวงเล็บแทรกในเน้ือหาเปน (อางแลวใน เชงิ อรรถ 3) หรอื (as defined in Footnote 3) ในสารนพิ นธภ าษาองั กฤษ ความหมายและความสําคญั ของการอา งอิง การอางอิง หมายถึงการระบุแหลงที่มาของขอมูลที่สารนิพนธนํามาอางถึง คือ อัญพจน การอางอิงจึงเปนส่งิ ที่ควบคกู บั อญั พจนเ สมอ ในการจัดทําสารนิพนธ การอางอิงถือเปนสวนประกอบอันสําคัญย่ิง ดวยเหตุผล ดังตอ ไปน้ี 1. การอางองิ คือการระบแุ หลงที่มาขอมูลสารสนเทศ เปนการใหความเช่ือม่ันแกผูอานวา ผจู ดั ทําสารนพิ นธไ ดศกึ ษาคน ความาเปน อยางดจี ากแหลง ความรูท่เี ชื่อถือได 2. เปนการใหขอ มูลแกผ ูอา นทตี่ อ งการตรวจสอบหรือศึกษาคนควา แหลง ขอมูลเดิม 3. เปน การแสดงคณุ ธรรมความรบั ผดิ ชอบของนกั วชิ าการทจี่ ะไมลวงละเมิดหรือแอบอาง ผลงานของผูอ่ืน ซ่ึงนอกจากจะผิดแบบแผนของการเรียบเรียงงานวิชาการแลว ยังถือเปนการผิด กฎหมายวาดว ยลิขสทิ ธ์ิ อกี ดว ย การอางอิงในสารนิพนธของมหาวิทยาลัยนเรศวร กําหนดไว 2 รูปแบบ ทั้งน้ี ผูจัดทํา สารนิพนธเรอื่ งหน่ึงๆ ตองใชร ูปแบบใดรูปแบบหน่งึ เปนแบบแผนเดยี วกนั ตลอดท้ังเร่ือง รูปแบบการ อางอิงดังกลา ว ไดแ ก การอางองิ แทรกในเน้ือหา และ การอางอิงแบบใชต ัวเลข การอางอิงแทรกในเนอื้ หา การอางองิ แทรกในเนอ้ื หา เปนการวงเล็บระบแุ หลงทีม่ าของอัญพจนอ ยา งกวา งๆ แทรก อยูในเนอ้ื หาของสารนพิ นธ สวนรายละเอยี ดทีส่ มบรู ณข องแหลงขอ มลู จะแสดงใน “บรรณานุกรม” ในสวนทา ยของสารนพิ นธ การลงรายการของแหลงขอมูลทีอ่ างอิงแทรกในเน้ือหา มีขอกาํ หนดดงั ตอ ไปนี้ 1. ขอมูลที่ตองระบุในการอางอิง คือแหลงที่มาของขอมูลหรืออัญพจน โดยท่ัวไป ประกอบดวย ช่ือผูแตงหรือผูผลิต ปที่พิมพหรือปที่ผลิต และหนาที่อาง อยูในเคร่ืองหมายวงเล็บ โดยใชเคร่อื งหมายจลุ ภาคค่ันระหวางรายการ 1.1 ช่ือผูแตง หรือผูผลิต 1.1.1 แหลงขอมูลภาษาไทยใหระบุท้ังชื่อและนามสกุลของผูแตง สวน แหลงขอมูลภาษาตางประเทศใหใชเฉพาะนามสกุลของผูแตงเทานั้น กรณีผูแตงเปนคนไทยในสาร นพิ นธภ าษาตางประเทศ ใหใ ชเฉพาะนามสกุลของผูแตงเชนเดยี วกนั

30 1.1.2 ผูแตง 2 คน ใหใชคําเช่ือม “และ” หรือ “and” ระหวางชื่อผูแตง สําหรับ แหลงขอมลู ภาษาไทย และแหลง ขอมลู ภาษาอังกฤษ ตามลาํ ดบั 1.1.3 ผูแตง 3 คน ใหใชเครื่องหมายจุลภาคคั่นระหวางช่ือผูแตงสองคนแรก และใชคําวา “และ” หรอื “and” แลวแตกรณี คัน่ ระหวางช่อื ผแู ตงคนท่ีสองกบั คนท่สี าม 1.1.4 ผูแตงมากกวา 3 คน ใหใสชื่อผูแตงคนแรก ตามดวยคําวา “และคณะ” ในแหลงขอมูลภาษาไทย หรือ “et al.” (ยอมาจากภาษาละตินวา et alli หรือ et allia) ใน แหลงขอมูลภาษาอังกฤษ เพ่ือมิใหการอางอิงยืดยาวเกินจําเปน ท้ังน้ี รายละเอียดแหลงขอมูลโดย สมบูรณจ ะปรากฏในรายการ “บรรณานุกรม” ขา งทา ยสารนิพนธ 1.2 ปท่ีพิมพห รือปทผ่ี ลติ แหลงขอมูลภาษาไทยใหระบุป พ.ศ. สําหรับแหลงขอมูลภาษาตางประเทศ โดยทั่วไปใหระบุป ค.ศ. ท้งั น้ี ระบุเพยี งตัวเลข และใชป ทพี่ ิมพค ร้ังลา สุด 1.3 หนาทอ่ี า ง แหลงขอมูลภาษาไทยใหใชคําวา “หนา” ตามดวยเลขหนาของขอมูลที่อางถึง สาํ หรับแหลงขอมูลภาษาอังกฤษใหแทนคําวา “หนา ” ดว ย p. ในการอางหนาเดียว และ pp. ในการ อางมากกวา หน่งึ หนา รูปแบบและตัวอยา ง ในการแสดงรปู แบบตอไปนี้ ใชเ ครอ่ื งหมาย9แทนการเวน 1 ชวงตวั อกั ษร ผูแ ตง 1 คน (ผูแ ตง,9ปทพี่ มิ พ, 9หนา 9เลขหนาที่อา ง) (จกั ษ พนั ธุช ูเพชร, 2545, หนา 28, 39-41) (สมพร พฒุ ตาล เบท็ ซ, 2546, หนา 25-32) (Brown, 1999, p. 9) ผแู ตง 2 คน (ผแู ตง คนแรก9และผูแตงคนท่ี 2,9ปทพ่ี มิ พ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (ชศู ักดิ์ เวชแพศย และสมศรี ดาวฉาย, 2543, หนา 82) (Syananondh and Padgate, 2005, pp. 69, 80-87)

31 ผูแ ตง 3 คน (ผูแตงคนแรก,9ผูแตงคนที่ 29และผูแ ตง คนท่ี 3,9ปทพ่ี มิ พ, 9 หนา 9เลขหนา ที่อาง) หนา 38-39) (แสงหลา พลนอก, เชาวนี ลองชูผล และสุวนยี  เกยี่ วกิง่ แกว , 2548, (Chokmaviroj, Rakwichian and Ketjoy, 2004, p. 1101) ผูแตง มากกวา 3 คน (ผแู ตงคนแรก9และคณะ,9ปท พี่ ิมพ, 9หนา 9เลขหนา ท่อี า ง) (มัลลกิ า ต้ังคา วานิช และคณะ, 2545, หนา 140) (Kerdpin, et al., 2004, pp. 7839-7840) 2. ผูแตงท่ีมีคํานําหนาช่ือเปนฐานันดรศักดิ์ บรรดาศักดิ์ ยศ และสมณศักด์ิ เชน พระบาทสมเด็จพระ พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจา ม.ร.ว. พระยา หลวง พล อ.อ. Duke Pope St. (อักษรยอ ของ Saint) ใหร ะบุคาํ นําหนา ช่ือเหลาน้ตี ามปกติ กรณีที่ยศของสังกัดตางกันแตใชอักษรยอเหมือนกัน เชน ร.ต. ซึ่งเปนอักษรยอของ รอ ยตรี เรือตรี และเรอื อากาศตรี ใหใ ชคําเต็ม กรณคี ําลงทา ยแสดงสงั กดั ของทหารเรอื คอื ร.น. และคําลงทา ยชอ่ื ชาวตา งชาติ เชน Sr. และ Jr. (อกั ษรยอของ Senior และ Junior) ใหระบไุ วตามปกติ ตัวอยาง (สมเด็จพระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ าร,ี 2546, หนา 5 - 11) (พระพรหมคุณาภรณ (ประยุทธ ปยทุ โต), 2546, หนา 36 -40) (พระสิงหทอง ธมมวโร, 2531, หนา 21-36) (พล ต. ม.ร.ว.คกึ ฤทธิ์ ปราโมช, 2547, หนา 9) (พล อ.เปรม ตณิ สูลานนท, 2544, หนา 13 - 19) (พระยาศรสี ุนทรโวหาร, 2508, หนา 63 - 74) (ขุนวิจิตรมาตรา, 2541, หนา 135-139) (น.อ.สมภพ ภิรมย ร.น., 2548, หนา 60)

32 3. วัสดุท่ีจัดพิมพในชื่อของหนวยงาน ใหใชช่ือหนวยงานอยางตํ่าในระดับกรม หรือ หนวยงานเทียบเทากรม เปนรายการผูแตง หากไมปรากฏช่ือหนวยงานระดับกรม หรือเปน หนวยงานทไี่ มใชส ว นราชการ ใหระบุชื่อหนวยงานตามที่ปรากฏในวสั ดอุ างองิ เปนรายการผูแ ตง รูปแบบและตัวอยา ง (หนว ยงาน,9ปท พี่ ิมพ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (หนว ยงานแรก9และหนว ยงานที่ 2,9ปท ี่พมิ พ, 9หนา9เลขหนา ที่อา ง) (หนว ยงานแรก,9หนว ยงานที่ 29และหนวยงานท่ี 3,9ปท พ่ี ิมพ, 9 หนา 9เลขหนา ที่อา ง) (มหาวิทยาลยั มหิดล, 2543, หนา 17) (สํานกั ราชบณั ฑิตยสถาน, 2545, หนา 96-105) (สํานักงานคณะกรรมการวจิ ัยแหงชาติ และสมาคมวทิ ยาศาสตรการเกษตร แหงประเทศไทย ในพระบรมราชปู ถัมภ, 2542, หนา 79-98) (สํานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง ชาต,ิ สมาคมวิจยั เชงิ คณุ ภาพ แหงประเทศไทย และจุฬาลงกรณมหาวทิ ยาลัย, 2536, หนา 86) (Thailand. Ministry of Public Health. The Chemical Safety Section of the Food and Drug Administration, 2000, pp.175-183) (United States. Department of Defense, 1988, pp. 55-63) 4. วสั ดุทไี่ มป รากฏชือ่ ผแู ตง หรอื ผูจัดทาํ ใหใ ชชอื่ เอกสารแทนรายการช่ือผูแตง สําหรับชื่อเอกสารภาษาอังกฤษ ใหปรับช่ือเปนอักษรพิมพเล็กท้ังหมด ยกเวนอักษร ตัวแรกของชื่อเอกสาร อักษรตัวแรกของชื่อรองหลังเครื่องหมายทวิภาค (ถามี) และอักษรตัวแรก ของคาํ ที่เปน ช่อื เฉพาะ ใหใ ชอักษรพมิ พใหญ ตวั อยาง (คูมอื สําหรบั ผปู กครองเด็กออทสิ ตกิ , 2539, หนา 3-6) (ลลิ ติ พระลอ, 2516, หนา 5-6) (The new international Webster’s comprehensive dictionary of the English language, 1998, pp. 325-327) 5. หนงั สือแปล ใหใสชื่อสกลุ ผแู ตง เปนภาษาแปลของเอกสารนัน้ ๆ หากไมท ราบชอื่ ผแู ตง ใหใชช ่อื เรอื่ งในภาษาทแี่ ปล

33 รปู แบบและตัวอยาง (ช่อื สกลุ ผแู ตง ,9ปท ่ีพิมพ,9หนา9เลขหนา ทอ่ี า ง) (ชอ่ื เรอ่ื งในภาษาที่แปล,9ปทพี่ มิ พ, 9หนา9เลขหนาที่อา ง) (เชก็ สเปยร, 2498, หนา 200) (เสยี งเพรียกจากขนุ เขา, 2528, หนา 60) 6. ผแู ตงท่ใี ชน ามแฝง ใหใ ชน ามแฝงเปนชอ่ื ผแู ตง รปู แบบและตัวอยาง (นามแฝง,9ปทพ่ี มิ พ, 9หนา 9เลขหนาที่อาง) (น. ณ ปากนา้ํ , 2525, หนา 15) (เสฐยี รโกเศศ, 2515, หนา 54 - 59) (Twain, 1965, pp. 21-35) (Dr.Seuss, 1959) 7. วัสดุท่ีไมปรากฏปที่พิมพใหใชอักษรยอ ม.ป.ป. ยอมาจากคําวา ไมปรากฏปท่ีพิมพ สําหรับวัสดอุ า งอิงภาษาองั กฤษใหใช n.d. ยอมาจากคําวา no date รปู แบบและตัวอยา ง (ผูแตง,9ม.ป.ป.,9หนา 9เลขหนา ท่ีอา ง) (ทินวฒั น มฤคพิทักษ, ม.ป.ป., หนา 45) (Naresuan University, n.d., p. 20) 8. วัสดุภาษาไทยท่ีไมมีเลขหนาใหใชคําวา ไมมีเลขหนา สําหรับวัสดุอางอิง ภาษาอังกฤษใหใ ช unpaged รปู แบบและตัวอยาง (ผูแตง,9ปทพี่ มิ พ, 9ไมม ีเลขหนา ) (มณฑล สงวนเสริมศร,ี 2549, ไมม เี ลขหนา ) (Thompson, 1988, unpaged)

34 9. การอางวัสดุท้ังเลมโดยไมเจาะจงหนา ซ่ึงสวนมากจะเปนผลสรุปจากรายงานการ ศึกษาวิจยั หรอื วิทยานิพนธ ใหระบุเฉพาะผูแตง กับปที่พิมพ รูปแบบและตัวอยาง (ผแู ตง ,9ปทพี่ ิมพ) (กาญจน เรืองมนตร,ี 2547) (Darling, 1976) (Singnoi, 2000) 10. การอางวัสดุมากกวาหนึ่งรายการประกอบเนื้อหาเดียวกัน ใหใสรายการวัสดุอางอิง ท้ังหมด โดยใชเครื่องหมายอัฒภาคคั่นระหวางรายการวัสดุอางอิง ทั้งน้ี ใหเรียงปที่พิมพกอนหลัง ตามลาํ ดับ ถา เปนวัสดทุ พี่ มิ พปเ ดียวกันใหเ รยี งตามลําดบั อักษรชอ่ื ผูแตง รูปแบบและตวั อยา ง (ผแู ตง ,9ปท พ่ี ิมพ, หนา9เลขหนา ท่อี า ง;9ผแู ตง,9ปท ่พี มิ พ, หนา 9 เลขหนา ที่อา ง;9ผูแตง ,9ปท พ่ี มิ พ, หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (เธยี รศรี ววิ ธิ สริ ิ, 2527, หนา 32-38; นวลละออ สภุ าผล, 2527, หนา 27-33; สุชา จนั ทนเอม, 2536, หนา 12-17) (Stolotsky, 1992, pp. 18 - 20; Heckels, 1996, pp. 23 -24; Jones, 1998, p. 30) 11. วัสดุหลายเรื่องของผูแตงคนเดียวกัน และจัดพิมพปเดียวกันในสารนิพนธภาษาไทย ใหใชอักษร ก ข ค ง… หรือ a b c d… .ในสารนิพนธภาษาอังกฤษกํากับหลังปที่พิมพ โดยเรียง ตามลําดบั การอา งอิง รูปแบบและตัวอยาง (ผูแตง ,9ปทพี่ มิ พแ ละลาํ ดบั ท่ีวัสดอุ างองิ .9หนา 9เลขหนา ทอ่ี าง) (วลุลี โพธริ งั สยิ ากร, 2539ก, หนา 171-173) (วลุลี โพธริ งั สยิ ากร, 2539ข, หนา 26) (วลลุ ี โพธริ งั สยิ ากร, 2539ค, หนา 80-82) (Drucker, 1995a, p. 101-110) (Drucker, 1995b, p. 121-127) (Drucker, 1995c, p. 98-96)

35 12. กรณีจําเปนตองอางถึงวัสดุที่อางในเอกสารอื่น เพราะไมสามารถคนและอางอิง จากแหลงเดิมได เรียกวาเปนการอางจากแหลงรอง ใหอางจากแหลงเดิมเทาท่ีสามารถระบุได สารนิพนธภาษาไทยใหใชคําวา “อางอิงใน” สําหรับสารนิพนธภาษาอังกฤษใหใชคําวา “as cited in” รูปแบบและตัวอยา ง (ผแู ตง เดมิ ,9ปทพ่ี มิ พเ ดิม,9หนา 9เลขหนา ที่อา ง9อางอิงใน ผูแตง,9 ปท พี่ มิ พ, 9หนา9เลขหนาทอี่ าง) (Prescott, 1963, pp. 135-136 อางอิงใน วนดิ า บาํ รงุ ไทย, 2544, หนา 61) (Anderson, 1982, p. 21 as cited in Hernon, 1999, p. 35 c) กรณอี างท้งั ฉบบั (ผูแ ตง เดิม,9ปที่พิมพเ ดมิ 9อา งองิ ใน ผแู ตง ,9ปทีพ่ มิ พ,9หนา 9 เลขหนา ทอ่ี า ง) (เสถียร โพธนิ นั ทะ, 2496 อา งองิ ใน ประภาศรี สหี อาํ ไพ, 2535, หนา 164) (Allwright and Bailey, 1991 as cited in Syananondh and Padgate, 2548, p. 73) 13. การอางบทความหรือคอลัมนใ นหนงั สือพมิ พ รูปแบบและตัวอยาง (ผูแตง ,9ปท พ่ี ิมพ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (สมบตั ิ นพรัก, 2548, หนา 30) (Wiriyapong, 2001, p. B1) 14. การอางขา วในหนังสือพมิ พ เน่ืองจากหัวขอขาวสวนใหญคอนขางยาว การลงหัวขอขาวจึงใหใชคําหรือความ เริ่มตนเทาน้ัน โดยอยูในเครื่องหมายอัญประกาศ ทั้งนี้ หัวขอเต็มจะปรากฏในรายการ บรรณานกุ รมขา งทา ยสารนพิ นธ

36 รปู แบบและตวั อยา ง (“หวั ขอ ขาว”,9ปทพี่ ิมพ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (“สคบ. เขม ”, 2549, หนา 1, 15) (“Court rejects EC“, 2006, p. 1, 10) 15. การอา งบทความในวารสาร ใหลงรายการอา งองิ เชน เดียวกบั การอา งอิงจากหนังสือ รปู แบบและตวั อยา ง (ผเู ขยี นบทความ,9ปทพี่ มิ พ, 9หนา 9เลขหนา ทีอ่ า ง) (จนั ทมิ า ซมิ สนั , 2547, หนา 125) (มิสเตอรไ อที, 2544, หนา 104-105) (วลลุ ี โพธริ งั สยิ ากร, 2543, หนา 111) (สุภาพร คงศิริรตั น, 2548, หนา 79-80) (Limpeanchob, 2005, p. 48) (Ounaroon, Frick and Kutchan, 2005, pp. 161-162) (Tolle, 2000, pp. 310-317) กรณไี มปรากฏชือ่ ผแู ตง ใหล งช่ือบทความแทนชื่อผแู ตง สําหรับบทความภาษาอังกฤษ ใหปรับชื่อบทความเปนอักษรพิมพเล็กทั้งหมด ยกเวนอักษรตวั แรกของชื่อบทความ อักษรตัวแรกของช่ือรองหลังเครื่องหมายทวิภาค (ถามี) และ อักษรตัวแรกของคาํ ที่เปน ชือ่ เฉพาะ ใหใ ชอักษรพิมพใหญ รปู แบบและตวั อยา ง (ชอ่ื บทความ,9ปท พี่ มิ พ, 9หนา9เลขหนา ทอี่ า ง) (การจดั การและแกไขความขดั แยงอยางสนั ติวิธ:ี การอบรม, 2546, หนา 90 – 101) (ไทยยกแผนพฒั นาการเงนิ : ย้อื เปด เสรกี ับสหรฐั ฯ อกี 3 ป, 2548, หนา 49 – 51) (Foreign direct investment: Why Japan, 2004, pp. 6 –11) (Thailand’s soda ash project, 1977, pp. 9 – 12) 16. การอางองิ เอกสารพเิ ศษ เชน จดหมายเหตุ คําสงั่ ประกาศ แผน ปลิว ฯลฯ รูปแบบและตัวอยาง (หนว ยงาน,9วนั ท9ี่ เดอื น9ปท ่ปี ระกาศหรอื บนั ทึก)

37 สาํ หรบั เอกสารพิเศษภาษาองั กฤษ ใหลําดับ เดือน กอน วนั ที่ การอา งอิงจดหมายเหตุ (หอสมุดแหง ชาต,ิ จ.ศ.1206) การอางอิงคาํ สัง่ (มหาวิทยาลยั นเรศวร, 10 เมษายน 2549) การอา งองิ ประกาศ (มหาวทิ ยาลยั นเรศวร, 23 กรกฎาคม 2547) การอางอิงแผน ปลิว (มหาวิทยาลยั นเรศวร, ม.ป.ป.) 17. การอา งอิงกฎหมายที่ประกาศในราชกจิ จานเุ บกษา หรือเอกสารอนื่ รูปแบบและตัวอยาง (ชอ่ื กฎหมาย,9วันท9่ี เดือน9ปท ี่ประกาศ,9หนา 9เลขหนา ทอ่ี า ง) กรณเี ปนภาษาองั กฤษ ใหใชรปู แบบดงั นี้ (ชื่อกฎหมาย,9ปทีป่ ระกาศ) (พระราชบัญญัตมิ หาวทิ ยาลยั นเรศวร พ.ศ. 2533, 29 กรกฎาคม 2533, หนา 1 - 33) (กฎกระทรวง ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2519) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิ ระเบยี บขา ราชการพลเรอื นในมหาวิทยาลยั พ.ศ. 2507, 11 มีนาคม 2519, หนา 39) (RU486: The Import Ban, 1990) (Urban America’s Need, 1992) 18. การอางอิงจากรายการวทิ ยหุ รอื โทรทศั น รปู แบบและตวั อยา ง (ผูจัดทํา,9วันท9่ี เดอื น9ปท จ่ี ดั ทาํ ) กรณีภาษาองั กฤษ ใหลําดบั เดอื น กอน วนั ที่ (ปญญา นิรนั ดรก ลุ , 26 พฤษภาคม 2549) (Keillor and Smith, October 2, 1993)

38 19. การอา งองิ จากสื่อโสตทัศนูปกรณท่ีเปนภาพ สิ่งจําลอง หรือภาพถายของเอกสาร เชน แผนที่ (Map) ภาพถาย (Picture) ภาพวาด (Painting) ลูกโลกจําลอง (Globe) ภาพยนตร (Film) วีดิทัศน (Videotape) วีดิทัศนซีดี (VCD) ดิจิทัลอเนกประสงค (DVD) ภาพเลื่อน (Filmstrip) ภาพน่งิ (Slide) ไมโครฟลม (Microfilm) ไมโครฟช (Microfiche) รูปแบบและตวั อยาง (ผูจัดทํา,9ปท จ่ี ดั ทาํ ,9ประเภทสื่อ) (ม.จ.ชาตรีเฉลมิ ยคุ ล, 2544, ภาพยนตร) (สุดแดน วิสทุ ธลิ กั ษณ, 2538, วดี ทิ ัศน) (มหาวิทยาลัยนเรศวร, ม.ป.ป., วีดิทัศนซดี )ี (สํานักงานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง ชาต,ิ 2540, ภาพนง่ิ ) (Redford, 1980, Film) (Weir and Harrison, 1992, Videotape) (Ferguson, 1984, Microfilm) 20. การอางอิงจากสื่อโสตทัศนูปกรณประเภทสื่อเสียงทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ เชน แผนเสียง (Phonodisc) แถบบนั ทกึ เสียง (Cassette) ซีดี (CD) รปู แบบและตัวอยาง (ผูข ับรอง หรือผบู รรยาย หรอื ผผู ลิต,9ปทีจ่ ัดทาํ ,9ประเภทสือ่ ) (พูนพงษ งามเกษม, 2548, แถบบันทกึ เสยี ง) (อาร.เอส., 2543, ซดี )ี (Lake, 1989, Cassette) (Martin, 1991, CD) (Young, 2004, Cassette) 21. การอางอิงงานแสดงศิลปะ เชน จิตรกรรม ประติมากรรม งานแกะสลัก งานหัตถกรรม ฯลฯ รูปแบบและตัวอยา ง (ผสู รา ง,9ปท ี่สรา ง,9ประเภทงานศิลปะ)

39 (เฉลิมชัย โฆษติ พพิ ฒั น, 2539, จติ รกรรม) (Gogh, 1888, Painting) 22. การอา งองิ จากฐานขอ มลู สําเรจ็ รปู ซีดี-รอม (CD-ROM) ใหใ ชรปู แบบดงั น้ี รปู แบบและตัวอยาง (ผแู ตง ,9ปทจี่ ดั ทํา,9ฐานขอ มลู สําเร็จรูปซดี ี-รอม) (Bower, 1997, CD-ROM) (McNicol, 1980, CD-ROM) 23. การอางอิงขอมูลจากสื่อออนไลน (Online) จากระบบเครือขายอินเทอรเน็ต หรือ อินทราเน็ต ซ่ึงปรากฏในประเภทตางๆ เชน บทความ หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ บทเรียน อเิ ล็กทรอนิกส (e-learning) เปนตน รูปแบบการอา งอิงประกอบดว ยขอมูลเชน เดียวกบั ส่อื สง่ิ พิมพท ว่ั ไป รปู แบบและตัวอยา ง (ผูแตง,9ปทจี่ ัดทํา) (จริ วัฒน พริ ะสนั ต และวนดิ า บาํ รุงไทย, 2543) (ลักษณา ลขิ ติ เกียรตขิ จร, 2545) (แสมดาํ , 2544) (American Psychological Association, 1995) (Bain, 2006) (Munson and Degelman, 1997) (Sleek, 1996) 24. การอางอิงจากการปาฐกถา บรรยาย อภิปราย การประชุมเชิงปฏิบัติการ การ ประชุมสัมมนาทางวชิ าการ ประชาพิจารณ การแสดง ใหลงรายการหลักคอื ผูบรรยายหรอื ผแู สดง และเวลาเผยแพร กรณีการแสดงเปนหมคู ณะ ใหลงช่อื การแสดง แทนรายการผูแสดง รปู แบบและตัวอยาง (ผบู รรยาย หรือผูแ สดง,9วันท9ี่ เดือน9ปท ี่บรรยาย)

40 กรณีเปน ภาษาองั กฤษ ใหลาํ ดบั เดอื น กอ นวนั ที่ (เกษม วฒั นชัย, 26 กรกฎาคม 2546) (การสมั มนาเรอื่ ง “อุดมศึกษาไทยในยุคเปด เสรีทางการคา โลกดาน การศกึ ษา”, 23 – 25 มกราคม 2547) (คูก รรม, 15-25 สงิ หาคม 2549.) (รัฐภมู ิ โตคงทรพั ย, 28 พฤษภาคม 2549) (Burns, March 20, 1987) 25. การอา งองิ จากการสมั ภาษณที่เผยแพรใ นส่ิงพมิ พห รอื วัสดสุ ารสนเทศ รูปแบบและตวั อยาง (ชอื่ ผูใ หส มั ภาษณ, 9ปท ี่สัมภาษณ) (มณฑล สงวนเสรมิ ศรี, 2549) (Chumsai and Sirisumphan, 1985) 26. การอา งองิ จากการสัมภาษณโ ดยตรงทีไ่ มมีการเผยแพร รปู แบบและตวั อยา ง (ชอื่ ผใู หสัมภาษณ, ผูใหสัมภาษณ, 9วันท9่ี เดือน9ปท่ีสมั ภาษณ) กรณีเปน ภาษาอังกฤษ ใหร ะบุชือ่ สกุลผูใหสมั ภาษณ และระบุเดือนกอ นวนั ที่ (สจุ ินต จินายน, ผใู หสมั ภาษณ, 27 มีนาคม 2549) (Eaton, personal communication, September 4, 1987) การสัมภาษณโดยไมมีการเผยแพรน้ี ใหระบุการอางอิงในเน้ือหาเทาน้ัน ไมตองลง ในรายการ “บรรณานุกรม” เนือ่ งจากไมปรากฏหลกั ฐานใหสามารถสบื คน ได 27. การอางอิงจากการทัศนศึกษา หรือการสังเกต หรือการสํารวจ ท่ีเผยแพรในส่ิงพิมพ หรอื วสั ดุสารสนเทศใดๆ ใหอางอิงตามรปู แบบของวสั ดนุ ั้นๆ การอางอิงจากประสบการณที่ไมมีการเผยแพรดังกรณีน้ี ใหระบุการอางอิงใน เนอ้ื หาเทา นั้น ไมตอ งลงในรายการ “บรรณานกุ รม” เพราะไมป รากฎหลักฐานท่ีจะสบื คน ได

41 รูปแบบและตวั อยาง (ชอื่ ผทู ศั นศกึ ษา หรอื สงั เกต,9ผทู ศั นศกึ ษาหรอื สงั เกตหรือสาํ รวจ,9 วนั 9เดือน9ป) ถาอางอิงเปนภาษาอังกฤษ ใหระบุช่ือสกุลของผูทัศนศึกษา และระบุเดือนกอน วนั ที่ (ธติ มิ า สุบนิ , ผทู ศั นศึกษา, 4 – 6 สิงหาคม 2549) (Conley, observer, March 19 – 20, 2007) การอางองิ แบบใชตัวเลข การอางอิงแบบใชตัวเลขน้ี จะไมแสดงรายการแหลงท่ีมาของขอมูลอางอิงในเน้ือหาแบบ การอางอิงแทรกในเน้ือหา เพียงแตใชตัวเลขกํากับอัญพจนเพ่ือบงช้ีไปท่ีรายการบรรณานุกรมท่ี สวนทายเลม ซึ่งจะกํากับตวั เลขตรงกัน การอา งองิ แบบใชตวั เลข มขี อกําหนดดงั น้ี 1. ตัวเลขกํากับอัญพจนอยูในวงเล็บเหล่ียม ขางทายหรือหนาอัญพจน หรือที่ชื่อผูแตง แลวแตความเหมาะสม ทัง้ นี้ ตวั เลขกํากบั น้ีตองตรงกับตวั เลขกํากับรายการบรรณานุกรม 2. ตวั เลขกํากบั อญั พจนใหล าํ ดบั ตามการอา ง 3. ถาอางซ้าํ ใหใ ชต ัวเลขเดิมกาํ กับ 4. กรณีมี “เชิงอรรถขยายความ” หรือ “เชิงอรรถโยงความ” ใชวงเล็บบงชี้ใหดูท่ีรายการ “เชงิ อรรถ” เชนเดียวกับการอา งองิ แทรกในเน้ือหา ดังรายละเอยี ดในหนา 25 ของคมู อื ฯ ฉบบั น้ี ตวั อยาง จนั ทมิ า ซิมสนั [3] กลาววา… พระยาอนมุ านราชธน [14] เสนอแนะวา… พลตรี ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช สรุปเร่ืองราวทเี่ ลา ถงึ พระราชกรณยี กิจของ สมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช ในตอนนวี้ า ทาํ ใหไ ดประจกั ษในพระราชหฤทยั อนั เปยมดว ยพระมหา กรณุ าธิคุณตอ ราษฎรผูย ากจนขัดสน [13] Freud [4] viewed… Saint Laurent [16] described that… ปนดา เตชทรพั ยอมร และบญุ รงุ อรยิ ชยั กลุ [6] กลาววา … Cornuelle and Gronefeld [7] stated that…

42 ปรญิ ญา เลิศสินไทย กนั ยา ปาละววิ ธั น และวรรธนะ ชลายเดชะ [8] กลาววา … Brumfit, Robert and Richards [9] conducted… ไพโรจน ศรีอรณุ และคณะ [10] กลา ววา … Kitbunnadaj, et al. [11] suggested that… โดยทัว่ ไปเปน ที่ยอมรบั กนั วา ภาษาเปนกระเปา ใบใหญข องวัฒนธรรม [9]… 5. กรณอี างขอมลู เดียวกนั จากหลายแหลง อาจระบแุ ยกเปน รายแหลง ขอมลู หรืออา ง รวมกนั ตวั อยา ง พระยาอนุมานราชธน [12], นายตาํ รา ณ เมอื งใต [13], คณุ หญงิ กุหลาบ มลั ลกิ ะมาส [14] แสดงความเหน็ วา … Robinson and Munbuy [7], Brumfit, Robert and Richards [8] mentioned that… การเพม่ิ ปริมาณการใชย าในทางทผ่ี ิดมีผลกระทบตอ ความมนั่ คงของชาติ อยา งมาก [3, 4, 5] The increased drug abuse had an impact on the nation’s stability [10, 11, 12] กลาวโดยสรุป การเสนออัญพจนและการอางอิงแหลงที่มาเปนสิ่งท่ีผูจัดทําสารนิพนธ ตองใหความเอาใจใสทั้งความถูกตองนาเชื่อถือของเนื้อหาที่นํามาอาง และรูปแบบการเขียนอางอิง ซ่ึงตองเปนไปตามขอกําหนดของมหาวิทยาลัย ท้ังนี้ ผูจัดทําสารนิพนธพึงเขาใจวา รูปแบบการ เรียบเรียงอัญพจนและการอางอิงท่ีกําหนดเปนแบบแผนในแตละสถาบัน แมจะมีหลักการและ โครงสรา งสําคญั เชนเดียวกนั แตก ม็ กั มีความแตกตา งกันในรายละเอียด จึงไมอาจยึดถือสารนิพนธ ของตางสถาบันเปนแบบได และแมจะยึดถือรูปแบบของสารนิพนธท่ีจัดทําในสถาบันเดียวกันเปน ตัวอยางก็อาจผิดพลาดได เพราะอาจเปนฉบับท่ีละเลยการใชรูปแบบที่ถูกตอง ผูจัดทําสารนิพนธ จงึ ควรระมดั ระวงั ศึกษาและตรวจสอบรปู แบบท่ถี กู ตองจากคูมอื การจัดทําสารนิพนธที่มหาวิทยาลัย กาํ หนดขน้ึ เปน สําคญั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook