Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พระสุนทรโวหาร(ภู่)

พระสุนทรโวหาร(ภู่)

Description: พระสุนทรโวหาร(ภู่)

Search

Read the Text Version

ประวตั สิ นุ ทรภู่ พระสุนทรโวหาร (นามเดิม “ภู่”) หรือที่เรารู้จักกันทั่วไปว่า “สุนทรภู่” เกิดเมื่อวันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2329 ที่บริเวณด้านเหนือของ “พระราชวงั หลัง” หรือบริเวณสถานรี ถไฟบางกอกน้อยในปจั จบุ ัน ตรงกับรัช สมยั ของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช รัชกาลที่ 1 แห่ง กรุงรัตนโกสินทร์ บิดาของสุนทรภู่เป็นชาวบ้านกร่า อ่าเภอแกลง จังหวัด ระยอง สว่ นมารดาเปน็ ชาวเมืองอืน่ ในวัยเด็ก สุนทรภู่อาศัยอยู่ในพระราชวัง หลังกับมารดา และมีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียนวิชาการต่าง ๆ ในส่านัก พระภิกษุที่มีชื่อเสียง ส่านักชีปะขาว (ปัจจุบันคือวัดศรีสุดาราม) และได้เข้า รบั ราชการเปน็ อาลักษณร์ าชสา่ นัก (หรือผทู้ า่ หน้าทีท่ างหนงั สือในราชส่านัก) ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธเลิศหลา้ นภาลัย รัชกาลที่ 2 แห่งราชวงศ์ จักรี “สุนทรภู่” ไม่ใช่ชื่อจริง แต่เป็นนามแฝงที่เกิดจากการน่าค่าว่า “สุนทร” ในชื่อบรรดาศักดิ์ “ขุนสุนทรโวหาร” ที่ได้รับพระราชทานจาก พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลิศหล้านภาลัย มารวมกับชือ่ จรงิ ว่า “ภ”ู่

ประวัติสนุ ทรภู่ สุนทรภู่มีใจรักรักด้านกาพย์กลอนและเป็นกวีที่มีความ ช่านาญทางการประพันธ์เป็นอย่างยิ่ง โดยอาจเป็นผลมากจาก ประสบการณ์ในวัยเด็กที่มีโอกาสได้ซึมซับความรู้เกี่ยวกับวรรณกรรม และศิลปะการแสดงต่าง ๆ ในพระราชวังหลัง สุนทรภู่หม่ันเพ่ิมพูน ประสบการณ์ในการประพันธ์ด้วยการรับจ้างแต่งเพลงและบทกลอน มากมายทีม่ ีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและคารมทีค่ มคาย สนุ ทรภู่จึงเร่ิมเป็น ที่รู้จกั ในวงกวี และมีชื่อเสียงมากขึ้น ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ 4 สุนทรภู่ ได้เลื่อนต่าแหน่งเป็น “พระสุนทรโวหาร” เจ้ากรมอาลักษณ์ฝ่าย พระราชวังบวร ซ่ึงเป็นต่าแหน่งราชการสุดท้ายก่อนสิ้นชีวิตในปี พ.ศ. 2398 ขณะที่อายุ 69 ปี และเน่ืองจากสุนทรภู่มีชีวิตอยู่ในรัชสมัย รัชกาลที่ 1 ถึงรัชสมัยรัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ สุนทรภู่จึง ได้รับสมญานามวา่ “กวีสีแ่ ผ่นดนิ ”

ผลงานท่ีมชี ่อื เสียงของสุนทรภู่ สุนทรภู่เป็นกวีเอกที่มีผลงานอันเป็นที่ยอมรับมากมาย จนได้รับ การขนานนามว่าเป็น “เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย” สุนทรภู่มีความช่านาญ ทางด้านกลอนเปน็ พิเศษ และได้ปรบั ปรงุ กลอนโบราณ จนกลายเป็นกลอนที่ มีลักษณะเด่นเป็นเอกลักษณ์ที่มีความไพเราะด้วยการใช้ค่าสัมผัสในใน กลอนทุกวรรค ท้ังยังนิยมใช้ค่าง่าย ๆ เพ่ือให้ผู้ฟังและผู้อ่านเข้าใจเน้ือหาได้ อย่างชัดเจน กลอนนิทานและกลอนนิราศของสุนทรภู่จึงกลายเป็นที่นิยม อย่างกว้างขวางมาจนถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่มีมากมาย หลายเร่อื ง แต่ผลงานที่โดดเด่นและเป็นที่รู้จักมากที่สุดของสุนทรภู่คงหนีไม่ พ้น “พระอภัยมณี” ซ่ึงเป็นเร่ืองราวเกี่ยวกับประวัติชีวิต ความรัก และการ ผจญภยั ของพระอภยั มณี รวมท้ังของตัวละครอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับพระอภัย มณี

ผลงานท่ีมชี ่อื เสยี งของสุนทรภู่ ในพระอภัยมณีสนุ ทรภไู่ ด้สรา้ งเน้อื หาทีแ่ ปลกใหม่ โดยน่าเร่ืองราว จากแหลง่ ต่าง ๆ มาผสมผสานกันเพ่อื สร้างเรอ่ื งราวทีส่ นกุ ตืน่ เต้น แหล่งที่มา ของพระอภัยมณีน้ันมีทั้งนิทานและการเมืองการปกครองของต่างประเทศ วฒั นธรรมของตา่ งชาติโดยเฉพาะอย่างยิ่งของชาวตะวันตก นิทานไทย และ เร่ืองราวที่มาจากจินตนาการของสุนทรภู่เอง นอกจากน้ี สุนทรภู่ยังได้สร้าง ตัวละครที่เป็นเอกลักษณ์และมีความแปลกใหม่ ท่าให้นิทานกลอนเร่ืองพระ อภัยมณีมีความน่าสนใจยิ่งขึ้น โดยเฉพาะตัวละครเด็กที่เก่งกล้า เช่น สุด สาคร ซึ่งเป็นลูกของพระอภัยมณีกับนางเงือก สินสมุทร ซึ่งเป็นลูกของพระ อภัยมณีกบั นางผีเสื้อสมุทร และมา้ นิลมังกร ซง่ึ เป็นลูกของมา้ กบั มังกร บทกลอนนิทานเร่ืองพระอภัยมณีของสุนทรภู่น้ีได้รับการยกย่อง จากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นสุดยอดวรรณคดีไทยประเภทกลอนนิทาน และ เรอ่ื งนไ้ี ดร้ บั การแปลเป็นภาษาต่างประเทศมากมาย และเมื่อปี พ.ศ. 2529 หรือในวาระที่ครบรอบ 200 ปีเกิด สุนทรภู่ได้รับการยกย่องจากยูเนสโก (UNESCO) ให้เป็นบคุ คลส่าคญั ของโลกดา้ นวรรณกรรม

ผลงานท้งั หมดของสุนทรภู่ (ตามที่มีหลักฐานปรากฏ) นิราศ - นิราศเมืองแกลง, นิราศพระบาท, นิราศภูเขาทอง, นิราศสุพรรณ, นิราศ วัดเจ้าฟ้า, นริ าศอิเหนา, ร่าพนั พลิ าป, นริ าศพระประธม และนริ าศเมืองเพชร นทิ านกลอน - โคบตุ ร, พระอภยั มณี, พระไชยสุริยา, ลักษณวงศ์ และสิงหไกรภพ สภุ าษติ - สวัสดิรักษา, เพลงยาวถวายโอวาท และสภุ าษติ สอนหญิง บทละคร - อภยั นรุ าช บทเสภา - ขุนชา้ งขนุ แผน และเสภาพระราชพงศาวดาร บทเห่กล่อมพระบรรทม - เห่เร่ืองพระอภัยมณี, เห่เร่ืองโคบุตร, เห่เร่ืองจับระบ่า และเห่เรอ่ื งกากี

ขอ้ คิดและค่าสอนเกีย่ วกับความส่าคัญของการศกึ ษา – พระอภยั มณี รูส้ ิง่ ไรไมส่ รู้ วู้ ชิ า ไปเบื้องหนา้ เติบใหญ่จะให้คณุ – พระอภยั มณี ข้อคดิ และคา่ สอนเกีย่ วกบั การประหยัดอดออม มีสลึงพึงประจบให้ครบบาท อยา่ ให้ขาดสิง่ ของต้องประสงค์ จงมักน้อยกินน้อยคอ่ ยบรรจง อยา่ จ่ายลงให้มากจะยากนาน ไมค่ วรซื้อกอ็ ย่าไปพไิ รซื้อ ให้เป็นมื้อเป็นคราวทง้ั คาวหวาน เมือ่ พอ่ แม่แกเ่ ฒา่ ชรากาล จงเลีย้ งทา่ นอยา่ ให้อดระทดใจ – สภุ าษติ สอนหญงิ สอนให้รูจ้ ักพูดจาไพเราะและเหมาะสม เพราะค่าพูดน้ันสามารถสรา้ งมิตร หรอื ก่อศตั รูใหเ้ ราได้ ถึงบางพดู พูดดเี ป็นศรศี ักดิ์ มีคนรักรสถ้อยอรอ่ ยจิต แมพ้ ดู ชว่ั ตัวตายท่าลายมิตร จะชอบผิดในมนษุ ยเ์ พราะพดู จา