Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สมัยสุโขทัย

สมัยสุโขทัย

Published by Your Hope, 2021-07-20 06:57:30

Description: สมัยสุโขทัย

Search

Read the Text Version

สมยั สโุ ขทยั พ่อขนุ รามคาแหงมหาราช

พระราชประวตั พิ ่อขนุ รามคาแหงมหาราช พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชเป็ นพระราชโอรสพระองคท์ ี่ 3 ของพ่อ ขนุ ศรอี นิ ทราทติ ยก์ บั นางเสอื ง โดยพระองคม์ พี ระเชษฐา 2 พระองคแ์ ละ พระขนิษฐา 2 พระองค ์ พระเชษฐาพระองคแ์ รกสนิ้ พระชนมต์ งั้ แต่พ่อขนุ รามคาแหงยงั ทรงพระเยาว ์ พระเชษฐาพระองคท์ สี่ องทรงพระนามตาม ศลิ าจารกึ ว่า \"พระยาบานเมือง\" ซงึ่ ไดเ้ สวยราชสมบตั ิต่อจากพระบรม ชนกนาถ และเมื่อพ่ อขุนบานเมืองไดเ้ สด็จสวรรคตแลว้ พ่อขุน รามคาแหงจงึ เสวยราชสมบตั ติ อ่ มา ตามพงศาวดารโยนก พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชแห่งกรงุ สโุ ขทยั พญามงั รายแห่งลา้ นนา และพญางาเมอื งแห่งพะเยา เป็ นศษิ ยร์ ว่ มพระอาจารย ์ เดยี วกนั ณ สานักพระสกุ ทนั ตฤๅษี ทเี่ มอื งละโว ้ จงึ น่าจะมอี ายรุ นุ่ ราว คราวเดียวกนั โดยพญามังรายประสูติเมื่อ พ.ศ. 1782 พ่อขุน รามคาแหงก็น่าจะประสตู ใิ นปี ใกลเ้ คยี งกนั นี้

ผงั เมอื งสโุ ขทยั

บทบาทการพฒั นาชาตไิ ทย

พระราชกรณียกจิ รชั สมยั ของพ่อขนุ รามคาแหงมหาราชเป็ นยคุ ทกี่ รงุ สโุ ขทยั เฟื่ องฟูและเจรญิ ขนึ้ กวา่ เดมิ เป็ นอนั มาก ระบบการปกครองภายในกอ่ ใหเ้ กดิ ความสงบเรยี บรอ้ ยอย่างมี ประสทิ ธภิ าพ มกี ารตดิ ตอ่ สมั พนั ธก์ บั ตา่ งประเทศทงั้ ในดา้ นเศรษฐกจิ และการเมอื ง ประชาชนอยู่ดกี นิ ดี สภาพบา้ นเมอื งกา้ วหนา้ ทง้ั ทางเกษตร การชลประทาน การ อตุ สาหกรรม และการศาสนา อาณาเขตของกรงุ สโุ ขทยั ไดข้ ยายออกไปกวา้ งใหญ่ ไพศาล

การเมอื งการปกครอง เมอื่ พ่อขนุ ศรอี นิ ทราทติ ยท์ รงขจดั อทิ ธพิ ลของเขมรออกไปจากกรงุ สโุ ขทยั ไดใ้ นปลายพุทธศตวรรษที่ 18 การปกครองของกษตั รยิ ส์ โุ ขทยั ไดใ้ ชร้ ะบบปิ ตรุ าชาธปิ ไตยหรอื \"พ่อปกครองลกู \" ดงั ขอ้ ความ ในศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหงวา่ คาพดู \"....เมอื่ ชว่ั พ่อกู กบู าเรอแกพ่ ่อกู กไู ดต้ วั เนือ้ ตวั ปลา กเู อา มาแกพ่ ่อกู กไู ดห้ มากสม้ หมากหวาน อนั ใดกนิ อรอ่ ยดี กเู อามาแกพ่ ่อกู กไู ปตหี นังวงั ชา้ งได ้ กเู อา มาแกพ่ ่อกู กไู ปทอ่ บา้ นทอ่ เมอื ง ไดช้ า้ งไดง้ วง ไดป้ ่ัวไดน้ าง ไดเ้ งอื นไดท้ อง กเู อามาเวนแกพ่ ่อก.ู .\" ขอ้ ความดงั กลา่ วแสดงการนับถอื บดิ ามารดา และถอื วา่ ความผูกพนั ในครอบครวั เป็ นเรอื่ งสาคญั ครอบครวั ทง้ั หลายรวมกนั เขา้ เป็ นเมอื งหรอื รฐั มเี จา้ เมอื งหรอื พระมหากษตั รยิ เ์ ป็ นหวั หนา้ ครอบครวั

การเมอื งการปกครอง ปรากฏขอ้ ความในศลิ าจารกึ พ่อขนุ รามคาแหงวา่ พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชทรงใช ้ พระราชอานาจในการยตุ ธิ รรมและนิตบิ ญั ญตั ไิ วด้ งั ตอ่ ไปนี้ 1) ราษฎรสามารถคา้ ขายไดโ้ ดยเสรี เจา้ เมอื งไม่เรยี กเก็บจงั กอบหรอื ภาษผี ่านทาง 2) ผูใ้ ดลม้ ตายลง ทรพั ยม์ รดกก็ตกแกบ่ ตุ ร 3) หากผูใ้ ดไม่ไดร้ บั ความเป็ นธรรมในกรณีพพิ าท ก็มสี ทิ ธไิ ปสน่ั กระดงิ่ ทแี่ ขวนไวห้ นา้ ประตวู งั เพอื่ ถวายฎกี าตอ่ พระมหากษตั รยิ ไ์ ด ้ พระองคก์ ็จะทรงตดั สนิ ดว้ ยพระองค ์ เอง นอกจากนี้ พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชยงั ทรงใชพ้ ุทธศาสนาเป็ นเครอื่ งชว่ ยในการ ปกครอง โดยไดท้ รงสรา้ ง \"พระแท่นมนังคศลิ าบาตร\" ขนึ้ ไวก้ ลางดงตาล เพอื่ ให ้ พระเถรานุเถระแสดงพระธรรมเทศนาแกป่ ระชาชนในวนั พระ สว่ นวนั ธรรมดา พระองคจ์ ะเสด็จประทบั เป็ นประธานใหเ้ จา้ นายและขา้ ราชการปรกึ ษาราชการ รว่ มกนั

เศรษฐกจิ และการคา้ ➢ โปรดใหส้ รา้ งทานบกกั นา้ ทเี่ รยี กวา่ “สรดี ภงส”์ เพอื่ นานา้ ไปใชใ้ นตวั เมอื งสโุ ขทยั และบรเิ วณใกลเ้ คยี ง โดย อาศยั แนวคนั ดนิ ทเี่ รยี กวา่ “เขอื่ นพระรว่ ง” ทาใหม้ นี า้ สาหรบั ใชใ้ นการเพาะปลกู และอปุ โภคบรโิ ภคในยาม ที่ บา้ นเมอื งขาดแคลนนา้ ➢ ทรงสง่ เสรมิ การคา้ ขายอย่างเสรภี ายในราชอาณาจกั รดว้ ยการไม่เก็บภาษีผ่านดา่ นหรอื “จกอบ” (จงั กอบ) จากบรรดาพ่อคา้ ทเี่ ขา้ มาคา้ ขายในกรงุ สโุ ขทยั ดงั คาจารกึ บนศลิ าจารกึ วา่ \"เจา้ เมอื ง บ่เอาจกอบในไพรล่ ทู่ าง\" นอกจากนีย้ งั มหี ลกั ฐานทปี่ รากฏวา่ พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชทรงสง่ เสรมิ ใหช้ าวสโุ ขทยั นิยมการคา้ ขายน้ัน ปรากฏตามศลิ าจารกึ ตอนหนึ่งวา่ \"เพอื่ นจงู ววั ไปคา้ ขมี่ า้ ไปขาย ใครจะใครค่ า้ ชา้ งคา้ ใครจกั ใครค่ า้ มา้ คา้ ใคร จกั ใครค่ า้ เงอื นคา้ ทองคา้ \" อนั เป็ นการแสดงใหเ้ ห็นวา่ ทรงเปิ ดเสรที กุ ประการในการคา้ ขายทาใหก้ ารคา้ ขาย ขยายออกไปอยา่ งกวา้ งขวางจนปรากฏแหลง่ การคา้ สาคญั ในสโุ ขทยั ไดแ้ ก่ \"ตลาดปสาน\" จากศลิ าจารกึ กลา่ ว วา่ \"เบอื้ งตนี นอนเมอื งสโุ ขทยั มตี ลาดปสาน\" ➢ ในดา้ นเศรษฐกจิ ระหวา่ งประเทศ พ่อขนุ รามคาแหงมหาราชทรงเจรญิ สมั พนั ธไมตรกี บั มหาอานาจอยา่ ง \"จนี \" โดยนอกจากการเพมิ่ พูนสมั พนั ธไมตรตี ามปกตแิ ลว้ ยงั โปรดใหน้ าชา่ งจากชาวจนี มาเพอื่ กอ่ ตงั้ โรงงานตงั้ เตา ทาถว้ ยชามทงั้ เพอื่ ใชใ้ นประเทศ และสามารถสง่ ออกไปยงั ประเทศใกลเ้ คยี งไดด้ ว้ ย ถว้ ยชามทผี่ ลติ ในยคุ นี้ เรยี กวา่ \"ชามสงั คโลก\"

ศาสนาและวฒั นธรรม ทรงคดิ ประดษิ ฐอ์ กั ษรไทยขนึ้ ใชแ้ ทนตวั อกั ษรขอมทเี่ คยใชก้ นั มาแตเ่ ดมิ เมอื่ พ.ศ. 1826 เรยี กวา่ “ลายสอื ไทย” และไดม้ กี ารพฒั นาการมาเป็ นลาดบั จนถงึ อกั ษรไทยในยคุ ปัจจบุ นั ทาใหค้ นไทยมอี กั ษรไทยใชม้ าจนถงึ ทกุ วนั นี้ โปรดใหจ้ ารกึ เรอื่ งราวบางสว่ นทเี่ กดิ ในสมยั ของพระองค ์ โดยปรากฏอยใู่ นศลิ าจารกึ สโุ ขทยั หลกั ที่ 1 ทาใหค้ นไทยยคุ หลงั ไดท้ ราบ และนักประวตั ศิ าสตรไ์ ดใ้ ชศ้ ลิ าจารกึ ดงั กลา่ วเป็ นขอ้ มูลหลกั ฐานในการศกึ ษาคน้ ควา้ เรอื่ งราวประวตั ศิ าสตรส์ โุ ขทยั ทรงรบั เอาพระพุทธศาสนา นิกายเถรวาท ลทั ธลิ งั กาวงศ ์ จากลงั กา ผ่านเมอื ง นครศรธี รรมราช มาประดษิ ฐานทเี่ มอื งสโุ ขทยั ทาใหพ้ ระพุทธศาสนาวางรากฐาน มน่ั คงในอาณาจกั รสโุ ขทยั และเผยแผ่ไปยงั หวั เมอื งตา่ ง ๆ ในราชอาณาจกั รสโุ ขทยั จนกระทง่ั ไดก้ ลายเป็ นศาสนาประจาชาตไิ ทยมาจนถงึ ทกุ วนั นี้

แนวทางการปฏบิ ตั ติ น

นางสาวอจั ราพรทวที รัพย์ เลขท่ี34 1.เป็ นผูค้ ดิ รเิ รมิ่ สงิ่ ใหม่ๆ แนวทางการนาไปปฏบิ ตั ิ 1.ไมจ่ มปักกบั แนวคดิ เดมิ ๆและเรยี นรทู ้ จี่ ะรบั แนวคดิ ใหม่ๆเขา้ มา 2.ไม่หยดุ ทจี่ ะเรยี นรสู ้ งิ่ ใหม่ๆและเรมิ่ ทจี่ ะลงมอื ทา

2.เป็ นคนทมี่ คี วามยตุ ธิ รรม แนวทางการปฏบิ ตั ิ 1.ไมฟ่ ังความขา้ งเดยี ว 2.ฟังเสยี งสว่ นรว่ มมากกวา่ เสยี งสว่ นนอ้ ย นางสาวนทั ธมน คาอยู่ เลขท่ี33

นายสนั ติรัตน์ ป้ันสงค์ เลขท่ี5 3.มไี มตรตี อ่ ผูอ้ นื่ แนวทางการปฏบิ ตั ติ น 1.ชว่ ยเหลอื ผูท้ ลี่ าบาก 2.ไม่เบยี ดเบยี นผูอ้ นื่ และไม่ทาใหผ้ ูอ้ นื่ เดอื นรอ้ น เพราะตน 3.มคี วามหวงั ดตี อ่ ผูอ้ นื่ ไม่มุง้ รา้ ยตอ่ ผูอ้ นื่

4.การเป็ นลกู ทกี่ ตญั ญู แนวทางการปฏบิ ตั ติ น 1.รจู ้ กั ตอบแทนพ่อแม่ 2.รคู ้ ณุ ของพ่อแม่ นางสาวณฐั ลิตา กิ่งแกว้ เลขท่ี28

นายนพรัตน์ เรืองเดช เลขท่ี18 5. ปฏบิ ตั ติ ามหลกั พระพุทธศาสนา แนวทางการปฏบิ ตั ติ น 1.สวดมนต ์ หรอื สวดมนตก์ อ่ นนอน 2.น่ังสมาธิ มสี ตอิ ยกู่ บั ตวั เองตลอดเวลา 3.เขา้ วดั ทาบญุ 4.เป็ นจติ อาสากวาดลานวดั

สมาชกิ 1.นายสนั ตริ ตั น์ ปั้นสงค ์ เลขท5ี่ ม.5/4 2.นายนพรตั น์ เรอื งเดช เลขท1ี่ 8 ม.5/4 3.นางสาวณัฐลติ า กงิ่ แกว้ เลขท2ี่ 8 ม.5/4 4.นางสาวนัทธมน คาอยู่ เลขท3ี่ 3 ม.5/4 5.นางสาวอจั ราพร ทวที รพั ย ์ เลขท3ี่ 4 ม.5/4


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook