พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎร์รม่ เยน็ เปน็ สุขศานต์ “...คนไทยทุกคนควรจะได้ย้อนคิดถึงบรรพชนของเราโดยลำ� ดบั มาวา่ ทา่ นไดต้ ง้ั บา้ นตงั้ เมอื งคอื ประเทศไทยในทุกวันนี้ ขึ้นมาได้อย่างไร ได้สร้างสมความเจริญ ความดีงาม และรักษาไว้ให้ถาวรมาถึงทุกวันนี้ได้ด้วยความล�ำบากยากเข็ญเพียงไหน โดยที่ต้องเผชิญกับภัยอันตรายใหญ่หลวงมาหลายยคุ หลายสมัย การทค่ี นไทยสามารถรักษาอิสรภาพและความมั่นคงมาได้ยืนยาวถึงเพียงน้ี ก็เพราะมีจิตส�ำนึกมั่นอยู่ ว่าตนมีเผ่าพันธุ ์มชี าตปิ ระเทศ เปน็ อนั หน่งึ อนั เดยี วกัน เปน็ ผมู้ ีอิสรภาพสมบูรณเ์ ต็มเป่ยี มมาโดยตลอด จึงท�ำใหเ้ กดิ ความพรอ้ มเพรยี งกล้าแขง็ ที่จะต่อส้เู พื่ออสิ รภาพและความเปน็ ไทยทั้งมีความเมตตา รักใคร่ สามัคคีปรองดองกันบ�ำเพ็ญกรณีย์ท้ังปวงเพ่ือประโยชน์เพื่อความเจริญมั่นคงแห่งส่วนรวม...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส ขน้ึ ปีใหม่ พทุ ธศกั ราช ๒๕๒๕ วนั พฤหสั บดี ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๒๔ 49
พระบรมราโชวาทน้อมนำ�ราษฎรร์ ่มเยน็ เปน็ สุขศานต์ ความกตญั ญกู ตเวทคี อื สภาพจติ ทรี่ บั รคู้ วามดี และยนิ ดที ่ีจะกระท�ำความดีโดยศรัทธามั่นใจ คนมีกตัญญูจึงไม่ลบล้างท�ำลายความดี และไมล่ บหลู่ผู้ท่ีได้ทำ� ความดีมาก่อน หากเพียรพยายามรักษาความดีทั้งปวงไว้ให้เป็นพ้ืนฐานในความประพฤติปฏิบัติทุกอย่างของตนเอง เมื่อเต็มใจและจงใจกระทำ� ทกุ สง่ิ ทกุ อยา่ งดว้ ยความดดี งั น้ี กย็ อ่ มมแี ตค่ วามเจรญิม่นั คงและรงุ่ เรืองก้าวหน้ายงิ่ ๆ ขนึ้ จงึ อาจกลา่ วไดว้ ่าความกตัญญูกตเวทีเป็นคุณสมบัติอันส�ำคัญย่ิงส�ำหรับนักพัฒนาและผู้ปรารถนาความเจริญก้าวหนา้ ทุกคน พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะกรรมการวันกตัญญู กตเวที สภาสังคมสงเคราะห์แห่งประเทศไทย เพื่อเชิญลงพิมพ์ ในหนังสือท่ีระลึกวันกตัญญูกตเวที และเชิญออกเผยแพร่แก่ ประชาชนเป็นแนวทางปฏิบัติ ณ พระต�ำหนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวังดุสติ วันศกุ ร์ ท่ี ๘ เมษายน ๒๕๒๖50
พระบรมราโชวาท น้อมนำ�ราษฎร์รม่ เย็นเป็นสขุ ศานต์ “...การท่ีคนสมัยใหม่บอกว่าคนสมัยเก่ามีความรู้นอ้ ยกอ็ าจเปน็ จรงิ แลว้ กค็ นสมยั ใหมจ่ งึ เรยี กวา่ ดถู กู หรอืเหยยี ดหยามคนสมยั เกา่ ได้ มสี ทิ ธ์ิ แตว่ า่ ถา้ พดู ตามความจริงแล้ว สิทธิ์ท่ีจะเหยียดหยามคนรุ่นเก่าก็ไม่ควรจะมีดว้ ยเหตวุ า่ คนรุน่ เกา่ นเ้ี องทท่ี ำ� ใหค้ นรุ่นใหมเ่ กดิ ขน้ึ มาได้ท้ังท�ำให้คนรุ่นใหม่น้ีมีโอกาสได้หาความรู้สร้างตัวข้ึนมาอันน้ีคนเก่าก็น่าจะมีความภูมิใจได้ และคนใหม่ก็น่าจะส�ำนกึ วา่ คนเกา่ นมี้ พี ระคณุ ...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ท่ีเข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชยั มงคล ในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลา ดสุ ดิ าลยั พระราชวังดสุ ติ วันอาทติ ย์ ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๑ 51
ทรงสอนนกั เรียนวงั ไกลกงั วล
ใฝห่ าความรู้ หมนั่ ศึกษาเลา่ เรียน ทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม
พระบรมราโชวาทนอ้ มนำ�ราษฎรร์ ่มเย็นเป็นสขุ ศานต์ “...การศึกษาเล่าเรียนเป็นเรื่องที่ไม่มีส้ินสุด ผปู้ รารถนาความเจรญิ ในการประกอบกจิ การงาน จะตอ้ งหมน่ั เอาใจใสแ่ สวงหาความรใู้ หเ้ พม่ิ พนู อยเู่ สมอ มฉิ ะนนั้จะกลายเป็นผทู้ ล่ี ้าสมัยหย่อนสมรรถภาพไป อีกประการหนง่ึ ความเจรญิ ของบา้ นเมอื งนน้ั ใชว่ า่ จะราบรน่ื ไปตลอด โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิท่ีสามารถปราดเปร่ืองแต่เท่าน้ัน ก็หาไม่ ต้องอาศัยความสามัคคีกลมเกลียวเป็นน้�ำหน่ึง ใจเดียว รว่ มกนั คดิ อ่านแกไ้ ขปัญหาและอุปสรรคตา่ ง ๆ ให้ลุล่วงไปด้วยดีอีกทางหน่ึง จึงจะเกิดประโยชน์โดยสมบรู ณ์แกป่ ระเทศชาต.ิ ..” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ วันพฤหัสบดี ท่ี ๒๓ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๐๔54
พระบรมราโชวาท น้อมนำ�ราษฎรร์ ่มเยน็ เป็นสุขศานต์ “...ความรู้ในวิชาการเป็นส่ิงหน่ึงที่จะท�ำให้สามารถฟันฝา่ อุปสรรคได้ และทำ� ให้เป็นคนทม่ี เี กยี รติ เป็นคนที่สามารถ เปน็ คนทจี่ ะมคี วามพอใจไดใ้ นตวั วา่ ทำ� ประโยชน์แก่ตนเองและแก่ส่วนรวม นอกจากวิชาความรู้ก็จะต้องฝึกฝนในสิ่งที่ตัวจะต้องปฏิบัติให้สอดคล้องกับสังคมสอดคล้องกับสมัย และสอดคล้องกับศีลธรรมที่ดีงาม ถ้าได้ท้ังวิชาการ ท้ังความรู้รอบตัวและความรู้ในชีวิต กจ็ ะท�ำให้เปน็ คนทค่ี รบคน ท่จี ะภมู ิใจได้...” พระบรมราโชวาท พระราชทานเนอ่ื งในโอกาสวนั ปดิ ภาคเรยี น ของโรงเรียนจิตรลดา ปีการศึกษา ๒๕๑๔ ณ ศาลาผกาภิรมย์ พระราชวังดสุ ติ วนั เสาร์ ท่ี ๒๕ มนี าคม ๒๕๑๕ 55
พระบรมราโชวาทน้อมน�ำ ราษฎรร์ ม่ เยน็ เปน็ สุขศานต์ “...วิทยาการทุกอย่างมิใช่มีข้ึนในคราวหนึ่งคราวเดียวได้ หากแต่ค่อยๆ สะสมกันขึ้นมาทีละเล็กละน้อย จนมากมายกวา้ งขวาง การเรยี นวทิ ยาการกเ็ ชน่ กนั บคุ คลจำ� จะตอ้ งคอ่ ยๆ เรยี นรใู้ หเ้ พม่ิ พนู ขน้ึ ตามลำ� ดบั ใหค้ วามร้ ูท่ีเพ่ิมพูนขึ้นน้ันเกิดเป็นรากฐานรองรับความรู้ท่ีสูงข้ึน ลกึ ซ้งึ กว้างขวางขึน้ ต่อๆ ไป...” พระบรมราโชวาท ในพิธพี ระราชทานปริญญาบัตรแกผ่ ้สู �ำเรจ็ การศึกษาจากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประจ�ำปีการศึกษา ๒๕๑๗ – ๒๕๑๘ ณ มหาวิทยาลัยศรนี ครินทรวโิ รฒ บางแสน วนั พุธ ท่ี ๓๐ มิถุนายน ๒๕๑๙56
พระบรมราโชวาท น้อมนำ�ราษฎร์รม่ เยน็ เป็นสุขศานต์ “...การศึกษาเป็นปัจจัยส�ำคัญในการสร้างและพัฒนา ความรู้ ความคดิ ความประพฤติ และคณุ ธรรมของบคุ คล สงั คมและบ้านเมืองใดให้การศึกษาท่ีดีแก่เยาวชนได้อย่างครบถ้วนล้วนพอเหมาะกันทุก ๆ ด้าน สังคมและบ้านเมืองน้ันก็จะมีพลเมืองท่ีมีคุณภาพ ซึ่งสามารถธ�ำรงรักษาความเจริญม่ันคงของประเทศชาติไว้ และพัฒนาให้ก้าวหน้าต่อไปได้โดยตลอด ผู้มีหน้าที่จัดการศึกษาทุก ๆ คนจึงต้องถือว่า ตัวของท่านมีความรับผิดชอบต่อชาติบ้านเมืองอยู่อย่างเต็มที่ ในอันท่ีต้องปฏิบัติหน้าที่ให้เที่ยงตรง ถูกต้อง สมบูรณ์โดยเต็มก�ำลัง จะประมาทหรอื ละเลยมไิ ด้ เพราะถา้ ปฏบิ ตั ใิ หผ้ ดิ พลาดบกพรอ่ งไปด้วยประการใด ๆ ผลร้ายอาจเกิดขึ้นแก่ส่วนรวมและ ประเทศชาติได้มากมาย ทุกฝ่ายจะต้องช่วยกันสร้างเสริมรากฐานชีวิตอันแข็งแรงสมบูรณ์ให้แก่เยาวชน ทั้งในด้านรา่ งกาย จติ ใจ และความรคู้ วามฉลาดสำ� คญั ทสี่ ดุ จะตอ้ งฝกึ ฝนอบรมให้รู้จักผิดชอบช่ัวดี รู้จักตัดสินใจด้วยเหตุผล และรู้จักสร้างสรรคต์ ามแนวทางที่สจุ ริตยุติธรรม...” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ครูและนักเรียนท่ีได้รับ พระราชทานรางวัลฯ ณ ศาลาดุสิดาลยั พระราชวังดุสิต วนั จนั ทร์ ที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๒๔ 57
พระบรมราโชวาทน้อมนำ�ราษฎร์ร่มเย็นเป็นสุขศานต์ “...ความรู้ที่ใช้ปฏิบัติงานนั้น นอกจากความรู้ทางวิชาการที่กล่าวแล้ว ยังมีความรู้ส�ำคัญอีกอย่างหนึ่ง ท่ีเป็นของคู่กัน ได้แก่ความรู้ที่เกิดจากประสบการณ์ซึ่งอธิบายได้ว่า ในชีวิตของคนเรา แต่ละคนต้องผ่านพบเรอ่ื งราวและเหตกุ ารณห์ ลายหลากมากมายมาตงั้ แตเ่ กดิหลายเรือ่ งหลายสงิ่ เป็นปญั หา ที่ตอ้ งนำ� มาขบคดิ หาเหตุผลความกระจา่ งจริง เพอื่ ยุติแกไ้ ข ประสบการณใ์ นการพิจารณาแก้ปัญหาเหล่าน้ี ย่อมสั่งสมเพ่ิมพูนขึ้นเป็นความรู้ความฉลาดอันกว้างขวางลึกซ้ึง ซ่ึงถ้ารู้จักน�ำมาปรบั ใชค้ วบคกู่ บั ความรทู้ างวชิ าการ ใหถ้ กู ถว้ นพอเหมาะพอดี ด้วยความเพ่งพินจิ โดยละเอยี ดรอบคอบแลว้ จะยงัประโยชน์แกก่ ารปฏิบัตงิ านอย่างวิเศษสุด...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ณ หอประชุมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วนั พฤหสั บดี ท่ี ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๓๒58
พระบรมราโชวาท น้อมนำ�ราษฎรร์ ม่ เยน็ เป็นสุขศานต์ “...การศึกษาค้นคว้าที่ส�ำคัญและจ�ำเป็นอย่างแรกคอื การศึกษาทางแนวลึก อนั ได้แก่การฝึกฝนคน้ ควา้ วชิ าเฉพาะของแต่ละคน ให้เชยี่ วช�ำนาญแตกฉานลึกซง้ึ และพฒั นากา้ วหนา้ พรอ้ มกนั นน้ั ในฐานะนกั ปฏบิ ตั ิ ซง่ึ จะตอ้ ง ท�ำงานและแก้ปัญหาต่าง ๆ ร่วมกบั ผูอ้ ืน่ ฝา่ ยอนื่ อยเู่ ป็นปรกติ ทกุ คนจ�ำเปน็ ตอ้ งศึกษาทางแนวกว้างควบค่กู นั ไปดว้ ย การศกึ ษาตามแนวกวา้ งน้ี หมายถงึ การศึกษาให้ร ู้ใหท้ ราบ ถงึ วทิ ยาการสาขาอนื่ ๆ ตลอดจนความรรู้ อบตวั เก่ียวกับสภาวะและวิวัฒนาการของบ้านเมืองและสังคมในทกุ แง่มุม เพือ่ ช่วยใหม้ องเหน็ ให้เขา้ ใจปัญหาตา่ ง ๆอยา่ งชดั เจนถกู ถว้ น และสามารถนำ� วชิ าการดา้ นของตน ประสานเข้ากับวิชาด้านอ่ืน ๆ ได้โดยสอดคล้องถูกต้องและเหมาะสม...” พระบรมราโชวาท ในพธิ ีพระราชทานปรญิ ญาบัตรแก่ผสู้ �ำเรจ็ การศกึ ษาจากสถาบนั เทคโนโลยรี าชมงคล ณ อาคารใหม่ สวนอมั พร วันพฤหัสบดี ที่ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๓๓ 59
พระบรมราโชวาทนอ้ มน�ำ ราษฎรร์ ม่ เย็นเป็นสขุ ศานต์ “...ผู้มุ่งหวังความดีและเจริญม่ันคงในชีวิต จะต้องไม่ละเลยการศึกษา ความรูท้ ่จี ะศึกษามอี ยูส่ ามส่วน คือความรู้วิชาการ ความรู้ปฏิบัติการ และความรู้คิดอ่านตามเหตุผลความเป็นจริง ซ่ึงแต่ละคนควรเรียนรู้ให้ครบเพ่ือสามารถน�ำไปใช้ประกอบกิจการงาน และแก้ปัญหาทั้งปวงไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวทิ ยาลัยมหดิ ล ณ อาคารใหม่ สวนอมั พร วนั พฤหสั บดี ที่ ๒ กรกฎาคม ๒๕๓๕60
พระบรมราโชวาท น้อมนำ�ราษฎร์ร่มเย็นเป็นสขุ ศานต์ “...การศึกษาในมหาวิทยาลัย ท่ีมุ่งเน้นให้บุคคลมีความรู้ความสามารถด้านวิชาการเป็นพื้นฐานส�ำหรับการประกอบการงานในชีวิตน้ัน ถือว่าเป็นการศึกษาในระบบ ผู้ศึกษาจะได้รับความรู้ถ่ายทอดจากครูบาอาจารย์ และจากการศึกษาค้นคว้าทางตำ� รบั ตำ� ราเปน็ หลกั ตอ่ เมอ่ื ไดอ้ อกไปทำ� การงาน ไดป้ ระสบเหตุการณแ์ ละปญั หาตา่ งๆ ใหต้ ้องขบคิดมากมายแล้ว จงึ เกดิความรคู้ วามเขา้ ใจทถี่ อ่ งแทใ้ นสง่ิ ทงั้ ปวง ทเ่ี รยี กวา่ ประสบการณ์ชีวิตเพิ่มขึ้น ประสบการณ์ในชีวิตนี้เป็นบ่อเกิดแห่งความรอบรู้และความฉลาดจัดเจนที่มีค่า ซ่ึงถ้าได้รู้จักน�ำมาใช้ด้วย ความรู้เท่าถึงเหตุผล และด้วยความรอบคอบระมัดระวังแล้ว จะยังประโยชนใ์ ห้แกต่ นเองและสังคมอย่างวิเศษสุด ดังน้ี การศึกษานอกระบบ หรือการศึกษาภายหลังส�ำเร็จจากมหาวิทยาลัย จึงมีความส�ำคัญย่ิงยวด ในการสร้างเสริม ผ้ผู า่ นการศึกษาในระบบมาแล้ว ให้มปี ญั ญาและความสามารถที่จะปรับตนใหเ้ ข้ากบั สภาวะแทจ้ ริงของชวี ิต พร้อมทัง้ ด�ำรงตนใหอ้ ยูใ่ นสังคมอย่างเปน็ สขุ และเจรญิ มัน่ คงได้…” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่บัณฑิต มหาวิทยาลยั ขอนแก่น ณ มหาวิทยาลยั ขอนแก่น วันพฤหัสบดี ท่ี ๑๖ ธนั วาคม ๒๕๓๖ 61
ทรงเวียนเทยี น เน่อื งในวนั วสิ าขบชู า ณ วดั พระศรรี ตั นศาสดาราม
รกั ษาวัฒนธรรมประเพณอี ันดงี าม
พระบรมราโชวาทนอ้ มนำ�ราษฎรร์ ม่ เย็นเปน็ สขุ ศานต์ “...การสร้างอาคารสมัยน้ี คงจะเป็นเกียรติส�ำหรับผ้สู ร้างคนเดียว แต่เรอื่ งโบราณสถานน้ันเป็นเกียรติของชาติ อิฐเก่าๆ แผ่นเดียวก็มีค่าควรที่จะช่วยกันรักษาไว้ ถา้ เราขาดสโุ ขทยั อยธุ ยา และกรงุ เทพฯ แลว้ ประเทศไทยก็ไม่มีความหมาย ไม่ควรจะเอาของใหม่ไปปนกับของเก่า ควรจะรกั ษาของเกา่ ไวเ้ พราะเปน็ เร่ืองเกี่ยวกบั จิตใจของพลเมือง และส่ิงเหล่านี้เป็นมรดกตกทอดมาจากบรรพบรุ ุษ จงึ ควรรักษาไว้...” พระราชด�ำรัส ในโอกาสที่เสด็จพระราชด�ำเนินเปิด พพิ ธิ ภณั ฑสถานแหง่ ชาติ เจา้ สามพระยา จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา ในขณะประทับ ณ พระทนี่ ่งั เย็น วันอังคาร ที่ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๐๔64
พระบรมราโชวาท น้อมนำ�ราษฎรร์ ม่ เยน็ เปน็ สุขศานต์ “...พูดถึงเรื่องภาษาว่า เป็นสมบัติของชาติท่ีควรรักษาและส่งเสริม ภาษานั้นเป็นอุปกรณ์ส�ำคัญส�ำหรับหาความรู้ ซ่ึงหมายถึงความก้าวหน้าของคน อุปกรณ์ส�ำคัญอีกอย่างหนึ่งก็คือประเพณี ประเพณีน้ันหมายถึงแบบแผน หรอื ขนบธรรมเนียมทปี่ ฏบิ ัตสิ บื ตอ่ กนั มา การสิ่งใดท่ีริเริ่มขึ้นแล้ว ได้รับความนิยมถือปฏิบัติตามกันต่อไป จัดว่าเป็นประเพณี คนเราจะด�ำเนินชีวิตก็ต้องมีแบบแผนเป็นหลัก เราจึงต้องมีประเพณีเป็นแนวปฏิบัติชาติไทยเราได้มีประเพณีท่ีดีงามมาแต่โบราณกาลบรรพบุรุษของเราได้ปฏิบัติสืบเนื่องมาหลายชั่วคนเมื่อตกทอดมาถึงเราเช่นน้ี เราควรจะรับไว้ด้วยความเคารพ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิต จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั ปีการศกึ ษา ๒๕๐๒ วันพฤหัสบดี ท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๐๓ 65
พระบรมราโชวาทนอ้ มน�ำ ราษฎร์รม่ เย็นเปน็ สุขศานต์ “...ประเพณีท้ังหลายย่อมมีประโยชน์ในการด�ำเนินชีวิตของแต่ละคน เรามปี ระเพณขี องชาติไทยเปน็ สมบัติเราควรจะยนิ ดีอย่างยงิ่ และชว่ ยกนั สง่ เสรมิ และรักษาไว้เพื่อความเจริญก้าวหนา้ ของประเทศ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิต จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย ปีการศกึ ษา ๒๕๐๒ วนั พฤหัสบดี ที่ ๒๑ เมษายน ๒๕๐๓66
พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎร์รม่ เย็นเปน็ สุขศานต์ “...โบราณวตั ถุ ศลิ ปวัตถุ และโบราณสถานท้งั หลาย น้ัน ล้วนเป็นของมีคุณค่าและจ�ำเป็นแก่การศึกษาค้นคว้า ในทางประวตั ศิ าสตร์ ศิลป และโบราณคดี เปน็เครื่องแสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองของชาติไทยท่ีมีมาแต่อดีตกาล สมควรจะสงวนรักษาให้คงทนถาวร เปน็ สมบตั ิส่วนรวมของชาตไิ ว้ตลอดกาล...” พระราชดำ� รสั ในการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เปดิ พพิ ธิ ภณั ฑสถาน แห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา วันอังคาร ที่ ๒๖ ธนั วาคม ๒๕๐๔ 67
พระบรมราโชวาทน้อมนำ�ราษฎร์รม่ เยน็ เปน็ สขุ ศานต์ “...การรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีเก่านั้นเป็นของดี แต่ถ้าประเพณีบางอย่างไม่สะดวกแก่การปฏิบัติไม่เหมาะแก่กาละ ก็ควรจะจัดดัดแปลงบ้าง การที่จะเปล่ียนแปลงประเพณีใด ๆ หรือจะรับเอาประเพณีของชาติอน่ื ใดมาใชน้ ้ัน ต้องพจิ ารณาใหร้ อบคอบถ่องแท้เสยีก่อนวา่ เหมาะสมหรือไม่ประการใด เปลย่ี นแปลงแลว้ จะสะดวกกวา่ เกา่ หรือไม่ จะเป็นประโยชนอ์ ยา่ งไร...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรแก่นิสิต จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั วนั พฤหสั บดี ท่ี ๕ กรกฎาคม ๒๕๐๕68
พระบรมราโชวาท นอ้ มนำ�ราษฎร์รม่ เย็นเป็นสขุ ศานต์ “...ภาษาไทยน้ัน เป็นเคร่ืองมืออย่างหน่ึงของชาติภาษาทง้ั หลายเปน็ เครอ่ื งมอื ของมนษุ ยช์ นดิ หนงึ่ คอื เปน็ทางสำ� หรับแสดงความคดิ เห็นอยา่ งหนึ่ง เป็นสงิ่ สวยงามอยา่ งหนึง่ เช่น ในทางวรรณคดี เป็นต้น ฉะน้นั จงึ จ�ำเปน็ต้องรักษาเอาไว้ให้ดี ประเทศไทยน้ันมีภาษาของเราเองซ่งึ ตอ้ งหวงแหน ประเทศใกล้เคยี งของเราหลายประเทศมีภาษาของตนเอง แต่ว่าเขาก็ไม่ค่อยแข็งแรง เขาต้องพยายามหาทางท่ีจะสร้างภาษาของตนเองไว้ให้มั่นคงเรามีโชคดที มี่ ีภาษาของตนเองแตโ่ บราณกาล จงึ สมควรอยา่ งยิ่งที่จะรักษาไว.้ ..” พระราชดำ� รัส ในการประชมุ ทางวิชาการของชุมนมุ ภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันอาทิตย์ ท่ี ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๐๕ 69
พระบรมราโชวาทนอ้ มนำ�ราษฎรร์ ม่ เยน็ เปน็ สุขศานต์ “...ความสามัคคีและความถือตัวว่าเป็นไทย ท่ีเป็น เหตุชักน�ำท่านท้ังหลายให้มาประชุมกันได้โดย พรอ้ มเพรยี งกันน้ี เป็นสมบตั มิ คี า่ สงู สดุ เพราะเปน็ มรดกทเี่ ราไดร้ บั สืบต่อมาจากบรรพบุรุษ และเปน็ ปจั จัยสำ� คัญท่ีท�ำให้เรารวมกันอยู่ได้ ให้เราด�ำรงชาติประเทศและเอกราชสืบมาได้ ทุกคนจะต้องรักษาความเป็นไทยและความสามคั คนี ้ีไวใ้ ห้ม่ันคงในที่ทกุ แหง่ ...” พระบรมราโชวาท พระราชทานสามัคคีสมาคม ในพระบรม ราชปู ถมั ภ์ ในการประชุมใหญ่ประจ�ำปี ครง้ั ท่ี ๕๖ วันที่ ๒ - ๑๐ สิงหาคม ๒๕๑๒70
พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎรร์ ่มเย็นเปน็ สุขศานต์ “...ถึงอย่างไรความเป็นไทยนั้นก็เป็นสมบัติอย่างหนึ่งท่ีมีค่าประดับโลกอยู่ ไม่ควรท่ีใครจะละเลยท�ำลายเสยี เพราะจะทำ� ใหส้ ญู เสยี สมบตั มิ คี า่ นนั้ ไป คนทจี่ ะรกั ษาความเป็นไทยได้ม่ันคงที่สุด ดีและเหมาะท่ีสุด ไม่มีใครอื่นนอกจากคนไทย เพราะฉะน้นั ไมว่ ่าจะอยู่ ณ แหง่ ใด คนไทยมหี นา้ ทต่ี อ้ งรกั ษาความเปน็ ไทยเสมอ ทง้ั ทางวตั ถุทางจรยิ ธรรม และภมู ิปัญญา...” พระบรมราโชวาท พระราชทานสมาคมนกั เรยี นไทยในประเทศ ญีป่ ุน่ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ ในการประชมุ สามัญประจำ� ปี ณ ห้อง ประชมุ สมาพนั ธเ์ ยาวชนญป่ี นุ่ กรงุ โตเกยี ว ประเทศญป่ี นุ่ วนั อาทติ ย์ ท่ี ๒๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗ 71
มศี ลี ธรรม รกั ษาความสตั ย์หวงั ดตี ่อผ้อู ื่น เผอ่ื แผแ่ ละแบ่งปนั
พระบรมราโชวาทน้อมนำ�ราษฎรร์ ม่ เยน็ เปน็ สขุ ศานต์ “...การด�ำเนินชีวิตโดยใช้วิชาการอย่างเดียวยังไม่เพียงพอ จะต้องอาศัยความรู้รอบตัว และหลักศีลธรรมประกอบดว้ ยผทู้ มี่ คี วามรดู้ ี แตข่ าดความยง้ั คดิ นำ� ความร ู้ไปใช้ในทางมชิ อบ ก็เท่ากับเปน็ บคุ คลทเ่ี ปน็ ภยั แก่สังคมของมนุษย์ ฉะนน้ั ขอให้ทกุ คนจงดำ� รงชวี ิตและประกอบอาชีพ โดยอาศัยวิชาความรู้ที่ได้รับมาประกอบด้วยความยั้งคดิ ช่งั ใจ และศีลธรรมอันดีงาม เพอ่ื ความเจริญกา้ วหนา้ ของตนเองและของประเทศชาติ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลยั ธรรมศาสตร์ วนั จนั ทร์ ที่ ๑๘ กันยายน ๒๕๐๔74
พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎร์รม่ เย็นเป็นสขุ ศานต์ “...การทปี่ ระชาชนประสบเคราะหร์ า้ ยเมอ่ื ใด เคราะห์ร้ายน้ันไม่ใช่เฉพาะผู้ที่ประสบภัย เคราะห์ร้ายน้ันตกกับประชาชนท้ังประเทศ เพราะวา่ ถา้ ผูท้ ีเ่ คราะห์ร้ายโดยตรงไมไ่ ดร้ บั การชว่ ยเหลอื กท็ ำ� ใหค้ วามเดอื ดรอ้ นนน้ั แผม่ าสู่สว่ นอนื่ ของประเทศดว้ ย คนทกุ คนในชาตกิ เ็ ดอื ดรอ้ นดว้ ยการทจ่ี ะบรรเทาความเดอื ดรอ้ นกท็ ำ� ไดอ้ ยา่ งทที่ า่ นทำ� คอืผทู้ ยี่ งั พอมกี นิ อยู่ กค็ วรจะเผอื่ แผแ่ กผ่ ทู้ เี่ ดอื ดรอ้ นอยา่ งนี้ด้วยความสามัคคี ด้วยความเมตตา เราจะบรรเทาความเดอื ดรอ้ นสว่ นรวมได้ จะนำ� ความปกึ แผน่ แกบ่ า้ นเมอื งได้และเป็นกศุ ลดว้ ยเพราะวา่ ไปแผเ่ มตตา...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะกรรมการสมาคม กลุ่มอาชีพการเกษตรชลบุรี อ�ำเภอบ้านบึง จังหวัดชลบุรี ณ พระตำ� หนักจิตรลดารโหฐาน พระราชวงั ดสุ ติ วนั พฤหสั บดี ท่ี ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๑๓ 75
พระบรมราโชวาทน้อมนำ�ราษฎร์รม่ เย็นเป็นสุขศานต์ “...ความเจรญิ ของคนทัง้ หลาย ย่อมเกิดมาจากการประพฤติชอบ และการหาเลี้ยงชีพชอบเป็นหลักส�ำคัญผูท้ ี่จะสามารถประพฤตชิ อบ และหาเล้ยี งชีพชอบได้ด้วยนน้ั ยอ่ มจะตอ้ งมที ง้ั วชิ าความรู้ ทงั้ หลกั ธรรมทางศาสนาเพราะส่ิงแรกเปน็ ปัจจยั สำ� หรับใช้กระท�ำการงาน สิ่งหลงัเป็นปัจจัยส�ำหรับส่งเสริมความประพฤติ และการปฏิบัติงานใหช้ อบ คอื ใหถ้ กู ต้องและเปน็ ธรรม...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะครูโรงเรียนราษฎร์สอน ศาสนาอิสลาม ๔ จังหวัดภาคใต้ ณ มัสยิดกลาง จังหวัดปัตตานี วันองั คาร ท่ี ๒๔ สงิ หาคม ๒๕๑๙76
พระบรมราโชวาท นอ้ มน�ำ ราษฎรร์ ่มเยน็ เป็นสุขศานต์ “...สังคมใดก็ตาม ถ้ามีความเอื้อเฟื้อเก้ือกูลกันด้วยความมุ่งดีมุ่งเจริญต่อกัน สังคมนั้นย่อมเต็มไปด้วยไมตรีจติ มติ รภาพ มคี วามรม่ เย็นเป็นสุข น่าอย่.ู ..” พระราชดำ� รสั พระราชทานเพอื่ เชญิ ลงพมิ พ์ในนติ ยสารทรี่ ะลกึ ครบ ๓๖ ปี ของสโมสรไลออนสแ์ หง่ กรงุ เทพฯ ในพระบรมราชปู ถมั ภ์ วนั ศกุ ร์ ที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๓๘ 77
พระบรมราโชวาทนอ้ มน�ำ ราษฎร์รม่ เย็นเป็นสขุ ศานต์ “...คุณธรรมขอ้ หนง่ึ ทยี่ ังมอี ยู่อย่างบริบรู ณใ์ นจิตใจของคนไทย กค็ อื การให้ การใหน้ ี้ ไมว่ า่ จะใหส้ ง่ิ ใด แกผ่ ใู้ ด โดยสถานใดก็ตาม ล้วนเป็นส่ิงท่ีพึงประสงค์อย่างย่ิงเพราะเปน็ เครอ่ื งประสานไมตรอี ยา่ งสำ� คญั ระหวา่ งบคุ คลกบั บคุ คล และทำ� ใหส้ งั คมมคี วามมนั่ คงเปน็ ปกึ แผน่ ดว้ ยสามคั คธี รรม นอกจากนน้ั การใหย้ งั เปน็ บอ่ เกดิ แหง่ ความสขุ อีกดว้ ย กลา่ วคือ ผู้ให้กม็ คี วามสุข มคี วามอิ่มเอบิ ใจ ผู้รับก็มีความสุข มีก�ำลังใจ สังคมส่วนรวมตลอดถึงประเทศชาติ กม็ ีความผาสุก มีความร่มเย็น...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทย ในโอกาส ขน้ึ ปีใหม่ พุทธศกั ราช ๒๕๔๖ วนั องั คาร ที่ ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๔๕78
พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎรร์ ม่ เยน็ เป็นสขุ ศานต์ “...อยา่ งไรกต็ ามเหตตุ า่ งๆ ทงั้ น้นั ได้ทำ� ให้เห็นแจง้ถงึ นำ�้ ใจของพวกเราอยา่ งเดน่ ชดั วา่ ทกุ คนในผนื แผน่ ดนิ ไทย ทงั้ ทหาร ต�ำรวจ และพลเรอื น มีความสามคั คีกันต่างห่วงใยกันด้วยใจจริง ได้แสดงเจตนารมณ์ท่ีจะอยู่ร่วมกันโดยสันติสุข และเมื่อเกิดภัยพิบัติ คนไทยไม่ทิ้งกัน ต่างพร้อมเพรียงกันเข้าปฏิบัติช่วยเหลือทันที ด้วยความเสียสละและเมตตาจริงใจ ไม่เลือกว่าเป็นชาวไทยหรือชาวต่างประเทศ...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาส ขึน้ ปีใหม่ พุทธศกั ราช ๒๕๔๘ วันศุกร์ ท่ี ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๔๗ 79
พระบรมราโชวาทน้อมนำ�ราษฎร์ร่มเยน็ เป็นสขุ ศานต์ “...ความเมตตาปรารถนาดีต่อกันนี้ เป็นปัจจัยอย่างส�ำคัญ ท่ีจะยังความพร้อมเพรียงให้เกิดมีข้ึน ท้ังในหมู่คณะและในชาติบ้านเมือง และถ้าคนไทยเรายงั มคี ณุ ธรรมข้อน้ีประจ�ำอยู่ในจิตใจ กม็ คี วามหวังไดว้ า่ บา้ นเมอื งไทยไมว่ า่ จะอยใู่ นสถานการณใ์ ด ๆ กจ็ ะอยรู่ อด ปลอดภัย และด�ำรงมั่นคงต่อไปได้ตลอดรอดฝั่งอย่างแนน่ อน...” พระราชด�ำรัส ในการเสด็จออกมหาสมาคม ในงานพระราช พธิ ีเฉลิมพระชนมพรรษา ณ พระท่ีนง่ั อนนั ตสมาคม วนั พธุ ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๕80
พระบรมราโชวาท นอ้ มนำ�ราษฎร์ร่มเยน็ เป็นสขุ ศานต์ “...ขา้ พเจา้ จงึ ปรารถนาอยา่ งยง่ิ ทจี่ ะเหน็ คนไทยเราได้ตั้งจิตต้ังใจ ให้ม่ันอยู่ในความเมตตาและหวังดีต่อกันดแู ลเอาใจใสก่ นั ชว่ ยเหลือเกือ้ กูลกนั ใหก้ �ำลงั ใจแกก่ ันและกนั ผกู พนั กนั ไวฉ้ นั ญาตแิ ละฉนั มติ ร ทกุ คนทกุ ฝา่ ยจะไดร้ ว่ มมอื รว่ มความคดิ อา่ นกนั สรา้ งสรรคค์ วามสขุ ความเจรญิ มน่ั คง ให้แก่ตน แก่ชาติไดด้ งั ที่ต้งั ใจปรารถนา...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาส ขึน้ ปีใหม่ พุทธศักราช ๒๕๕๖ วันอังคาร ท่ี ๑ มกราคม ๒๕๕๖ 81
เข้าใจ เรยี นรู้การเปน็ประชาธิปไตย อนั มีพระมหากษัตรยิ ์ ทรงเป็นประมุขที่ถูกต้อง
พระบรมราโชวาทน้อมนำ�ราษฎรร์ ่มเยน็ เปน็ สุขศานต์ “...การมีเสรภี าพนน้ั เปน็ ของดีอยา่ งย่ิง แต่เมอ่ื จะใช้จ�ำเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวังและความรับผิดชอบมิให้ล่วงละเมิดเสรีภาพของผู้อื่น ที่เขาก็มีอยู่เท่าเทียมกัน ท้ังมิให้กระทบกระเทือนถึงสวัสดิภาพและความเป็นปรกติสุขของส่วนรวมด้วย มิฉะน้ัน จะท�ำให้มีแต่ความยุ่งยาก จะท�ำให้สังคมและชาติประเทศต้องแตกสลายจนสน้ิ เชงิ ...” พระราชดำ� รัส พระราชทานแกผ่ บู้ งั คับบญั ชาลกู เสือ ในโอกาส เขา้ เฝา้ ทลู ละอองธลุ พี ระบาท และรบั พระราชทานเหรยี ญลกู เสอื สดดุ ี ณ ศาลาดสุ ิดาลยั พระราชวังดุสติ วันศุกร์ ท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔84
พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎร์ร่มเย็นเปน็ สุขศานต์ “...ในบ้านเมืองน้ัน มีทั้งคนดีและคนไม่ดี ไม่มีใครจะท�ำให้ทุกคนเป็นคนดีได้ท้ังหมด การท�ำให้บ้านเมอื งมีความปรกติสุขเรียบร้อย จึงมิใช่การท�ำให้ทุกคนเป็นคนดี หากแต่อยทู่ กี่ ารส่งเสรมิ คนดี ใหค้ นดีไดป้ กครองบา้ นเมอื ง และควบคุมไมใ่ ห้คนไม่ดมี ีอ�ำนาจ ไม่ให้ก่อความเดือดรอ้ นวนุ่ วายได้...” พระบรมราโชวาท ในพิธีเปิดงานชุมนุมลูกเสือแห่งชาติ ครัง้ ท่ี ๖ ณ ค่ายวชิราวธุ อำ� เภอศรรี าชา จังหวดั ชลบรุ ี วันพฤหัสบดี ท่ี ๑๑ ธนั วาคม ๒๕๑๒ 85
พระบรมราโชวาทน้อมนำ�ราษฎรร์ ่มเยน็ เปน็ สขุ ศานต์ “...ท่านเป็นผู้ที่ได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับราษฎรใน ทอ้ งทข่ี องทา่ นมาอยา่ งใกลช้ ดิ ยอ่ มเขา้ ถงึ จติ ใจและความตอ้ งการของเขาเหลา่ น้นั ไดด้ ีกวา่ ผทู้ อ่ี ยู่ห่างไกล ราษฎรย่อมจะต้องหวังพ่ึงท่านเม่ือมีความเดือดร้อน ฉะนั้นขา้ พเจา้ จงึ หวงั วา่ ทา่ นทง้ั หลาย จะเอาใจใสด่ แู ลความเปน็อยขู่ องเขาใหม้ าก และทำ� ตวั เองใหเ้ ปน็ ทพ่ี ง่ึ แกเ่ ขา สมกบัท่เี ขาได้ไว้วางใจเลอื กทา่ นขึ้นมาเปน็ หัวหน้า...” พระราชด�ำรัส พระราชทานในการอบรมก�ำนันผู้ ใหญ่บ้าน ในเขตชายแดนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ วันอาทิตย์ ที่ ๑๒ สงิ หาคม ๒๕๐๕86
พระบรมราโชวาท น้อมน�ำ ราษฎรร์ ่มเย็นเปน็ สุขศานต์ “...การรกั ษาบา้ นเมอื งนนั้ มแี บง่ ไดเ้ ปน็ ภารกจิ หลายอย่าง ภารกจิ อย่างหน่ึงกค็ ือการตอ่ สเู้ ชิงรบซงึ่ เปน็ วิชาท่ีสำ� คญั และวชิ าทค่ี รบถว้ นในตวั เปน็ หนา้ ทเี่ ตม็ เวลาอยแู่ ลว้แต่ว่าคนไทยเราจะต้องท�ำหน้าท่ีครบถ้วนย่ิงกว่าน้ีอีก คือจะต้องเป็นผู้ท่ีเป็นคนไทย คนไทยนั้นคือคนที่จะป้องกันอธิปไตยของตัวและจะต้องส่งเสริมให้ทุกคน รว่ มกนั ในการปอ้ งกนั อธปิ ไตย จะตอ้ งเปน็ ผทู้ ส่ี ง่ เสรมิ ให้คนในชาตมิ คี วามอยดู่ กี นิ ดี และจะตอ้ งพยายามถา่ ยทอดวชิ าการ วธิ คี วามคดิ ใหแ้ กท่ กุ คนทม่ี หี นา้ ทท่ี จ่ี ะสรา้ งความอย่ดู ีกนิ ดนี ี.้ ..” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่คณะครูฝึกต�ำรวจ ตระเวนชายแดน ณ ศาลาเรงิ วงั ไกลกงั วล วนั พธุ ท่ี ๒๑ พฤษภาคม ๒๕๑๘ 87
พระบรมราโชวาทน้อมน�ำ ราษฎรร์ ม่ เยน็ เปน็ สุขศานต์ “…การปกครองน้ีในประเทศหนึ่ง ประเทศหนึ่งก็ต้องมีการมอบฉันทะให้มีผู้ท่ีปกครอง หมายถึงผู้ที่จะเข้ามาจดั การด�ำเนนิ งานต่าง ๆ ของประเทศ แตล่ ะคน ๆ กอ็ ยากจะมาบอกวา่ ตวั ตอ้ งการทำ� อยา่ งน้ี ๆ ๕๕ ลา้ นคนพดู พรอ้ มกนั หมดทง้ั ๕๕ ลา้ นคน กฟ็ งั ไมร่ เู้ รอ่ื ง เวลาพดูพรอ้ มกนั ๑๐ คน กฟ็ งั ไมร่ เู้ รอ่ื งอยแู่ ลว้ พดู กนั ๕๕ ลา้ นคน กย็ ง่ิ ไมร่ เู้ รอ่ื งใหญ่ แลว้ กท็ ไ่ี มร่ เู้ รอ่ื งเพราะวา่ ๕๕ ลา้ นคนเขาอาจยงั ไมท่ ราบวา่ ปญั หาคอื อะไร เมอื่ เขาพดู กนั กต็ อ้ งพูดบ้าง เพราะต้องพูดก็พูด เสียงจึงหึ่งอึงคะนึงไปหมดไม่รู้เร่ือง ฉะน้ันถึงต้องมีผู้แทนของปวงชนซ่ึงตามหลักของการปกครองก็ตอ้ งมผี แู้ ทนราษฎร…” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชยั มงคล ในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ณ ศาลา ดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ติ วนั พธุ ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔88
พระบรมราโชวาท นอ้ มนำ�ราษฎรร์ ม่ เยน็ เปน็ สขุ ศานต์ “...ผู้แทนของปวงชนน้ัน ถ้าเป็นผู้แทนของปวงชนจรงิ ๆ หมายความว่าประชาชน ๕๕ ลา้ นคน หรอื อยา่ งน้อยผู้ที่มีสทิ ธิ์เลอื กตงั้ สามารถชไ้ี ดว้ ่า “ถ้าคนนพ้ี ดู เขาพดู แทนเรา ผแู้ ทนของเรา พดู แทนเรา” ถา้ เปน็ อยา่ งนไ้ี ด้ก็ไมต่ ้องมีปัญหาอะไรเลย แตว่ า่ โดยมากจะไม่เป็นอยา่ งน้นั เพราะวธิ กี ารไม่ถูก ประเทศตา่ ง ๆ ในโลกมวี ธิ ตี า่ ง ๆ กนั ในการจดั ระเบยี บ ให้ปวงชนไดอ้ อกเสยี งเลอื กผแู้ ทนของตน...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ที่เข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชยั มงคล ในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลา ดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ติ วนั พธุ ท่ี ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔ 89
พระบรมราโชวาทน้อมน�ำ ราษฎรร์ ่มเยน็ เปน็ สุขศานต์ “...ทุก ๆ ส่ิงมีชีวิต และประเทศไทยก็เป็นประเทศท ี่มีชีวติ ระเบียบการอะไรก็เปลี่ยนแปลงได้ แลว้ ถา้ เปล่ียนโดยวิธีพูดกันรู้เรื่อง คือเจรจากันอย่างถูกหลักวิชาที่แท้ ท่ีสูงกว่าหลักวิชาในต�ำรา ก็จะหมดปัญหา แต่ไม่ใชว่ ่าเปลย่ี นไปแล้ว กเ็ ปล่ียนอย่างตายตัวไปเลย เมื่อสถานการณ์ไม่อ�ำนวย ก็เปล่ียนต่อไปได้ โดยต้องไม่ทะเลาะกันอยา่ งหนกั จนกระทัง่ ท�ำใหเ้ สียหาย จนท�ำให้ประเทศไทยกลบั เปน็ ประเทศท่ลี ้าหลัง...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่คณะบุคคลต่างๆ ท่ีเข้าเฝ้าฯ ถวายพระพรชัยมงคล ในโอกาสวันเฉลมิ พระชนมพรรษา ณ ศาลา ดสุ ดิ าลยั สวนจติ รลดา พระราชวงั ดสุ ติ วนั พธุ ที่ ๔ ธนั วาคม ๒๕๓๔90
พระบรมราโชวาท น้อมนำ�ราษฎร์ร่มเย็นเปน็ สขุ ศานต์ “...ค�ำว่าพอสมควรน้ันเป็นหัวใจของประชาธิปไตย เพราะว่าการเลือกตั้งก็ตามหรือการถกเถียงอะไรทุกส่ิง ทุกอย่างก็ตาม ต้องได้ผลพอสมควรท้ังนั้น ถ้าไม่ได้ผลพอสมควร ได้ผลร้อยเปอร์เซ็นต์ เชื่อได้ว่ามีพลร่ม เช่ือได้ว่าทุจริต เชื่อได้ว่าไม่ใช่ประชาธิปไตย เพราะทุกคนมีผลประโยชน์ มีความต้องการแตกตา่ งกนั แลว้ กเ็ มอื่ มเี สรภี าพความแตกต่างน้ันอาจท�ำให้เบียดเบียนกันได้ ก็ต้องมีผลพอสมควร หมายความว่าเป็นท่ีพอใจของแต่ละคนพอสมควรจึงจะมีความเรียบร้อยมีความสงบ ถ้าแต่ละคนเห็นแก่ตัว มแี ตจ่ ะเอาผลเตม็ ทสี่ ำ� หรบั ตวั เชอื่ วา่ อกี คนหนง่ึ เขากเ็ ดอื ดรอ้ น ประชาธิปไตยหรือความเป็นอยู่ของสังคมของชาติอยู่ท่ี แตล่ ะคนมคี วามสขุ พอสมควร จะไดไ้ มใ่ ชเ่ บยี ดเบยี นกนั อยา่ งเปดิ เผย...” พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่นักศึกษามหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร ์ ในโอกาสเสดจ็ ฯ ไปทรงดนตรี ณ หอประชมุ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์ วันเสาร์ ที่ ๑ มนี าคม ๒๕๑๒ 91
มรี ะเบยี บวนิ ัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยร้จู กั เคารพผู้ ใหญ่
พระบรมราโชวาทนอ้ มนำ�ราษฎรร์ ่มเย็นเป็นสขุ ศานต์ “...ความรอบรู้ ความเช่ียวชาญ ท่ีอุตสาหะศึกษาฝึกหัดให้เพ่ิมทวีขึ้นทุกขณะนั้น เม่ือประกอบกันเข้ากับระเบียบวินัยที่ดีและความสุจริตบริสุทธิ์ใจจะรวมกันเป็นเสมอื นดงั เกราะสำ� หรบั ปอ้ งกนั ภยนั ตรายตา่ งๆ ใหแ้ กท่ า่ นและจะเป็นพละก�ำลังส่งเสริมให้ท่านสามารถปฏิบัติการเพ่ือความเจริญและความม่ันคงของชาติของบ้านเมืองได้อย่างดที สี่ ุด...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานกระบี่ และปริญญาบตั ร แก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษา จากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรยี นนายเรอื และโรงเรยี นนายเรืออากาศ วนั พฤหัสบดี ที่ ๖ มนี าคม ๒๕๒๓94
พระบรมราโชวาท นอ้ มน�ำ ราษฎร์รม่ เยน็ เป็นสุขศานต์ “...คนทอี่ ยรู่ วมกนั เปน็ หมมู่ าก แมไ้ ดช้ อ่ื วา่ เปน็ อสิ รชน ก็ใชอ้ สิ รภาพ คอื ความเปน็ ใหญข่ องตนเตม็ ทไ่ี มไ่ ด้ หากจำ� เปน็ต้องจ�ำกัดไว้ด้วยกฎข้อบังคับและวินัยอันเหมาะสม เพื่อให้แต่ละคนมีอิสรภาพสม�่ำเสมอกัน ท้ังมิให้ล่วงละเมิดกันและกนั กฎทบี่ งั คบั ใชแ้ กท่ กุ คนได้ กม็ อี ยอู่ ยา่ งเดยี ว คอื กฎหมายซง่ึ ทา่ นทง้ั หลายไดศ้ กึ ษามาแลว้ โดยตรงพรอ้ มเสรจ็ ทงั้ ตวั บทและวธิ ใี ช้ และกฎหมายนน้ั โดยหลกั การจะตอ้ งบญั ญตั ขิ น้ึ ใช้เปน็ อยา่ งเดยี วกนั และเสมอกนั หมดสำ� หรบั คนทงั้ ประเทศ จงึเป็นธรรมดาท่ีจะบังคับใช้ให้ได้ผลบริบูรณ์ครบถ้วนทุกกรณีไม่ได้คงต้องมีส่วนบกพร่องเกิดข้ึนมากบ้างน้อยบ้าง ตามเหตุการณ์และตัวบุคคลผู้น�ำกฎหมายมาใช้ จ�ำเป็นอย่างย่ิงท่ีผู้ใช้กฎหมายจะต้องส�ำนึกตระหนักในความรับผิดชอบของตนเองอยู่ตลอดเวลา ในอันที่จะใช้กฎหมายเพื่อธ�ำรงรักษาและผดุงความยุติธรรมถูกต้องเพียงอย่างเดียว มิใช่เพื่อ ผลประโยชน์อยา่ งอน่ื ๆ...” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานประกาศนียบัตร แก่ผู้สอบไล่ได้ตามหลักสูตรของส�ำนักอบรมศึกษากฎหมายแห่ง เนติบัณฑิตยสภา ณ อาคารใหม่ สวนอัมพร วันจันทร์ ที่ ๒๗ ตุลาคม ๒๕๒๓ 95
พระบรมราโชวาทน้อมน�ำ ราษฎร์รม่ เยน็ เป็นสุขศานต์ “...คนท่ีมีระเบียบวนิ ยั นัน้ เปน็ ผ้ทู ่เี ข้มแขง็ เป็นผูท้ ่ีหวงั ดีตอ่ ตวั เอง เปน็ ผทู้ จ่ี ะมคี วามสำ� เรจ็ ในอนาคต อนั นเ้ี ปน็ ระเบยี บอย่างหนงึ่ เป็นวนิ ยั อยา่ งหนึ่ง คือว่าถา้ คนใดมรี ะเบยี บมีวินยัในร่างกาย คือหมายถึงการปฏิบัติของตัวในกิริยามารยาทท�ำให้ไม่มีอุปสรรคต่อการขวนขวายหา จะหาความรู้ก็ได้ หาอะไรก็มีความส�ำเร็จ คือหาสิ่งท่ีตัวก�ำลังมุ่งที่จะปฏิบัติ การปฏิบัติด้วยความมีระเบียบวินัย การปฏิบัติน้ันส�ำเร็จอันนี้เป็นระเบียบวินัยชนิดหนึ่ง ระเบียบวินัยอีกชนิดที่ กล่าวเมื่อตะกี้ ก็คือระเบียบในใจ ในใจน้ันก็คือการกระท�ำอะไร เราต้องคิด เม่ือมีระเบียบในความคิด คือมีเหตุผล ส่งิ ใดท่ีคิดก็คิดออก สมมุติว่าเราคดิ เรอ่ื งหนึง่ แล้วก็ไปคิดถึงอกี เร่อื งหน่ึงทไ่ี มเ่ กย่ี วขอ้ ง แล้วไปคดิ ถึงเรอ่ื งท่ีสาม เร่อื งทีส่ ่ีเร่ืองทั้งสามสี่เรื่องน้ีก็ไม่มีความส�ำเร็จแน่นอน เพราะว่ามันฟุ้งซ่าน ฉะน้ันต้องมีระเบียบในความคิด ที่เรียกว่าระเบียบในใจหรอื วนิ ัยในความคดิ ...” พระราชด�ำรัส พระราชทานแก่นักศึกษามหาวิทยาลัย ศรีนครนิ ทรวโิ รฒ วิทยาเขตภาคใต้ จังหวดั สงขลา ณ มหาวทิ ยาลยั ศรีนครินทรวิโรฒ จังหวัดสงขลา วันพฤหัสบดี ท่ี ๑๐ กันยายน ๒๕๒๔96
พระบรมราโชวาท นอ้ มน�ำ ราษฎร์ร่มเยน็ เปน็ สุขศานต์ “...วินัย แท้จริงมีอยู่สองอย่าง อย่างหนึ่งคือวินัยตามท่ีทราบกันและถือกัน อันได้แก่ข้อปฏิบัติท่ีบัญญัติไวเ้ ป็นกฎหมายหรือระเบยี บข้อบังคับตา่ ง ๆ ใหถ้ อื ปฏิบัต ิอีกอย่างหนง่ึ คอื วินยั ในตนเอง ท่ีแตล่ ะคนจะตอ้ งบญั ญตั ิขน้ึ สำ� หรบั ควบคมุ บงั คบั ใหม้ คี วามจรงิ ใจ และใหป้ ระพฤติปฏิบัติตามความจริงใจนั้นอย่างมั่นคง มีลักษณะเป็น สจั จาธษิ ฐาน หรอื การตง้ั สตั ยส์ ญั ญาใหแ้ กต่ วั วนิ ยั อยา่ งน้ีจดั เปน็ ตวั วนิ ยั แท้ เพราะใหผ้ ลจรงิ และแนน่ อนยง่ิ กวา่ วนิ ยัทเี่ ปน็ บทบญั ญตั ทิ ง้ั เปน็ ปจั จยั สำ� คญั ทจี่ ะเกอ้ื กลู ใหก้ ารถอืการใช้วินัยท่ีเป็นบทบัญญัตินั้นได้ผลเท่ียงตรง ถูกต้องสมบูรณเ์ ตม็ เปี่ยมตามเจตนารมณ.์ ..” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานกระบี่ และปริญญาบัตร แก่ผู้ส�ำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า โรงเรียนนายเรือ และโรงเรียนนายเรืออากาศ วันพุธ ที่ ๒๕ มีนาคม ๒๕๒๔ 97
พระบรมราโชวาทนอ้ มน�ำ ราษฎรร์ ่มเย็นเปน็ สุขศานต์ “...ปจั จยั สำ� คญั ทจ่ี ะเปน็ พนื้ ฐานและสง่ เสรมิ ใหเ้ กดิ ความสามารถดงั น้ัน กค็ ือ ความสจุ รติ เปน็ ระเบียบซง่ึ ประกอบด้วยความสุจริตเป็นระเบียบในความประพฤติ หรือในทางกาย อย่างหน่ึง ความสุจริตเป็นระเบียบในความคิดนึก หรือในทางใจ อีกอย่างหนงึ่ ทง้ั สองประการตา่ งอาศัยและเกอ้ื กลูกันอยู่ตลอดเวลา จึงจ�ำเป็นต้องอบรมบ�ำรุง ให้เจริญม่ันคงขึ้นด้วยกัน เม่ือจัดระเบียบในการกระท�ำและในความคิดนึกได้เทีย่ งตรงแนน่ อนแล้ว ปญั ญา หรอื ความรู้ความเขา้ ใจกัน ถูกต้องถ่องแท้และตรงจุด ก็จะเกิดข้ึน คือ จะพิจารณาเร่ืองราวหรือปัญหาใด ๆ ก็สามารถเข้าถึงสาระของเรอื่ งน้ันปัญหาน้ันได้ทันที โดยกระจ่างแจ่มชัดปราศจากความลังเลสบั สน และยอ่ มทำ� ใหส้ ามารถใชค้ วามคดิ วทิ ยาการปฏบิ ตั งิ าน ทุกอย่างได้โดยถูกต้องพอเหมาะพอดี ทั้งบรรลุผลสมบูรณ์บรบิ รู ณ์ตามวัตถปุ ระสงค.์ ..” พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปรญิ ญาบัตรแกผ่ ้สู �ำเร็จ การศึกษา จากมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วิทยาเขตภาคใต้ จังหวดั สงขลา ณ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ วิทยาเขตภาคใต้ วันพฤหัสบดี ท่ี ๑๐ กันยายน ๒๕๒๔98
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148