Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore อาชีวอนามัยฯ-01

อาชีวอนามัยฯ-01

Published by Oratai Ch J, 2021-05-18 01:02:13

Description: อาชีวอนามัยฯ-01

Search

Read the Text Version

อาชีวอนามยั มาจากคาว่า “อาชีว” หมายถึง การประกอบอาชีพ การเลี้ยงชีพ หรือคนที่ประกอบอาชีพทุกสาขา กบั คาว่า “อนามยั ” หมายถึง สุขภาพ ความไม่มีโรค ความสมบูรณ์ทัง้ ทางร่างกายและจิ ตใจของ ผ้ปู ระกอบอาชีพ ดงั นัน้ อาชีวอนามยั จึงหมายถึง งานที่เกี่ยวกบั การส่งเสริม ควบคมุ ดแู ล ป้องกนั โรค ป้องกนั อุบตั ิเหตุ ดารงรกั ษาสุขภาพอนามยั ของ ผปู้ ระกอบอาชีพให้มีความปลอดภยั มีสภาพร่างกายและจิตใจท่ีสมบรู ณ์ องคก์ ารแรงงานระหว่างประเทศ (International Labor Organization: ILO) ให้ความหมายของอาชีวอนามยั ไว้ว่า หมายถึง งานท่ีเกี่ยวข้องกบั งานส่งเสริม ธารงไว้ซ่ึงสขุ ภาพกาย สขุ ภาพใจ และสงั คมที่ดีของผปู้ ระกอบอาชีพทงั้ มวล 2

ทงั้ นี้องคก์ ารอนามยั โลก (World Health Organization: WHO) และองคก์ าร แรงงานระหว่างประเทศได้ร่วมกนั กาหนดขอบข่ายลกั ษณะงานอาชีวอนามยั ไว้ดงั นี้ 3

ความปลอดภยั ในการปฏิบตั ิงาน (Occupational Safety and Health) เป็นการจดั สภาพการทางานอย่างเหมาะสม ไม่เสี่ยงต่อการเกิดอนั ตรายจาก เทคโนโลยี เคร่ืองจกั ร เคร่ืองมือ มลพิษ ที่จะส่งผลให้ผปู้ ฏิบตั ิงานได้รบั อนั ตราย บาดเจ็บ เสียชีวิต ทรัพย์สินเสียหาย หรือทาให้การผลิตสินค้าหยดุ ชะงกั การ สรา้ งความปลอดภยั ในการทางานอย่าง มีประสิทธิภาพจะส่งผลให้ผปู้ ฏิบตั ิงานมี ความสุข และผลการปฏิ บัติ งานมี ประสิทธิภาพด้วย 4

ความปลอดภยั ในการทางานเป็ นหวั ใจสาคญั ของการปฏิบตั ิงาน หากมี การจดั สภาพการทางานอย่างปลอดภยั จะทาให้ปราศจากการเกิด “อุบตั ิเหตุ” ใน การทางาน อุบตั ิเหตุ (Accident) เป็ นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นโดยไม่คาดคิด เม่ือเกิดขึ้น แล้วมีผลกระทบต่อทรพั ย์สิน หรือการบาดเจ็บและเสียชีวิตของบุคคล ดงั นัน้ ผู้ปฏิ บตั ิงานจึงต้องมีความระมัดระวัง โดยเฉพาะการก่อสร้าง การผลิตโดย เคร่ืองจกั ร หากไม่รดั กมุ พออาจก่อให้เกิดความเสียหายต่อทรพั ย์สินและบุคคล ดงั กล่าวมาแล้ว บคุ คล สภาพแวดล้อม เคร่ืองมือ เครื่องจกั ร 5

การกระทาท่ีไมป่ ลอดภยั ของผปู้ ฏิบตั ิงาน สภาพการทางานท่ีไมป่ ลอดภยั 6

7

การดาเนิ นการด้านความปลอดภัยมีเหตุผลหลักแบ่งออกได้เป็ น 3 ประการ ดงั นี้ 1 ด้านเศรษฐกิจ (Economic) 2 ด้านกฎหมาย (Law) 3 ด้านคณุ ธรรม (Ethics) 8

การสร้างความตระหนัก (Awareness) การยอมรบั (Acceptance) การปฏิบตั ิ (Application) การรบั นิสยั ใหม่ (Assimilation of New habit) 9

การที่จะส่งเสริมให้ผ้ปู ฏิบตั ิงานตระหนัก จนถึงมีพฤติกรรมการทางานที่ คานึงถึงความปลอดภยั จะต้องเลือกวิธีการประชาสมั พนั ธ์ท่ีมีประสิทธิภาพ มี แนวทางดงั นี้ ผสมผสานกิจกรรมการส่งเสริมความปลอดภยั เข้าไปกบั 1 ระบบการบริหารเพ่ือควบคมุ ความสญู เสีย (Loss Control) 2 ให้ความสาคญั กบั ข่าวสารด้านสาเหตขุ องอบุ ตั ิเหตเุ ฉพาะ 3 กาหนดเป้าหมายการส่งเสริมความปลอดภยั ท่ีเฉพาะเจาะจง 4 เพ่ิมความเข้มข้นด้วยความหลากหลาย 10

5 กิจกรรมการรณรงค์ 6 เน้นเชิงบวก 7 การส่งเสริมบริเวณท่ี ต้องการควบคมุ ปัญหาเฉพาะจดุ 8 การยึดหลกั การป้องกนั 9 การม่งุ เน้นที่ปัญหาวิกฤต 10 ประเมินผลการส่งเสริมความปลอดภยั 11

เศรษฐกิจของ 1 พนักงานมีคณุ ภาพชีวิตท่ีดีขึน้ ประเทศชาติโดยรวมดีขึน้ 7 ภาพลกั ษณ์ 6 2 ผลผลิตเพ่ิมขึน้ ขององคก์ รดีขึน้ ลดการสญู เสีย 5 3 ค่าใช้จ่ายลดลง 4 ผลกาไรเพิ่มมากขึน้ ทรพั ยากรมนุษยชาติ 12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook