Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore T_0021

T_0021

Published by Nopparat Sutantirat, 2019-09-18 02:57:23

Description: T_0021

Search

Read the Text Version

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๓ ก หน้า ๒๑ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานเุ บกษา พระราชบัญญตั ิ คมุ้ ครองแรงงาน (ฉบับท่ี ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพยวรางกูร ให้ไว้ ณ วนั ที่ ๔ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๒ เป็นปที ่ี ๔ ในรัชกาลปัจจบุ ัน สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร มีพระราชโองการโปรดเกล้าฯ ใหป้ ระกาศว่า โดยทเี่ ปน็ การสมควรแกไ้ ขเพิม่ เตมิ กฎหมายว่าดว้ ยการคมุ้ ครองแรงงาน พระราชบัญญัติน้ีมีบทบัญญัติบางประการเกี่ยวกับการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคล ซึ่งมาตรา ๒๖ ประกอบกับมาตรา ๔๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย บัญญัติให้กระทาได้ โดยอาศัยอานาจตามบทบญั ญตั ิแหง่ กฎหมาย เหตุผลและความจาเป็นในการจากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลตามพระราชบัญญัติน้ี เพือ่ ยกระดับการคุ้มครองลูกจ้างให้เป็นไปตามมาตรฐานสากลและมีประสิทธิภาพมากขึ้น อนั จะทาให้ลูกจ้าง ซ่ึงเป็นประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศมีความมนั่ คงในการทางานและมีคุณภาพชีวิตที่ดขี ึ้น และจะเป็น ประโยชน์แก่ความมั่นคงทางเศรษฐกิจของประเทศ ซึ่งการตราพระราชบัญญัตินี้สอดคล้องกับเง่ือนไข ทบี่ ญั ญัติไวใ้ นมาตรา ๒๖ ของรัฐธรรมนญู แหง่ ราชอาณาจักรไทยแล้ว จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ตราพระราชบัญญัติข้ึนไว้โดยคาแนะนาและยินยอมของ สภานิติบญั ญตั ิแห่งชาตทิ าหนา้ ทร่ี ฐั สภา ดงั ต่อไปนี้

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๓ ก หน้า ๒๒ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้ีเรียกว่า “พระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๗) พ.ศ. ๒๕๖๒” มาตรา ๒ พระราชบัญญัติน้ีให้ใช้บังคับเม่ือพ้นกาหนดสามสิบวันนับแต่วันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษาเปน็ ต้นไป มาตรา ๓ ให้ยกเลิกความในวรรคหนึ่งของมาตรา ๙ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ให้ใช้ความตอ่ ไปนี้แทน “มาตรา ๙ ในกรณีที่นายจ้างไม่คืนหลักประกันท่ีเป็นเงินตามมาตรา ๑๐ วรรคสอง ไม่จ่ายเงินกรณีนายจ้างบอกเลิกสัญญาจ้างโดยไมบ่ อกกล่าวล่วงหน้าตามมาตรา ๑๗/๑ หรือไม่จ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด ค่าล่วงเวลาในวันหยุด และเงินที่นายจ้างมีหน้าท่ีต้องจ่าย ตามพระราชบัญญัตินี้ภายในเวลาท่ีกาหนดตามมาตรา ๗๐ หรือไม่จ่ายเงินกรณีนายจ้างหยุดกิจการ ตามมาตรา ๗๕ หรือค่าชดเชยตามมาตรา ๑๑๘ ค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหรือ ค่าชดเชยพิเศษตามมาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๐/๑ มาตรา ๑๒๑ และมาตรา ๑๒๒ ให้นายจ้าง เสียดอกเบ้ียใหแ้ ก่ลกู จา้ งในระหวา่ งเวลาผดิ นดั ร้อยละสบิ หา้ ต่อปี” มาตรา ๔ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๓ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปน้ีแทน “มาตรา ๑๓ ในกรณีท่ีมีการเปล่ียนแปลงตัวนายจ้าง หรือในกรณีท่ีนายจ้างเป็นนิติบุคคล และมีการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง โอน หรือควบกับนิติบุคคลใด หากมีผลทาให้ลูกจ้างคนหน่ึงคนใด ไปเป็นลูกจ้างของนายจ้างใหม่ การไปเป็นลูกจ้างของนายจ้างใหม่ดังกล่าวต้องได้รับความยินยอมจาก ลูกจ้างคนน้ันด้วย และให้สิทธิต่าง ๆ ท่ีลูกจ้างมีอยู่ต่อนายจ้างเดิมคงมีสิทธิต่อไป โดยนายจ้างใหม่ ตอ้ งรบั ไปทงั้ สิทธิและหนา้ ทีอ่ นั เกยี่ วกับลูกจ้างนัน้ ทุกประการ” มาตรา ๕ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๑๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ “มาตรา ๑๗/๑ ในกรณีทน่ี ายจ้างบอกเลิกสัญญาจา้ งโดยไม่บอกกลา่ วล่วงหน้าใหล้ กู จา้ งทราบ ตามมาตรา ๑๗ วรรคสอง ให้นายจ้างจ่ายเงินให้แก่ลูกจ้างเป็นจานวนเท่ากับค่าจ้างที่ลูกจ้างควรจะได้รับ นับแต่วันท่ีให้ลูกจ้างออกจากงานจนถงึ วนั ทีก่ ารเลกิ สัญญาจ้างมีผลตามมาตรา ๑๗ วรรคสอง โดยให้จ่าย ในวนั ท่ีให้ลูกจ้างออกจากงาน”

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๓ ก หน้า ๒๓ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา มาตรา ๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๓๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และให้ใช้ความตอ่ ไปนี้แทน “มาตรา ๓๔ ใหล้ กู จา้ งมสี ิทธิลาเพอ่ื กจิ ธุระอันจาเปน็ ไดป้ ลี ะไม่นอ้ ยกว่าสามวนั ทางาน” มาตรา ๗ ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา ๔๑ แหง่ พระราชบญั ญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนี้แทน “มาตรา ๔๑ ให้ลูกจา้ งซงึ่ เปน็ หญงิ มคี รรภ์มสี ทิ ธลิ าเพ่อื คลอดบตุ รครรภห์ นึง่ ไม่เกินเก้าสิบแปดวนั วันลาเพ่อื คลอดบตุ รตามมาตราน้ีให้หมายความรวมถึงวันลาเพอ่ื ตรวจครรภ์ก่อนคลอดบตุ รดว้ ย วันลาตามวรรคหนง่ึ ให้นบั รวมวนั หยดุ ท่มี ใี นระหวา่ งวันลาดว้ ย” มาตรา ๘ ใหย้ กเลิกความในมาตรา ๕๓ แหง่ พระราชบญั ญตั ิคมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใ้ ชค้ วามต่อไปน้ีแทน “มาตรา ๕๓ ให้นายจ้างกาหนดค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุดและค่าล่วงเวลา ในวันหยุดให้แก่ลูกจ้างท่ีทางานอันมีลกั ษณะ คุณภาพ และปริมาณเท่ากัน หรืองานที่มคี ่าเท่าเทยี มกัน ในอัตราเทา่ กนั ไม่วา่ ลูกจา้ งนนั้ จะเปน็ ชายหรือหญิง” มาตรา ๙ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๕๗/๑ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ “มาตรา ๕๗/๑ ให้นายจ้างจ่ายค่าจ้างให้แก่ลูกจ้างในวันลาเพ่ือกิจธุระอันจาเป็นตามมาตรา ๓๔ เท่ากับคา่ จ้างในวันทางานตลอดระยะเวลาทล่ี า แต่ปีหน่งึ ต้องไม่เกนิ สามวันทางาน” มาตรา ๑๐ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๕๙ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใ้ ช้ความต่อไปนีแ้ ทน “มาตรา ๕๙ ใหน้ ายจา้ งจา่ ยคา่ จ้างใหแ้ กล่ ูกจ้างซง่ึ เปน็ หญงิ ในวันลาเพื่อคลอดบตุ รตามมาตรา ๔๑ เทา่ กบั คา่ จ้างในวันทางานตลอดระยะเวลาทลี่ า แต่ไม่เกนิ สี่สบิ หา้ วนั ” มาตรา ๑๑ ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา ๗๐ แห่งพระราชบญั ญัตคิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และให้ใช้ความตอ่ ไปนี้แทน “มาตรา ๗๐ ให้นายจา้ งจา่ ยค่าจา้ ง คา่ ล่วงเวลา ค่าทางานในวันหยุด ค่าลว่ งเวลาในวนั หยดุ และเงินทีน่ ายจา้ งมีหน้าท่ีตอ้ งจ่ายตามพระราชบัญญัตนิ ้ีใหถ้ ูกต้องและตามกาหนดเวลา ดงั ตอ่ ไปน้ี

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๓ ก หน้า ๒๔ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา (๑) ในกรณีทมี่ ีการคานวณค่าจ้างเปน็ รายเดือน รายวัน รายชัว่ โมง หรอื เป็นระยะเวลาอย่างอ่ืน ที่ไม่เกินหนงึ่ เดอื น หรือตามผลงานโดยคานวณเป็นหนว่ ย ให้จ่ายเดือนหนึง่ ไมน่ อ้ ยกวา่ หนงึ่ ครั้ง เวน้ แต่ จะมกี ารตกลงกันเปน็ อย่างอ่ืนที่เปน็ ประโยชน์แก่ลูกจ้าง (๒) ในกรณีท่ีมีการคานวณค่าจ้าง นอกจาก (๑) ให้จ่ายตามกาหนดเวลาที่นายจ้างและ ลกู จา้ งตกลงกนั (๓) ค่าลว่ งเวลา คา่ ทางานในวันหยดุ คา่ ลว่ งเวลาในวันหยดุ และเงนิ ทนี่ ายจ้างมีหน้าทต่ี ้องจ่าย ตามพระราชบัญญตั ินใี้ หจ้ ่ายเดือนหน่ึงไม่น้อยกว่าหน่งึ คร้งั ในกรณีท่ีนายจา้ งเลกิ จา้ งลกู จ้าง ให้นายจ้างจ่ายคา่ จ้าง คา่ ล่วงเวลา ค่าทางานในวนั หยุด คา่ ลว่ งเวลา ในวันหยุด และเงินท่นี ายจ้างมีหน้าท่ตี อ้ งจ่ายตามพระราชบญั ญัตินี้ ตามที่ลูกจ้างมสี ทิ ธไิ ด้รบั ให้แก่ลูกจ้าง ภายในสามวันนับแต่วนั ทเี่ ลกิ จา้ ง” มาตรา ๑๒ ให้ยกเลิกความในวรรคหน่ึงของมาตรา ๗๕ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ใหใ้ ช้ความตอ่ ไปน้แี ทน “มาตรา ๗๕ ในกรณีที่นายจา้ งมีความจาเปน็ ตอ้ งหยดุ กิจการทั้งหมดหรือบางสว่ นเป็นการช่วั คราว ด้วยเหตุหนึ่งเหตุใดท่ีสาคัญอันมีผลกระทบต่อการประกอบกิจการของนายจ้าง จนทาให้นายจ้างไม่สามารถ ประกอบกิจการไดต้ ามปกติซง่ึ มิใช่เหตุสดุ วิสยั ให้นายจ้างจ่ายเงินให้แก่ลูกจ้างไมน่ ้อยกว่าร้อยละเจ็ดสิบหา้ ของค่าจ้างในวันทางานท่ีลูกจ้างได้รับก่อนนายจ้างหยุดกิจการตลอดระยะเวลาที่นายจ้างไม่ได้ให้ลูกจ้าง ทางาน ณ สถานท่จี า่ ยเงนิ ตามมาตรา ๕๕ และภายในกาหนดเวลาการจ่ายเงินตามมาตรา ๗๐ (๑)” มาตรา ๑๓ ให้ยกเลิกความใน (๕) ของมาตรา ๙๓ แห่งพระราชบญั ญัติค้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ให้ใชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน “(๕) ออกคาส่ังให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหรือค่าชดเชยพิเศษ ตามมาตรา ๑๒๐/๑” มาตรา ๑๔ ให้ยกเลิกความใน (๕) ของมาตรา ๑๑๘ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปนแ้ี ทน

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๓ ก หน้า ๒๕ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา “(๕) ลูกจ้างซง่ึ ทางานติดต่อกนั ครบสบิ ปี แต่ไม่ครบยสี่ บิ ปี ให้จา่ ยไม่น้อยกวา่ ค่าจา้ งอัตราสุดท้าย สามร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานสามร้อยวันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซ่ึงได้รับค่าจ้าง ตามผลงานโดยคานวณเปน็ หนว่ ย” มาตรา ๑๕ ให้เพิ่มความต่อไปนี้เป็น (๖) ของมาตรา ๑๑๘ แห่งพระราชบัญญัติ คุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ “(๖) ลูกจ้างซึ่งทางานติดต่อกันครบย่ีสิบปีข้ึนไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย ส่ีร้อยวัน หรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทางานส่ีร้อยวันสุดท้ายสาหรับลูกจ้างซึ่งได้รับค่าจ้างตามผลงาน โดยคานวณเปน็ หนว่ ย” มาตรา ๑๖ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๒๐ แห่งพระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแกไ้ ขเพิ่มเตมิ โดยพระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และใหใ้ ช้ความตอ่ ไปนแ้ี ทน “มาตรา ๑๒๐ นายจา้ งซ่งึ ประสงคจ์ ะย้ายสถานประกอบกจิ การแหง่ หนึง่ แหง่ ใดไปต้ัง ณ สถานท่ีใหม่ หรือย้ายไปยังสถานทีอ่ ื่นของนายจา้ ง ให้นายจ้างปิดประกาศแจ้งให้ลูกจ้างทราบล่วงหนา้ โดยใหป้ ิดประกาศไว้ ในที่เปิดเผย ณ สถานประกอบกิจการนัน้ ตั้งอยู่ท่ีลูกจา้ งสามารถเหน็ ได้อย่างชดั เจน ติดต่อกันเปน็ เวลา ไมน่ อ้ ยกวา่ สามสิบวนั ก่อนวันย้ายสถานประกอบกิจการ และประกาศนัน้ อยา่ งน้อยตอ้ งมขี ้อความชดั เจน เพียงพอท่ีจะเข้าใจไดว้ ่าลกู จา้ งคนใดจะต้องถูกยา้ ยไปสถานทีใ่ ดและเม่อื ใด ในกรณที น่ี ายจ้างไม่ปดิ ประกาศใหล้ ูกจา้ งทราบล่วงหนา้ ตามวรรคหน่งึ ใหน้ ายจา้ งจา่ ยค่าชดเชยพิเศษ แทนการบอกกล่าวล่วงหน้าแก่ลูกจ้างที่ไม่ประสงค์จะไปทางาน ณ สถานประกอบกิจการแห่งใหม่ เท่ากับค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามสิบวัน หรือเท่ากับค่าจ้างของการทางานสามสิบวันสุดท้ายสาหรับลูกจ้าง ซงึ่ ไดร้ ับคา่ จ้างตามผลงานโดยคานวณเป็นหน่วย หากลูกจ้างคนใดเห็นว่าการย้ายสถานประกอบกิจการดังกล่าวมีผลกระทบสาคัญต่อการดารงชีวิต ตามปกติของลูกจ้างหรือครอบครัวของลูกจ้างคนนั้น และไม่ประสงค์จะไปทางาน ณ สถานประกอบ กิจการแห่งใหม่ ต้องแจ้งให้นายจ้างทราบเป็นหนังสือภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ปิดประกาศ หรือ นับแต่วันท่ีย้ายสถานประกอบกิจการในกรณีที่นายจ้างมิได้ปิดประกาศตามวรรคหนึ่ง และให้ถือว่า สัญญาจ้างส้ินสุดลงในวันท่ีนายจ้างย้ายสถานประกอบกิจการ โดยลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษ ไม่น้อยกว่าอัตราค่าชดเชยทล่ี ูกจ้างพงึ มสี ทิ ธิได้รบั ตามมาตรา ๑๑๘

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๓ ก หน้า ๒๖ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา ให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าตามวรรคสองหรือค่าชดเชยพิเศษ ตามวรรคสามใหแ้ กล่ กู จ้างภายในเจด็ วันนบั แตว่ นั ทีส่ ญั ญาจ้างส้นิ สุด ในกรณีท่ีนายจ้างไม่เห็นด้วยกับเหตุผลของลูกจ้างตามวรรคสาม ให้นายจ้างย่ืนคาร้องต่อ คณะกรรมการสวสั ดิการแรงงานภายในสามสบิ วนั นับแตว่ ันที่ได้รบั แจ้งเปน็ หนังสือ” มาตรา ๑๗ ให้เพิ่มความตอ่ ไปน้ีเป็นมาตรา ๑๒๐/๑ และมาตรา ๑๒๐/๒ แห่งพระราชบญั ญัติ คมุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ “มาตรา ๑๒๐/๑ เมื่อคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณาคาร้องตามมาตรา ๑๒๐ วรรคห้าแล้ว เห็นว่าลูกจ้างมีสิทธิได้รับค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหรือค่าชดเชยพิเศษ ให้คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานส่ังให้นายจ้างจ่ายค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหรือ ค่าชดเชยพเิ ศษ แลว้ แต่กรณี ใหแ้ กล่ กู จ้างภายในสามสบิ วันนับแตว่ ันท่ีนายจ้างทราบคาสง่ั ในกรณีที่คณะกรรมการสวัสดิการแรงงานพิจารณาแล้ว เห็นว่าลูกจ้างไม่มีสิทธิได้รับ ค่าชดเชยพิเศษแทนการบอกกล่าวล่วงหน้าหรือค่าชดเชยพิเศษ แล้วแต่กรณี ให้คณะกรรมการ สวสั ดกิ ารแรงงานแจ้งคาสง่ั ใหน้ ายจ้างและลกู จ้างทราบ ในการพิจารณาและมีคาสั่งของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานให้ดาเนินการให้แล้วเสร็จ ภายในหกสิบวันนับแต่วันที่ได้รับคาร้อง และแจ้งคาส่ังให้นายจ้างและลูกจ้างทราบภายในสิบห้าวัน นับแตว่ นั ทมี่ ีคาสงั่ คาสงั่ ของคณะกรรมการสวัสดกิ ารแรงงานให้เป็นทส่ี ุด เวน้ แต่นายจา้ งหรือลกู จ้างจะอุทธรณ์คาส่ัง ต่อศาลภายในสามสิบวันนับแต่วันท่ีได้ทราบคาส่ัง ในกรณีท่ีนายจ้างเป็นฝ่ายนาคดีไปสู่ศาล นายจ้าง ต้องวางหลักประกันต่อศาลตามจานวนทตี่ ้องจา่ ยตามคาสัง่ นัน้ จึงจะฟอ้ งคดีได้ การส่งคาส่ังของคณะกรรมการสวัสดกิ ารแรงงานให้นามาตรา ๑๔๓ มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม มาตรา ๑๒๐/๒ ในกรณีท่นี ายจ้างไดอ้ ุทธรณ์คาสั่งของคณะกรรมการสวัสดิการแรงงานต่อศาล ภายในระยะเวลาที่กาหนดตามมาตรา ๑๒๐/๑ วรรคส่ี และได้ปฏิบัติตามคาพิพากษาหรือคาสั่ง ของศาลแลว้ การดาเนินคดอี าญาต่อนายจ้างให้เป็นอนั ระงับไป” มาตรา ๑๘ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๒๔/๑ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ใหใ้ ชค้ วามต่อไปนีแ้ ทน

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๓ ก หน้า ๒๗ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา “มาตรา ๑๒๔/๑ ในกรณีท่นี ายจ้างได้ปฏิบัตติ ามคาส่ังของพนกั งานตรวจแรงงานตามมาตรา ๑๒๔ ภายในระยะเวลาท่ีกาหนด การดาเนินคดอี าญาต่อนายจ้างให้เป็นอนั ระงับไป” มาตรา ๑๙ ให้เพิ่มความต่อไปน้ีเป็นมาตรา ๑๒๕/๑ ของหมวด ๑๒ การยื่นคาร้องและ การพจิ ารณาคารอ้ ง แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ “มาตรา ๑๒๕/๑ ในกรณีที่นายจ้างได้นาคดีไปสู่ศาลภายในระยะเวลาที่กาหนดตามมาตรา ๑๒๕ และได้ปฏบิ ตั ติ ามคาพิพากษาหรือคาส่ังของศาลแล้ว การดาเนนิ คดีอาญาตอ่ นายจา้ งให้เปน็ อันระงบั ไป” มาตรา ๒๐ ให้ยกเลิกความใน (๑) ของมาตรา ๑๔๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี ๖) พ.ศ. ๒๕๖๐ และ ให้ใชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน “(๑) มาตรา ๑๐ มาตรา ๑๗/๑ มาตรา ๒๓ วรรคสอง มาตรา ๒๔ มาตรา ๒๕ มาตรา ๒๖ มาตรา ๓๗ มาตรา ๓๘ มาตรา ๓๙ มาตรา ๓๙/๑ มาตรา ๔๐ มาตรา ๔๒ มาตรา ๔๓ มาตรา ๔๖ มาตรา ๔๗ มาตรา ๔๘ มาตรา ๕๑ มาตรา ๕๗/๑ มาตรา ๖๑ มาตรา ๖๒ มาตรา ๖๓ มาตรา ๖๔ มาตรา ๖๗ มาตรา ๗๐ มาตรา ๗๑ มาตรา ๗๒ มาตรา ๗๖ มาตรา ๙๐ วรรคหน่ึง มาตรา ๑๑๘ วรรคหน่ึง หรือมาตรา ๑๑๘/๑ วรรคสอง” มาตรา ๒๑ ให้ยกเลิกความใน (๒) ของมาตรา ๑๔๔ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี ๕) พ.ศ. ๒๕๖๐ และ ใหใ้ ชค้ วามตอ่ ไปนีแ้ ทน “(๒) มาตรา ๑๒๐ มาตรา ๑๒๐/๑ มาตรา ๑๒๑ หรือมาตรา ๑๒๒ ในส่วนท่ีเก่ียวกับ การไมจ่ า่ ยคา่ ชดเชยพิเศษแทนการบอกกลา่ วล่วงหนา้ หรือคา่ ชดเชยพิเศษ” มาตรา ๒๒ ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา ๑๔๕ แหง่ พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ และให้ใช้ความต่อไปนแ้ี ทน “มาตรา ๑๔๕ นายจ้างผู้ใดไม่ปฏิบตั ิตามมาตรา ๒๓ วรรคหน่ึงหรือวรรคสาม ต้องระวางโทษ ปรับไมเ่ กินห้าพันบาท” มาตรา ๒๓ ใหย้ กเลกิ ความในมาตรา ๑๔๖ แหง่ พระราชบญั ญตั คิ มุ้ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแกไ้ ขเพม่ิ เติมโดยพระราชบญั ญัติคุม้ ครองแรงงาน (ฉบบั ที่ ๔) พ.ศ. ๒๕๕๓ และให้ใชค้ วามต่อไปนแี้ ทน

เล่ม ๑๓๖ ตอนที่ ๔๓ ก หน้า ๒๘ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกิจจานุเบกษา “มาตรา ๑๔๖ นายจ้างผู้ใดไมป่ ฏิบัตติ ามมาตรา ๑๕ มาตรา ๒๗ มาตรา ๒๘ มาตรา ๒๙ มาตรา ๓๐ วรรคหนง่ึ มาตรา ๔๕ มาตรา ๕๓ มาตรา ๕๔ มาตรา ๕๖ มาตรา ๕๗ มาตรา ๕๘ มาตรา ๕๙ มาตรา ๖๕ มาตรา ๖๖ มาตรา ๗๓ มาตรา ๗๔ มาตรา ๗๕ วรรคหนึ่ง มาตรา ๗๗ มาตรา ๙๙ มาตรา ๑๐๘ มาตรา ๑๑๑ มาตรา ๑๑๒ มาตรา ๑๑๓ มาตรา ๑๑๔ มาตรา ๑๑๕ มาตรา ๑๑๗ หรือไม่บอกกล่าวล่วงหน้า ตามมาตรา ๑๒๑ วรรคหน่ึง หรือมาตรา ๑๓๙ (๒) หรือ (๓) ต้องระวางโทษปรับไม่เกินสองหมน่ื บาท” มาตรา ๒๔ ให้ยกเลิกความในวรรคสองของมาตรา ๑๕๑ แห่งพระราชบัญญตั คิ ้มุ ครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับท่ี ๔) พ.ศ. ๒๕๕๓ และ ให้ใชค้ วามต่อไปนแ้ี ทน “ผ้ใู ดไม่ปฏิบตั ิตามคาส่งั ของพนักงานตรวจแรงงานทส่ี ั่งตามมาตรา ๑๒๔ ตอ้ งระวางโทษจาคกุ ไมเ่ กินหนึ่งปี หรือปรบั ไมเ่ กินสองหมื่นบาท หรอื ทัง้ จาท้ังปรับ” มาตรา ๒๕ ให้ยกเลิกความในมาตรา ๑๕๕/๑ แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ซ่ึงแก้ไขเพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๕๑ และ ใหใ้ ชค้ วามต่อไปนี้แทน “มาตรา ๑๕๕/๑ นายจา้ งผู้ใดไม่ยนื่ หรอื ไม่แจ้งแบบแสดงสภาพการจา้ งและสภาพการทางาน ตามมาตรา ๑๑๕/๑ ต้องระวางโทษปรบั ไม่เกนิ สองหม่นื บาท” ผูร้ ับสนองพระราชโองการ พลเอก ประยทุ ธ์ จนั ทรโ์ อชา นายกรฐั มนตรี

เล่ม ๑๓๖ ตอนท่ี ๔๓ ก หน้า ๒๙ ๕ เมษายน ๒๕๖๒ ราชกจิ จานุเบกษา หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. ๒๕๔๑ ใช้บังคับมาเป็นเวลานาน ทาให้บทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาพการณ์ปัจจุบันและ ไม่เอ้ือประโยชน์ต่อการดาเนินการเพื่อให้ความคุ้มครองลูกจ้าง สมควรแก้ไขเพิ่มเติมโดยกาหนดให้การเปล่ียนแปลง ตวั นายจา้ งต้องไดร้ บั ความยินยอมจากลูกจ้าง กาหนดใหล้ ูกจ้างมสี ิทธลิ าเพื่อกิจธุระอนั จาเป็นปหี นง่ึ ไม่น้อยกว่า สามวันทางาน กาหนดให้ลูกจ้างซึ่งเป็นหญิงมีครรภ์สามารถลาเพ่ือตรวจครรภ์ก่อนคลอดบุตรได้โดยให้ถือเปน็ วันลาเพ่ือคลอดบุตร เพิ่มอัตราค่าชดเชยให้แก่ลูกจ้างซ่ึงทางานติดต่อกันครบยี่สิบปีข้ึนไป กาหนดให้ การย้ายสถานประกอบกจิ การ ให้รวมทงั้ การย้ายสถานประกอบกจิ การไปต้ัง ณ สถานทีใ่ หม่ หรือสถานท่ีอื่น ของนายจ้าง และแกไ้ ขให้นายจ้างกาหนดคา่ จ้าง คา่ ลว่ งเวลา ค่าทางานในวันหยุด และค่าลว่ งเวลาในวันหยุด ในอัตราเท่ากันทั้งลูกจ้างชายและหญิงในงานท่ีมีค่าเท่าเทียมกันเพื่อให้เปน็ ไปตามมาตรฐานสากล จึงจาเป็นต้องตรา พระราชบญั ญตั ินี้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook