Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit 8 Mutimeter

Unit 8 Mutimeter

Published by Ketnarong Khumchu, 2021-10-17 02:23:49

Description: Unit 8 Mutimeter

Search

Read the Text Version

วชิ า เครื่องมือวดั ไฟฟ้าและอเิ ล็กทรอนิกส์ บทท่ี 2 1 รหัสวิชา 2104 – 2204 บทที่ 2 มัลติมิเตอร์ชนดิ แอนะล็อก วัตถปุ ระสงค์ 1. เข้าใจเรอ่ื งเกี่ยวกับมลั ตมิ เิ ตอร์แบบ PMMC 2. รู้คุณลักษณะและการใชง้ านมัลติมิเตอรร์ ุ่น YX360TRD 3. ใชม้ ัลติมเิ ตอรแ์ บบแอนะลอ็ กวัดค่าตา่ งๆไดอ้ ยา่ งถูกต้อง 1.1 บทนา เครื่องมอื วดั ท่ีเรยี กวา่ มัลตมิ ิเตอร์ (Multimeter) หมายถงึ เครื่องวัดท่สี ามารถวัดปริมาณ ไฟฟ้าได้หลาย ๆ อย่าง หรือเป็นเคร่ืองวัดอเนกประสงค์ เช่น สามารถวัดกระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟา้ และความตา้ นทานไดจ้ ากเครื่องมือวัดเพยี งเครอื่ งเดยี ว เครื่องมือวัดลักษณะน้ีจึง เรียกว่า มัลติมเิ ตอร์ ในปัจจุบนั เมอื่ แบ่งตามลักษณะโครงสรา้ งภายในทสี่ าคญั แลว้ แบ่งออกได้ เป็น 3 ชนดิ คอื 1. มลั ติมิเตอร์แบบ PMMC 2. มัลติมิเตอร์แบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์แอนะลอก 3. มัลตมิ ิเตอรแ์ บบอเิ ล็กทรอนกิ สด์ ิจิตอล 1.2 มัลตมิ ิเตอร์แบบ PMMC มัลติมิเตอร์แบบ PMMC หมายถึง มิเตอร์ที่มีโครงสร้างเป็นขดลวดเคลื่อนที่แม่เหล็ก ถาวร (PMMC) และสามารถวัดแรงดันไฟตรงได้หลายย่านวัด โดยใช้วงจรมัลติพลาย และมี สวิตซ์เลือกย่านวัด อีกทั้งยังวัดแรงดันไฟสลับได้โดยใช้วงจรเรียงกระแสร่วมกับวงจร มัลติพลาย โดยท่ีสเกลของแรงดันไฟสลับเป็นสัดส่วนเท่ากับค่าฟอร์มแฟกเตอร์เม่ือเทียบกับ แรงดันไฟตรง และยังสามารถวัดกระแสไฟฟ้ากระแสตรงได้ด้วยวงจรชันท์แบบอาร์ตอน และวัดค่าความต้านทานได้เพราะภายในมีวงจรโอห์มมิเตอร์แบบอนุกรมต่ออยู่ด้วย มัลติ มิเตอร์แบบ PMMC มีใช้มานานเพราะว่าโครงสร้างง่าย ราคาถูก แต่ค่าความถูกต้องในการชี้ NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 1

วิชา เครอ่ื งมอื วดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ บทที่ 2 2 รหัสวิชา 2104 – 2204 ค่าจะมีค่าประมาณ ±3% เม่ือเทียบกับค่าเต็มสเกล ซึ่งเป็นมิเตอร์ชนิดคุณภาพปานกลาง มัลติ มิเตอรแ์ บบ PMMC ท่มี ชี ือ่ เสียงท่ัวโลกคือมัลติมิเตอร์ซิมป์สัน รุ่น 260 (Simpson Model 260) ซึง่ เป็นมลั ติมเิ ตอร์รุน่ เกา่ ปัจจุบนั ไม่มใี ชแ้ ล้ว ดังรูปที่ 2.1 รูปที่ 2.1 มัลติมิเตอรซ์ ิมปส์ นั รนุ่ 260 (สาหรบั รายละเอยี ดของมลั ติมเิ ตอรแ์ บบ PMMC ผลิตภัณฑ์ของซิมป์สัน รุ่น 260 หาก ต้องการทราบรายละเอียดให้ศึกษาข้อมูลได้จาก รศ.ดร.เอก ไชยสวัสดิ์ : การวัดและเคร่ืองวัด ไฟฟ้า หน้า 194-209) 1.2.1 มัลตมิ ิเตอร์ซันวา รนุ่ YX-360TRD ในปัจจุบันมัลติมิเตอร์แบบ PMMC ที่มีใช้กันอย่างแพร่หลาย โดยเฉพาะในประเทศ ไทย คือ มัลติมิเตอร์ผลิตภัณฑ์ของ SANWA Electric Instrument ประเทศญ่ีปุ่น คือ มัลติ มเิ ตอร์ซันวา อนุกรม YX-360 ซึ่งเป็นมัลติมิเตอร์แบบ PMMC ที่มีราคาถูก ทนทาน เนื่องจาก ขดลวดเคลื่อนที่ถูกแขวนอยู่บนแถบตึง (Taut Band) มัลติมิเตอร์ซันวา รุ่น YX-360TRD แสดงดงั รูปที่ 2.2 รูปท่ี 2.2 มัลติมิเตอร์ซันวา รุ่น YX-360TRD (ผลิตภัณฑ์ : SANWA Electric Instrument) NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 2

วชิ า เคร่อื งมอื วัดไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ บทที่ 2 3 รหัสวิชา 2104 – 2204 ในบทนี้จะใช้ตัวอย่างมัลติมิเตอร์แบบ PMMC ของซันวา รุ่น YX-360TRD เป็นหลัก ในการอธิบาย และผู้เรียนสามารถเปรียบเทียบได้กับมัลติมิเตอร์รุ่นอ่ืน ๆ ท่ีมีโครงสร้างแบบ PMMC เหมอื นกันได้ เน่ืองจากจะมีหลักการทางานและการนาไปใชง้ านทใี่ กล้เคียงกัน 1. คณุ สมบัตทิ วั่ ไป มัลตมิ ิเตอร์ซนั วา ร่นุ YX-360TRD มคี ณุ สมบตั ทิ ่ัวไปที่สาคัญ คือ ขดลวดเคลื่อนท่ีแขวนไว้ด้วยแถบตึง จึงป้องกันการสั่นสะเทือนและแรงกระแทก จากการตกได้ดียิ่งข้ึนและมีวงจรป้องกันเมื่อนาไปวัดแรงดันเกินกว่า 230VAC ทุก ยา่ นวัด โดยจะตดั วงจรภายใน 5 วนิ าที ภายในเครอื่ งวัดแบตเตอร่ี UM-3 ขนาด 1.5 V 2 ก้อน มาตรฐานการปรับเทียบท่ีอุณหภูมิ 23 ± 2 ºC และทางานได้ในอุณหภูมิ ระหวา่ ง 0-40 ºC พลาสตกิ ทใ่ี ช้ห่อหมุ้ โครงสร้างมิเตอร์ทนแรงดันสูงได้ 3,000 VAC ใน 1 นาที น้าหนักประมาณ 320 กรัม มีฝาปิดเปิดป้องกันการกระแทก และช่อง เก็บสายมิเตอร์ตดิ กับตัวเครื่อง และฝาเปิดสามารถใช้เป็นแท่นวางมิเตอร์ได้ ดังรูป ท่ี 2.3 (ก) และ (ข) รูปท่ี 2.3 แสดงลักษณะภายนอกของมัลติมิเตอร์ซันวา รุ่น YX-360TRD 2. พสิ ยั การวัดและความแม่นยา พิสัยการวัด (Measurement Range) หมายถึง ย่านวัด ที่มัลติมิเตอร์นี้สามารถวัดได้ เนื่องจากมัลติมิเตอร์ซันวา รุ่น YX-360TRD มี ฟังก์ชนั การวดั 7 ฟงั ก์ชนั คือ 1. วัดแรงดันไฟตรง (DCV) 2. วดั แรงดนั ไฟสลับ (ACV) 3. วดั กระแสไฟตรง (DCA) 4. วดั ความต้านทาน (Ω) 5. วดั ความจุไฟฟา้ (C) 6. วดั เดซเิ บล (dB) NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 3

วิชา เคร่ืองมอื วัดไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บทท่ี 2 4 รหสั วชิ า 2104 – 2204 7. วดั อัตราการขยายของทรานซสิ เตอร์ (hfe) ซึ่งแต่ละฟังก์ชันจะมีย่านวัดท่ีแตกต่างกัน และแต่ละย่านวัดจะมีค่าความแม่นยา (Accuracy) ท่แี ตกต่างกนั ด้วย ดงั แสดงในตารางที่ 2.1 ตารางที่ 2.1 แสดงค่าพสิ ยั การวดั และความแมน่ ยาของมลั ตมิ ิเตอรซ์ ันวา รุน่ YX-360TRD ฟงั กช์ นั ค่าเตม็ สเกล ความแม่นยา หมายเหตุ DCV 0.1 ±5% จากค่าเต็มสเกล มคี วามตา้ นทานอินพุต 20 k /V 0.25/2.5/10/50 ±3% จากค่าเต็มสเกล 250/1,000 ±3% จากคา่ เตม็ สเกล ACV 10/50/250/1,000 ±4% จากค่าเต็มสเกล คา่ ความต้านทานอนิ พตุ 9 k /V 30 Hz ~100kHz DCA 50µ ±3% จากคา่ เต็มสเกล มแี รงดนั ตก 0.1 V 2.5 m/25 m/0.25 ±3% จากคา่ เตม็ สเกล มีแรงดนั ตก 0.25 V 2 k/20 k/2 M (x1/x10x1k) ±3% คา่ คร่งึ สเกล 20 200 M (x 100 k) ±5% ค่าเตม็ สเกล 2 dB -10 dB ~ + 22 dB - ความตา้ นทานอินพตุ 9 /V C 10 µF - hfe 1,000 ท่ี x 10 (พิสัย) ใชร้ ว่ มกบั โพรบรนุ่ hfe-6T สาหรับสวิตช์เลือกพิสัยการวัดที่ติดต้ังอยู่ด้านหน้าของมัลติมิเตอร์ซันวา รุ่น YX- 360TRD น้ันประกอบไปด้วย ตัวอักษรสีขาวแสดงพิสัย ของ DCV และ DCA ตัวอักษรสีส้มแสดงพิสัยของ ACV และ C(µF) สาหรบั ตัวอักษรสีฟ้าแสดงพิสัยการวัดของย่าน และ hfe ดังรูปที่ 2.4 ลักษณะของสวิตช์เป็นแบบโรตารี บิดหมุนได้ท้ังตามเข็มนาฬิกาและทวนเข็มนาฬิกา เมื่อไม่ ใชง้ านให้บดิ ไปตาแหนง่ OFF รูปท่ี 2.4 สวิตช์เลอื กพสิ ยั การวัดของ มลั ตมิ ิเตอรซ์ ันวา รุ่น YX-360TRD NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 4

วชิ า เครอ่ื งมอื วดั ไฟฟ้าและอิเลก็ ทรอนิกส์ บทที่ 2 5 รหสั วิชา 2104 – 2204 3. สเกลและการอ่านค่าบนสเกล สเกลสาหรับอ่านค่าปริมาณไฟฟ้าที่วัดได้จาก มัลติมิเตอร์ซันวา รุ่น YX-360TRD แบ่งออกเป็นสเกลสาคัญได้ 10 ส่วน ตามลาดับหมายเลข - ดงั รปู ที่ 2.5 รูป 2.5 สเกลบนหน้าปดั ของมัลตมิ เิ ตอร์ซันวา รนุ่ YX.360TRD จากรูปที่ 2.5 แตล่ ะหมายเลขมรี ายละเอียดของสเกลดังนี้ หมายเลข  สเกลโอห์มระหว่างค่า 0 ถงึ 2 k หมายเลข  ,  สเกล DCV ACV และ DCA ระหว่างค่า 0-250 และ 0-50 หมายเลข  ,  สเกล DCV และ ACV หมายเลข  สเกลคา่ ตัวเก็บประจุ C(µF) ระหวา่ งค่า 0-10 µF หมายเลข  สเกลค่า LI ระหว่างค่า 0-15 (µA , mA) หมายเลข  สเกลค่า LV ระหว่างค่า 3-0 (V) หมายเลข  สเกลคา่ hfe ระหวา่ งค่า 0-1,000 หมายเลข  สเกลคา่ dB ระหวา่ งคา่ -10 ถงึ +22 (dB) สาหรบั การอ่านคา่ บนสเกลตา่ ง ๆ ดังท่ีได้กลา่ วมานั้น ต้องใชค้ า่ ตวั คูณคณู กับค่าที่เขม็ ชีบ้ นสเกลกอ่ นจงึ จะเปน็ คา่ จรงิ ดังน้นั ตารางคา่ ตัวคณู บนสเกลที่พิสัยการวดั ต่าง ๆ แสดงในตารางที่ 2.2 NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 5

วิชา เครือ่ งมือวดั ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ บทท่ี 2 6 รหสั วชิ า 2104 – 2204 ตารางที่ 2.2 แสดงพิสัยการวัดและตวั คณู ที่ใชใ้ นการอา่ นค่าทีว่ ดั ได้ สาหรบั มลั ตมิ เิ ตอรซ์ นั วา รนุ่ YX-360TRD ตาแหน่ง พสิ ยั การวดั ค่าตวั คณู ตาแหน่ง พสิ ัยการวดั คา่ ตัวคูณ บนสเกล บนสเกล x 100k x 100k x1  DCV 10 x 100  x1k x1k  DCV 1,000 x 100 x 10 x 10 x1  x1 x1 ACV 1,000 x1  DCV 250 x1 x 10 (mA) DCV 2.5 x 0.01  ACV 10 x 1 (mA) DCV 0.25 x 0.001 x 10 (µA) ACV 250 x1  C(µF) x 0.1 (µA) DCA 0.25 x 0.001 x1 DCA 25 m X 0.1 150 mA at x 1 x1 DCA 2.5 m x 0.01 x1 DCV 50 x1  15 mA at x 10 14 dB added ACV 50 x1 150 µA at x 1k 28 dB added DCA 50 µ x1 40 dB added DCV 0.1 x 0.01 1.5 µA at x 100k  LV  hfe ACV 10  ACV 50 ACV 250 ACV 1,000 เน่ืองจากมัลติมิเตอร์ซันวารุ่นน้ีไม่มีขั้วต่อสายโพรบสาหรับวัดภายนอก ดังนั้นจึงไม่ ต้องระวังเรื่องการตอ่ สาย แต่ผวู้ ัดต้องรู้วธิ ีการต่อมิเตอร์เพ่ือวดั แรงดนั ไฟฟ้าหรือกระแสไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้า และการวัดค่าความต้านทานจะต้องวัดเม่ือไม่มีกระแสไฟฟ้าจ่ายในอุปกรณ์ ไฟฟ้าท่ีต้องการวัดอย่างไรก็ตามการอ่านค่าที่วัดได้จากมัลติมิเตอร์ซันวา รุ่น YX-360TRD น้ี จะต้องใช้ประกอบกับค่าตัวคณู ในตารางที่ 2.2 เสมอ ตวั อยา่ งการอา่ นคา่ ทว่ี ดั ได้มีดงั ตอ่ ไปน้ี ตวั อยา่ งที่ 2.1 หากเขม็ ช้บี นหนา้ ปดั ของมัลตมิ ิเตอรซ์ นั วา รุ่น YX-360TRD ดงั รปู ที่ 2-6 จงตอบคาถามตอ่ ไปน้ี ก. ที่พิสยั x 1 k อ่านคา่ ได้เทา่ ไร ข. ท่ีพิสยั DCV 2.5 อ่านคา่ ไดเ้ ท่าไร ค. ทีพ่ สิ ัย DCA 2.5 m อ่านค่าได้เทา่ ไร NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 6

วชิ า เคร่ืองมอื วัดไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ บทท่ี 2 7 รหัสวิชา 2104 – 2204 ง. ทพ่ี สิ ัย ACV 10 อ่านค่าไดเ้ ท่าไร จ. ท่ีพสิ ยั C(10 µF) อา่ นคา่ ไดเ้ ทา่ ไร รูปท่ี 2.6 วิธีทา ก. ที่พสิ ยั x 1 k ดสู เกล  คูณดว้ ย 1k คา่ ท่อี ่านไดค้ ือ 9 k ข. ทพ่ี สิ ัย DCV 2.5 ดสู เกล  คูณด้วย 0.01 ค่าที่อา่ นไดค้ อื 174 x 0.01= 1.74 V ค. ที่พิสยั DCA 2.5 m ดูสเกล  คูณดว้ ย 0.01 ค่าที่อ่านไดค้ อื 174 x 0.01 = 1.74 mA ง. ที่พสิ ัย ACV 10 ดสู เกล  คณู ด้วย 1 ค่าทีอ่ ่านได้คือ 7.05 x 1 = 7.05V จ. ท่ีพิสัย C(µF) ดูสเกล  คณู ดว้ ย 1 ค่าที่อ่านได้คอื 0.84 x 1 = 0.84 µF NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 7

วิชา เครื่องมือวัดไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนิกส์ บทท่ี 2 8 รหัสวิชา 2104 – 2204 1.2.2 การใชง้ านมัลติมเิ ตอรซ์ นั วา รนุ่ YX-360TRD การวัดค่าความตา้ นทาน มัลติมเิ ตอร์ รุ่น นี้ จะมียา่ นการวดั ทัง้ หมด 5 ย่าน คือ x1, x10, x100, x1k และ x10k อ่านคา่ ความต้านทานไดต้ ้ังแต่ 2 กโิ ลโอห์ม ถึง 20 เมกกะโอหม์ ลาดับข้ันตอนการใชโ้ อห์มมเิ ตอร์ 1. ต้ังย่านใช้งานของมเิ ตอร์ท่ีย่านโอห์ม 2. ใชส้ ายวดั สแี ดงเสยี บเข้าท่ขี ้ัวต่อขว้ั บวก (+) และสายวดั สีดาเสยี บเข้าท่ีข้ัวตอ่ ข้วั ลบ(-) หรือ(COM) 3. ปรับสวติ ช์เลือกพิสัยการวดั ให้ถกู ต้อง 2 ก่อนการนาโอหม์ มเิ ตอร์ไปใชว้ ดั ทกุ ครงั้ และทกุ ยา่ น จะต้องทาการปรับ 0 โอห์ม (Zero ohm adjust) ก่อนนาไปวัดเสมอ 5. ถา้ จะนาโอหม์ มิเตอร์ไปวดั ค่าความตา้ นทาน ในวงจรต้องแน่ใจวา่ ปดิ (OFF) สวิตชไ์ ฟ ทุกครง้ั การวัดฟวิ ส์ ตั้งมัลติมิเตอร์ เพื่อวัดค่าความต้านทาน ท่ี ย่านวัด x10 วัดฟิวส์ดังรปู 1. วัดแลว้ ไดค้ ่าอนันต์(∞) คือ Infinity หรือ หมายความวา่ วงจรเปิดน่ันเองแสดงว่า ฟิวส์นี้ขาด ต้องเปลีย่ นใหม่ 2. ถ้าวัดแล้วได้ค่าน้อยมาก เช่น 0.05 Ω หรือ ต่ากว่า แสดงวา่ ฟวิ สน์ ้ีปกติ NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 8

วิชา เครือ่ งมือวดั ไฟฟา้ และอิเลก็ ทรอนกิ ส์ บทที่ 2 9 รหสั วชิ า 2104 – 2204 การวัดไดโอด ด้วยมัลติมิเตอร์ซันวา รุ่น YX-360TRD สามารถวัดได้ท้ังกรณีไดโอดดีหรือเสีย และ วดั ได้ทงั้ ไดโอดเปลง่ แสง โดยตง้ั สวิตช์เลอื กพิสยั การวัดท่ี x 1 (150 mA) ถึง x 100 k (1.5 µA) การวดั กระแสไบแอสตรง ดังรูปที่ 2.7 (ข) และการวดั กระแสไบแอสกลบั ดังรูปท่ี 2.7 (ก) รูปที่ 2.7 (ก) รูปท่ี 2.7 (ข) 1. วัดแบบไบแอสกลับ แล้ว ได้ค่าอนันต์(∞) คือ Infinity และวัดแบบไบแอสตรง ได้ ค่าความตา้ นทานต่าๆ ไม่เกนิ 100 Ω หมายความวา่ ไดโอดปกติ 2. วดั แบบไบแอสกลับ แล้ว ได้ค่าอนันต(์ ∞) คอื Infinity และวัดแบบไบแอสตรง ได้ คา่ อนันต(์ ∞) หมายความวา่ ไดโอดเสยี เปิดวงจร หรอื ไดโอดขาด 3. วัดแบบไบแอสกลับ แล้ว ได้ค่า 0 Ω และวัดแบบไบแอสตรง ได้ค่า0 Ω หมายความวา่ ไดโอดเสยี ลัดวงจร หรือ ไดโอดชอ๊ ต NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หนา้ 9

วชิ า เครือ่ งมอื วดั ไฟฟ้าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ บทที่ 2 10 รหัสวชิ า 2104 – 2204 โดยต้ังสวิตช์เลือกพิสัยการวัดที่ การวัดแบตเตอรี่ ใช้สายสีแดง เสียบ รปู ท่ี 2.8 ข้ัวบวก สายสีดาเสียบข้ัวลบ ข อ ง มิ เ ต อ ร์ แ ล ะ วั ด ท่ี ขั้ ว แบตเตอร่ี โดยใช้โปรบสีแดง วดั ที่ขัว้ บวก สายโปรบสีดาวัดท่ี ขั้วลบ ดังรูปท่ี 2.8 อ่านค่าได้ 12 Vdc แสดงว่าแบตเตอร่ีน้ี มี ระดับแรงดันไฟฟา้ ปกติ การวดั โวลต์ เอ.ซี. โดยต้ังสวิตช์เลือกพิสัยการวัดที่ 1000 ใช้สายสีแดง เสียบข้ัวบวก สายสีดาเสียบ ขั้วลบ ของมิเตอร์ และวัดท่ีเต้ารับไฟฟ้า โดยใช้โปรบสีแดง วัดท่ีเต้ารับ สายโปรบสีดาวัดท่ี เต้ารับ ดังรูปที่ 2.9 อ่านค่าได้ 220Vac แสดงว่าไฟฟ้ากระแสสลับ ท่ีเต้ารับนี้มีระดับ แรงดันไฟฟ้าปกติ รูปที่ 2.9 การวัดแรงดันไฟฟ้า เอ.ซี. NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 10

วชิ า เครื่องมือวัดไฟฟา้ และอิเล็กทรอนกิ ส์ บทท่ี 2 11 รหัสวิชา 2104 – 2204 การวดั ไดโอดเปลง่ แสง(แอล.อี.ด)ี มลั ติมเิ ตอร์ซันวา รนุ่ YX-360TRD สามารถวดั ไดโอดเปล่งแสง ได้ โดยตั้งสวิตช์เลือก พสิ ยั การวดั ที่ x 100 การวดั กระแสไบแอสตรง ดังรูปท่ี 2.10 แอล.อี.ดี จะติดสว่าง (ก) และ การวัดกระแสไบแอสกลับแอล.อ.ี ดี จะดบั ดังรปู ที่ 2.10 (ข) แสดงว่า แอล.อ.ี ดี. น้ี ปกติ รูปท่ี 2.10 (ก) รูปท่ี 2.10 (ข) NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 11

วิชา เครื่องมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ล็กทรอนิกส์ บทที่ 2 12 รหสั วชิ า 2104 – 2204 หนา้ 12 แบบฝึกหัด เร่ือง มัลติมิเตอร์ชนิดแอนะล็อก จงวงกลมล้อมรอบข้อท่ีถูกตอ้ งทส่ี ดุ เพียงข้อเดียว 1. ข้อใดไม่ใช่ มัลตมิ เิ ตอรแ์ บบ PMMC ก. มลั ตมิ ิเตอรซ์ มิ ปส์ นั ร่นุ 260 ข. มลั ตมิ เิ ตอรซ์ ันวา รุน่ 360 ค. มัลติมิเตอรแ์ บบอิเล็กทรอนกิ ส์ดิจติ อล ง. มัลตมิ ิเตอร์ ซนั วา รุน่ 360 TR 2. มัลติมิเตอร์ซนั วา รุ่น YX-360TRD วดั ขอ้ ใดตอ่ ไปนไ้ี ม่ได้ ก. วดั แรงดนั ไฟตรง (DCV) ข. วัดความตา้ นทาน (Ω) ค. วดั ความจุไฟฟ้า (C) ง. วดั คา่ อมิ พีแดนซ(์ Z) 3. มลั ตมิ เิ ตอร์ซนั วา รุน่ YX-360TRD วดั คา่ แรงดันดซี ี ไดส้ ูงสุดเทา่ ไร ก. 50V ข. 150V ค. 250V ง. 1000V 4. มัลตมิ เิ ตอร์ซันวา รุ่น YX-360TRD วดั คา่ ตวั เกบ็ ประจุ ได้เทา่ ไร ก. 0-10 µF ข. 10-100 µF ค. 0-20 µF ง. 0-100 µF 5. มัลติมเิ ตอร์ซันวา ร่นุ YX-360TRD ตง้ั ย่านวดั R x 100 ไปวดั ฟวิ ส์ดังรูป อา่ นค่าได้ ∞Ω หมายความว่าอยา่ งไร ก. ฟวิ สป์ กติ ข. ฟวิ ส์ขาด ค. ฟวิ ส์เส่ือม ง. ฟิวส์กลบั ขว้ั NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND)

วิชา เคร่ืองมอื วดั ไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ บทที่ 2 13 รหัสวิชา 2104 – 2204 6. มลั ติมิเตอร์แอนะลอ็ ก ต้ังย่านวัด R x 100 ไป วดั ตัวต้านทาน อา่ นค่า ได้ ดังเขม็ ช้ีในรปู ด้านบนนี้ อา่ นคา่ ได้เท่ากบั ข้อใด ก. 1.5K Ω ข. 150 Ω ค. 2.5K Ω ง. 15K Ω 7. มลั ติมิเตอรแ์ อนะลอ็ ก ตง้ั ยา่ นวดั R x 100 ไปวัดวดั ไดโอด แบบไบแอสกลบั แล้ว ได้ ค่าอนนั ต(์ ∞) และวัดแบบไบแอสตรง ไดค้ ่าความต้านทานตา่ ๆ ไมเ่ กนิ 100 Ω หมายความว่า ก. ไดโอดกลบั ขวั้ ข. ไดโอดขาด ค. ไดโอดลัดวงจร ง. ไดโอดปกติ 8. มลั ติมเิ ตอร์แอนะลอ็ ก ตั้ง ย่านวดั VDC 50V วัดคา่ ไดด้ งั รูปด้านซ้าย ค่าทอ่ี า่ นไดเ้ ท่าไร ก. 24 V ข. 42 V ค. 110V ง. 200V 9. มัลติมเิ ตอรแ์ อนะล็อก เม่ือนาไปวดั วดั แอล.อี.ดี ต้องตั้งยา่ นวดั อย่างไร ก. ตง้ั ย่านวัด R ข. ต้ังย่านวัด hfe ค. ตัง้ ยา่ นวดั VDC ง. ตัง้ ย่านวัด C 10. มัลตมิ เิ ตอร์แบบดิจติ อล ต่างจากแบบเขม็ ช้อี ย่างไร ก. ตง้ั ยา่ นวัดงา่ ยกว่า ข. ตั้งยา่ นวดั ยากกว่า ค. อ่านคา่ ไดง้ ่ายกว่า ง. อ่านคา่ ไดย้ ากกวา่ NAPAT WATJANATEPIN ELWE(THAILAND) หน้า 13


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook