Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore 1.เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา-กลุ่มสาระ-ภาษาไทย-64

1.เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา-กลุ่มสาระ-ภาษาไทย-64

Published by Nor Nan, 2021-12-03 06:52:16

Description: 1.เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศึกษา-กลุ่มสาระ-ภาษาไทย-64

Search

Read the Text Version

-1-

เอกสารประกอบหลกั สตู รสถานศึกษา โรงเรียนชมุ ชนประชานิกรอาํ นวยเวทย พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรับปรุง 2560) กลมุ สาระการเรยี นรู ภาษาไทย สํานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต 2 สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ -2-

คาํ นํา กลุมสาระการเรยี นรูภาษาไทย ไดจ ดั ทาํ หลักสตู รกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทยฉบับน้ี ซึ่งเปนเอกสาร ประกอบหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนประชานิกรอํานวยเวทย พุทธศักราช 2564 ตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อเปนเปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และ กระบวนการจัดการเรยี นรู เพื่อเปนกรอบและทิศทางในการจัดการเรียนการสอน ใหตรงตามมาตรฐานตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูของกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย โดยพิจารณาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ัน พื้นฐาน 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560) หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนชุมชนประชานิกรอํานวยเวทย ซึ่งมี องคป ระกอบ ดงั นี้ - วสิ ัยทศั น หลักการ จดุ มุงหมาย - สมรรถนะสําคัญของผูเรยี น - สาระและมาตรฐานการเรียนรู - คณุ ภาพผูเ รยี น - ตัวช้วี ดั และสาระการเรียนรูแ กนกลาง - รายวชิ าท่ีเปด - คาํ อธิบายรายวิชาและโครงสรางรายวิชาพนื้ ฐานและเพมิ่ เติม - สอื่ /แหลงเรยี นรู - การวดั และประเมนิ ผลการเรียนรู คณะผจู ดั ทําขอขอบคุณผูมสี วนรวมในการพฒั นาและจดั ทาํ หลกั สตู รกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ฉบบั นี้ จนสาํ เร็จลลุ ว งเปน อยา งดี และหวังเปนอยางย่งิ วา จะเกดิ ประโยชนต อการจดั การเรยี นรูใหแ กผ ูเ รยี น ตอ ไป กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ผูจดั ทํา -3-

สารบัญ หนา คํานํา 1 สารบัญ 1 วสิ ัยทศั น 1 หลักการ 2 จดุ มุงหมาย 3 สมรรถนะสําคัญของผเู รียน 3 ทําไมตองเรยี นภาษาไทย 4 เรยี นรูอ ะไรในภาษาไทย 4 สาระและมาตรฐานการเรียนรู 6 คุณภาพผเู รยี น 8 โครงสรา งเวลาเรียน 32 ตวั ชี้วดั และสาระการเรียนรูแกนกลาง 40 คาํ อธิบายรายวชิ าและโครงสรางรายวชิ าพื้นฐาน 47 สอื่ การจดั การเรียนรู 50 การวดั และประเมินผลการเรียนรู ภาคผนวก อภิธานศพั ท คณะผจู ดั ทํา -4-

เอกสารประกอบหลักสูตรสถานศกึ ษา โรงเรียนชมุ ชนประชานิกรอาํ นวยเวทย พุทธศกั ราช 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ 2560) กลุมสาระการเรียนรู ภาษาไทย วิสยั ทศั น กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรูทักษะทางภาษาไทยนําไปใชใน การดํารงชีวิตและเปนเคร่ืองมือในการแสวงหาความรูในศาสตรอื่น ๆ รักและภูมิใจในภาษาไทยในฐานะเปน มรดกของชาติ หลกั การ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน มหี ลักการท่สี ําคญั ดังนี้ 1. เปนหลักสูตรการศึกษาเพ่ือความเปนเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการเรียนรูเปน เปาหมายสาหรับพัฒนาเด็กและเยาวชน ใหมีความรูทักษะ เจตคติและคุณธรรมบนพ้ืนฐานของความเปนไทย ควบคกู บั ความเปน สากล 2. เปนหลักสตู รการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทกุ คนมีโอกาสไดรับการศึกษาอยางเสมอภาคและมี คณุ ภาพ 3. เปนหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอํานาจ ใหสังคมมีสวนรวมในการจัดการศึกษาให สอดคลองกบั สภาพและความตองการของทองถน่ิ 4. เปนหลักสตู รการศึกษาท่มี ีโครงสรา งยดื หยนุ ทั้งดานสาระการเรยี นรเู วลาและการจดั การเรยี นรู 5. เปน หลักสูตรการศึกษาทเ่ี นน ผูเ รียนเปน สําคญั 6. เปนหลักสูตรการศึกษาสําหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัยครอบคลุมทุก กลมุ เปา หมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรูและประสบการณ จดุ มุงหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มุงพัฒนาผูเรียนใหเปนคนดีมีปญญา มีความสุข มีศักยภาพ ในการศึกษาตอ และประกอบอาชีพ จึงกําหนดเปน จุดหมายเพ่ือใหเกิดกับผูเรียน เมื่อจบการศึกษา ขั้นพื้นฐาน ดงั นี้ 1. มีคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงคเห็นคุณคาของตนเอง มีวินัยและปฏิบัติตนตาม หลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทีต่ นนบั ถอื ยดึ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2. มคี วามรูค วามสามารถในการสือ่ สาร การคดิ การแกปญ หา การใชเ ทคโนโลยแี ละมที กั ษะชีวติ 3. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจิตทด่ี มี สี ขุ นสิ ัย และรกั การออกกําลงั กาย -1-

4. มีความรักชาติมีจิตสํานึกในความเปนพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิตและการปกครอง ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษตั รยิ ทรงเปนประมุข 5. มีจิตสํานึกในการอนุรักษวัฒนธรรมและภูมิปญญาไทย การอนุรักษและพัฒนาส่ิงแวดลอม มีจติ สาธารณะทมี่ งุ ทําประโยชนและสรางส่งิ ท่ดี ีงามในสงั คม และอยูรวมกันในสงั คมอยางมคี วามสุข สมรรถนะสาํ คญั ของผเู รยี น กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย มงุ พฒั นาผูเรียนใหมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการเรียนรูซ่ึงเปน การ พัฒนาผูเรียนใหบ รรลุมาตรฐานการเรียนรูที่กําหนดน้นั จะชวยใหผูเ รียนเกดิ สมรรถนะสําคัญ 5 ประการ ดงั น้ี 1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เปน ความสามารถในการรบั และสง สาร มวี ัฒนธรรมในการใชภ าษา ถายทอดความคิด ความรูความเขาใจ ความรูสึก และทัศนะของตนเองเพ่ือแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร และประสบการณอันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาตนเองและสังคม รวมทั้งการเจรจาตอรองเพื่อ ขจัดและลดปญหาความขดั แยง ตาง ๆ การเลือกรับหรือไมรับขอมูลขาวสารดวยหลักเหตุผลและความ ถูกตอง ตลอดจนการเลือกใชวิธีการส่ือสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีมีตอตนเองและ สังคม 2. ความสามารถในการคิด เปนความสามารถในการคิดวิเคราะห การคิดสังเคราะห การคิด อยาง สรางสรรค การคิดอยางมีวิจารณญาณ และการคิดเปนระบบ เพื่อนําไปสูการสรางองคความรูหรือ สารสนเทศเพือ่ การตดั สนิ ใจเก่ยี วกับตนเองและสังคมไดอยา งเหมาะสม 3. ความสามารถในการแกปญหา เปนความสามารถในการแกปญหาและอุปสรรคตาง ๆ ที่เผชิญได อยา งถกู ตอ งเหมาะสมบนพนื้ ฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและขอมูลสารสนเทศ เขาใจความสัมพันธ และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณตาง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู ประยุกตความรูมาใชในการ ปองกันและแกไขปญ หา และมกี ารตัดสินใจทม่ี ีประสิทธิภาพโดยคํานึงถึงผลกระทบท่ีเกิดข้ึนตอตนเอง สังคมและส่งิ แวดลอม 4. ความสามารถในการใชท กั ษะชวี ิต เปนความสามารถในการนาํ กระบวนการตางๆ ไปใชใน การดําเนินชีวิตประจําวัน การเรียนรูดวยตนเอง การเรียนรูอยางตอเน่ือง การทํางาน และการอยู รวมกันในสังคมดวยการสรางเสริมความสัมพันธอันดีระหวางบุคคล การจัดการปญหาและความ ขัดแยงตาง ๆ อยางเหมาะสม การปรับตัวใหทันกับการเปล่ียนแปลงของสังคมและสภาพแวดลอม และการรจู ักหลกี เลยี่ งพฤติกรรมไมพึงประสงคท สี่ ง ผลกระทบตอตนเองและผูอ่นื 5. ความสามารถในการใชเทคโนโลยี เปนความสามารถในการเลือก และใช เทคโนโลยีดานตาง ๆ และ มีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในดานการเรียนรู การสื่อสาร การทํางาน การแกปญหาอยางสรางสรรค ถกู ตอง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม -2-

ทําไมตอ งเรยี นภาษาไทย ภาษาไทยเปนเอกลักษณของชาติเปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันกอใหเกิดความเปนเอกภาพและ เสริมสรางบุคลิกภาพของคนในชาติใหมีความเปนไทย เปนเครื่องมือในการติดตอสื่อสารเพื่อสรางความเขาใจ และความสัมพันธที่ดีตอกัน ทําใหสามารถประกอบกิจธุระ การงาน และดํารงชีวิตรวมกันในสังคม ประชาธิปไตยไดอยางสันติสุข และเปนเคร่ืองมือในการแสวงหาความรูประสบการณจากแหลงขอมูล สารสนเทศตางๆ เพ่ือพัฒนาความรูพัฒนากระบวนการคิดวิเคราะหวิจารณและสรางสรรคใหทันตอการ เปล่ียนแปลงทาง สงั คม และความกา วหนาทางวทิ ยาศาสตร เทคโนโลยตี ลอดจนนาํ ไปใชในการพัฒนาอาชีพให มีความม่นั คง ทางเศรษฐกจิ นอกจากนี้ยังเปนสื่อแสดงภูมิปญญาของบรรพบุรุษดานวัฒนธรรม ประเพณี และ สุนทรียภาพ เปน สมบัตลิ ํ้าคาควรแกการเรียนรู อนรุ กั ษ และสบื สานใหค งอยูคชู าตไิ ทยตลอดไป เรียนรูอ ะไรในภาษาไทย ภาษาไทยเปนทักษะที่ตองฝกฝนจนเกิดความชํานาญในการใชภาษาเพ่ือการส่ือสาร การเรียนรูอยางมี ประสิทธภิ าพ และเพือ่ นาํ ไปใชใ นชวี ิตจริง 1. การอา น การอา นออกเสียงคํา ประโยค การอา นบทรอยแกว คาํ ประพนั ธชนิดตางการอานใน ใจเพื่อ สรา งความเขาใจ และการคดิ วเิ คราะหส ังเคราะหความรูจ ากส่งิ ทีอ่ านเพ่ือนาํ ไปปรับใชในชวี ติ ประจาํ วัน 2. การเขียน การเขียนสะกดตามอักขรวิธีการเขียนส่ือสาร โดยใชถอยคําและรูปแบบตางๆของการ เขียน ซ่ึงรวมถึงการเขียนเรียงความ ยอความ รายงานชนิดตางๆ การเขียนตามจินตนาการ วิเคราะหวิจารณ และเขยี นเชงิ สรา งสรรค 3. การฟง การดูและการพดู การฟงและดอู ยางมวี จิ ารณญาณ การพดู แสดงความคิดเห็น ความรูสึก พูด ลําดับเร่ืองราวตาง ๆ อยางเปนเหตุเปนผล การพูดในโอกาสตางๆ ทั้งเปนทางการและไมเปนทางการและ การพูดเพอื่ โนม นาวใจ 4. หลักการใชภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑของภาษาไทย การใชภาษาใหถูกตองเหมาะสมกับ โอกาสและบคุ คล การแตงบทประพันธประเภทตางๆ และอิทธิพลของภาษาตา งประเทศในภาษาไทย 5. วรรณคดีและวรรณกรรม วิเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อศึกษาขอมูลแนวความคิด คุณคา ของงานประพันธและความเพลิดเพลิน การเรียนรูและทําความเขาใจบทเห บทรองเลนของเด็ก เพลงพ้ืนบาน ที่เปนภูมิปญญาท่ีมีคุณคาของไทย ซึ่งไดถายทอดความรูสึกนึกคิด คานิยม ขนบธรรมเนียมประเพณี เรื่องราว ของ สังคมในอดีต และความงดงามของภาษา เพื่อใหเกิดความซาบซึ้งและภูมิใจ ในบรรพบุรุษท่ีไดสั่งสมสืบ ทอดมาจนถึงปจจบุ นั -3-

สาระและมาตรฐานการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานกําหนดมาตรฐานการเรียนรูกลุมสาระการเรียนรู จํานวน 5 มาตรฐาน ดงั นี้ ภาษาไทย สาระที่ 1 การอาน มาตรฐาน ท 1.1 ใชก ระบวนการอา นสรางความรแู ละความคดิ เพือ่ นําไปใชตดั สินใจแกป ญ หาในการ ดาํ เนนิ ชวี ิตและมนี ิสยั รักการอา น สาระท่ี 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขยี น เขียนสอื่ สาร เขยี นเรียงความ ยอ ความ และเขียนเร่ืองราวใน รูปแบบตาง ๆ เขยี นรายงานขอ มูลสารสนเทศและรายงาน การศกึ ษาคน ควา อยา ง มีประสิทธภิ าพ สาระท่ี 3 การฟง การดแู ละการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟง และดอู ยา งมวี จิ ารณญาณ และพูดแสดงความรูค วามคิด ความรูสึก ในโอกาสตา ง ๆ อยางมวี ิจารณญาณ และสรางสรรค สาระท่ี 4 หลักการใชภาษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลกั ภาษาไทยการเปล่ยี นแปลงของภาษาและพลัง ของภาษา ภูมิปญ ญาทางภาษา และรกั ษา ภาษาไทยไวเ ปนสมบตั ขิ องชาติ สาระที่ 5 วรรณคดแี ละวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเหน็ คณุ คา และนาํ มาประยุกตใชในชีวิตจริง คณุ ภาพผเู รียน รายวิชาพืน้ ฐาน จบชน้ั ประถมศึกษาปท่ี 3  อา นออกเสียงคํา คาํ คลอ งจอง ขอความ เรือ่ งสัน้ ๆ และบทรอ ยกรองงายๆ ไดถูกตองคลองแคลว เขาใจความหมายของคําและขอความท่ีอาน ต้ังคําถามเชิงเหตุผล ลําดับเหตุการณ คาดคะเนเหตุการณ สรุปความรูขอคิดจากเร่ืองที่อาน ปฏิบัติตามคําส่ัง คําอธิบายจากเร่ืองท่ีอานได เขาใจความหมายของขอมูล จากแผนภาพ แผนที่ และแผนภมู ิ อา นหนงั สืออยา งสม่าํ เสมอ และมมี ารยาทในการอาน  มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนบรรยาย บันทึกประจําวัน เขียนจดหมายลา ครู เขยี นเร่อื งเกีย่ วกับประสบการณ เขียนเร่อื งตามจินตนาการและมมี ารยาทในการเขยี น  เลารายละเอยี ดและบอกสาระสําคญั ต้ังคําถาม ตอบคําถาม รวมทั้งพูดแสดงความคิดความรูสึก เก่ียวกับเรอ่ื งท่ีฟง และดู พูดสื่อสารเลา ประสบการณแ ละพดู แนะนํา หรอื พดู เชิญชวนใหผูอื่นปฏิบัติตาม และ มมี ารยาทในการฟง ดู และพดู -4-

 สะกดคําและเขา ใจความหมายของคาํ ความแตกตางของคาํ และพยางค หนา ทีข่ องคาํ ในประโยค มีทักษะการใชพจนานุกรมในการคนหาความหมายของคําแตงประโยคงายๆ แตงคําคลองจอง แตง คาํ ขวญั และเลอื กใชภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถน่ิ ไดเ หมาะสมกับกาลเทศะ  เขา ใจและสามารถสรุปขอ คดิ ท่ีไดจ ากการอา นวรรณคดแี ละวรรณกรรมเพอ่ื นาํ ไปใช  ในชวี ิตประจําวนั แสดงความคิดเห็นจากวรรณคดีทอี่ า น รจู ักเพลงพ้นื บาน เพลงกลอ มเดก็ ซ่งึ เปนวฒั นธรรมของทองถน่ิ รอ งบทรองเลนสาํ หรับเด็กในทองถิน่ ทอ งจาํ บทอาขยานและบทรอ ยกรอง ท่ีมีคณุ คาตามความสนใจได จบชัน้ ประถมศกึ ษาปที่ 6  อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะไดถูกตอง อธิบายความหมาย โดยตรงและความหมายโดยนัยของคํา ประโยค ขอความ สํานวนโวหาร จากเรื่องท่ีอาน เขาใจคําแนะนํา คําอธิบายในคูมือตางๆ แยกแยะขอคิดเห็นและขอเท็จจริง รวมทั้งจับใจความสําคัญของเรื่องท่ีอานและนํา ความรคู วามคดิ จากเรอื่ งท่อี านไปตัดสนิ ใจแกปญหาในการดําเนนิ ชีวติ ได  มีมารยาทและมนี สิ ยั รักการอา น และเหน็ คุณคา สิง่ ทอี่ าน  มีทักษะในการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัด เขียนสะกดคํา แตงประโยค และเขียนขอความ ตลอดจนเขียนสื่อสารโดยใชถอยคําชัดเจนเหมาะสม ใชแผนภาพ โครงเรื่อง และแผนภาพความคิด เพ่อื พฒั นางานเขยี น เขียนเรียงความ ยอ ความ จดหมายสวนตัว กรอกแบบรายการ ตา งๆ เขยี นแสดงความรสู ึกและความคดิ เหน็ เขียนเร่ืองตามจนิ ตนาการอยางสรางสรรค และมีมารยาทในการ เขยี น  พูดแสดงความรู ความคิดเกี่ยวกับเร่ืองท่ีฟงและดู เลาเรื่องยอหรือสรุปจากเรื่องท่ีฟงและดู ตั้งคําถาม ตอบคําถามจากเรื่องท่ีฟงและดู รวมทั้งประเมินความนาเช่ือถือจากการฟงและดูโฆษณาอยางมี เหตุผล พูดตามลําดับข้ันตอนเร่ืองตางๆ อยางชัดเจน พูดรายงานหรือประเด็นคนควาจากการฟง การดู การสนทนา และพูดโนม นาวไดอยางมเี หตผุ ล รวมทง้ั มีมารยาทในการดแู ละพดู  สะกดคาํ และเขาใจความหมายของคาํ สํานวน คําพังเพยและสภุ าษติ รแู ละเขา ใจ ชนดิ และหนาท่ขี องคาํ ในประโยคชนดิ ของประโยค และคําภาษาตางประเทศในภาษาไทย ใชคําราชาศัพทและ คําสุภาพไดอ ยางเหมาะสม แตง ประโยค แตง บทรอ ยกรองประเภทกลอนสี่ กลอนสภุ าพ และกาพยย านี 11  เขาใจและเห็นคุณคาวรรณคดีและวรรณกรรมท่ีอาน เลานิทานพ้ืนบาน รองเพลงพื้นบานของ ทอ งถน่ิ นาํ ขอคดิ เห็นจากเรือ่ งทอ่ี า นไปประยุกตใ ชใ นชีวติ จรงิ และทอ งจาํ บทอาขยานตามที่กาํ หนดได -5-

โครงสรา งเวลาเรยี น กลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย ระดับชัน้ เวลาเรยี น รวม ป.1 รายวิชาพน้ื ฐาน รายวิชาเพ่ิมเติม 240 ป.2 240 ป.3 200 40 240 ป.4 160 ป.5 200 40 160 ป.6 160 รวม 200 40 1,200 ม.1 160 ม.2 160 - 160 ม.3 160 รวม 160 - 480 รวมทั้งสิ้น 1,680 160 - 1,080 120 120 40 120 40 120 40 360 120 1,440 240 โครงสรา งหลกั สตู รระดับประถมศึกษา กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ระดบั ช้ัน รหสั ปก ารศกึ ษา นก. ช.ม./ ช.ม./ป วิชา สัปดาห ชอื่ รายวชิ า 5 ป.1 ท11101 5 5 200 ป.2 ท12101 สาระพนื้ ฐาน 5 5 200 ป.3 ท13101 ภาษาไทย 1 4 5 200 ป.4 ท14101 ภาษาไทย 2 4 4 160 ป.5 ท15101 ภาษาไทย 3 4 4 160 ป.6 ท16101 ภาษาไทย 4 4 160 ภาษาไทย 5 1 ป.1 ท11201 ภาษาไทย 6 1 1 40 ป.2 ท12201 1 1 40 ป.3 ท13201 สาระเพิ่มเตมิ - 1 40 ป.4 - การเสริมทักษะการอา น - การเขยี น 1 - -- ป.5 - การเสริมทักษะการอาน - การเขยี น 2 - -- ป.6 - การเสรมิ ทกั ษะการอาน - การเขียน 3 -- - - - -6-

โครงสรา งหลักสตู รระดับมธั ยมศึกษาตอนตน กลุม สาระการเรยี นรภู าษาไทย ภาคเรยี นที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ระดบั ชน้ั รหัสวิชา ชอ่ื รายวชิ า นก. ช.ม./ รหสั วิชา ชื่อรายวชิ า นก. ช.ม./ สัปดาห สปั ดาห สาระพื้นฐาน สาระพนื้ ฐาน ภาษาไทย 2 1.5 3 ภาษาไทย 4 1.5 3 ม.1 ท21101 ภาษาไทย 1 1.5 3 ท21202 ภาษาไทย 6 1.5 3 ม.2 ท22101 ภาษาไทย 3 1.5 3 ท22102 สาระเพมิ่ เตมิ - -- - ม.3 ท23101 ภาษาไทย 5 1.5 3 ท23102 -- - -- สาระเพิม่ เติม ม.1 - - -- - ม.2 - - -- - ม.3 - - -- - หมายเหตุ : รายวิชาเพม่ิ เติมในกลุม สาระภาษาไทย โรงเรยี นสามารถจัดรายวชิ าเพ่มิ เติมไดต ามบรบิ ทของ โรงเรียน -7-

ตัวชี้วัดและสาระการเรยี นรูแกนกลาง สาระท่ี 1 การอา น มาตรฐาน ท 1.1 ใชก ระบวนการอานสรา งความรแู ละความคดิ เพือ่ นาํ ไปใชต ัดสินใจ แกป ญหาในการดาํ เนิน ชวี ติ และมนี ิสยั รักการอาน ช้ัน ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.1 1. อา นออกเสยี งคํา คําคลองจอง  การอา นออกเสยี งและบอกความหมายของคําพน้ื ฐาน และขอความส้นั ๆ ไมนอ ยกวา 600 คํา ประกอบดวย 2. บอกความหมายของคํา - คาํ ทม่ี ีรปู วรรณยุกตแ ละไมมีรูปวรรณยุกต และขอความทอ่ี าน - คําที่มีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมต รงตามมาตรา - คาํ ที่มีพยญั ชนะควบกลา้ํ - คาํ ท่ีมีอกั ษรนาํ 3. ตอบคาํ ถามเกยี่ วกบั เร่ืองท่ีอา น  การอา นจับใจความจากส่ือตาง ๆ เชน 4. เลา เรอ่ื งยอจากเรื่องทีอ่ าน - นิทาน 5. คาดคะเนเหตุการณจากเร่ืองท่ีอาน - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในหนงั สือเรยี น - บทเรยี นจากกลุมสาระการเรียนรู - อ่ืน ๆ 6. อานหนงั สอื ตามความสนใจ  การอา นหนงั สือตามความสนใจ เชน อยางสม่ําเสมอและนาํ เสนอ - หนังสอื ทนี่ กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั เรือ่ งที่อาน - หนังสือทคี่ รแู ละนักเรยี นกําหนดรว มกันการอา นหนังสือ ตามความสนใจ เชน - หนังสือทน่ี ักเรยี นสนใจ และเหมาะสมกบั วัย - หนังสือทคี่ รูและนกั เรยี นกาํ หนดรว มกัน 7. บอกความหมายของเครื่องหมาย  การอานเครอ่ื งหมาย หรือสัญลักษณในชีวติ ประจําวัน หรอื สัญลักษณสาํ คัญที่มักพบเหน็ ในชีวิตประจาํ วัน 8. มมี ารยาท ในการอา น  มารยาทในการอาน เชน - ไมอ านเสียงดังรบกวนผอู ื่น - ไมเลนกนั ขณะท่ีอาน - ไมทาํ ลายหนังสือ ป.2 1. อา นออกเสียงคาํ คําคลองจอง  การอา นออกเสียงและการบอกความหมายของคํา คํา ขอ ความ และบทรอยกรองงายๆ ได คลองจอง ขอความและบทรอยกรองงาย ๆ ท่ีประกอบดวย ถกู ตอง คาํ พน้ื ฐานเพม่ิ จาก ป.1 ไมนอยกวา 800 คาํ รวมทงั้ คําท่ีใช 2. อธบิ ายความหมายของคาํ และ เรียนรใู นกลมุ สาระการเรยี นรูอื่นประกอบดวยN ขอ ความท่ีอาน - คําที่มีรูปวรรณยุกตและไมม รี ูปวรรณยกุ ต - คําที่มตี วั สะกดตรงตามมาตราและไมต รงตามมาตรา -8-

ชั้น ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง - คาํ ท่ีมีพยญั ชนะควบกล้าํ - คําทม่ี ีอกั ษรนํา - คาํ ท่ีมีตวั การันต - คาํ ที่มี รร - คาํ ท่มี ีพยญั ชนะและสระไมอ อกเสยี ง 3. ตัง้ คาํ ถามและตอบคําถามเก่ียวกบั  การอา นจับใจความจากสอื่ ตา ง ๆ เชน เรอ่ื งท่ีอา น - นทิ าน 4. ระบใุ จความสาํ คัญและรายละเอียด - เรอื่ งสนั้ ๆ จากเรื่องที่อา น - บทเพลงและบทรอยกรองงาย ๆ 5. แสดงความคดิ เห็นและคาดคะเน - เรื่องราวจากบทเรยี นในกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย เหตกุ ารณจากเรือ่ งท่ีอาน และกลมุ สาระการเรยี นรูอน่ื - ขา วและเหตกุ ารณป ระจําวนั 6. อา นหนงั สอื ตามความสนใจ  อานหนังสอื ตามความสนใจ เชน อยางสมา่ํ เสมอและนําเสนอเรื่องที่ - หนังสือทน่ี กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวัย อาน - หนังสือทค่ี รแู ละนักเรียนกําหนดรวมกัน 7. อานขอ เขียนเชิงอธิบาย และปฏบิ ัติ  อานขอเขยี นเชงิ อธบิ ายและปฏบิ ตั หิ รอื ขอแนะนาํ ตามคาํ สง่ั หรอื ขอแนะนํา - การใชสถานท่สี าธารณะ คาํ แนะนําการใชเครอื่ งใชท จี่ าํ เปนในบา นและในโรงเรียน 8. มีมารยาทในการอา น  มีมารยาทในการอา น เชน - ไมอานเสียงดังรบกวนผูอื่น - ไมเ ลนกนั ขณะท่ีอาน - ไมทําลายหนงั สือ - ไมค วรแยง อา นหรือชะโงกหนาไปอา นขณะที่ผูอ่ืนกําลัง อานอยู ป.3 1. อานออกเสียงคาํ ขอความ  การอานออกเสยี งและการบอกความหมายของคาํ คํา เรอื่ งสนั้ ๆ และบทรอยกรองงายๆ ได คลองจอง ขอ ความและบทรอยกรองงาย ๆ ทป่ี ระกอบดว ย ถกู ตอง คลองแคลว คําพ้นื ฐานเพิ่มจาก ป.2 ไมนอยกวา 1,200 คํา รวมท้งั คําที่ 2. อธบิ ายความหมายของคาํ และ ใชเ รียนรใู นกลมุ สาระการเรยี นรูอืน่ ประกอบดวย ขอ ความทอี่ าน - คาํ ทมี่ ีรูปวรรณยกุ ตและไมม รี ปู วรรณยุกต - คําทีม่ ตี วั สะกดตรงตามมาตราและไมต รงตามมาตรา - คําทม่ี ีพยญั ชนะควบกล้ํา - คําทีม่ ีอกั ษรนํา - คําที่มีตัวการนั ต - คาํ ทม่ี ี รร - คาํ ทม่ี ีพยัญชนะและสระไมอ อกเสยี ง - คําพอง - คาํ พิเศษอ่ืน ๆ เชน คาํ ท่ีใชฑ ฤ ฤๅ -9-

ชนั้ ตวั ชวี้ ดั สาระการเรียนรแู กนกลาง 3. ต้งั คําถามและตอบคาํ ถามเชิง  การอานจับใจความจากสอ่ื ตาง ๆ เชน เหตุผลเก่ียวกบั เร่อื งท่ีอา น - นทิ านหรือเรอ่ื งเก่ยี วกับทอ งถนิ่ 4. ลาํ ดบั เหตกุ ารณแ ละคาดคะเน - เรอ่ื งเลาสัน้ ๆ เหตุการณจากเร่ืองที่อานโดยระบุ - บทเพลงและบทรอยกรอง เหตุผลประกอบ - บทเรียนในกลมุ สาระการเรียนรอู ่นื 5. สรปุ ความรูและขอคดิ จากเร่อื งที่ - ขาวและเหตกุ ารณป ระจําวันในทองถนิ่ และชุมชน อานเพ่ือนาํ ไปใชใ นชีวติ ประจําวนั 6. อานหนังสือตามความสนใจ  อานหนงั สอื ตามความสนใจ เชน อยางสมาํ่ เสมอและนําเสนอเรื่องที่ - หนังสือทีน่ กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย อา น หนงั สอื ทคี่ รูและนักเรียนกําหนดรวมกนั 7. อานขอเขยี นเชงิ อธิบายและปฏิบัติ  อา นขอเขียนเชงิ อธบิ ายและปฏิบัติหรือขอแนะนํา ตามคาํ สัง่ หรือขอแนะนาํ - คาํ แนะนําตาง ๆ ในชวี ิตประจําวนั ประกาศ ปาย โฆษณา และคาํ ขวญั 8. อธิบายความหมายของขอมูลจาก  การอา นขอ มูลจากแผนภาพ แผนทแ่ี ละแผนภูมิ แผนภาพ แผนที่ และแผนภูมิ 9. มมี ารยาทในการอา น  มีมารยาทในการอาน เชน - ไมอ านเสียงดังรบกวนผูอ่ืน - ไมเ ลนกนั ขณะทีอ่ าน - ไมทาํ ลายหนงั สือ - ไมควรแยงอา นหรอื ชะโงกหนา ไปอา นขณะทผี่ ูอ ่นื กําลงั อานอยู ป.4 1. อานออกเสียงบทรอยแกวและ  การอา นออกเสียงและการบอกความหมายของบทรอย บทรอ ยกรองไดถ ูกตอ ง แกว และบทรอยกรองที่ประกอบดวย 2. อธิบายความหมายของคาํ - คาํ ทม่ี ี ร ล เปนพยญั ชนะตน ประโยค และสํานวนจากเรื่องทอ่ี า น - คาํ ท่มี ีพยัญชนะควบกลาํ้ - คาํ ท่ีมีอกั ษรนาํ - คําประสม - อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน - ประโยคทม่ี สี ํานวนเปน คําพังเพย สุภาษติ ปรศิ นาคาํ ทาย และเครอ่ื งหมายวรรคตอน - การอานบทรอยกรองเปน ทํานองเสนาะ 3. อา นเรอ่ื งส้ันๆ ตามเวลาทก่ี ําหนด  การอานจบั ใจความจากสือ่ ตา ง ๆ เชน และตอบคาํ ถามจากเรื่องทีอ่ าน - เรือ่ งสนั้ ๆ 4. แยกขอ เท็จจริงและขอคิดเห็น - เร่อื งเลาจากประสบการณ จากเรื่องทอ่ี า น - นิทานชาดก 5. คาดคะเนเหตุการณจากเร่ืองที่อา น - บทความ โดยระบเุ หตผุ ลประกอบ - บทโฆษณา - 10 -

ชั้น ตัวช้ีวดั สาระการเรียนรูแกนกลาง 6. สรปุ ความรแู ละขอคิดจากเรือ่ งที่ - งานเขยี นประเภทโนม นา วใจ อา นเพ่ือนาํ ไปใชใ นชีวติ ประจําวนั - ขา วและเหตุการณประจําวนั - สารคดแี ละบันเทิงคดี 7. อา นหนงั สอื ที่มคี ณุ คา ตามความ  การอา นหนงั สือตามความสนใจ เชน สนใจอยา งสม่าํ เสมอและแสดงความ - หนงั สอื ที่นักเรียนสนใจและเหมาะสมกับวัย คิดเห็นเกยี่ วกับเร่ืองท่ีอา น - หนังสอื ทค่ี รแู ละนักเรียนกําหนดรวมกนั 8. มมี ารยาทในการอาน  มารยาทในการอา น ป.5 1. อานออกเสียงบทรอ ยแกว และบท  การอานออกเสยี งและการบอกความหมายของบทรอยแกว และบทรอยกรองทปี่ ระกอบดวย รอยกรองไดถูกตอง 2. อธบิ ายความหมายของคาํ ประโยค - คําทมี่ ีพยัญชนะควบกลํา้ - คําทม่ี อี ักษรนาํ และขอความทีเ่ ปนการบรรยาย - คําทมี่ ีตัวการนั ต และการพรรณนา 3. อธบิ ายความหมายโดยนัย จาก - อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน - ขอความท่ีเปนการบรรยายและพรรณนา เรอ่ื งท่ีอานอยางหลากหลาย - ขอความท่ีมีความหมายโดยนัย  การอา นบทรอ ยกรองเปน ทํานองเสนาะ 4. แยกขอ เท็จจริงและขอคดิ เหน็ จาก  การอานจบั ใจความจากสอ่ื ตา งๆ เชน เร่ืองที่อา น - วรรณคดใี นบทเรียน 5. วิเคราะหและแสดงความคิดเห็น - บทความ เกย่ี วกบั เรอ่ื งทีอ่ านเพ่ือนําไปใช - บทโฆษณา ในการดาํ เนนิ ชีวติ - งานเขียนประเภทโนม นา วใจ - ขา วและเหตุการณป ระจําวนั 6. อานงานเขียนเชงิ อธิบาย คําส่ัง  การอานงานเขียนเชงิ อธบิ าย คําสั่ง ขอแนะนาํ และ ขอ แนะนาํ และปฏิบัติตาม ปฏิบัติตาม เชน - การใชพ จนานุกรม - การใชวสั ดุอปุ กรณ - การอา นฉลากยา - คูม อื และเอกสารของโรงเรยี นท่ีเกี่ยวของกับนักเรียน - ขาวสารทางราชการ 7. อานหนังสอื ท่ีมคี ณุ คา ตามความ  การอานหนังสือตามความสนใจ เชน สนใจอยางสมาํ่ เสมอและแสดงความ - หนงั สอื ทีน่ กั เรียนสนใจและเหมาะสมกับวยั คดิ เห็นเกยี่ วกบั เรื่องที่อา น - หนงั สอื ท่คี รแู ละนกั เรยี นกําหนดรว มกนั ป.6 1. อานออกเสยี งบทรอยแกว และ  การอา นออกเสียงและการบอกความหมายของบทรอ ย บทรอยกรองไดถูกตอ ง แกว และบทรอยกรอง ประกอบดวย 2. อธิบายความหมายของคํา ประโยค - คาํ ท่มี ีพยญั ชนะควบกลา้ํ และขอความท่เี ปนโวหาร - คาํ ท่มี ีอกั ษรนํา - 11 -

ชนั้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง - คําทีม่ ตี ัวการนั ต - คําทีม่ าจากภาษาตางประเทศ - อักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน - วนั เดือน ปแบบไทย - ขอความทเี่ ปนโวหารตา งๆ - สาํ นวนเปรยี บเทยี บ - การอานบทรอ ยกรองเปนทํานองเสนาะ 3. อานเร่ืองสน้ั ๆ อยางหลากหลาย  การอานจบั ใจความจากส่ือตา งๆ เชน โดยจับเวลาแลวถามเกี่ยวกับเร่ืองท่ี - เรอื่ งสนั้ ๆ อา น - นิทานและเพลงพ้นื บาน 4. แยกขอเทจ็ จรงิ และขอคดิ เห็นจาก - บทความ เรื่องที่อาน 5. อธบิ ายการนาํ ความรูและความคิด - พระบรมราโชวาท จากเร่อื งทอี่ า นไปตดั สนิ ใจแกปญ หา - สารคดี ในการดาํ เนนิ ชวี ติ - เรือ่ งสนั้ - งานเขียนประเภทโนม นาว - บทโฆษณา - ขา ว และเหตุการณส าํ คัญ - การอา นเรว็ 6. อานงานเขยี นเชิงอธิบาย คําสง่ั  การอานงานเขยี นเชงิ อธบิ าย คําสั่ง ขอแนะนาํ และ ขอแนะนาํ และปฏบิ ัตติ าม ปฏิบัติตาม - การใชพจนานุกรม - การปฏบิ ตั ติ นในการอยรู วมกนั ในสังคม - ขอ ตกลงในการอยูรว มกันในโรงเรียน และการใชส ถานท่ี สาธารณะในชมุ ชนและทอ งถ่ิน 7. อธบิ ายความหมายของขอมูล จาก  การอา นขอมูลจากแผนผงั แผนที่ แผนภมู ิ และกราฟ การอานแผนผงั แผนท่ี แผนภูมิ และ กราฟ 8. อานหนงั สือตามความสนใจ และ  การอานหนังสือตามความสนใจ เชน อธิบายคณุ คา ท่ีไดรบั - หนังสอื ทนี่ กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกับวยั - หนงั สอื อา นทคี่ รูและนกั เรยี นกําหนดรวมกนั 9. มมี ารยาทในการอา น  มารยาทในการอา น ม.1 1 . อา นออกเสียงบทรอยแกว และ  การอานออกเสยี ง ประกอบดวย บทรอ ยกรองไดถูกตองเหมาะสมกบั - บทรอ ยแกว ท่ีเปนบทบรรยาย เรื่องท่ีอา น - บทรอยกรอง เชน กลอนสุภาพ กลอนสกั วา กาพยยานี 11 กาพยฉบัง 16 กาพยสรุ างคนางค 28 และโคลงสสี่ ภุ าพ 2. จบั ใจความสาํ คัญจากเรอื่ งทอ่ี า น  การอานจับใจความจากสอื่ ตา งๆ เชน - 12 -

ชนั้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง 3. ระบุเหตแุ ละผล และขอ เท็จจริงกบั - เร่อื งเลา จากประสบการณ ขอ คิดเห็นจากเร่ืองที่อา น - เร่ืองส้ัน 4. ระบุและอธิบายคําเปรยี บเทียบ - บทสนทนา และคาํ ท่ีมหี ลายความหมายในบริบท - นทิ านชาดก ตางๆ จากการอาน - วรรณคดใี นบทเรยี น 5. ตคี วามคาํ ยากในเอกสารวิชาการ - งานเขยี นเชิงสรางสรรค โดยพิจารณาจากบรบิ ท - บทความ 6. ระบขุ อ สังเกตและควาสมเหตุสมผล - สารคดี ของงานเขยี นประเภทชักจูง โนมนาว - บันเทิงคดี ใจ - เอกสารทางวิชาการทีม่ ีคํา ประโยค และขอความทต่ี อง ใชบ รบิ ทชวยพจิ ารณาความหมาย - งานเขยี นประเภทชักจงู โนมนา วใจเชงิ สรางสรรค 7. ปฏบิ ตั ิตามคมู ือแนะนําวธิ กี ารใช  การอา นและปฏบิ ัติตามเอกสารคมู ือ งาน ของเคร่อื งมือหรอื เคร่ืองใชใ น ระดับท่ียากข้ึน 8. วิเคราะหคุณคา ที่ไดร บั จากการอาน  การอานหนงั สือตามความสนใจ เชน งานเขยี นอยางหลากหลายเพื่อ - หนังสอื ทีน่ กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย นําไปใชแกปญหาในชีวิต - หนงั สืออา นทีค่ รแู ละนกั เรียนกําหนดรวมกนั 9. มีมารยาทในการอา น  มารยาทในการอาน ม.2 1. อานออกเสยี งบทรอ ยแกว และ  การอา นออกเสยี ง ประกอบดว ย บทรอ ยกรองไดถูกตอ ง - บทรอยแกวที่เปน บทบรรยายและบทพรรณนา - บทรอยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอนนิทาน กลอน เพลงยาว และกาพยห อโคลง 2. จบั ใจความสาํ คญั สรปุ ความ และ  การอานจบั ใจความจากสอื่ ตา งๆ เชน อธิบายรายละเอียดจากเร่ืองที่อาน - วรรณคดใี นบทเรยี น 3. เขียนผงั ความคิดเพื่อแสดงความ - บทความ เขาใจในบทเรียนตาง ๆ ที่อาน - บนั ทึกเหตกุ ารณ 4. อภปิ รายแสดงความคิดเห็น และ - บทสนทนา ขอ โตแยงเกีย่ วกบั เร่ืองท่ีอา น - บทโฆษณา 5. วิเคราะหและจําแนกขอเท็จจรงิ - งานเขียนประเภทโนมนาวใจ ขอ มูลสนับสนุน และขอคดิ เห็นจาก - งานเขยี นหรอื บทความแสดงขอเท็จจริง บทความที่อาน - เรอื่ งราวจากบทเรยี นในกลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย 6. ระบุขอ สงั เกตการชวนเชอ่ื การ และกลมุ สาระการเรียนรูอ่ืน โนมนาว หรือความสมเหตุสมผลของ งานเขยี น 7. อานหนังสอื บทความ หรือคํา  การอานตามความสนใจ เชน ประพันธอยางหลากหลาย และ - หนงั สอื อานนอกเวลา - 13 -

ช้ัน ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง ประเมนิ คุณคาหรือแนวคิดทไ่ี ดจ าก - หนงั สือทน่ี กั เรยี นสนใจและเหมาะสมกบั วัย การอา น เพื่อนําไปใชแ กป ญหาในชวี ติ - หนงั สอื อา นท่ีครแู ละนักเรียนกําหนดรว มกัน 8. มมี ารยาทในการอา น  มารยาทในการอา น ม.3 1. อา นออกเสียงบทรอ ยแกว และ  การอา นออกเสยี ง ประกอบดว ย บทรอยกรองไดถ ูกตอ งและเหมาะสม - บทรอยแกวท่เี ปน บทความทัว่ ไปและบทความปกิณกะ กบั เรื่องทอี่ า น - บทรอยกรอง เชน กลอนบทละคร กลอนเสภา กาพย ยานี 11 กาพยฉบงั 16 และโคลงส่ีสุภาพ 2. ระบคุ วามแตกตางของคําที่มี  การอา นจบั ใจความจากสือ่ ตา งๆ เชน ความหมายโดยตรงและความหมาย - วรรณคดใี นบทเรยี น โดยนัย - ขาวและเหตกุ ารณส าํ คัญ 3. ระบใุ จความสาํ คัญและรายละเอยี ด - บทความ ของขอ มลู ที่สนับสนุนจากเรื่องทีอ่ า น - บนั เทิงคดี 4. อานเรื่องตา ง ๆ แลวเขียนกรอบ - สารคดี แนวคดิ ผงั ความคดิ บันทึก ยอความ - สารคดีเชงิ ประวัติ และรายงาน - ตํานาน 5. วิเคราะห วิจารณ และประเมิน - งานเขยี นเชิงสรา งสรรค เรอื่ งท่ีอานโดยใชกลวิธกี าร - เรื่องราวจากบทเรียนในกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เปรยี บเทียบเพ่ือใหผูอานเขาใจไดดขี น้ึ และกลมุ สาระการเรยี นรูอ่ืน 6. ประเมนิ ความถูกตองของขอมูล ท่ีใชส นับสนนุ ในเรอื่ งที่อา น 7. วจิ ารณค วามสมเหตสุ มผล การ ลาํ ดบั ความ และความเปน ไปไดของ เร่ือง 8. วิเคราะหเพื่อแสดงความคิดเห็น โตแ ยงเก่ยี วกบั เรือ่ งทอี่ าน 9. ตคี วามและประเมนิ คุณคา และ  การอา นตามความสนใจ เชน แนวคดิ ทีไ่ ดจากงานเขยี นอยาง - หนงั สืออานนอกเวลา หลากหลายเพอื่ นําไปใชแกปญหา ใน - หนงั สอื อา นตามความสนใจและตามวัยของนักเรียน ชวี ิต - หนังสอื อา นท่คี รูและนักเรียนรวมกนั กาํ หนด 10. มีมารยาทในการอาน  มารยาทในการอาน - 14 -

สาระที่ 2 การเขยี น มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนส่ือสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบ ตา งๆ เขียนรายงานขอ มูลสารสนเทศและรายงานการศกึ ษาคนควาอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ ชัน้ ตวั ชีว้ ัด สาระการเรยี นรแู กนกลาง ป.1 1. คัดตวั ลายมือบรรจงเต็มบรรทดั  การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทดั ตามรูปแบบการเขียน ตัวอักษรไทย 2. เขียนสอ่ื สารดว ยคําและประโยค  การเขยี นสะกดคําพ้นื ฐาน ไมนอ ยกวา 600 คาํ งา ย ๆ - คําท่ใี ชใ นชีวิตประจําวนั - คําพืน้ ฐานในบทเรยี น - ประโยคงา ย ๆ 3. มมี ารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขียน เชน - เขยี นใหอา นงา ย สะอาด ไมขีดฆา - ไมข ดี เขยี นในท่ีสาธารณะ - ใชภาษาเขยี นเหมาะสมกับ เวลา สถานที่ และบุคคล ป.2 1. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัด  การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขยี น ตัวอักษรไทย 2. เขยี นเรือ่ งสน้ั ๆ เกย่ี วกับ  การเขยี นเรื่องสน้ั ๆ เกย่ี วกับประสบการณ ประสบการณ 3. เขียนเรื่องสัน้ ๆ ตามจินตนาการ  การเขียนเร่ืองสน้ั ๆ ตามจินตนาการ 4. มีมารยาทในการเขยี น  มมี ารยาทในการเขียน เชน - เขียนใหอ านงาย สะอาด ไมข ดี ฆา - มขี ีดเขยี นในที่สาธารณะ - ใชภ าษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานทแ่ี ละบุคคล - ไมเ ขยี นลอเลยี นผูอน่ื หรือทําใหผูอนื่ เสยี หาย ป.3 1. คดั ลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทดั  การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรปู แบบการเขยี น ตัวอกั ษรไทย 2. เขียนบรรยายเกี่ยวกบั สง่ิ ใดส่ิงหนึ่ง  การเขยี นบรรยายเกย่ี วกับลักษณะของคน สัตว สง่ิ ของ ไดอยางชดั เจน สถานที่ 3. เขียนบนั ทึกประจาํ วนั  การเขยี นบนั ทึกประจําวนั 4. เขยี นจดหมายลาครู  การเขียนจดหมายลาครู 5. เขยี นเร่อื งตามจินตนาการ  การเขียนเรื่องตามจินตนาการจากคํา ภาพและหวั ขอท่ี กําหนด 6. มมี ารยาทในการเขยี น  มมี ารยาทในการเขยี น เชน - เขียนใหอา นงาย สะอาด ไมขดี ฆา - มขี ดี เขียนในท่ีสาธารณะ - ใชภ าษาเขยี นเหมาะสมกับเวลา สถานท่แี ละบคุ คล ไมเขียนลอเลียนผูอ่นื หรือทาํ ใหผ อู ่ืนเสียหาย - 15 -

ช้นั ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.4 1. คดั ลายมอื ตัวบรรจงเต็มบรรทดั  การคดั ลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครง่ึ บรรทัดตาม และครึง่ บรรทัด รปู แบบการเขียนตัวอกั ษรไทย 2. เขยี นส่ือสารโดยใชคาํ ไดถกู ตอ ง  การเขยี นส่ือสาร เชน ชัดเจน และเหมาะสม - คาํ ขวัญ - คาํ แนะนํา 3. เขียนแผนภาพโครงเรอื่ งและ  การนําแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิดไป แผนภาพความคิดเพื่อใชพฒั นางาน พัฒนางานเขียน เขยี น 4. เขียนยอความจากเรือ่ งส้นั ๆ  การเขียนยอความจากส่อื ตา ง ๆ เชน นทิ าน ความเรยี ง ประเภทตา ง ๆ ประกาศ จดหมาย คาํ สอน 5. เขียนจดหมายถึงเพื่อนและบดิ า  การเขยี นจดหมายถงึ เพอ่ื นและบดิ ามารดา มารดา 6. เขียนบนั ทึกและเขียนรายงานจาก  การเขียนบนั ทึกและเขียนรายงานจากการศกึ ษาคนควา การศกึ ษาคนควา 7. เขยี นเรอื่ งตามจนิ ตนาการ  การเขียนเร่ืองตามจินตนาการ 8. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ป.5 1. คัดลายมอื ตวั บรรจงเต็มบรรทัด  การคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดและครึ่งบรรทัดตาม และครึ่งบรรทัด รูปแบบการเขียนตวั อกั ษรไทย 2. เขียนส่ือสารโดยใชคาํ ไดถูกตองชัดเจน  การเขียนสื่อสาร เชน และเหมาะสม - คาํ ขวญั - คําอวยพร - คาํ แนะนําและคาํ อธบิ ายแสดงข้ันตอน 3. เขยี นแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพ  การนําแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิดไป ความคิดเพ่ือใชพฒั นางานเขียน พัฒนางานเขยี น 4. เขยี นยอความจากเร่อื งท่ีอาน  การเขียนยอความจากส่ือตางๆ เชน นิทาน ความเรียง ประเภทตางๆ ประกาศ แจง ความ แถลงการณ จดหมาย คํา สอน โอวาท คาํ ปราศรัย 5. เขียนจดหมายถึงผูปกครองและ  การเขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ ญาติ 6. เขียนแสดงความรูสกึ และความ  การเขยี นแสดงความรสู ึกและความคิดเหน็ คิดเหน็ ไดตรงตามเจตนา 7. กรอกแบบรายการตางๆ การกรอกแบบรายการ - ใบฝากเงินและใบถอนเงนิ - ธนาณตั ิ - แบบฝากสงพสั ดไุ ปรษณยี ภัณฑ - 16 -

ช้นั ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง 8. เขยี นเรื่องตามจินตนาการ  การเขียนเร่อื งตามจินตนาการ 9. มมี ารยาทในการเขยี น  มารยาทในการเขยี น  การคัดลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทัดและครึง่ บรรทดั ตาม ป.6 1. คดั ลายมือตวั บรรจงเต็มบรรทดั รปู แบบการเขียนตัวอกั ษรไทย และคร่งึ บรรทัด  การเขยี นส่อื สาร เชน คาํ ขวญั คาํ อวยพร ประกาศ 2. เขยี นสือ่ สารโดยใชคาํ ไดถกู ตอ ง ชัดเจน และเหมาะสม  การเขียนแผนภาพโครงเร่ืองและแผนภาพความคิด 3. เขยี นแผนภาพโครงเร่ืองและ แผนภาพความคิดเพื่อใชพฒั นางาน  การเขยี นเรยี งความ เขยี น  การเขียนยอความจากส่ือตาง ๆ เชน นิทาน ความเรียง 4. เขียนเรียงความ ประเภทตาง ๆ ประกาศ แจงความ แถลงการณ จดหมาย 5. เขียนยอ ความจากเรอื่ งท่ีอาน คําสอน โอวาท คําปราศรัย สุนทรพจน รายงาน ระเบียบ คาํ สัง่ 6. เขียนจดหมายสวนตัว  การเขียนจดหมายสวนตัว 7. กรอกแบบรายการตา งๆ - จดหมายขอโทษ - จดหมายแสดงความขอบคุณ 8. เขียนเรอ่ื งตามจินตนาการและ - จดหมายแสดงความเหน็ ใจ สรางสรรค - จดหมายแสดงความยนิ ดี 9. มมี ารยาทในการเขียน  การกรอกแบบรายการ ม.1 1. คดั ลายมอื ตัวบรรจงครึ่งบรรทดั - แบบคาํ รองตา งๆ - ใบสมคั รศึกษาตอ 2. เขียนส่อื สารโดยใชถอ ยคาํ ถกู ตอง - แบบฝากสงพัสดแุ ละไปรษณียภณั ฑ ชัดเจน เหมาะสม และสละสลวย  การเขียนเรือ่ งตามจนิ ตนาการและสรา งสรรค 3. เขยี นบรรยายประสบการณโดย  มารยาทในการเขยี น ระบสุ าระสําคัญและรายละเอียด  การคัดลายมือตวั บรรจงครึ่งบรรทดั ตามรูปแบบการเขียน สนบั สนุน ตวั อักษรไทย 4. เขยี นเรยี งความ  การเขยี นส่ือสาร เชน - การเขยี นแนะนาํ ตนเอง - การเขียนแนะนําสถานที่สาํ คัญๆ - การเขียนบนสื่ออเิ ล็กทรอนิกส  การบรรยายประสบการณ  การเขียนเรยี งความเชิงพรรณนา - 17 -

ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง 5. เขยี นยอความจากเรอื่ งที่อาน  การเขียนยอความจากสอ่ื ตา งๆ เชน เร่ืองส้นั คําสอน โอวาท คําปราศรยั สุนทรพจน รายงาน ระเบยี บ คําสงั่ บท สนทนาเรือ่ งเลาประสบการณ 6. เขยี นแสดงความคดิ เหน็ เก่ียวกับ  การเขยี นแสดงความคดิ เหน็ เกี่ยวกับสาระจากส่อื ตา งๆ สาระจากสือ่ ท่ีไดร บั เชน - บทความ - หนงั สืออานนอกเวลา - ขาวและเหตกุ ารณประจาํ วนั - เหตกุ ารณส าํ คัญตา งๆ 7. เขียนจดหมายสวนตัวและจดหมาย  การเขียนจดหมายสวนตวั กจิ ธุระ - จดหมายขอความชว ยเหลือ - จดหมายแนะนํา  การเขยี นจดหมายกจิ ธุระ - จดหมายสอบถามขอมลู 8. เขียนรายงานการศกึ ษาคน ควา และ  การเขยี นรายงาน ไดแ ก โครงงาน - การเขยี นรายงานจากการศึกษาคนควา - การเขียนรายงานโครงงาน 9. มมี ารยาทในการเขียน  มารยาทในการเขียน ม.2 1. คัดลายมอื ตวั บรรจงครึ่งบรรทัด  การคดั ลายมือตวั บรรจงครง่ึ บรรทดั ตามรปู แบบการเขียน ตวั อักษรไทย 2. เขยี นบรรยายและพรรณนา  การเขียนบรรยายและพรรณนา 3. เขียนเรยี งความ  การเขยี นเรียงความเก่ยี วกบั ประสบการณ 4. เขยี นยอความ  การเขียนยอความจากส่ือตาง ๆ เชน นิทาน คําสอน บทความทางวิชาการ บันทกึ เหตุการณ เรื่องราวในบทเรียน ในกลุมสาระการเรียนรูอืน่ นทิ านชาดก 5. เขยี นรายงานการศึกษาคนควา  การเขยี นรายงาน - การเขียนรายงานจากการศกึ ษาคนควา - การเขียนรายงานโครงงาน 6. เขียนจดหมายกิจธรุ ะ  การเขียนจดหมายกจิ ธรุ ะ - จดหมายเชญิ วทิ ยากร - จดหมายขอความอนเุ คราะห 7. เขียนวิเคราะห วจิ ารณ และแสดง  การเขียนวเิ คราะห วจิ ารณ และแสดงความรู ความ ความรู ความคิดเห็น หรือโตแยง คิดเหน็ หรือโตแยง จากสื่อตา งๆ เชน ในเรื่องที่อา นอยา งมีเหตุผล - บทความ - บทเพลง - หนังสอื อานนอกเวลา - สารคดี - 18 -

ชนั้ ตวั ช้วี ัด สาระการเรียนรแู กนกลาง - บันเทิงคดี ม.3 1. คดั ลายมอื ตวั บรรจงคร่ึงบรรทดั  การคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัดตามรปู แบบการเขียน ตัวอกั ษรไทย 2. เขียนขอ ความโดยใชถอ ยคําได  การเขยี นขอความตามสถานการณและโอกาสตางๆ เชน ถูกตองตามระดับภาษา - คําอวยพรในโอกาสตางๆ - คาํ ขวญั 3. เขยี นชีวประวัติหรืออัตชวี ประวตั ิ - คาํ คม โดยเลา เหตุการณ ขอคิดเห็น และ - โฆษณา ทัศนคติในเร่ืองตา งๆ - คตพิ จน 4. เขยี นยอความ - สุนทรพจน  การเขียนอัตชวี ประวตั หิ รือชีวประวัติ 5. เขยี นจดหมายกิจธุระ  การเขยี นยอความจากสอ่ื ตา งๆ เชน นทิ าน ประวตั ิ 6. เขียนอธิบาย ช้ีแจง แสดงความ ตาํ นาน สารคดีทางวิชาการ พระราชดํารัส พระบรมราโชวาท คิดเห็นและโตแยงอยางมเี หตุผล จดหมายราชการ 7. เขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดง  การเขยี นจดหมายกจิ ธรุ ะ ความรู ความคดิ เหน็ หรือโตแยง ในเรื่องตา งๆ - จดหมายเชิญวทิ ยากร - จดหมายขอความอนุเคราะห 8. กรอกแบบสมัครงานพรอมเขยี น - จดหมายแสดงความขอบคุณ บรรยายเกี่ยวกับความรูและทักษะ  การเขียนอธบิ าย ช้แี จง แสดงความคิดเห็น และโตแยง ใน ของตนเองทเี่ หมาะสมกับงาน เร่อื งตางๆ 9. เขยี นรายงานการศกึ ษาคนควา  การเขยี นวิเคราะห วจิ ารณ และแสดงความรู ความ และโครงงาน คิดเหน็ หรอื โตแยง จากสือ่ ตา งๆ เชน - บทโฆษณา 10. มีมารยาทในการเขยี น - บทความทางวชิ าการ  การกรอกแบบสมัครงาน  การเขยี นรายงาน ไดแ ก - การเขยี นรายงานจากการศึกษาคน ควา - การเขยี นรายงานโครงงาน  มารยาทในการเขียน - 19 -

สาระที่ 3 การฟง การดู และการพูด มาตรฐาน ท 3.1 สามารถเลือกฟงและดูอยางมวี ิจารณญาณ และพดู แสดงความรู ความคดิ และความรสู กึ ใน โอกาสตา งๆ อยางมีวจิ ารณญาณและสรางสรรค ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ป.1 1. ฟง คาํ แนะนาํ คําสัง่ งาย ๆ  การฟงและปฏิบัติตามคําแนะนาํ คาํ สงั่ งาย ๆ และปฏิบตั ติ าม 2. ตอบคําถามและเลา เรือ่ งท่ีฟง และดู  การจับใจความจากเรอ่ื งที่ฟงและดู ท้ังที่เปนความรแู ละ ทง้ั ทเ่ี ปนความรูและความบันเทงิ ความบันเทิง เชน 3. พดู แสดงความคิดเห็นและ - นทิ าน ความรสู ึกจากเรื่องที่ฟงและดู - การต นู 4. พดู สอื่ สารไดตามวตั ถปุ ระสงค  การพูดสื่อสารในชวี ติ ประจาํ วัน เชน - การแนะนําตนเอง - การกลา วคําทักทาย 5. มีมารยาทในการฟง การดู  มารยาทในการฟง เชน และการพูด - ต้งั ใจฟง ตามองผพู ูด - ไมร บกวนผูอ ื่นขณะท่ีฟง - ไมค วรนาํ อาหาร หรอื เคร่ืองดมื่ ไปรับประทานขณะทฟี่ ง - ใหเกียรตผิ พู ดู ดว ยการปรบมอื - ไมพ ูดสอดแทรกขณะท่ีฟง  มารยาทในการดู เชน - ต้ังใจดู - ไมส ง เสยี งดัง หรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ องผูอื่น  มารยาทในการพดู เชน - ใชถ อยคาํ และกริ ิยาทีส่ ภุ าพ เหมาะสมกับกาลเทศะ - ใชนา้ํ เสยี งนุมนวล - ไมพ ูดสอดแทรกในขณะที่ผูอ่ืนกําลังพดู ป.2 1. ฟง คําแนะนํา คาํ สง่ั ทซี่ บั ซอน และ  การฟง และปฏิบัตติ ามคาํ แนะนาํ คําสง่ั ท่ีซบั ซอน ปฏิบตั ิตาม 2. เลาเรื่องทฟ่ี งและดูทั้งทเ่ี ปนความรู  การจับใจความและพูดแสดงความคดิ เห็นความรสู ึกจาก และความบนั เทงิ เรอ่ื งที่ฟง และดู ทงั้ ที่เปนความรแู ละความบนั เทงิ เชน 3. บอกสาระสาํ คัญของเร่ืองท่ีฟง และ - เรือ่ งเลา และสารคดีสาํ หรับเด็ก ดู - นทิ าน การต นู และเรื่องขบขัน 4. ตงั้ คาํ ถามและตอบคาํ ถามเกยี่ วกบั - รายการสําหรบั เดก็ เรื่องท่ีฟง และดู - ขาวและเหตุการณป ระจําวนั 5. พดู แสดงความคิดเหน็ แลความรสู ึก - เพลง จากเร่ืองท่ีฟง และดู 6. พดู สอื่ สารไดชดั เจนตรงตาม  การพูดส่ือสารในชวี ติ ประจําวัน เชน วตั ถุประสงค - การแนะนําตนเอง - 20 -

ชนั้ ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง - การขอความชวยเหลือ - การกลา วคาํ ขอบคุณ - การกลาวคาํ ขอโทษ - การพดู ขอรองในโอกาสตางๆ - การเลาประสบการณใ นชีวติ ประจาํ วัน 7. มีมารยาทในการฟง การดู และการ  มารยาทในการฟง เชน พูด - ต้ังใจฟง ตามองผพู ูด - ไมรบกวนผูอน่ื ขณะท่ีฟง - ไมค วรนําอาหารหรือเคร่ืองด่มื ไปรบั ประทานขณะที่ฟง - ไมพูดสอดแทรกขณะท่ีฟง  มารยาทในการดู เชน - ตง้ั ใจดู - ไมสงเสียงดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธขิ องผอู นื่  มารยาทในการพูด เชน - ใชถ อยคาํ และกริ ยิ าทส่ี ภุ าพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใชนํ้าเสียงนมุ นวล - ไมพ ูดสอดแทรกในขณะท่ีผอู ื่นกําลังพดู - ไมพูดลอเลียนใหผูอืน่ ไดรับความอบั อายหรือเสียหาย ป.3 1. เลา รายละเอียดเก่ียวกบั เรื่องที่ฟง  การจบั ใจความและพูดแสดงความคดิ เห็นและ และดูทั้งทเี่ ปนความรูและความบนั เทงิ ความรูสึกจากเรื่องที่ฟง และดูทั้งทเี่ ปนความรู 2. บอกสาระสาํ คญั จากการฟงและ และความบันเทิง เชน การดู - เรอ่ื งเลา และสารคดีสาํ หรบั เด็ก 3. ตง้ั คําถามและตอบคาํ ถามเกย่ี วกบั - นทิ าน การตูน เรื่องขบขัน เร่อื งท่ีฟง และดู - รายการสาํ หรับเด็ก 4. พูดแสดงความคิดเห็นและ - ขาวและเหตกุ ารณในชวี ิตประจาํ วัน ความรสู กึ จากเรื่องท่ีฟง และดู - เพลง 5. พดู ส่อื สารไดชดั เจนตรงตาม  การพดู สื่อสารในชวี ิตประจาํ วัน เชน วตั ถุประสงค - การแนะนาํ ตนเอง - การแนะนาํ สถานท่ใี นโรงเรยี นและในชมุ ชน - การแนะนาํ /เชญิ ชวนเกยี่ วกบั การปฏิบัติตนในดา น ตางๆ เชน การรักษาความสะอาดของรางกาย - การเลา ประสบการณใ นชวี ติ ประจําวัน - การพูดในโอกาสตางๆ เชน การพูดขอรอง การพูดทกั ทาย การกลาวขอบคุณและขอโทษ การพูดปฏิเสธ และการพูดชกั ถาม 6. มีมารยาทในการฟง การดู และการ  มารยาทในการฟง เชน พูด - ต้งั ใจฟง ตามองผูพดู - 21 -

ช้นั ตัวชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง - ไมร บกวนผอู นื่ ขณะที่ฟง - ไมควรนําอาหารหรือเครอื่ งดื่มไปรบั ประทานขณะท่ฟี ง - ไมแ สดงกริ ยิ าที่ไมเ หมาะสม เชน โห ฮา หาว - ใหเ กยี รตผิ ูพดู ดวยการปรบมือ - ไมพ ดู สอดแทรกขณะที่ฟง  มารยาทในการดู เชน - ตัง้ ใจดู - ไมส งเสยี งดงั หรือแสดงอาการรบกวนสมาธิของผอู น่ื  มารยาทในการพดู เชน - ใชถอยคําและกริ ิยาท่สี ภุ าพ เหมาะสมกบั กาลเทศะ - ใชน ้ําเสียงนุม นวล - ไมพ ดู สอดแทรกในขณะทีผ่ อู ่ืนกําลังพูด - ไมพ ูดลอเลียนใหผ อู น่ื ไดรบั ความอบั อายหรอื เสียหาย ป.4 1. จําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น  การจําแนกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงและดู จากเรื่องที่ฟง และดู ในชวี ติ ประจาํ วนั 2. พดู สรปุ ความจากการฟงและดู  การจับใจความ และการพูดแสดงความรู ความคิดใน 3. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น เรอื่ งทีฟ่ ง และดู จากสือ่ ตา ง ๆ เชน และความรสู กึ เกย่ี วกบั เร่ืองที่ฟง และดู - เรอ่ื งเลา 4. ต้ังคําถามและตอบคําถามเชิง - บทความสน้ั ๆ เหตผุ ลจากเรอื่ งท่ฟี ง และดู - ขาวและเหตกุ ารณป ระจาํ วนั 5. รายงานเรอื่ งหรอื ประเดน็ ทศ่ี กึ ษา - โฆษณา คน ควา จากการฟง การดู และการ - ส่ืออเิ ล็กทรอนิกส สนทนา - เรื่องราวจากบทเรียนกลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย และกลมุ สาระการเรียนรูอ ื่น  การรายงาน เชน - การพดู ลาํ ดับขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน - การพดู ลาํ ดบั เหตุการณ 6.มมี ารยาทในการฟง การดู และ การ  มารยาทในการฟง การดู และการพดู พูด ป.5 1. พูดแสดงความรู ความคิดเห็น  การจับใจความ และการพูดแสดงความรู ความคิดใน และความรูสึกจากเรอ่ื งทฟ่ี ง และดู เรื่องทฟี่ งและดู จากสื่อตา งๆ เชน 2. ต้ังคําถามและตอบคําถามเชิง - เร่อื งเลา เหตุผลจากเรอื่ งทฟ่ี ง และดู - บทความ 3. วเิ คราะหความนา เช่ือถอื จากเรอื่ ง - ขาวและเหตุการณป ระจําวัน ท่ฟี งและดูอยา งมเี หตุผล - โฆษณา - สอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส  การวิเคราะหความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดูใน - 22 -

ชนั้ ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรแู กนกลาง ชีวติ ประจาํ วนั 4. พูดรายงานเร่อื งหรอื ประเด็นท่ี  การรายงาน เชน ศึกษาคน ควา จากการฟง การดู และ - การพดู ลาํ ดับขั้นตอนการปฏิบตั งิ าน การสนทนา - การพดู ลาํ ดับเหตุการณ 5. มีมารยาทในการฟง การดู และการ  มารยาทในการฟง การดู และการพูด พดู ป.6 1. พูดแสดงความรู ความเขาใจ  การพูดแสดงความรู ความเขาใจในจุดประสงคของเร่ือง จดุ ประสงคของเรอื่ งท่ฟี ง และดู ทฟ่ี ง และดจู ากสือ่ ตางๆ ไดแก 2. ตง้ั คําถามและตอบคาํ ถามเชิง - สอื่ ส่งิ พิมพ เหตผุ ล จากเร่ืองทีฟ่ งและดู - สอื่ อเิ ล็กทรอนิกส 3. วเิ คราะหความนาเชอ่ื ถอื จากการ  การวเิ คราะหค วามนา เชือ่ ถือจากการฟงและดูส่อื โฆษณา ฟง และดูส่อื โฆษณาอยางมีเหตผุ ล 4. พดู รายงานเร่ืองหรอื ประเด็นที่  การรายงาน เชน ศึกษาคนควา จากการฟง การดู และ - การพูดลาํ ดับข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน การสนทนา - การพูดลาํ ดบั เหตกุ ารณ 5. พดู โนมนาวอยา งมีเหตุผล และ  การพูดโนม นาวในสถานการณตา งๆ เชน นาเชอื่ ถือ - การเลือกต้ังกรรมการนกั เรยี น - การรณรงคด านตา งๆ - การโตวาที 6. มีมารยาทในการฟง การดู และการ  มารยาทในการฟง การดู และการพูด พูด ม.1 1. พดู สรุปใจความสาํ คัญของเรือ่ งท่ีฟง  การพดู สรปุ ความ พูดแสดงความรู ความคิดอยาง และดู สรางสรรคจ ากเรอื่ งทฟี่ งและดู 2. เลาเร่อื งยอจากเรอ่ื งที่ฟงและดู  การพูดประเมนิ ความนาเชอ่ื ถอื ของสื่อท่ีมเี น้ือหาโนมนาว 3. พูดแสดงความคดิ เห็นอยา ง สรา งสรรคเ ก่ยี วกบั เร่ืองที่ฟง และดู 4. ประเมินความนา เชื่อถือของส่ือ ท่ีมีเนื้อหาโนม นาวใจ 5. พดู รายงานเรอ่ื งหรือประเด็นท่ี  การพูดรายงานการศึกษาคนควาจากแหลง เรยี นรูตางๆ ศกึ ษาคนควา จากการฟง การดู และ ในชุมชน และทอ งถิน่ ของตน การสนทนา 6. มมี ารยาทในการฟง การดู และ  มารยาทในการฟง การดู และการพูด การพดู ม.2 1. พดู สรุปใจความสําคัญของเรือ่ งท่ีฟง  การพูดสรปุ ความจากเรื่องทฟ่ี ง และดู และดู 2. วเิ คราะหขอ เท็จจริง ขอคดิ เหน็ และ  การพูดวิเคราะหแ ละวิจารณจ ากเร่ืองที่ฟงและดู ความนาเช่ือถือของขา วสารจาก - 23 -

ช้นั ตวั ชวี้ ดั สาระการเรยี นรแู กนกลาง สื่อตา งๆ 3. วเิ คราะหแ ละวิจารณเ รื่องทฟี่ ง และ ดอู ยา งมเี หตผุ ลเพื่อนําขอคิดมา ประยุกตใชในการดําเนนิ ชีวติ 4. พดู ในโอกาสตางๆ ไดตรงตาม  การพูดในโอกาสตา ง ๆ เชน วตั ถปุ ระสงค - การพูดอวยพร - การพูดโนมนา ว - การพดู โฆษณา 4. พูดในโอกาสตางๆ ไดตรงตาม  การพดู ในโอกาสตางๆ เชน วตั ถุประสงค - การพดู อวยพร - การพดู โนม นาว - การพูดโฆษณา 5. พดู รายงานเรอ่ื งหรอื ประเด็นที่  การพดู รายงานการศึกษาคน ควา จากแหลงเรยี นรูต า งๆ ศกึ ษาคนควา 6. มมี ารยาทในการฟง การดู และการ  มารยาทในการฟง การดู และการพูด พดู ม.3 1. แสดงความคิดเห็นและประเมนิ  การพูดแสดงความคิดเหน็ และประเมินเร่ืองจากการฟง เรอื่ งจากการฟงและการดู และการดู 2. วเิ คราะหแ ละวิจารณเร่ืองที่ฟง และ  การพูดวเิ คราะหวิจารณจ ากเรือ่ งทฟ่ี งและดู ดูเพอื่ นําขอคิดมาประยุกตใชในการ ดาํ เนินชวี ิต 3. พดู รายงานเร่ืองหรือประเด็นที่  การพดู รายงานการศึกษาคนควาเกยี่ วกบั ภูมปิ ญญา ศกึ ษาคนควาจากการฟง การดู และ ทองถิ่น การสนทนา 4. พดู ในโอกาสตางๆ ไดตรงตาม  การพูดในโอกาสตา งๆ เชน วัตถปุ ระสงค - การพูดโตว าที - การอภิปราย - การพูดยอวาที 5. พูดโนม นาวโดยนําเสนอหลกั ฐาน  การพดู โนมนาว ตามลาํ ดบั เนื้อหาอยา งมเี หตุผลและ นาเชอื่ ถอื 6. มีมารยาทในการฟง การดู และการ  มารยาทในการฟง การดู และการพูด พดู - 24 -

สาระท่ี 4 หลกั การใชภ าษาไทย มาตรฐาน ท 4.1 เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษาและพลงั ของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเ ปน สมบัติของชาติ ช้ัน ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนรูแ กนกลาง ป.1 1. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ - พยญั ชนะ สระ และวรรณยกุ ต วรรณยกุ ต และเลขไทย - เลขไทย 2. เขยี นสะกดคาํ และบอกความหมาย  หลักการแจกลูก สะกดคํา ของคํา - หลักการใชมาตราตัวสะกดท่ตี รงตามมาตราและไมต รง ตามมาตรา 3. เรียบเรียงคําเปนประโยคงาย ๆ  การแตง ประโยค 4. ตอ คาํ คลองจองงา ย ๆ  คําคลองจอง ป.2 1. บอกและเขียนพยัญชนะ สระ  พยัญชนะ สระ และวรรณยกุ ต วรรณยุกตและเลขไทย  เลขไทย 2. เขยี นสะกดคําและบอกความหมาย  การสะกดคาํ การแจกลกู และการอานเปน คาํ ของคาํ  มาตราตัวสะกดทีต่ รงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา  การผันอักษรกลาง อกั ษรสูง และอักษรตา่ํ  คาํ ที่มีตวั การันต  คาํ ทม่ี ีพยัญชนะควบกลํ้า  คาํ ที่มีอักษรนาํ  คาํ ท่มี ีความหมายตรงขามกัน  คําที่มี รร  ความหมายของคํา 3. เรยี บเรยี งคําเปนประโยคไดตรง  การแตง ประโยค ตามเจตนาของการสื่อสาร  การเรียบเรยี งประโยคเปน ขอ ความสน้ั ๆ 4. บอกลักษณะคาํ คลองจอง  คาํ คลองจอง 5. เลือกใชภ าษาไทยมาตรฐานและ  ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถนิ่ ไดเ หมาะสมกับกาลเทศะ  ภาษาถิน่ ป.3 1. เขียนสะกดคาํ และบอกความหมา  การสะกดคาํ การแจกลูก และการอา นเปน คาํ ของคํา  มาตราตัวสะกดทต่ี รงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา  การผนั อกั ษรกลาง อกั ษรสงู และอักษรต่าํ  คาํ ทีม่ ีพยัญชนะควบกลํ้า  คาํ ที่มีอกั ษรนาํ  คําที่ประวิสรรชนยี และคาํ ที่ไมประวสิ รรชนยี   คําทม่ี ี ฤ ฤๅ  คําท่ีใช บัน บรร  คําท่ใี ช รร  คําท่ีมีตัวการนั ต  ความหมายของคํา - 25 -

ชนั้ ตัวชี้วดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง 2. ระบุชนิดและหนา ท่ีของคําใน  ชนดิ ของคําไดแก ประโยค - คาํ นาม - คาํ สรรพนาม - คาํ กรยิ า 3. ใชพ จนานุกรมคนหาความหมาย  การใชพ จนานุกรม ของคํา 4. แตง ประโยคงา ย ๆ  การแตงประโยคเพื่อการสื่อสาร ไดแ ก - ประโยคบอกเลา - ประโยคปฏเิ สธ - ประโยคคาํ ถาม - ประโยคขอรอง - ประโยคคําสัง่ 5. แตงคําคลองจองและคําขวัญ  คาํ คลองจอง  คําขวญั 6. เลือกใชภาษาไทยมาตรฐานและ  ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิน่ ไดเ หมาะสมกับกาลเทศะ  ภาษาถิ่น ป.4 1. สะกดคาํ และบอกความหมายของ  คําในแม ก กา คาํ ในบรบิ ทตาง ๆ  มาตราตวั สะกด  การผนั อักษร  คาํ เปน คําตาย  คําพอง 2. ระบชุ นิดและหนา ที่ของคาํ ใน  ชนดิ ของคาํ ไดแ ก ประโยค - คํานาม - คําสรรพนาม - คํากรยิ า - คําวิเศษณ 3. ใชพ จนานกุ รมคน หาความหมาย  การใชพจนานุกรม ของคาํ 4. แตง ประโยคไดถกู ตอ งตามหลกั  ประโยคสามญั ภาษา - สวนประกอบของประโยค - ประโยค 2 สวน - ประโยค 3 สวน 5. แตง บทรอยกรองและคาํ ขวัญ  กลอนส่ี  คําขวัญ 6. บอกความหมายของสาํ นวน  สาํ นวนทีเ่ ปน คาํ พังเพยและสุภาษติ 7. เปรียบเทียบภาษาไทยมาตรฐานกับ  ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิน่ ได  ภาษาถิ่น - 26 -

ช้ัน ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ป.5 1. ระบุชนิดและหนา ที่ของคาํ ใน  ชนิดของคาํ ไดแก ประโยค - คําบพุ บท - คําสันธาน - คาํ อุทาน 2. จาํ แนกสวนประกอบของประโยค  ประโยคและสว นประกอบของประโยค 3. เปรยี บเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกบั  ภาษาไทยมาตรฐาน ภาษาถิน่  ภาษาถน่ิ 4. ใชคาํ ราชาศพั ท  คาํ ราชาศัพท 5. บอกคาํ ภาษาตา งประเทศใน  คาํ ที่มาจากภาษาตา งประเทศ ภาษาไทย 6. แตง บทรอ ยกรอง  กาพยย านี 11 7. ใชส ํานวนไดถูกตอง  สาํ นวนทีเ่ ปนคาํ พังเพยและสุภาษติ ป.6 1. วเิ คราะหชนิดและหนา ท่ีของคําใน  ชนิดของคาํ ประโยค - คํานาม - คําสรรพนาม - คํากรยิ า - คาํ วิเศษณ - คาํ บุพบท - คาํ เช่อื ม - คําอทุ าน 2. ใชค ําไดเหมาะสมกบั กาลเทศะและ  คําราชาศัพท บุคคล  ระดบั ภาษา  ภาษาถน่ิ 3. รวบรวมและบอกความหมายของ  คําท่ีมาจากภาษาตา งประเทศ คําภาษาตา งประเทศทใี่ ชในภาษาไทย 4. ระบุลักษณะของประโยค  กลมุ คาํ หรือวลี  ประโยคสามัญ  ประโยครวม  ประโยคซอ น 5. แตงบทรอ ยกรอง  กลอนสภุ าพ 6. วเิ คราะหแ ละเปรียบเทียบสาํ นวนท่ี  สํานวนท่เี ปน คาํ พงั เพย และสุภาษิต เปนคาํ พังเพย และสภุ าษติ ม.1 1. อธิบายลกั ษณะของเสียงใน  เสยี งในภาษาไทย ภาษาไทย 2. สรา งคาํ ในภาษาไทย  การสรางคํา - คาํ ประสม คําซา้ํ คาํ ซอน - 27 -

ชน้ั ตวั ชวี้ ัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - คาํ พอง 3. วเิ คราะหช นดิ และหนา ที่ของคําใน  ชนดิ และหนา ที่ของคํา ประโยค 4. วเิ คราะหค วามแตกตา งของภาษา  ภาษาพูด พูดและภาษาเขียน  ภาษาเขยี น 5. แตงบทรอยกรอง  กาพยยานี 11 6. จาํ แนกและใชสาํ นวนทเ่ี ปนคํา  สาํ นวนท่ีเปนคาํ พังเพยและสภุ าษิต พังเพยและสุภาษิต ม.2 1. สรา งคําในภาษาไทย  การสรางคาํ สมาส 2. วเิ คราะหโครงสรา งประโยคสามัญ  ลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย ประโยครวม และประโยคซอ น - ประโยคสามญั - ประโยครวม - ประโยคซอน 3. แตง บทรอยกรอง  กลอนสุภาพ 4. ใชคําราชาศพั ท  คําราชาศัพท 5. รวบรวมและอธบิ ายความหมายของ  คําที่มาจากภาษาตา งประเทศ คาํ ภาษาตางประเทศท่ีใชในภาษาไทย ม.3 1. จําแนกและใชคาํ ภาษาตางประเทศ  คําทม่ี าจากภาษาตา งประเทศ ทใ่ี ชในภาษาไทย 2. วิเคราะหโครงสรางประโยคซบั ซอ น  ประโยคซบั ซอน 3. วเิ คราะหระดบั ภาษา  ระดบั ภาษา 4. ใชคาํ ทบั ศัพทแ ละศัพทบ ญั ญตั ิ  คาํ ทับศัพท  คาํ ศัพทบัญญตั ิ 5. อธบิ ายความหมายคาํ ศัพททาง  คาํ ศพั ททางวิชาการและวิชาชีพ วชิ าการและวิชาชีพ 6. แตง บทรอ ยกรอง  โคลงสสี่ ุภาพ สาระท่ี 5 วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท 5.1 เขาใจและแสดงความคดิ เห็น วจิ ารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และ นาํ มาประยุกตใชในชีวิตจริง ชน้ั ตวั ช้วี ัด สาระการเรยี นรูแ กนกลาง ป.1 1. บอกขอคดิ ท่ไี ดจ ากการอา นหรอื  วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสาํ หรบั เดก็ เชน การฟง วรรณกรรมรอยแกว และรอย - นทิ าน กรองสาํ หรับเด็ก - เรอื่ งสน้ั งา ยๆ - ปรศิ นาคําทาย - บทรองเลน - 28 -

ชนั้ ตวั ชี้วัด สาระการเรียนรแู กนกลาง - บทอาขยาน - บทรอ ยกรอง - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น ๒. ทองจาํ บทอาขยานตามท่ีกําหนด  บทอาขยานและบทรอยกรอง และบทรอยกรองตามความสนใจ - บทอาขยานตามที่กําหนด - บทรอยกรองตามความสนใจ ป.2 1. ระบุขอ คิดที่ไดจากการอานหรือ  วรรณกรรมรอยแกวและรอยกรองสําหรับเด็ก เชน การฟง วรรณกรรมสาํ หรบั เด็ก เพอื่ - นทิ าน นําไปใชในชีวติ ประจําวนั - เรือ่ งส้นั งา ยๆ - ปริศนาคาํ ทาย - บทอาขยาน - บทรอ ยกรอง - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี น 2. รองบทรองเลนสาํ หรบั เด็กใน  บทรองเลนท่ีมีคุณคา ทอ งถนิ่ - บทรองเลนในทอ งถ่นิ - บทรอ งเลน ในการละเลน ของเด็กไทย 3. ทองจาํ บทอาขยานตามท่กี ําหนด  บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา และบทรอยกรองที่มคี ุณคา ตามความ - บทอาขยานตามท่กี าํ หนด สนใจ - บทรอ ยกรองตามความสนใจ ป.3 1. ระบขุ อคิดทไี่ ดจากการอา น  วรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพน้ื บาน วรรณกรรมเพื่อนาํ ไปใชใ ชีวติ - นทิ านหรือเรื่องในทองถนิ่ ประจําวนั - เรื่องสั้นงาย ๆ ปริศนาคาํ ทาย 2. รูจักเพลงพืน้ บานและเพลงกลอ ม - บทรอ ยกรอง เดก็ เพ่ือปลกู ฝง ความช่ืนชมวฒั นธรรม - เพลงพื้นบา น ทองถนิ่ - เพลงกลอมเด็ก 3. แสดงความคิดเห็นเกย่ี วกับ - วรรณกรรมและวรรณคดีในบทเรียนและตามความสนใจ วรรณคดีทอี่ าน 4. ทอ งจาํ บทอาขยานตามทก่ี ําหนด บทอาขยานและบทรอยกรองทมี่ ีคุณคา และบทรอยกรองท่ีมีคณุ คาตามความ - บทอาขยานตามทกี่ ําหนด สนใจ - บทรอ ยกรองตามความสนใจ ป.4 1. ระบุขอคดิ จากนิทานพนื้ บานหรอื  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน นิทานคตธิ รรม - นิทานพน้ื บา น 2. อธบิ ายขอคดิ จากการอานเพ่ือ - นิทานคติธรรม นาํ ไปใชใ นชีวติ จริง - เพลงพื้นบา น - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความสนใจ 3. รองเพลงพน้ื บา น  เพลงพ้นื บา น 4. ทองจาํ บทอาขยานตามท่กี ําหนด  บทอาขยานและบทรอ ยกรองท่ีมีคณุ คา - 29 -

ชน้ั ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง และบทรอยกรองที่มีคณุ คาตามความ - บทอาขยานตามทกี่ าํ หนด สนใจ - บทรอยกรองตามความสนใจ ป.5 1. สรปุ เรอื่ งจากวรรณคดหี รือ  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน วรรณกรรมท่ีอาน - นทิ านพื้นบา น 2. ระบคุ วามรูแ ละขอคิดจากการอา น - นิทานคตธิ รรม วรรณคดแี ละวรรณกรรมทส่ี ามารถ - เพลงพ้ืนบา น นําไปใชใ นชวี ิตจรงิ - วรรณคดแี ละวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความสนใจ 3. อธิบายคณุ คาของวรรณคดีและ วรรณกรรม 4. ทองจาํ บทอาขยานตามท่ีกาํ หนด  บทอาขยานและบทรอ ยกรองท่มี ีคณุ คา และบทรอยกรองที่มคี ณุ คา ตามความ - บทอาขยานตามที่กาํ หนด สนใจ - บทรอ ยกรองตามความสนใจ ป.6 1. แสดงความคิดเหน็ จากวรรณคดี  วรรณคดีและวรรณกรรม เชน หรอื วรรณกรรมที่อา น - นทิ านพนื้ บานทอ งถน่ิ ตนเองและทอ งถิน่ อน่ื 2. เลานิทานพืน้ บานทองถน่ิ ตนเอง - นทิ านคติธรรม และนิทานพ้นื บานของทอ งถิ่นอืน่ - เพลงพื้นบาน 3. อธิบายคณุ คาของวรรณคดี และ - วรรณคดีและวรรณกรรมในบทเรยี นและตามความสนใจ วรรณกรรมที่อา นและนําไป ประยกุ ตใชในชวี ติ จรงิ 4. ทอ งจําบทอาขยานตามทกี่ ําหนด  บทอาขยานและบทรอยกรองท่มี ีคุณคา และบทรอยกรองท่ีมคี ณุ คา ตามความ - บทอาขยานตามที่กาํ หนด สนใจ - บทรอ ยกรองตามความสนใจ ม.1 1. สรปุ เนอ้ื หาวรรณคดีและ  วรรณคดแี ละวรรณกรรมเกย่ี วกบั วรรณกรรมที่อา น - ศาสนา - ประเพณี - พิธกี รรม - สภุ าษิตคําสอน - เหตุการณป ระวตั ิศาสตร - บนั เทิงคดี - บันทกึ การเดนิ ทาง - วรรณกรรมทองถนิ่ 2. วเิ คราะหว รรณคดีและวรรณกรรม  การวเิ คราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดแี ละ ทอ่ี า นพรอ มยกเหตผุ ลประกอบ วรรณกรรม 3. อธบิ ายคุณคาของวรรณคดีและ วรรณกรรมท่ีอา น 4. สรปุ ความรูและขอคิดจากการอา น เพอื่ ประยกุ ตใชในชีวติ จริง - 30 -

ช้นั ตวั ช้วี ดั สาระการเรยี นรูแกนกลาง 5. ทอ งจาํ บทอาขยานตามท่กี ําหนด  บทอาขยานและบทรอยกรองทมี่ ีคณุ คา และบทรอยกรองท่ีมีคุณคา ตามความ - บทอาขยานตามที่กาํ หนด สนใจ - บทรอยกรองตามความสนใจ ม.2 1. สรุปเน้ือหาวรรณคดแี ละ  วรรณคดแี ละวรรณกรรมเกยี่ วกับ วรรณกรรมท่ีอา นในระดบั ทีย่ ากข้ึน - ศาสนา - ประเพณี - พิธีกรรม - สภุ าษติ คาํ สอน - เหตกุ ารณป ระวัติศาสตร - บันเทิงคดี - บนั ทกึ การเดินทาง 2. วเิ คราะหและวิจารณว รรณคดี  การวิเคราะหคุณคาและขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถ่ินท่ี และวรรณกรรมทองถน่ิ อาน พรอมยกเหตุผลประกอบ 3. อธิบายคณุ คาของวรรณคดีและ วรรณกรรมที่อาน 4. สรุปความรูแ ละขอคิดจากการอา น ไปประยุกตใ ชใ นชวี ติ จริง 5. ทอ งจาํ บทอาขยานตามท่กี ําหนด  บทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมีคณุ คา และบทรอยกรองท่ีมีคณุ คาตามความ - บทอาขยานตามท่ีกําหนด สนใจ - บทรอ ยกรองตามความสนใจ ม.3 1. สรปุ เนื้อหาวรรณคดี วรรณกรรม  วรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทอ งถ่ินเกี่ยวกับ และวรรณกรรมทอ งถ่ินในระดบั ที่ยาก - ศาสนา ยิ่งข้นึ - ประเพณี - พิธกี รรม - สภุ าษติ คาํ สอน - เหตุการณใ นประวตั ศิ าสตร - บันเทงิ คดี 2. วิเคราะหวิถไี ทยและคุณคา จาก  การวเิ คราะหวิถีไทย และคุณคา จากวรรณคดีและ วรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อา น วรรณกรรม 3. สรุปความรูและขอคดิ จากการอา น เพือ่ นําไปประยุกตใชในชวี ิตจรงิ 4. ทอ งจาํ และบอกคุณคา บทอาขยาน  บทอาขยานและบทรอ ยกรองที่มีคณุ คา ตามที่กําหนด และบทรอยกรองท่ีมี - บทอาขยานตามที่กาํ หนด คณุ คา ตามความสนใจและนําไปใช - บทรอ ยกรองตามความสนใจ อางองิ - 31 -

รหัส ท11101 ภาษาไทย คาํ อธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน ชนั้ ประถมศึกษาปท ี่ 1 กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย เวลา 200 ชั่วโมง ศึกษาวิธีการอานออกเสียงและบอกความหมายของคํา คําคลองจอง และขอความส้ัน ๆ การอาน คาํ ท่มี รี ปู วรรณยุกต การอา นคําท่ีมตี วั สะกดตรงตามมาตราและไมต รงตามมาตรา การอานคําท่ีมีพยัญชนะควบ กลาํ้ การอา นคําท่ีมีอักษรนํา การอานจับใจความสําคัญจากนิทาน บทรองเลนและบทเพลง เรื่องจากบทเรียน การเลือกอานหนงั สือตามความสนใจและหนังสือทคี่ รกู ําหนดใหอา น การอา นเครื่องหมายและสัญลักษณตาง ๆ ที่พบในชีวิตประจําวัน มีมารยาทในการอานการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด การเขียนสะกดคํา การเขียน ประโยค การเขียนขอความ มีมารยาทในการเขียนการปฏิบัติตามคําสั่งและคําแนะนํางาย ๆ การจับใจความ สําคญั จากเรอ่ื งทฟี่ ง และดู การพูดแนะนําตนเอง การพูดขอความชวยเหลือ การกลาวขอบคุณ การกลาวคําขอ โทษ การพูดแสดงความคิดเห็นและความรูสึก มีมารยาทในการฟง การดู และการพูดศึกษาวิธีการเขียน พยัญชนะ สระ วรรณยุกต และเลขไทย การสะกดคํา การแจกลูก มาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไมตรง ตามมาตรา การผันอักษร ความหมายของคํา การแตงประโยค การใชคําคลองจองบอกขอคิดจากวรรณกรรม รอยแกว และรอ ยกรองสาํ หรับเดก็ ทองจําอาขยานตามที่กาํ หนดและตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคดิ กระบวนการฝกทกั ษะทางภาษา การปฏิบัติจริง กระบวนการกลุม เพ่ือใหเกิด ทักษะในการใชภาษาเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจําวัน มีนิสัยใฝเรียนรู รักความเปนไทย และมีคุณธรรม จรยิ ธรรมทเี่ หมาะสม ตวั ชี้วดั ท 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5, ป.1/6, ป.1/7, ป.1/8 ท 2.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3 ท 3.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4, ป.1/5 ท 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4 ท 5.1 ป.1/1, ป.1/2 รวมท้ังหมด 5 มาตรฐาน 22 ตัวช้ีวดั - 32 -

ท12101 ภาษาไทย คําอธิบายรายวชิ าพืน้ ฐาน ช้ันประถมศึกษาปท ี่ 2 กลุมสาระการเรยี นรูภ าษาไทย เวลาเรยี น 200 ช่ัวโมง ศึกษาการอานออกเสียงและบอกความหมายของคํา คําคลองจอง ขอความ และบทรอยกรองงาย ๆ การอานคําท่ีมีรูปวรรณยุกต และไมมีรูปวรรณยุกต การอานคําท่ีมีตัวสะกดตรงตามมาตราและไมตรงตาม มาตรา การอานคําท่ีมีพยัญชนะควบกลา การอานคําที่มีอักษรนํา การอานคําท่ีมีตัวสะกดและที่ไมออกเสียง การอานจับใจความสําคัญจากนิทาน เรื่องเลา บทรอยกรอง เรื่องจากบทเรียน การอานคําแนะนําการใช เคร่อื งใชทจ่ี าํ เปนในบานและในโรงเรยี น การอา นคาํ แนะนาํ ในการใชส ถานที่สาธารณะ มีนิสัยรักการอานและมี มารยาทในการอานการคัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัดตามรูปแบบการเขียนตัวอักษรไทย การเขียนตาม ประสบการณและจินตนาการอยางมีมารยาทการฟงและปฏิบัติตามคําสั่งที่ซับซอน การจับใจความสําคัญจาก เรื่องท่ีฟงและดู การพูดแสดงความคิดเห็น และความรูสึกจากเร่ืองท่ีฟงและดู การพูดขอรองในโอกาสตาง ๆ การเลาประสบการณในชีวิตประจําวันไดอยางมีมารยาทศึกษาสวนประกอบของคํา การสะกดคํา การแจกลูก มาตราตัวสะกดท่ีตรงตามมาตราและไมตรงตามมาตรา การผันอักษร 3 หมู คําที่มีตัวการันต คําที่มีพยัญชนะ ควบกล้ํา คําทีม่ อี กั ษรนาํ คําทม่ี ีความหมายตรงขามกัน คําท่ีมี รร ความหมายของคํา การแตงประโยคและการ เรียบเรียงประโยคเปนขอความ การใชคําคลองจอง ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถ่ินบอกขอคิดที่ไดจากการ อานวรรณกรรมรอ ยแกว และรอยกรองสําหรบั เด็ก แลว นําไปใชในชวี ิตประจําวัน ฝกรองบทรองเลนสําหรับเด็ก ในทอ งถ่นิ ทองจาํ บทอาขยานตามท่ีกาํ หนดและบทรองกรองตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคิด การฝกทักษะทางภาษา การปฏิบัติจริง กระบวนการกลุม เพื่อใหเกิดความรู และทักษะในการใชภาษาเพ่ือการสื่อสารในชีวิตประจําวัน มีนิสัยใฝเรียนรู รักความเปนไทย และมีจิต สาธารณะ ตัวช้วี ดั ท 1.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7, ป.2/8 ท 2.2 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4 ท 3.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5, ป.2/6, ป.2/7 ท 4.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3, ป.2/4, ป.2/5 ท 5.1 ป.2/1, ป.2/2, ป.2/3 รวมท้ังหมด 5 มาตรฐาน 27 ตัวช้วี ัด - 33 -

ท13101 ภาษาไทย คําอธบิ ายรายวชิ าพืน้ ฐาน ชั้นประถมศึกษาปท ่ี 3 กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย เวลาเรยี น 200 ชั่วโมง ศึกษาความหมายของคํา การอานออกเสียงคํา คําคลองจอง ขอความ และบทรอยกรอง การอานคํา ทมี่ ตี วั การนั ต การอานคาํ ท่ีมี รร การอานคําที่มีพยัญชนะและสระไมออกเสียง การอานคําพอง การอานคําที่มี ฑ ฤ ฦ การจับใจความสาํ คัญจากนทิ าน นิทานพื้นบาน วรรณกรรมจากบทเรียนการอานประกาศ และคําขวัญ การอานขอมูลจากแผนภาพแผนท่ี และแผนภูมิ และมีมารยาทในการอาน การเขียนบรรยายเกี่ยวกับลักษณะ ของส่ิงตา ง ๆ การเขียนบันทกึ ประจําวัน การเขียนจดหมายลาครู การเขียนเรื่องตามจินตนาการ มีนิสัยรักการ เขียนและมีมารยาทในการเขียนการจับใจความสําคัญและพูดแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงและดู การพูด สื่อสารในชีวิตประจาํ วนั และมีมารยาทในการฟง การดู และการพูด ศึกษาการสะกดคําและแจกลูกคํา มาตรา ตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา และไมตรงตามมาตรา การผันอักษร 3 หมู คําท่ีมีพยัญชนะควบกล้ํา คําท่ีมี ฤ ฤๅ คําท่ีใช บัน บรร คําที่ใช รร คําที่มีตัวการันต และความหมายของคํา คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา การใช พจนานกุ รม การแตงประโยคเพ่ือการสื่อสาร การแตงคําคลองจองและคําขวัญ ภาษาไทยมาตรฐานและภาษา ถ่ิน บอกขอคิดและแสดงความคิดเห็นจากการอาวรรณคดี วรรณกรรม และเพลงพ้ืนบาน ทองจําบทอาขยาน และบทรอยกรองตามทีก่ าํ หนดและตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคิด การฝกทักษะทางภาษา การปฏิบัติจริง กระบวนการกลุม เพ่ือใหเกิดความรู และทักษะในการใชภ าษาในการดาํ เนินชวี ติ ประจาํ วนั มีนิสยั ใฝเรยี นรู เหน็ คุณคา ของภูมิปญญาทางภาษา และ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรมท่ีเหมาะสม ตวั ช้ีวัด ท 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7, ป.3/8, ป.3/9 ท 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 ท 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 ท 4.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6 ท 5.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4 รวมท้งั หมด 5 มาตรฐาน 31 ตัวช้วี ัด - 34 -

ท14101 ภาษาไทย คําอธบิ ายรายวชิ าพน้ื ฐาน ชัน้ ประถมศึกษาปท ่ี 4 กลุม สาระการเรียนรภู าษาไทย เวลาเรียน 160 ช่วั โมง ศึกษาการอานรอยแกวและรอยกรองและบอกความหมายของคํา ประโยคและขอความจากเรื่องท่ี อาน การอา นคาํ ท่ีมี ร ล เปนพยญั ชนะตน การอานคําท่ีมีพยัญชนะควบกลํ้า การอานคําท่ีมีอักษรนํา การอาน คําประสม การอานอักษรยอและเครื่องหมายวรรคตอน การอานประโยคที่มีสํานวนเปนคําพังเพย สุภาษิต ปริศนาคําทาย และเครื่องหมายวรรคตอน การอานบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะ การอานจับใจความจาก เร่ืองตาง ๆที่หลากหลาย มีนิสัยรักการอานและมีมารยาทในการอานการคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด การ เขียนคําขวัญและคําแนะนํา การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด การเขียนยอความจากสื่อที่ หลากหลาย การเขียนจดหมายถึงเพื่อนและบิดามารดา การเขียนบันทึกและเขียนรายงานการศึกษาคนควา การเขียนเรื่องตามจินตนาการ มีนิสัยรักการเขียนและมีมารยาทในการเขียนการจับใจความสําคัญ การแยก ขอเท็จจริงและขอคิดเห็น จากเร่ืองที่ฟงและดูจากส่ือตาง ๆ ที่หลากหลาย การพูดรายงานลําดับข้ันตอนการ ปฏิบัติงาน การพูดรายงานตามลําดับเหตุการณ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูดศึกษาคําในแม ก กา มาตราตัวสะกด การผันอักษร คําเปนคําตาย คําพอง คํานาม คําสรรพนาม คํากริยา คําวิเศษณ การใช พจนานกุ รม การแตงประโยคสามัญ วิเคราะหสวนประกอบของประโยค 2 สวน และ 3 สวน การแตงกลอนสี่ การแตงคําขวัญ การใชสํานวนที่เปนคําพังเพยและสุภาษิต บอกและอธิบายขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมทองถิ่น เพื่อนําไปใชในชีวิตจริง ฝกรองเพลงพื้นบาน ทองจําบทอาขยานและบทรอยกรองท่ีมี คุณคาตามทกี่ ําหนดและตามความสนใจ โดยใชก ระบวนการคดิ การฝก ทักษะทางภาษา การปฏิบัติจริง กระบวนการกลมุ เพื่อพัฒนาทกั ษะทางภาษาในการเรยี นรู และการส่ือสารในชีวิตประจําวัน เห็นความสําคัญของการใช ภาษาไทยถูกตอง มีจติ สาธารณะ และมีคุณธรรมจรยิ ธรรมท่เี หมาะสม ตัวช้ีวดั ท 1.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8 ท 2.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7, ป.4/8 ท 3.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6 ท 4.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4, ป.4/5, ป.4/6, ป.4/7 ท 5.1 ป.4/1, ป.4/2, ป.4/3, ป.4/4 รวมท้ังหมด 5 มาตรฐาน 33 ตวั ชีว้ ดั - 35 -

ท14101 ภาษาไทย คาํ อธิบายรายวิชาพ้ืนฐาน ชั้นประถมศึกษาปที่ 5 กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย เวลาเรียน 160 ช่ัวโมง ศึกษาการอานรอยแกวและรอยกรองและบอกความหมายของคํา ประโยค ขอความจากเร่ืองที่อาน การอานคําท่ีมีพยัญชนะควบกลํ้า การอานคําที่มีอักษรนํา การอานคําท่ีมีตัวการันต การอานอักษรยอและ เครื่องหมายวรรคตอน การอานขอความที่เปนการบรรยายและพรรณนา การอานขอความท่ีมีความหมาย โดยนัย การอานบทรอยกรองเปนทํานองเสนาะ การอานขอความจากส่ือตาง ๆ การอานงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ขอแนะนําและปฏิบัติตาม มีมารยาทในการอาน การคัดลายมือตัวบรรจงคร่ึงบรรทัด การเขียนคําขวัญ คําอวยพร คําแนะนําและคําอธิบายแสดงขั้นตอน การเขียนแผนภาพโครงเรื่องและแผนภาพความคิด การ เขียนยอความจากสื่อที่หลากหลาย การเขียนจดหมายถึงผูปกครองและญาติ การเขียนแสดงความรูสึกและ ความคิดเห็น การกรอกแบบรายการตาง ๆ การเขียนเร่ืองตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน การจับ ใจความสําคัญ วิเคราะหความนาเชื่อถือ และพูดแสดงความคิดเห็นจากเรื่องท่ีฟงและดู การพูดรายงานลําดับ ขั้นตอนการปฏิบัติงาน การพูดรายงานตามลําดับเหตุการณ บอกชนิดและหนาท่ีของคําบุพบท คําสันธาน คํา อุทาน แยกสวนประกอบของประโยค การใชคําราชาศัพท คําท่ีมาจากภาษาตางประเทศ การแตงกาพยยานี 11 และใชสํานวน สุภาษิต คําพังเพย ถูกตองสรุปเน้ือหา บอกความรู ขอคิด และอธิบายคุณคาของวรรณคดี และวรรณกรรมท่ีอา นและนําไปประยกุ ตใชใ นชวี ติ ประจาํ วัน โดยใชกระบวนการคดิ การฝกทกั ษะทางภาษา การปฏิบัติจริง และกระบวนการกลมุ เพื่อใชภาษาไดอยางสรางสรรคเปนประโยชนตอสวนรวมและสรางความสามัคคีสอดคลองกับ ขนบธรรมเนยี มประเพณีและวัฒนธรรมของชาติ ตัวช้ีวดั ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8 ท 1.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7, ป.5/8, ป.5/9 ท 2.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5 ท 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5, ป.5/6, ป.5/7 ท 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ท 5.1 รวมทัง้ หมด 5 มาตรฐาน 33 ตัวชว้ี ดั - 36 -

ท16101 ภาษาไทย คําอธิบายรายวิชาพนื้ ฐาน ชน้ั ประถมศึกษาปท ี่ 6 กลุม สาระการเรียนรูภาษาไทย เวลาเรียน 160 ชว่ั โมง ศึกษาการอานรอยแกวและรอยกรอง และบอกความหมายของ ประโยค และขอความท่ีเปนโวหาร จากเร่ืองที่อาน การอา นคําที่มพี ยัญชนะควบกลํ้า การอานคาํ ทมี่ ีอักษรนํา การอา นคาํ ที่มีตัวการันต การอานคํา ที่มาจากภาษาตางประเทศ การอานอักษรยอ และเคร่ืองหมายวรรคตอน การอานวัน เดือน ป แบบไทย การ อา นขอ ความท่เี ปนโวหารตา ง ๆ การอานสาํ นวนเปรียบเทยี บ การอานบทรอ ยกรองเปนทํานองเสนาะ การอาน จับใจความจากสื่อท่ีหลากหลายและนําความรูและขอคิดจากเรื่องไปเปนแนวทางในการตัดสินใจแกปญหาใน การดําเนนิ ชวี ติ การอา นงานเขียนเชิงอธบิ าย คาํ สัง่ ขอแนะนํา และปฏิบตั ติ าม การอา นขอมลู จากแผนผัง แผน ท่ี แผนภมู ิ และกราฟ เลือกอานหนังสือตามความสนใจ มีนิสัยรักการอานและมารยาทในการอานการเขียนคํา ขวัญ คาํ อวยพร และประกาศ การเขียนแผนภาพโครงเรอื่ งและแผนความคดิ การเขียนเรียงความ การเขียนยอ ความจากสอื่ ท่ีหลากหลาย การเขยี นจดหมายขอโทษ จดหมายแสดงความขอบคุณ จดหมายแสดงความเห็นใจ จดหมายแสดงความยนิ ดี การกรอกแบบรายการตา ง ๆ การเขียนเรือ่ งตามจินตนาการ มีนิสัยรักการเขียน และ มีมารยาทในการเขียนการพูดแสดงความรู ความเขาใจ จุดประสงคของเรื่องที่ฟงและดูจากส่ือสิ่งพิมพและสื่อ อิเล็กทรอนิกส การวิเคราะหความนาเช่ือถือจากการฟงและดูสื่อโฆษณา การพูดรายงานลําดับข้ันตอนการ ปฏิบัติงาน การพูดรายงานตามลําดับเหตุการณ การพูดโนมนาวในสถานการณตาง ๆ มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด ศึกษาชนิดและหนาที่ของคํา 7 ชนิด คําราชาศัพท ระดับภาษา ภาษาถิ่น คําท่ีมาจาก ภาษาตางประเทศ ลักษณะของกลุมคําหรือวลี ประโยคสามัญ ประโยครวม ประโยคซอนแสดงความคิดเห็น และอธิบายคุณคาของวรรณคดี วรรณกรรม และวรรณกรรมพ้ืนบาน เลานิทานพ้ืนบานในทองถ่ินของตนเอง นิทานพื้นบานของทองถ่ินอื่น และนําขอคิดไปใชในชีวิตจริง ทองจําบทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคุณคา ตามทก่ี ําหนดและตามความสนใจ โดยใชกระบวนการคดิ การฝกทักษะทางภาษา การปฏิบตั จิ ริง กระบวนการกลมุ เพื่อใชภาษาไดอยางสรางสรรคเปนประโยชนตอสวนรวมและสรางความสามัคคีสอดคลองกับ ขนบธรรมเนียมประเพณีและวัฒนธรรมของชาติ ตัวชว้ี ัด ท 1.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9 ท 2.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6, ป.6/7, ป.6/8, ป.6/9 ท 3.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6 ท 4.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4, ป.6/5, ป.6/6 ท 5.1 ป.6/1, ป.6/2, ป.6/3, ป.6/4 รวมทง้ั หมด 5 มาตรฐาน 34 ตวั ชวี้ ดั - 37 -

คําอธิบายรายวิชาพ้นื ฐาน รหสั วชิ า ท 21101 รายวิชา ภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลาเรยี น 60 ช่วั โมง จํานวน 1.5 หนวยกิต ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและ วรรณกรรมโดยศึกษาเก่ียวกับการอานออกเสียงการอานจับใจความการอานและปฏิบัติตามเอกสารคูมือการ อานหนังสือตามความสนใจฝกทักษะการคัดลายมือการเขียนสื่อสารเขียนบรรยายประสบการณ เขียน เรียงความ เขียนยอความ เขียนแสดงความคิดเห็น การเขียนจดหมายสวนตัวและจดหมายกิจธุระ การเขียน รายงาน การพูดสรุปความ พูดแสดงความรู ความคิดอยางสรางสรรคจากเรื่องที่ฟงและดู พูดประเมินความ นาเชื่อถือของส่ือท่ีมีเน้ือหาโนมนาว พูดรายงานการศึกษาคนควา และศึกษาลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสรางคําประสม คําซ้ํา คําซอน และคําพอง วิเคราะหชนิดและหนาที่ของคํา การแตงบทรอยกรอง ประเภทกาพยยานี 11วิเคราะห ประเมินคา และขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเรื่อง นิราศภูเขาทอง โคลงโลกนติ ิ สภุ าษติ พระรวง ทองจาํ บทอาขยานตามทีก่ าํ หนด และบทรอยกรองทีม่ ีคณุ คา ตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพ่ือสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียนเพ่ือการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง และดู และพูดแสดงความรคู วามคดิ อยางมวี ิจารณญาณและสรางสรรค เพือ่ ใหเขาใจธรรมชาตภิ าษาและหลกั ภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญาทาง ภาษา วเิ คราะหวิจารณว รรณคดแี ละวรรณกรรมอยางเห็นคณุ คา นาํ มาประยุกตใชในชีวิตจริงรักษาภาษาไทยไว เปน สมบตั ิของชาติ และมนี ิสัยรกั การอา น การเขยี นมีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพดู ตวั ชีว้ ัด ท 1.1 ม.1/1 ท 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ท 3.1 ม.1/6 ท 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/5 ท 5.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 รวม 5 มาตรฐาน 19 ตวั ชีว้ ดั - 38 -

รหสั วชิ า ท 21102 คาํ อธบิ ายรายวชิ าพนื้ ฐาน ช้นั มธั ยมศึกษาปท ่ี 1 รายวชิ า ภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภาษาไทย ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 60 ช่ัวโมง จาํ นวน 1.5 หนวยกิต ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและ วรรณกรรมโดยศึกษาเกี่ยวกับการอานออกเสียงการอานจับใจความการอานและปฏิบัติตามเอกสารคูมือ การ อานหนังสือตามความสนใจ เขียนแสดงความคิดเห็น การเขียนรายงาน การพูดสรุปความ พูดแสดงความรู ความคดิ อยา งสรางสรรคจากเร่ืองที่ฟงและดู พดู ประเมนิ ความนาเชื่อถือของสื่อที่มีเนื้อหาโนมนาว พูดรายงาน การศึกษาคนควา และศึกษาลักษณะของเสียงในภาษาไทย การสรางคําประสม คําซ้ํา คําซอน และคําพอง วิเคราะหชนิดและหนาที่ของคํา ความแตกตางของภาษาพูดและภาษาเขียน การแตงบทรอยกรองประเภท กาพยย านี 11 จําแนกและใชส าํ นวนท่เี ปน คาํ พงั เพยและสภุ าษติ วิเคราะห ประเมนิ คา และขอคิดจากวรรณคดี และวรรณกรรมเร่อื ง กาพยเ ร่ืองพระไชยสรุ ิยา ราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา กาพยเ หช มเครื่องคาวหวาน และนิทาน พ้ืนบา น ทองจําบทอาขยานตามทีก่ ําหนด และบทรอยกรองทมี่ คี ณุ คา ตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียนเพ่ือการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง และดู และพูดแสดงความรูค วามคดิ อยา งมีวิจารณญาณและสรา งสรรค เพอ่ื ใหเ ขาใจธรรมชาตภิ าษาและหลกั ภาษาไทย การเปล่ียนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญาทาง ภาษา วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคานํามาประยุกตใชในชีวิตจริง รักษาภาษาไทย ไวเปน สมบตั ขิ องชาติ และมีนิสัยรักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และ การพูด ตวั ชี้วดั ท 1.1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8 ม.1/9 ท 2.1 ม.1/6 ท 3.1 ม.1/1ม.1/2ม.1/3ม.1/4ม.1/5ม.1/6 ท 4.1 ม.1/4 ม.1/6 ท 5.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5 รวมทัง้ หมด 5 มาตรฐาน 22 ตัวช้ีวัด - 39 -

คาํ อธิบายรายวชิ าพ้นื ฐาน รหัสวิชา ท 22101 รายวชิ า ภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรภู าษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปท่ี 2 ภาคเรยี นที่ 1 เวลาเรียน 60 ช่ัวโมง จํานวน 1.5 หนวยกติ ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและ วรรณกรรมโดยศึกษาเก่ียวกับการอานออกเสียงการเขียนบรรยายและพรรณนา เขียนเรียงความเกี่ยวกับ ประสบการณเขียนยอความ เขียนรายงาน การเขียนจดหมายกิจธุระ การเขียนวิเคราะห วิจารณ และแสดง ความรู ความคิดเหน็ หรือโตแยง และศึกษาลกั ษณะของประโยคในภาษาไทย การสรางคาํ สมาส การรวบรวม และอธิบายความหมายของคําภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย วิเคราะห ประเมินคา และขอคิดจาก วรรณคดีและวรรณกรรมเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร บทเสภาสามัคคีเสวก ตอน วิศวกรรมาและ สามคั คเี สวก ศิลาจารกึ หลกั ที่ 1 บทละครเร่ืองรามเกียรต์ิ ตอนนารายณปราบนนทก ทองจําบทอาขยานตามท่ี กาํ หนด และบทรอยกรองที่มคี ณุ คา ตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียนเพื่อการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง และดู และพูดแสดงความรคู วามคิดอยา งมวี จิ ารณญาณและสรางสรรค เพ่อื ใหเ ขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทยการเปล่ียนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญาทาง ภาษา วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคานํามาประยุกตใชในชีวิตจริง รักษาภาษาไทย ไวเปน สมบตั ิของชาติ และมนี สิ ัยรักการอาน การเขยี น มีมารยาทในการอา น การเขยี น การฟง การดู และการ พดู ตัวช้วี ดั ท 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/8 ท 2.1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ท 3.1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/6 ท 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/5 ท 5.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 รวมท้งั หมด 5 มาตรฐาน 21 ตัวช้วี ัด - 40 -

คําอธบิ ายรายวิชาพ้ืนฐาน รหสั วิชา ท 22102 รายวิชา ภาษาไทย กลมุ สาระการเรยี นรูภาษาไทย ช้นั มัธยมศกึ ษาปที่ 2 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 60 ชว่ั โมง จาํ นวน 1.5 หนวยกิต ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด การวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและ วรรณกรรมโดยศึกษาเกี่ยวกับการอานออกเสียงการอานจับใจความการอานตามความสนใจ ฝกทักษะการคัด ลายมือ การพูดสรุปความ พูดวิเคราะหและวิจารณจากเร่ืองท่ีฟงและดู พูดในโอกาสตางๆ พูดรายงาน การศกึ ษาคนควา การใชคาํ ราชาศพั ท การแตงบทรอยกรอง ประเภทกลอนสภุ าพ วิเคราะห ประเมินคา และ ขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเร่ือง กาพยหอโคลงประพาสธารทองแดง โคลงสุภาษิตพระราชนิพนธ พระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว กลอนดอกสรอยรําพึงในปาชา และนิราศเมืองแกลง ทองจําบท อาขยานตามท่ีกาํ หนด และบทรอ ยกรองท่ีมคี ณุ คา ตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียนเพ่ือการส่ือสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง และดู และพดู แสดงความรูค วามคดิ อยางมวี จิ ารณญาณและสรา งสรรค เพ่อื ใหเ ขาใจธรรมชาตภิ าษาและหลักภาษาไทย การเปลย่ี นแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญาทาง ภาษา วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคานํามาประยุกตใชในชีวิตจริง รักษาภาษาไทย ไวเปน สมบตั ิของชาติ และมีนิสยั รักการอา น การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการ พูด ตวั ช้วี ดั ท 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8 ท 2.1 ม.2/1 ท 3.1 ม.2/1 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ท 4.1 ม.2/3 ม.2/4 ท 5.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 รวมทง้ั หมด 5 มาตรฐาน 21 ตัวชว้ี ดั - 41 -

รหัสวชิ า ท 23101 คําอธบิ ายรายวิชาพืน้ ฐาน กลุมสาระการเรียนรภู าษาไทย ช้ันมธั ยมศึกษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 1 จาํ นวน 1.5 หนว ยกิต รายวชิ าภาษาไทย เวลาเรยี น 60 ชัว่ โมง ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูดการวิเคราะหและประเมินคาวรรณคดีและ วรรณกรรมโดยศึกษาเกี่ยวกับการอา นออกเสียง การอานจบั ใจความ การอานตามความสนใจ ฝกทักษะการคัด ลายมือ การเขียนขอความตามสถานการณและโอกาสตางๆ เขียนอัตชีวประวัติหรือชีวประวัติ เขียนยอความ การเขียนจดหมายกิจธรุ ะเขยี นอธิบาย ชแ้ี จง แสดงความคดิ เหน็ และโตแ ยง เขียนวิเคราะหวิจารณ และแสดง ความรคู วามคดิ เห็น หรอื โตแยงจากส่อื ตา งๆ กรอกแบบสมัครงาน เขียนรายงาน ฝกทักษะการพูดแสดงความ คิดเห็นและการประเมินเรื่องจากการฟงและการดู พูดวิเคราะหวิจารณจากเรื่องที่ฟงและดู พูดรายงาน การศึกษาคนควา พูดในโอกาสตางๆ พูดโนมนาวและศึกษาเกี่ยวกับคําภาษาตางประเทศที่ใชในภาษาไทย โครงสรางประโยคซับซอน ระดับภาษา คําทับศัพทและศัพทบัญญัติ คําศัพททางวิชาการและวิชาชีพ การแตง บทรอยกรองประเภทโคลงส่ีสุภาพวิเคราะหวิถีไทย ประเมินคา ความรูและขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรม อิศรญาณภาษติ บทพากยเ อราวัณ ทอ งจําบทอาขยานท่กี าํ หนดและบทรอ ยกรองท่ีมีคณุ คาตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพ่ือสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียนเพ่ือการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง และดู และพดู แสดงความรคู วามคดิ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค เพ่อื ใหเ ขา ใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลีย่ นแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญาทาง ภาษา วิเคราะหว ิจารณว รรณคดแี ละวรรณกรรมอยางเห็นคุณคานํามาประยุกตใชในชีวิตจริง รักษาภาษาไทย ไวเปนสมบัติของชาติ และมนี ิสัยรักการอาน การเขียน มีมารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการ พดู ตัวชีว้ ดั ท 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/8 ม.3/10 ท 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/6 ม.3/7 ม.3/9 ท 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/6 ท 4.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ท 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 รวมทง้ั หมด 5 มาตรฐาน 27 ตัวชวี้ ัด - 42 -

คาํ อธิบายรายวชิ าพื้นฐาน รหัสวชิ า ท 23102 รายวิชาภาษาไทย กลมุ สาระการเรียนรูภ าษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 3 ภาคเรยี นท่ี 2 เวลาเรียน 60 ชั่วโมง จาํ นวน 1.5 หนว ยกิต ศึกษาวิเคราะห ฝกทักษะการอาน การเขียน การฟง การดูและการพูดการวิเคราะหและประเมินคา วรรณคดีและวรรณกรรมโดยศึกษาเกี่ยวกับการอานออกเสียง การอานจับใจความ การอานตามความสนใจ การเขียนขอความตามสถานการณและโอกาสตางๆ เขียนอัตชีวประวัติหรือชีวประวัติ เขียนยอความ การ เขียนจดหมายกิจธุระกรอกแบบสมัครงาน เขียนรายงาน พูดในโอกาสตางๆ พูดโนมนาวการแตงบทรอย กรองประเภทโคลงสี่สุภาพวิเคราะหวิถีไทย ประเมินคา ความรูและขอคิดจากวรรณคดี วรรณกรรมบทละคร พูดเร่อื งเห็นแกล กู นทิ านคาํ กลอนเรื่องพระอภัยมณีตอนหนีนางผีเส้ือ พระบรมราโชวาท ทองจําบทอาขยานท่ี กาํ หนดและบทรอ ยกรองที่มีคุณคา ตามความสนใจ โดยใชกระบวนการอานเพื่อสรางความรูความคิดนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต กระบวนการเขียนเพื่อการสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ กระบวนการฟง การดู และการพูด สามารถเลือกฟง และดู และพูดแสดงความรูความคิดอยา งมวี จิ ารณญาณและสรางสรรค เพื่อใหเขาใจธรรมชาติภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา พลังภาษา ภูมิปญญา ทางภาษา วิเคราะหวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมอยางเห็นคุณคานํามาประยุกตใชในชีวิตจริง รักษา ภาษาไทยไวเปน สมบัตขิ องชาติ และมีนิสัยรกั การอา น การเขยี น มมี ารยาทในการอาน การเขียน การฟง การดู และการพูด ตัวชว้ี ดั ท 1.1 ม.3/1 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/7 ม.3/9 ม.3/10 ท 2.1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/8 ม.3/10 ท 3.1 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ท 4.1 ม.3/1 ม.3/6 ท 5.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 รวมท้งั หมด 5 มาตรฐาน 21 ตัวชวี้ ัด - 43 -

คาํ อธิบายรายวิชาเพิ่มเติม ท11201 การเสรมิ ทักษะการอาน-เขียนภาษาไทย 1 กลมุ สาระการเรียนรภู าษาไทย ช้ันประถมศกึ ษาปที่ 1 เวลา 40 ชว่ั โมง อานออกเสยี ง พยญั ชนะ สระ วรรณยกุ ต สะกดคํา อานคําพื้นฐาน กลุมคํา ขอความ พรอมท้ังอธิบาย ความหมายของคําพ้ืนฐาน กลุมคํา ขอความ โดยสามารถนําคํา กลุมคํา ขอความมาเรียงใหเปนประโยค สามารถเขียนตามคําบอก คําพื้นฐาน กลุมคํา ขอความ รวมถึงประโยคได สามารถอานนิทาน เร่ืองส้ัน บทความ และสามารถบอกไดว า ใคร ทําอะไร ที่ไหน เม่ือไหร อยางไร บอกขอคิดที่ไดจากเรื่อง นําเสนอเร่ืองที่ อานโดยออกมาเลาหนาชั้นเรียนได รวมถึงสามารถต้ังคําถาม ตอบคําถาม ระบุใจความสําคัญ รายละเอียด แสดงความคิดเห็นคาดคะเน เหตุการณ อานหนังสือตามความสนใจ เขียนเร่ืองสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ เขียนเร่ืองสั้นจากภาพเชิงสรางสรรค คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด สามารถอานบทรอยแกว บทรอยกรอง อธิบายความหมายของบทรอยแกว บทรอยกรอง อานคําคลองจองและเขียนคําคลองจอง ทองจําบทอาขยาน และบทรอยกรองได เพ่ือใหมีความรูความเขาใจในหลักเกณฑการใชภาษา มีทักษะกระบวนการสื่อสารกระบวนการคิด มี ความสนใจใฝเรียนรู มีมารยาท ในการอาน เขียน ฟง ดู และพูด สามารถนําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันมี เจตคตทิ ่ีดตี อ ภาษาไทยและภมู ใิ จในภาษาไทย ผลการเรียนรู 1. ผูเ รียนมที ักษะในการอานออกเสยี ง คาํ กลมุ คาํ ขอ ความ รวมถึงประโยคได 2. ผเู รยี นสามารถอธบิ ายความหมายของคํา กลมุ คาํ ขอ ความ รวมถงึ สามารถเรียบเรยี งประโยคได 3. ผเู รยี นสามารถเขียนตามคําบอกของ คาํ กลุม คํา ขอความ รวมถงึ ประโยคได 4. ผเู รียนสามารถอา นจบั ใจความสาํ คญั ของเรื่องส้นั นทิ าน บทความได 5. ผเู รียนสามารถเขยี นเรื่องสน้ั เกี่ยวกับประสบการณ เขียนเร่ืองส้ันจากภาพในเชงิ สรางสรรคไ ด 6. ผูเรยี นสามารถอานและเขียนบทรอ ยแกว รอยกรองอยางงายได 7. ผเู รียนมที ักษะในการเขียน คดั ลายมือ เขียนพยัญชนะ สระวรรณยกุ ต เลขไทยได 8. ผเู รยี นมคี วามสนใจใฝเรียนรู มุง มนั่ ในการทํางานตั้งใจเรียนและมีสวนรว มในกจิ กรรม รวม 8 ผลการเรียนรู - 44 -

คําอธบิ ายรายวชิ าเพมิ่ เติม ท12201 การเสริมทกั ษะการอา น-เขยี นภาษาไทย 2 กลุมสาระการเรยี นรภู าษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 2 เวลา 40 ชว่ั โมง อา นออกเสยี ง คํา ขอ ความ เรื่องสั้นๆ และบทรอยกรองงายๆ อธิบายความหมายของคําและขอความ ที่อาน คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํามีมารยาทในการอาน เขียน บรรยายเกี่ยวกับส่ิงใดสิ่งหนึ่งไดอยางชัดเจน เขียนเร่ืองตามจินตนาการ มีมารยาทในการเขียน พูดส่ือสารได ชัดเจนตามวัตถุประสงคร ะบชุ นดิ และหนาท่ีของคําในประโยค แตงประโยคงายๆ อานหนังสือตามความสนใจ อยา งสมาํ่ เสมอและนาํ เสนอเรื่องทีอ่ าน ลําดับเหตุการณแ ละคาดคะเนเหตุการณจากเรื่องท่ีอานโดยระบุเหตุผล ประกอบ สรปุ ความรูแ ละขอ คดิ จากเรือ่ งท่ีอา น อานขอเขยี นเชงิ อธิบายโดยใชกระบวนการทางภาษา ไดแก กระบวนการอาน กระบวนการเขียนและ กระบวนการฟง กระบวนการพดู และการดู การคดิ เพื่อใหเกิดความรู ความคิด ความเขาใจ สามารถส่ือสาร สิ่งที่เรียนรูและนําความรูไป ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน มีจิตสํานึกรักภาษาไทย และมีคานิยมท่ีดีตอ ภาษาไทย ผลการเรยี นรู 1. ผูเรยี นมที กั ษะในการอานออกเสียง คํา ขอความ เรือ่ งสนั้ ๆ และบทรอยกรองได 2. ผเู รยี นมีทกั ษะในการอา นจับใจความ นําเสนอเรื่องท่ีอา น สรปุ ความรูและขอคิดจากเร่ืองท่ีอานได 3. ผูเรยี นมที ักษะในการเขียน คัดลายมอื ดวยตัวบรรจงเต็มบรรทัดได 4. ผูเรียนเขยี นสะกดคําบอกความหมายของคาํ เขียนบรรยายเก่ยี วกบั สิง่ ใดสิง่ หนงึ่ ไดอยา งชัดเจน 5. ผเู รยี นมีทักษะในการแตงประโยคงายๆ เขยี นเร่ืองตามจินตนาการได 6. ผูเ รียนมคี วามสามารถในการสือ่ สาร 7. ผเู รยี นมคี วามสนใจใฝเ รียนรู มุง ม่นั ในการทาํ งานต้ังใจเรียนและมสี ว นรว มในกิจกรรม รวม 7 ผลการเรียนรู - 45 -

คาํ อธบิ ายรายวชิ าเพิ่มเตมิ ท13201 การเสริมทกั ษะการอา น-เขยี นภาษาไทย 3 กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย เวลา 40 ช่วั โมง ช้นั ประถมศึกษาปท ี่ 3 ศึกษาและฝก ทักษะทางภาษาผานกระบวนการอาน การเขียน การอานออกเสียงบทรอยแกว บทรอย กรอง อานเรื่องสั้นตามเวลาท่ีกําหนด ตอบคําถาม แยกขอเท็จจริงขอคิดเห็น คาดคะเนเหตุการณจากเร่ืองท่ี อานโดยระบุเหตุผลประกอบ สรุปความรูและขอคิดจากเรื่องท่ีอาน คัดลายมือตัวบรรจง เขียนเร่ืองตาม จินตนาการ สะกดคํา บอกความหมายของคํา ระบุชนิดและหนาท่ีของคําในประโยค การใชพจนานุกรม แตง ประโยคสามัญ แตงบทรอยกรอง คาํ ขวญั และบอกความหมายของสํานวน เปรียบเทยี บภาษาไทยมาตรฐานกับ ภาษาถิ่นระบุขอคิดจากนิทานพ้ืนบานหรือนิทานคติธรรม อธิบายขอคิดจากการอาน เพ่ือนําไปใชในชีวิตจริง รองเพลงพ้ืนบาน ทองจําบทอาขยานตามที่กําหนด และบทรอยกรองที่มีคุณคาตามความสนใจโดยใชทักษะ กระบวนการทางภาษา กระบวนการคิด และประเมินคา มีนิสัยรักการอาน มีมารยาทในการอาน เขียน ฟง ดู และการพดู เพอ่ื ใหเ กดิ เจตคติท่ีดีตอการเรียนวิชาภาษาไทย ต้ังใจเรียนและมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนคนควา หาความรูจากแหลงการเรียนรูตางๆอยางสมํ่าเสมอ ซักถามและศึกษาเพ่ือหาขอมูล มีความรอบคอบในการ ทํางาน ใชภาษาไทยไดอยางถูกตอง เพื่อนําความรูไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน และใหเกิดผลสัมฤทธ์ิทาง ภาษาอันเปนเอกลกั ษณและมรดกของชาติ ผลการเรียนรู 1. ผเู รียนมีทกั ษะในการอา นออกเสียง บทรอยแกว บทรอยกรอง 2. ผเู รียนมีทกั ษะในการอา นเร่อื งสั้นตามเวลาท่ีกําหนด สรปุ ความรแู ละขอ ขอ คิดจากเรื่องที่อา นได 3. ผูเรียนมีทักษะในการคดั ลายมอื ตวั บรรจง เขยี นเรื่องตามจินตนาการ สะกดคํา บอกความหมาย ของคาํ ระบุชนิดและหนาท่ีของคาํ ในประโยคไดอ ยา งชดั เจน 4. ผเู รยี นมที กั ษะแตงประโยคสามัญ แตง บทรอยกรอง คาํ ขวัญ และบอกความหมายของสํานวนได 5. ผเู รยี นมีความสามารถในการสอื่ สาร การแสดงความคิดเห็นนาํ ความรูไปใชใ นชีวิตประจําวนั ได 6. ผเู รยี นมคี วามสนใจใฝเรยี นรู มุง ม่นั ในการทํางานต้ังใจเรียนและมสี ว นรวมในกจิ กรรม รวม 6 ผลการเรียนรู - 46 -


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook