Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Unit 7 MANUAL-PROTEUS-8

Unit 7 MANUAL-PROTEUS-8

Published by Ketnarong Khumchu, 2021-10-17 02:21:05

Description: Unit 7 MANUAL-PROTEUS-8

Search

Read the Text Version

การใช้งานโปรแกรม PROTEUS 7.x- 8.x สำหรับผ้เู ริ่มต้น EL เทคนิคลำปาง ใชส้ ำหรบั วิชาการออกแบบวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ สด์ ้วยคอมพวิ เตอร์ แผนกวิชาชา่ งอเิ ล็กทรอนกิ ส์ วทิ ยาลยั เทคนิคลำปาง

2 สารบญั 5 บทท่ ี 1 แนะนาํ โปรแกรม บทท่ี 2 วงจรแอนะลอก 1 บทท่ี 3 วงจรแอนะลอก 2 บทที่ 4 วงจรดิจติ อล 1 13 บทที่ 5 วงจรดิจติ อล 2 บทท่ี 6 วงจรไมโครคอนโทรลเลอร EL เทคนิคลำปาง 24

บทท่ี 1 แนะนาํ โปรแกรมโปรติอสุ บทนาํ โปรแกรม Proteus หรือ Proteus VSM (Virtual System Modeling) เปน็ โปรแกรมท่ีพัฒนาขึน้ โดยบริษัท แลบ็ เซน็ เตอรอ์ ิเล็กทรอนิกส์ จำกดั (Labcenter Electronics Ltd.) ทป่ี ระเทศองั กฤษ โปรแกรม Proteus มีชอ่ื เตม็ วา่ Labcenter Electronics Proteus ซึ่งภายในโปรแกรมจะประกอบด้วยสว่ นประกอบหลัก 2 ส่วน คือ ISIS และ ARES โปรแกรม Proteus จะมอี ยูห่ ลายเวอรช์ นั ให้เลอื กใชง้ าน ซึ่งเวอร์ชันในปัจจบุ ัน คอื เวอร์ชนั 8 และถา้ ตอ้ งการศึกษาหาขอ้ มูลเก่ยี วกับเวอร์ชนั น้ี ก็สามารถเยย่ี มชมไดท้ เี่ วบ็ ไซต์ http://www.labcenter.co.uk ความสามารถของโปรแกรม โปรแกรมโปรตอิ ุสเปน โปรแกรมคอมพิวเตอรช วยงานออกแบบ (Computer Aided Design : CAD) ทใ่ี ชจ ําลองการทาํ งานของวงจรอิเลก็ ทรอนิกส ดา นแอนะลอก ดิจติ อลและไมโครคอนโทรลเลอร EL เทคนิคลำปางเพือ่ ออกแบบวงจรและทดสอบการทาํ งาน นอกจากน้ีโปรแกรมโปรตอิ ุสยังใชอ อกแบบลายแผนวงจร พิมพไดอีกดวย จึงเหมาะทจี่ ะนาํ ไปใชในการเรียนการสอนทางดานอิเลก็ ทรอนิกสเ พื่อใหผ เู รยี นไดท ดลอง การทาํ งานของวงจรกอนนาํ ไปทาํ เปน ตนแบบ ชวยทําใหประหยดั เวลาและงบประมาณในการจดั หาวสั ดุมา ทดลองเหมือนแตก อ น ตวั อยางวงจรทจ่ี ะนํามาทดลองแสดงในรปู ที่ 1.1 (ก) วงจรแหลงจายไฟตรง รูปท่ี 1.1 ตัวอยา งวงจรทใี่ ชท ดลองบนโปรแกรมโปรติอสุ

การทดลองวงจรอิเล็กทรอนกิ สบ นโปรแกรมโปรติอุส (ข) วงจรควบคุมความเรว็ พดั ลม EL เทคนคิ ลำปาง (ค) วงจรไมโครคอนโทรลเลอร รูปท่ี 1.1 (ตอ )

บทที่ 1 แนะนาํ โปรแกรมโปรติอุส คุณลกั ษณะของเครื่องคอมพิวเตอร โปรแกรมโปรติอสุ ใชไดก ับเครอ่ื งคอมพวิ เตอร ท่ีมีคณุ ลักษณะดงั นี้ 1. มหี นวยประมวลผลกลางไมตาํ่ กวา 2.6 GHz 2. มหี นวยความจาํ หลักไมนอ ยกวา 256 MB 3. ฮารด ดสิ มคี วามจุไมน อ ยกวา 80 GB 4. มเี คร่อื งอา นแผน ซีดแี ละตวั ขบั ฟลอปปด สิ 3.5 นิ้ว 5. จอภาพสขี นาด 15 นิ้ว 6. มรี ะบบปฏิบัติการวนิ โดว 98 / Me / XP การติดตงั้ โปรแกรมโปรตอิ ุส การติดตงั้ โปรแกรมโปรตอิ ุสมีขน้ั ตอนดังนี้ 1. ใสแ ผนซีดที ีม่ โี ปรแกรมโปรตอิ ุสลงในเคร่อื งอา นแผนซดี ี EL เทคนคิ ลำปาง2. เปดดไู ฟลทอี่ ยูในแผน ซดี ีจะมีชอ่ื ไฟลตามรูปท่ี1.2 รูปท่ี 1.2 ชื่อไฟลของโปรแกรมโปรตอิ สุ 3. เลื่อนตัวช้เี มาสไ ปท่ไี ฟล Proteus_8 Professional Setup แลวกดปมุ เมาสดับเบิลคลกิ จะเขาสู โปรแกรมการติดตั้ง Proteus 8 Professional ตามรูปท่ี 1.3

การทดลองวงจรอเิ ล็กทรอนกิ สบ นโปรแกรมโปรติอุส set up install licence รูปท่ี 1.3 เขาสกู ารตดิ ตงั้ โปรแกรม Proteus 8 Professional EL เทคนิคลำปาง4. เลือ่ นตวั ชี้เมาสไ ปท่ีModify แลวกดปมุ Next 2 ครงั้ รอสักครู เคร่อื งจะทาํ การตดิ ตั้ง โปรแกรม ใหก ดเลอื ก Finish เปน การเสรจ็ ส้ินการตดิ ต้ังโปรแกรม 5. ตรวจสอบดวู า มโี ปรแกรม Proteus หรือไม โดยเขาไปท่ี Start → Program → Proteus 8 Professional หมายเหตุ การตดิ ตัง้ อาจมีการเปลี่ยนแปลงไปในแตล่ ะ VERSION การใชโปรแกรม โปรแกรมโปรติอสุ มีโปรแกรมยอ ย 2 โปรแกรม คอื ISIS ใชเ ขยี นวงจรและจาํ ลองการทํางาน อีกโปรแกรมหน่งึ คือ ARES ใชอ อกแบบลายแผน วงจรพมิ พ ในการใชโปรแกรมจําเปน ตอ งทราบคําส่ังที่ มอี ยูบนแถบคําส่งั (Menu bar) และแถบเคร่ืองมือ (Toolbar) ตอจากน้ันจะตอ งทราบขั้นตอนในการเขยี น วงจร ซ่ึงตอ งเร่ิมจากการเลอื ก การวาง การเคลอ่ื นยา ย การโยงสาย การเปลยี่ นคา อุปกรณ การเลือกใช เครอ่ื งมอื วัดและการจําลองการทํางาน

บทท่ี 1 แนะนาํ โปรแกรมโปรติอสุ การใชโปรแกรม ISIS มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลื่อนตัวชเี้ มาสไปที่ Start จะปรากฏหนา จอตามรปู ท่ี 1.4 แลวเล่อื นตวั ชีเ้ มาสไ ปที่ Program และเลือก Proteus 8 Professional ตามรปู ท่ี 1.5 จะไดห นา ตางของ โปรแกรม ISIS ตามรูปท่ี 1.6 EL เทคนคิ ลำปาง รปู ที่ 1.4 เลอ่ื นตวั ช้ีเมาสไ ปท่ี Start

การทดลองวงจรอเิ ล็กทรอนิกสบ นโปรแกรมโปรตอิ สุ EL เทคนคิ ลำปางรูปที่ 1.5 การเขาสโู ปรแกรม ISIS รปู ท่ี 1.6 หนาตา งของโปรแกรม ISIS

บทท่ี 1 แนะนําโปรแกรมโปรติอสุ 2. เล่อื นตวั ชเี้ มาสไ ปท่รี ายการคําสง่ั แตล ะตัวแลว คลิกเมาสด า นซาย จะมีรายการคําส่ังยอย ตามรปู ท่ี 1.7 รูปท่ี 1.7 รายการคําส่ังยอ ยของแถบคาํ ส่งั EL เทคนคิ ลำปาง3. เล่อื นตวั ชีเ้มาสไปท่ไี อคอนของแถบเคร่อื งมือ รอสกั ครู จะมคี ําอธิบายคาํ สัง่ ในแตละ ไอคอน คาํ สง่ั ทแ่ี ถบเคร่ืองมอื แบงเปน 4 กลุม ดงั น้ี 3.1 File / Print เปน คําสง่ั เกีย่ วกับแฟมขอ มลู และการพมิ พ มคี ําส่งั ยอยตามรปู ที่ 1.8 รูปท่ี 1.8 คาํ สงั่ ยอ ยเกย่ี วกบั แฟมขอ มูลและการพมิ พ

การทดลองวงจรอิเลก็ ทรอนิกสบนโปรแกรมโปรติอุส 3.2 View Commands เปน คําสั่งเกยี่ วกับการแสดงผล มีคาํ สั่งยอ ยตามรปู ที่ 1.9 EL เทคนคิ ลำปางรปู ท่ี 1.9 คําส่ังยอยเกย่ี วกบั การแสดงผล 3.3 Editing Commands เปน คาํ สั่งเกย่ี วกับการแกไ ข มคี าํ สัง่ ยอยตามรปู ท่ี 1.10 รูปท่ี 1.10 คาํ ส่ังยอ ยเกย่ี วกบั การแกไ ข

บทท่ี 1 แนะนําโปรแกรมโปรติอุส 3.4 Design Tools เปน เคร่ืองมอื เก่ียวกบั การออกแบบ มคี ําสง่ั ยอยตามรปู ที่ 1.11 รปู ท่ี 1.11 คาํ ส่ังยอ ยเกย่ี วกบั การออกแบบ 4. ทดลองเขยี นวงจรเครือ่ งชวยฟง ตามรูปที่ 1.12 ในวงจรนีป้ ระกอบดว ยทรานซสิ เตอร ตวั ตานทาน คาปาซเิ ตอร และแบตเตอรี่ การเขยี นวงจรใหปฏบิ ัติตามขนั้ ตอนตอ ไปน้ี EL เทคนคิ ลำปาง4.1 เล่อื นตวั ชี้เมาสไ ปที่คาํ สง่ั File→ NewDesign หรือเลอื กกดไอคอน รปู ท่ี 1.12 วงจรเครอ่ื งชวยฟง

การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกสบนโปรแกรมโปรติอุส 4.2 เลือกอปุ กรณท ใ่ี ชใ นวงจร 4.2.1 ตอ งการเลอื กทรานซสิ เตอร ใหเ ลอื่ นตัวชเี้ มาสไปท่ี Device และชที้ ต่ี วั P จะมี ขอ ความ Pick Devices ตามรูปท่ี 1.13 ใหก ดปมุ เมาสดา นซา ยเพ่อื เขา สูหนา ตา ง Pick Devices จะได ตามรปู ท่ี 1.14 EL เทคนิคลำปางรูปท่ี 1.13 เขา สูก ารเลือกอปุ กรณ รูปท่ี 1.14 หนา ตา ง Pick Devices

บทที่ 1 แนะนาํ โปรแกรมโปรติอสุ ท่ี Libraries ใหเล่ือนตวั ช้เี มาสไปที่ BIPOLAR แลวกดปุม เมาสดา นซา ย 1 ครงั้ จะมีรายการ เบอรทรานซสิ เตอรท ี่ Objects เลอื กทรานซสิ เตอรเ บอร BC549 จะแสดงผลตามรปู ที่ 1.15 แลว ดับเบิลคลก้ิ ทเ่ี บอรทรานซสิ เตอรท่ตี องการเลือก จะมเี บอรท รานซสิ เตอรป รากฏในชอ ง Devices ตามรปู ท่ี 1.16 EL เทคนิคลำปาง รปู ท่ี 1.15 การเลือกทรานซิสเตอรเ บอร BC549 รปู ที่ 1.16 ทรานซสิ เตอรท ี่ถูกเลือกจะอยใู นชอง Devices

การทดลองวงจรอิเล็กทรอนกิ สบ นโปรแกรมโปรติอุส การเลอื กทรานซิสเตอรเ บอร BC548 และเบอร BC558 ก็ทาํ ไดเชน เดยี วกนั มีขอ สังเกตวา ขณะทก่ี ดปมุ ดบั เบลิ คล้ิกทเ่ี บอรทรานซิสเตอรจ ะมีสัญลกั ษณป รากฏขึ้นทางดานขวามอื 4.2.2 การเลือกตัวตานทานใหเ ลอื่ นตวั ช้ีเมาสไปที่ Libraries Device แลวเลอื ก Res ท่ี Objects ตามรปู ท่ี 1.17 ใหดบั เบลิ คลกิ้ ท่ี RES จะมคี าํ วา RES ปรากฏข้ึนทีช่ อง Devices ตามรปู ที่ 1.18 EL เทคนิคลำปาง รปู ที่ 1.17 การเลือกตัวตา นทาน รปู ท่ี 1.18 แสดงตัวตา นทาน (RES) ในชอ ง Devices

บทที่ 1 แนะนําโปรแกรมโปรตอิ ุส 4.2.3 การเลอื กคาปาซิเตอรแ บบมขี ั้ว ใหเ ลอ่ื นตวั ชเี้ มาสไปท่ี Objects แลวกดเลอื ก CAP_ELEC และดบั เบลิ คลกิ้ ชื่อ CAP_ELEC จะไปปรากฏทชี่ อง Devices ตามรูปท่ี 1.19 EL เทคนิคลำปางรปู ที่ 1.19 การเลือกตัวคาปาซิเตอรแบบมีขว้ั ตามรปู ท่ี 1.20 4.2.4 การเลือกแบตเตอรใ่ี หกดเลอื ก BATTERY ซึง่ อยูใ น Objects 4.2.5 การเลือกสวิตชใ หก ดเลอื ก Libraries ท่ี Active แลว กดเลือก SWITCH รูปท่ี 1.20 การเลอื กสวิตช

การทดลองวงจรอเิ ล็กทรอนิกสบนโปรแกรมโปรตอิ สุ ขอ สงั เกต : รายการอปุ กรณท เี่ ปน COND MIC และ EAR PHONE ไมต องเลือก จะเปนจุดปอ นสัญญาณเขา และตรวจสัญญาณออกตามลาํ ดบั 4.2.6 เมอื่ เลอื กอุปกรณไ ดครบตามวงจรแลว ใหปด หนา ตาง Pick Devices 4.3 การวางอุปกรณล งบนพ้ืนทใี่ ชง าน ใหเ รมิ่ จากการวางทรานซิสเตอร Q1 – Q4 โดย เลอื่ นตวั ช้เี มาสไ ปที่ทรานซิสเตอร BC459 แลว กดปุม เมาสด า นซาย 1 ครัง้ เมื่อวางทรานซิสเตอร Q1 การวาง ทรานซสิ เตอร Q2 – Q4 กท็ าํ เชนเดยี วกัน จะไดต ามรปู ท่ี 1.21 EL เทคนคิ ลำปาง รูปที่ 1.21 การวางทรานซิสเตอรลงบนพน้ื ท่ใี ชงาน มขี อสังเกตวา ทรานซสิ เตอร Q4 จากวงจรในรปู ท่ี 1.12 ขาอมิ ติ เตอรอยดู านบนแตทหี่ นาจอ อยูดา นลาง จะตอ งมีการเปลยี่ นตาํ แหนง โดยเล่อื นตวั ชเ้ี มาสไปท่ี Q4 แลว กดปุมเมาสดา นขวา 1 ครง้ั สญั ลักษณ Q4 จะเปล่ยี นเปน สีแดง ใหเ ลอ่ื นตัวช้ีเมาสไ ปท่ลี กู ศรสีแดงดานมมุ ลา งซายมือ ใหเ ลือกลกู ศรชขี้ น้ึ u แลวคล้ิกเมาสดา นซาย 1 ครง้ั ขาอมิ ติ เตอรจะไปอยดู า นบน การวางตวั ตา นทาน คาปาซเิ ตอร สวติ ช และแบตเตอร่กี ็ทําไดเ ชน เดยี วกนั และเมือ่ ตอ งการ หมุนอุปกรณใหใ ชไ อคอนลกู ศรท่ีมุมลา งซายมอื เม่อื วางอุปกรณค รบแลวจะไดตามรปู ที่ 1.22

บทท่ี 1 แนะนาํ โปรแกรมโปรตอิ สุ EL เทคนิคลำปางรปู ที่1.22 การวางสญั ลักษณข องวงจรเคร่ืองชว ยฟง 4.4 การเคลอื่ นยายสญั ลกั ษณข องอปุ กรณ เพอ่ื ใหเ หมือนกับวงจรทก่ี าํ หนดให ทําไดด งั น้ี 4.4.1 เลอื่ นตัวชเ้ี มาสไ ปทสี่ ญั ลกั ษณข องอปุ กรณท ตี่ อ งการเคลือ่ นยาย แลวคล้ิก เมาสด า นขวา 1 ครง้ั สญั ลกั ษณจ ะเปลยี่ นเปน สแี ดงแสดงวา สญั ลกั ษณต ัวนนั้ ถกู เลอื ก 4.4.2 การเคลื่อนยายสญั ลกั ษณ ใหก ดปมุ เมาสด า นซาย 1 ครง้ั แลวเลอ่ื นตัวชไ้ี ปท่ี สัญลกั ษณท ไ่ี ดเลือกไวแ ลว ใหก ดปุมเมาสด า นซายคางไว แลว เล่อื นตัวช้ีเมาสไ ปไวทตี่ ําแหนงทตี่ องการ 4.4.3 ยกเลิกการเคลอ่ื นยายสัญลักษณ เลื่อนตัวชี้เมาสไ ปไวทว่ี างแลวกดปุม เมาส ดานขวา 1 ครง้ั สญั ลกั ษณท ี่เคลอ่ื นยายจะเปล่ียนเปน สดี าํ 4.5 การเรียกใชสญั ลักษณ การตอ ลงกราวด ใหเลอื่ นตวั ชเี้ มาสไปท่ีไอคอนดา นซายมือ ชท้ี ่ีไอคอน ' (Inter Sheet Terminal) แลวกดเมาสด านซา ย 1 ครั้งเลือก GROUND เล่ือนตวั ชเ้ี มาสไปท่ี ตําแหนง ตอ ลงกราวด กดปุมเมาสด านซาย 1 ครั้ง จะมีสัญลกั ษณตอ ลงกราวดป รากฏขน้ึ 4.6 การยอ ขยายสัญลกั ษณข องอปุ กรณ เพื่อใหม องเห็นสญั ลักษณท ง้ั หมด หรือดู รายละเอียดของสญั ลักษณแ ตล ะตวั ใหเ ลอื กไอคอน เมอ่ื ตอ งการลดขนาดหรือเลอื กไอคอน เมือ่ ตองการ ขยายใหโ ตขึน้

การทดลองวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสบ นโปรแกรมโปรติอุส 4.7 การเลือกดูสวนของวงจรทม่ี องไมเหน็ ใหเ ลือ่ นตัวช้ีเมาสไ ปท่กี รอบดานบนและเลอ่ื น ตัวชไี้ ปยังจดุ ทตี่ อ งการดใู หกดปมุ เมาสดานซาย 1 คร้ัง บนพื้นท่ใี ชง าน จะแสดงสว นของวงจรที่ตอ งการดู รายละเอียด 4.8 เมื่อวางสัญลกั ษณไ ดเ หมอื นตน แบบแลว ควรจัดเก็บแฟมใหช อื่ วา Hearing Aid1 กด เลอื ก Save ตองจําไวด ว ยวา จัดเกบ็ ไวท ไ่ี ดรฟ หรือไดเรกทอรี่ใด 4.9 การโยงสายเชื่อมตอ สญั ลักษณ เพอ่ื ใหก ารตอสายทําไดงายควรขยายสญั ลกั ษณใ หโต ข้นึ และควรเรมิ่ โยงสายจากดานซายไปขวามือ เรมิ่ ทข่ี า R1 ตอกับ C1 ใหเลือ่ นตวั ชไ้ี ปท่ีขา R1 จะมี เคร่อื งหมาย X กดปุม เมาสด า นซายคา งไวแลวเลอ่ื นตัวชี้ไปที่ขา C1 ปลอ ยมือทีก่ ดปมุ เมาส สําหรับการโยง สายของอุปกรณต ัวอน่ื กท็ ําไดเ ชน เดยี วกัน เมอื่ โยงสายครบทุกเสนแลวใหจัดเกบ็ ไวในชื่อวา Hearing Aid2 4.10 การเปลยี่ นคา อุปกรณใ หปฏบิ ตั ดิ ังน้ี 4.10.1 ควรเริ่มกาํ หนดคา จากดานซายไปขวามอื 4.10.2 เม่ือตองการเปล่ยี นคา R1 เปน 2.2k ใหเลอ่ื นตวั ช้ไี ปท่ี R1 แลว กดปมุ เมาส ดานขวา 1 ครง้ั สัญลกั ษณ R1 จะเปนสแี ดง ตอจากนั้นใหก ดปมุ เมาสดานซา ย 2 ครัง้ เพอ่ื เขาสกู รอบโตต อบ Edit Component ตามรปู ท่ี 1.23 เลอ่ื นตวั ชเี้ มาสไ ปท่ชี องเติมคา Resistance พิมพ 2.2k แทน 10k แลว กด OK 4.10.3 เลอื่ นตัวชเ้ี มาสไปที่วา งแลวกดปมุ เมาสดา นขวา EL เทคนิคลำปาง4.10.4 การเปลี่ยนคาอปุ กรณทเ่ีหลือ กาํ หนดไดเชนเดยี วกนั แลว จดั เก็บแฟมใหช อื่ วา Hearing Aid3 รปู ที่ 1.23 แสดงกรอบโตต อบ Edit Component

บทท่ี 1 แนะนาํ โปรแกรมโปรตอิ ุส 4.11 การเรียกใชเครอ่ื งมอื วัด ใหเ ล่ือนตวั ชี้ไปที่ไอคอนรูปเครอ่ื งมอื วดั ดา นซายมือ จะมี รายการเครือ่ งมือวดั แสดงในรูปที่ 1.24 EL เทคนคิ ลำปาง รูปท่ี 1.24 แสดงรายการเครือ่ งมอื วัด 4.12 จากตัวอยา งวงจรเคร่อื งชวยฟง เมอ่ื ตอ งการจําลองการทํางานจะตองปอ นสัญญาณ รูปไซนเขาที่ดา นอินพุตโดยใชเครอ่ื งกาํ เนดิ สัญญาณและใชอ อสซลิ โลสโคปตรวจดูรูปคลนื่ ที่ดานเอาตพตุ โดยตอเขาท่ขี าคอลเลกเตอรของ Q4 การเรียกใชเ ครือ่ งกาํ เนิดสัญญาณและออสซิลโลสโคปใหเ ล่อื นตวั ชี้ เมาสไปท่ี SIGNAL GENERATORS แลว กดปมุ เมาสดา นซา ย 1 ครงั้ จะมรี ูปเครื่องกาํ เนดิ สญั ญาณดา นบน ของรายการ INSTRUMENT เลอื่ นตัวชีไ้ ปท่ีจดุ ใกลกับ C1 กดปมุ เมาสด า นซา ย 1 คร้ัง จะมรี ปู เครอ่ื งกาํ เนดิ สญั ญาณทพ่ี ืน้ ทใี่ ชง าน เลอ่ื นตัวชี้เมาสไปท่ี OSCILLOSCOPE แลววางออสซิลโลสโคปไวดา นบนของ Q4 โดยสายเครือ่ งกําเนดิ สญั ญาณข้วั บวกเขา ทขี่ า C1 ทต่ี อกบั R1 และขั้วลบตอลงกราวด โยงสายออสซิลโล- สโคปชอ ง A กบั ขวั้ บวกของเครื่องกาํ เนดิ สญั ญาณ สว นชอ ง B ตอกับขาคอลเลกเตอรของ Q4 ไดตามรูปที่ 1.25 แลว จัดเกบ็ ไฟลช อ่ื Hearing Aid4

การทดลองวงจรอเิ ล็กทรอนิกสบ นโปรแกรมโปรติอสุ EL เทคนคิ ลำปาง รปู ท่ี 1.25 การตอ เครอื่ งกาํ เนิดสญั ญาณและออสซลิ โลสโคปเขาทีว่ งจร 4.13 การประมวลผลการทาํ งานของวงจร ใหเล่ือนตัวชี้เมาสไ ปทีเ่ คร่ืองหมาย ► ซงึ่ อยู ดานลางซายมอื จะมีรูปจําลองของเครือ่ งกําเนดิ สญั ญาณและรปู ออสซลิ โลสโคปปรากฏขึ้น ใหเ คลอ่ื นยา ย เคร่ืองกาํ เนิดสญั ญาณ ไวท ่ีมมุ ดานซาย โดยเล่ือนตวั ชเ้ี มาสไปที่แถบชอ่ื เครื่องกาํ เนิดสญั ญาณ (VSM Signal Generator) แลว กดปุมเมาสด า นซายคา งไว ใหเ ลื่อนตัวช้ีไปท่มี ุมดา นซายเพื่อยา ยเครอื่ งกําเนิดสญั ญาณ สวนการยา ยออสซิลโลสโคปทาํ ไดเชน เดยี วกนั เมือ่ วางตาํ แหนง เคร่อื งมอื วัดเสรจ็ แลวจะไดต ามรปู ท่ี 1.26

บทที่ 1 แนะนําโปรแกรมโปรติอุส EL เทคนคิ ลำปางรปู ท่ี 1.26 การวางตําแหนง เครื่องมอื วัด 4.14 การปรับปุม ทอี่ อสซิลโลสโคป ต้ังปมุ ดรู ูปสัญญาณไวท ี่ Dual (ดู 2 เสน ภาพ) ปุมน้ี อยูท างดา นขวาของออสซลิ โลสโคป ใหเ ลอ่ื นตวั ชเ้ี มาสไ ปทีป่ ุมนน้ั แลว กดปมุ เมาสดา นซา ย 1 ครง้ั จะมเี สน ภาพ 2 เสน ปรากฏที่จอภาพ ตอจากน้ันจงึ ปรับ CH1 และ CH2 ไวที่ AC และปรับปุม Y Pos 1 โดยกดปมุ เมาสดา นซายคา งไว ใชต วั ชหี้ มุนปมุ ใหเ สน สัญญาณอยดู า นลาง สวนปุม Y Pos 2 ปรบั ใหเสนสญั ญาณอยู ดา นบน 4.15 การตั้งคา ท่ีเครอ่ื งกาํ เนดิ สัญญาณ ในการจาํ ลองการทํางานของวงจรเคร่ืองชว ยฟง จะ ใชส ญั ญาณรูปไซน โดยกดปมุ waveform ใหห ลอดไฟตดิ สวางหนา สญั ญาณรูปไซน แลวตง้ั คาปมุ Center ไวต รงกลาง ปมุ Range เลือกความถีไ่ วท่ี 1 KHz ปมุ Level ตั้งไวที่ 1 และปุม Amplitude ไวท ี่ 1 mV ถา สญั ญาณทีป่ อ นเขาดานอินพตุ มีสัญญาณแรงไป ใหใชต วั ตานทานปรบั คาไดตอ เขา ทีอ่ ินพุตเพอื่ ปรับระดับ ความแรงของสัญญาณใหเหมาะสม 4.16 การดูรูปสัญญาณท่ีออสซิลโลสโคป ใหป รบั ปมุ Y – Gain1 และปุม Y – Gain2 เพอื่ ปรบั ความสูงของสัญญาณ (Amplitude) สวนปมุ Timebase ใชป รับความถ่ี

การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกสบ นโปรแกรมโปรติอสุ 4.17 การตรวจสอบการทํางานของวงจรเครือ่ งชว ยฟง ใหส ังเกตดรู ูปคลนื่ ของสญั ญาณ ดานอนิ พุต (เสน ลา ง) เปรยี บเทยี บกบั สญั ญาณดานเอาตพ ตุ (เสนบน) ถาวงจรทาํ งานไดถ กู ตอ งจะได รูปคล่ืนตามรูปท่ี 1.27 EL เทคนิคลำปางรูปท่ี 1.27 รูปคล่ืนสัญญาณของวงจรเครอ่ื งชวยฟง สรุป โปรแกรมโปรตอิ สุ เปน โปรแกรมที่ใชจาํ ลองการทํางานของวงจรอิเล็กทรอนิกส ทางดา น แอนะลอก ดจิ ติ อล และไมโครคอนโทรลเลอร นอกจากนยี้ ังใชใ นการออกแบบลายแผน วงจรพิมพ การ เริ่มตน ใชโ ปรแกรมตอ งมกี ารติดตัง้ โปรแกรมและตองเขา ใจขั้นตอนในการใชโปรแกรม ซง่ึ มีขั้นตอนใน การจําลองการทาํ งานของวงจรดงั นี้ การเรยี กใชอุปกรณ การวาง การเคล่อื นยาย การโยงสายเชื่อมตอ การ เปลีย่ นคา อปุ กรณ การเรียกใชเคร่ืองมือวัดและการประมวลผลการทํางานของวงจร

บทที่ 2 วงจรแอนะลอก 1 บทนาํ วงจรแอนะลอกเปนวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ สทที่ าํ งานกบั สญั ญาณที่มหี ลายระดับ มลี ักษณะตอ เนอื่ ง (สญั ญาณแอนะลอก) วงจรแอนะลอกประกอบดวยอุปกรณป ระเภทเฉอื่ ยงาน เชน ตัวตา นทาน คาปาซเิ ตอร หรอื ขดลวดเหนีย่ วนํา กบั อปุ กรณประเภทไวงาน เชน ไดโอด ทรานซิสเตอร หรอื ไอซี ในบทเรยี นนี้จะ กลา วถึงการทดลอง วงจรไดโอด วงจรไบโพลารท รานซิสเตอร และวงจรเฟต โดยทาํ การทดลองบน โปรแกรมโปรตอิ สุ วงจรไดโอด ไดโอดเปนอุปกรณส ารก่ึงตวั นําที่ยอมใหกระแสไฟฟาไหลผานไดทิศทางเดยี ว จงึ นาํ มาใชเ ปน วงจรเรยี งแรงดันไฟฟากระแสสลับใหเปน ไฟฟากระแสตรง มกี ารตอเปนวงจรไดด งั นี้ 1. วงจรเรียงแรงดนั แบบคร่งึ คล่นื (Half Wave Rectifier) เปน วงจรเรยี งแรงดันไฟฟา กระแส EL เทคนคิ ลำปางสลบั ใหเปน ไฟฟากระแสตรงแบบไมราบเรยี บมวี งจรตามรูปท่ี2.1 (ก) วงจร (ข) รูปคล่นื ท่อี นิ พุต/เอาตพตุ รูปท่ี 2.1 วงจรเรียงแรงดนั แบบคร่ึงคลนื่

การทดลองวงจรอเิ ล็กทรอนิกสบนโปรแกรมโปรติอสุ ภาคปฏบิ ตั ิ ใหวาดวงจรตามรูปที่ 2.1 ลงบนโปรแกรมโปรติอุสใชไดโอดเบอร 1N4001 ตวั ตานทาน 1 kΩ แลวประมวลผลการทาํ งานของวงจรโดยปอ นคาตามตารางที่ 2.1 ใชออสซิลโลสโคปตรวจดูรูปคลนื่ และ วาดรูปคลืน่ Vout ลงในตารางท่ี 2.1 ตารางท่ี 2.1 คา ที่ใชทดลองวงจรในรปู ที่ 2.1 Vin (V) Vout (peak) รูปคลืน่ Vout 3 6 9 12 จากตารางท่ี 2.1 สรุปความสมั พันธของ Vin กับ Vout ไดดงั น้ี Vout = 2. วงจรเรียงแรงดันแบบเต็มคลนื่ (Full Wave Rectifier) จากวงจรเรยี งแรงดนั ในหวั ขอ ที่ 1 จะ EL เทคนิคลำปางเห็นไดว าไดโอดยอมใหก ระแสไฟฟาไหลผานไดเ ฉพาะชวงทรี่ ปู คล่ืนสญั ญาณมคี า เปนบวก ทําใหไ ดไฟฟา กระแสตรงทไี่ มร าบเรยี บ จึงมกี ารตอ ไดโอดเพิ่มเปน 2 ตวั หรอื 4 ตวั มีวงจรตามรูปที่ 2.2 (ก) ใชไดโอด 2 ตวั รปู ที่ 2.2 วงจรเรยี งแรงดนั แบบเตม็ คลน่ื

บทท่ี 2 วงจรแอนะลอก 1 (ข) ใชไ ดโอด 4 ตวั รูปที่ 2.2 (ตอ ) ภาคปฏิบตั ิ ใหวาดวงจรตามรูปท่ี 2.2(ก) ไดโอด D1 และ D2 ใชเบอร 1N4001 ตัวตา นทาน RL ใชค า 1 kΩ EL เทคนิคลำปางแลวประมวลผลการทาํ งานโดยปอนแรงดนั ไฟฟากระแสสลบั ตามคา ในตารางที่2.2ใชอ อสซลิ โลสโคป ตรวจดรู ปู คลนื่ และวัดคา แรงดัน ตารางท่ี 2.2 คา แรงดนั ท่ีปอ นเขา วงจรในรูปที่ 2.2(ก) Vin Vout (peak) รูปคล่ืน Vout 6V 12 V 18 V 24 V จากคา ท่วี ดั ไดในตารางที่ 2.2 เขยี นเปนสตู รสรุปความสัมพันธของ Vin กับ Vout Vout =

การทดลองวงจรอิเลก็ ทรอนิกสบนโปรแกรมโปรติอสุ ใหวาดวงจรตามรปู ท่ี 2.2(ข) ไดโอด D1 – D4 ใชเบอร 1N4001 หรือ ไดโอดบรดิ จ ตวั ตานทาน ใชค า 1 kΩ แลวประมวลผลการทํางานโดยปอ นแรงดนั ไฟฟากระแสสลบั ตามคา ในตารางท่ี 2.3 ใหใช ออสซิลโลสโคปตรวจดรู ปู คลนื่ และวดั คาแรงดันทเ่ี อาตพ ตุ ตารางที่ 2.3 คา แรงดนั ทปี่ อนเขา วงจรในรปู ท่ี 2.2(ข) รูปคลื่น Vout Vin Vout (peak) 6V 12 V 18 V 24 V จากคา ทีว่ ดั ไดในตารางท่ี 2.2(ข) จงเขยี นเปนสตู รสรปุ ความสมั พันธข อง Vin กบั Vout Vout = วงจรแหลง จา ยไฟฟากระแสตรง EL เทคนิคลำปางวงจรแหลงจา ยไฟฟากระแสตรงเปน หวั ใจของระบบอเิล็กทรอนิกสทกุ ระบบตองมแี หลงจาย ไฟตรงทปี่ อนกระแสไฟฟาใหกบั วงจรทาํ งาน แหลงจา ยไฟกระแสตรงประกอบดว ย วงจรเรยี งแรงดนั วงจรกรองกระแสและแรงดนั และวงจรคงคา แรงดนั แสดงเปนแผนภาพบล็อกไดตามรปู ที่ 2.3 ไฟฟา วงจรเรยี งแรงดนั วงจรกรองกระแส วงจรคงคา แรงดัน โหลด และแรงดนั กระแสสลบั รูปที่ 2.3 แผนภาพบลอ็ กแหลง จา ยไฟฟา กระแสตรง วงจรกรองกระแสและแรงดนั จากวงจรเรยี งแรงดนั ตามทก่ี ลา วมาแลว จะเหน็ ไดว า รปู คลน่ื ท่ไี ดไมร าบเรยี บ เหมอื นกับ แรงดันไฟฟาทไ่ี ดจ ากแบตเตอรี่ จึงตองมีวงจรกรองแรงดนั โดยใชต วั คาปาซิเตอรต อ ขนานกับโหลดตาม รปู ที่ 2.4

บทท่ี 2 วงจรแอนะลอก 1 รูปท่ี 2.4 การตอคาปาซเิ ตอรกรองแรงดนั ภาคปฏิบตั ิ ใหวาดวงจรตามรปู ท่ี 2.4 กาํ หนดให Vin = 12 V D1 − D4 เบอร 1N4001 หรือบรดิ จไดโอด EL เทคนคิ ลำปางRL =1kΩ สว นคาปาซเิ ตอรม คี าตามตารางที่2.4 เปลี่ยนคาCแลว ใชออสซิลโลสโคปตรวจดูรูปคลื่นท่ี เอาตพ ุตและวาดรูปไวใ นตารางที่ 2.4 ตารางที่ 2.4 คาคาปาซเิ ตอรใ นวงจรแหลงจา ยไฟฟา กระแสตรง C (μF) รูปคลน่ื ท่ี Vout 10 100 1000 2200 จากรูปคลน่ื ที่ Vout จะเห็นไดวา คาปาซิเตอรมคี า เปนอยา งไร จึงจะไดแ รงดนั ไฟตรงที่ราบเรยี บ เหมอื นกบั แรงดันไฟฟาทีไ่ ดจ ากแบตเตอรี่ วงจรคงคา แรงดัน แรงดนั ไฟฟาท่ไี ดจ ากวงจรกรองกระแสและแรงดันจะมคี าคงทีเ่ มอื่ ยังไมตอกบั โหลด แตเม่ือตอ โหลดแรงดันจะลดลง หรอื เมื่อแรงดันอนิ พตุ เปล่ียนไปจะทาํ ใหแ รงดนั ทเี่ อาตพตุ เปลย่ี นไปดวย ทาํ ให โหลดทํางานไมเต็มประสทิ ธิภาพ จงึ จาํ เปนตองมีวงจรคงคา แรงดนั เพอื่ ใหไดแ รงดนั ท่เี อาตพ ตุ คงท่ี ถงึ แมว า

การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกสบนโปรแกรมโปรติอุส รูปท่ี 2.5 วงจรแหลงจา ยไฟตรง 5 โวลต ภาคปฏิบตั ิ EL เทคนิคลำปางใหว าดวงจรตามรปู ที่2.5ลงในโปรแกรมโปรติอสุ แลว จาํ ลองการทํางานโดยปอ นแรงดันที่ อนิ พุตและวดั แรงดันทเี่ อาตพ ุต ตามตารางท่ี 2.5 ตารางท่ี 2.5 คา แรงดนั ที่อินพตุ ทปี่ อนเขาวงจรตามรปู ท่ี 2.5 แรงดันอนิ พุต (V) แรงดันเอาตพ ตุ (V) 6 7 8 9 10 จากแรงดนั เอาตพุตทีบ่ ันทึกลงในตารางท่ี 2.5 สรุปไดวา ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

บทที่ 2 วงจรแอนะลอก 1 การดัดแปลงวงจรคงคาแรงดนั ที่ใชไ อซี LM317 ใหสามารถคงคา แรงดนั ที่ปรับคา ไดมวี งจรตาม รูปท่ี 2.6 ปรบั คาได 0V – 30 V โดยตอตวั ตา นทานแบบปรับคา ได มคี า 5 kΩ เขา ที่ขา Common ของไอซี รปู ท่ี 2.6 วงจรแหลงจา ยไฟตรงที่ปรบั คา ได ภาคปฏิบตั ิ EL เทคนิคลำปางใหว าดวงจรตามรปู ท่ี2.6โดยใชโปรแกรมโปรติอสุ แลวจําลองการทาํ งานของวงจรโดยปอ น แรงดนั ไฟฟา กระแสสลับ 30 V เขา ทีอ่ นิ พุต แลวปรับคา ตวั ตานทาน 5 kΩ และวัดคาแรงดันทีเ่ อาตพ ุต วงจรไบโพลารทรานซสิ เตอร การนําไบโพลารท รานซิสเตอรไ ปตอใชง าน ตองเร่ิมตนจากการวดั แรงดนั ไฟตรง (bias) ให ทรานซิสเตอรอยางเหมาะสมจึงจะทําใหทรานซสิ เตอรท ํางานได ในบทเรยี นนจ้ี ะไดเ รยี นรกู ารทาํ งานของ วงจรทีใ่ ชไบโพลารท รานซิสเตอรเ ปนสวติ ช เปนวงจรขยายแบบเบสรวม อมิ ิตเตอรร วม คอลเลกเตอรร ว ม วงจรขยายขน้ั ตน และวงจรขยายกาํ ลงั วงจรทรานซิสเตอรสวติ ช จากวงจรในรปู ที่ 2.7 เปน วงจรทใ่ี ชท รานซสิ เตอรเ ปน สวติ ช มที รานซิสเตอร Q1 และ Q2 ท่ขี า เบสของทรานซสิ เตอร Q1 มตี วั ตานทาน R1 ตอ กับขาเบสและตอ ลงกราวด สว นขาเบส Q2 ตอ กบั ตัว ตานทาน R2 และตอกับไฟบวก 6 V ใหส ังเกตผลจากการทดลองวา ทรานซสิ เตอรตัวใดทําหนา ท่ีตอวงจร (on) หรือตัดวงจร (off)

การทดลองวงจรอิเลก็ ทรอนกิ สบนโปรแกรมโปรติอุส รูปที่ 2.7 วงจรทรานซสิ เตอรสวติ ช ภาคปฏิบตั ิ ใหตอ วงจรตามรูปที่ 2.7 แลว จาํ ลองการทาํ งานของวงจรและสงั เกตผลท่ีหลอดไฟ D1 และ D2 และวดั คา แรงดนั ทท่ี รานซิสเตอร Q2 ตามตารางที่ 2.6 โดยใชโวลตม เิ ตอรวดั แรงดนั ไฟตรง EL เทคนิคลำปางตารางท่ี2.6วดั แรงดันท่ีทรานซสิ เตอรQ2 วัดแรงดันท่ี คา ทีว่ ดั ได (V) CB BE CE สรปุ ความสมั พันธของแรงดันที่ขาทรานซสิ เตอร Q2 VCE = การตอวงจรทรานซิสเตอรส วิตช จะตองปรบั คากระแสทไ่ี หลเขาขาเบสใหเ หมาะสมจงึ จะทาํ ให มีกระแสไหลจากขาคอลเลกเตอรไปยังขาอมิ ิตเตอรไ ด ใหท ดลองวงจรตามรูปที่ 2.8

บทที่ 2 วงจรแอนะลอก 1 EL เทคนคิ ลำปางรูปที่ 2.8 วงจรสวติ ชท ี่มีการปรบั กระแสทข่ี าเบส ภาคปฏิบตั ิ ใหต อวงจรตามรูปที่ 2.8 แลว จาํ ลองการทาํ งานของวงจร ทดลองปรับ RV1 แลวสังเกตผลท่ี D1 และสรปุ ผลไดวา ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... จากวงจรทรานซิสเตอรส วติ ชในรูปที่ 2.6 เม่อื เพมิ่ ตัวคาปาซิเตอรเขาไปตามรูปท่ี 2.9 จะทาํ ให ไดเ ปน วงจรตง้ั เวลาปด หลอดไฟฟาโดยอตั โนมตั ิ

การทดลองวงจรอเิ ล็กทรอนกิ สบนโปรแกรมโปรติอุส รูปที่ 2.9 วงจรปด หลอดไฟโดยอตั โนมัติ ภาคปฏิบตั ิ EL เทคนคิ ลำปางใหตอ วงจรตามรูปที่2.9 แลว จาํ ลองการทาํ งาน สังเกตผลทห่ี ลอดไฟD1 แลวทดลองเปลี่ยนคา C1 เปน 100 μF และ 10,000 μF สรุปผลไดดงั นี้ ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... จากวงจรในรปู ที่ 2.9 ถา สลับท่ี C1 กบั R1 และยา ยสวติ ช S1 ไปไวท ดี่ านลา ง เมอ่ื จาํ ลองการ ทาํ งานของวงจรจะไดผลดังน้ี ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... การตอ วงจรทรานซิสเตอรใหท ําหนา ทข่ี ยายสญั ญาณไฟกระแสสลบั สามารถตอ เปนวงจรได 3 แบบ คือ วงจรแบบอมิ ิตเตอรรว ม วงจรคอลเลกเตอรร ว มและวงจรเบสรวม

บทที่ 2 วงจรแอนะลอก 1 วงจรอิมติ เตอรร ว ม จากวงจรในรปู ท่ี 2.10 เปน วงจรอิมิตเตอรรวมมสี ญั ญาณอินพุตปอ นเขาทขี่ าเบส และสง สัญญาณออกท่ีขาคอลเลกเตอร สวนขาอิมิตเตอรเปนขาทตี่ อ รวมกบั อนิ พตุ และเอาตพตุ โดยตอ กับ ตัวตานทาน R6 EL เทคนิคลำปาง รปู ที่ 2.10 วงจรอมิ ิตเตอรรวม ภาคปฏิบตั ิ 1. ใหต อวงจรตามรูปท่ี 2.10 แลว จําลองการทาํ งานของวงจร โดยใชโ วลตม เิ ตอรวดั แรงดนั ไฟตรงที่ขา BC BE และ CE แลวหาความสมั พนั ธข องแรงดนั ทว่ี ดั ได สรุปเปนสตู รได VCE = 2. ใหป อนสญั ญาณรูปไซน 1 kHz เขา ที่อินพุตแลวใชออสซิลโลสโคปตรวจดรู ูปคลื่นที่ เอาตพ ตุ ไดอัตราการขยายแรงดนั เทา กบั vo = vi

การทดลองวงจรอิเลก็ ทรอนิกสบนโปรแกรมโปรติอสุ วงจรเฟต ไบโพลารทรานซสิ เตอรเปน อุปกรณท ท่ี ํางานโดยใชก ารควบคมุ กระแสโดยใชก ระแสทขี่ าเบส ไปควบคุมกระแสทไ่ี หลผานขาคอลเลกเตอร สว นเฟตเปนทรานซิสเตอรท่ที ํางานโดยการควบคมุ แรงดนั ใช การปอนแรงดนั เขา ทขี่ าเกตเพอื่ ควบคุมกระแสทไ่ี หลผานอุปกรณ เมอ่ื เปรียบเทียบกบั ไบโพลารทรานซสิ - เตอรก ับเฟตจะพบวาเฟตมคี วามตา นทานดา นอินพตุ สูงมาก เฟตจาํ แนกไดเ ปน 2 ชนิด คือ เจเฟต (Junction Filed Effect Transistor : JFET) และ มอสเฟต (Metal – Oxide Semiconductor FET : MOSFET) มี สญั ลกั ษณตามรูปที่ 2.17 – รูปท่ี 2.19 EL เทคนคิ ลำปางเดรน(D) เดรน(D) เกต(G) เกต(G) ซอรส (S) ซอรส (S) (ก) เอน็ แชนเนล (ข) พแี ชนเนล รปู ท่ี 2.17 สัญลกั ษณเจเฟต

บทที่ 2 วงจรแอนะลอก 1 เดรน(D) เดรน(D) เกต(G) เกต(G) ซอรส (S) ซอรส (S) (ก) เอน็ แชนเนล (ข) พแี ชนเนล รูปที่ 2.18 สัญลักษณด ี - มอสเฟต EL เทคนิคลำปางเดรน(D) เดรน(D) เกต(G) ซอรส (S) ซอรส (S) (ก) เอน็ แชนเนล (ข) พแี ชนเนล รูปท่ี 2.19 สัญลักษณอ ี - มอสเฟต การนําเฟตไปตอ เปนวงจรขยายสัญญาณ จดั เปน วงจรได 3 แบบ คอื วงจรขยายแบบซอรส รวม วงจรขยายแบบซอรส รวม มวี งจรตามรูปที่ 2.20 โดยปอ นสญั ญาณเขา ทขี่ าเกตโดยผา น C1 โดยมี RG ตอกบั ขาเกตและตอลงกราวด เพ่ือทาํ ใหข าเกตมีคาแรงดันประมาณ 0 V (เพราะ IGSS มคี า นอย) RG ตอ ง มคี าเปน เมกกะโอหม เพื่อไมใ หเกดิ การโหลดทแ่ี หลงจา ยสัญญาณไฟฟา กระแสสลบั การวัดแรงดนั ไบแอส

การทดลองวงจรอิเลก็ ทรอนกิ สบนโปรแกรมโปรตอิ ุส (Q point) ทําใหกระแสทข่ี าเดรนสา ยไปมาดวย เม่ือกระแสท่ีขาเดรนเพ่ิมข้ึน แรงดนั ที่ตกครอ ม RD กจ็ ะ เพิ่มขนึ้ ดว ยทําใหแรงดันทข่ี าเดรนกบั กราวดลดลง EL เทคนิคลำปางรปู ท่ี 2.20 วงจรขยายแบบซอรส รวม ภาคปฏิบตั ิ ใหต อวงจรตามรูปที่ 2.20 เพื่อจําลองการทาํ งานของวงจร โดยทําตามข้ันตอนดงั น้ี 1. ตอ วงจรโดยใชโ ปรแกรมโปรติอุส 2. จาํ ลองการทํางานของวงจร โดยไมตอสญั ญาณอินพตุ แลว ตอ โวลตมเิ ตอรวัดแรงดนั ไฟตรงทข่ี า GD GS และ DS 3. ตอ สัญญาณรูปไซนจากเคร่ืองกาํ เนดิ สัญญาณเขา ท่ีอนิ พตุ โดยตงั้ ความถี่ไวท่ี 1 KHz และ แอมปลิจดู 100 mVrms 4. ตอ ออสซิลโลสโคป วดั รปู คล่ืนสัญญาณที่อินพตุ และเอาตพตุ 5. จาํ ลองการทํางานของวงจรแลว วาดรปู คลื่นทีอ่ ินพตุ และเอาตพุต 6. ปรบั แอมปลจิ ดู ของสญั ญาณจากเคร่ืองกําเนดิ สัญญาณแลวสังเกตผลที่เอาตพ ุต สรุปผลการสังเกต ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

บทที่ 3 วงจรแอนะลอก 2 บทนํา วงจรแอนะลอก 1 ในบทที่ 2 เปน การจําลองการทํางานของวงจรไดโอด ทรานซสิ เตอร ไบโพลาร และทรานซิสเตอรเ ฟต ในบทท่ี 3 จะเปน การจาํ ลองการทํางานของวงจรทจ่ี ดั อยใู นรปู ของวงจร รวม มีออปแอมปและไอซที เ่ี ก่ียวกบั ฐานเวลา (ไอซี 555) ออปแอมปจ ะนําไปตอ เปนวงจรบฟั เฟอร วงจรขยายอินเวอรต ิง วงจรขยายนอนอนิ เวอรต งิ วงจรอินทริเกต วงจรดิฟเฟอเรนเชียล วงจรขยายผลตาง วงจรกรองความถ่ีไวงาน สว นไอซี 555 จะกลาวถึง ภาพรวม วงจรทดสอบไอซี วงจรมลั ตไิ วเบรเตอร แบบโมโนสเตเบิลและอะสเตเบิล การประยุกตใ ชง านไอซี 555 ออปแอมป ออปแอมปเ ปน วงจรขยายผลตางทีม่ อี ตั ราการขยายสงู มาก มอี นิ พุตอิมพิแดนซส งู มากและมี เอาตพ ตุ อมิ พแิ ดนซตํา่ ออปแอมปม ีอินพุต 2 ขา คอื ขาอนิ เวอรต งิ (-) และขานอนอนิ เวอรตงิ (+) ดา น EL เทคนคิ ลำปางเอาตพ ุตมี1ขาปกตจิ ะใชก บั แหลงจา ยไฟคูท ม่ี คี าแรงดัน±5V ถึง ±15V มลี กั ษณะภายนอกและ สัญลักษณตามรูปที่ 3.1 (ก) ลกั ษณะภายนอก (ข) สัญลักษณ รูปท่ี 3.1 ออปแอมป

การทดลองวงจรอเิ ล็กทรอนกิ สบนโปรแกรมโปรติอสุ การนําออปแอมปไปตอ ใชงาน จะนําไปใชเ ปนวงจรขยายสัญญาณ วงจรกรองความถี่ และวงจร เปรียบเทียบ มรี ายละเอยี ดดังนี้ วงจรบัฟเฟอร วงจรบัฟเฟอรเ ปนวงจรทีม่ อี ตั ราขยายเทากบั 1 มวี งจรตามรูปท่ี 3.2 EL เทคนิคลำปางวงจรขยายอนิ เวอรตงิ รูปท่ี 3.2 วงจรบัฟเฟอร วงจรขยายอินเวอรตงิ เปน วงจรขยายที่มสี ญั ญาณปอ นเขา ที่ขาอนิ เวอรต ิงโดยผา นตวั ตานทาน R1 10 kΩ มีวงจรตามรปู ที่ 3.3 รูปที่ 3.3 วงจรขยายอนิ เวอรต งิ

บทท่ี 3 วงจรแอนะลอก 2 วงจรขยายนอนอินเวอรติง วงจรขยายนอนอินเวอรตงิ เปน วงจรออปแอมปท ี่ตอสัญญาณอินพตุ เขา ทข่ี านอนอินเวอรติง มี วงจรตามรูปท่ี 3.4 EL เทคนิคลำปางรูปท่ี 3.4 วงจรขยายนอนอินเวอรตงิ ภาคปฏบิ ตั ิ ใหจ ําลองการทํางานของวงจร ในรูปท่ี 3.2 – รูปท่ี 3.4 โดยทาํ ตามขน้ั ตอนตอ ไปนี้ 1. ตอ วงจรตามรปู ที่ 3.2 2. ตอ เครือ่ งกาํ เนดิ สญั ญาณเขาที่อนิ พุตและตอ ออสซิลโลสโคปเขา ท่เี อาตพุต 3. ปอ นสญั ญาณรูปไซน ความถี่ 1 KHz เขา ทอ่ี ินพตุ 4. สงั เกตรูปดคู ลื่นทีเ่ อาตพ ุต แลว วาดรูปไวด า นลา ง เอาตพ ุต อนิ พตุ 5. ใหจําลองการทํางานของวงจรในรปู ที่ 3.3 และรูปที่ 3.4 โดยทําตามขน้ั ตอนเชนเดียวกับ ขอ 1 ถงึ ขอ 4 แลววาดรูปไวด านลาง

การทดลองวงจรอเิ ล็กทรอนิกสบนโปรแกรมโปรตอิ ุส เอาตพ ุต เอาตพ ุต อนิ พุต อนิ พตุ รปู คลนื่ ของวงจรในรูปท่ี 3.3 รูปคล่นื ของวงจรในรูปที่ 3.4 สรปุ ผลการสงั เกต ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... EL เทคนิคลำปางวงจรอนิ ทรเิกรต(Integrator) วงจรอินทรเิ กรตเปน วงจรท่ีเปลยี่ นสัญญาณรูปส่เี หลย่ี ม ใหเปน สญั ญาณรูปสามเหลยี่ ม มีวงจร ตามรปู ที่ 3.5 รูปท่ี 3.5 วงจรอินทริเกรต

บทที่ 3 วงจรแอนะลอก 2 วงจรดฟิ เฟอเรนเชยี ล (Differentiator) วงจรดิฟเฟอเรนเชยี ล เปนวงจรทเี่ ปลยี่ นสญั ญาณรูปสามเหลยี่ มใหเ ปนสัญญาณรูปไซน มวี งจร ตามรปู ท่ี 3.6 รปู ที่ 3.6 วงจรดิฟเฟอเรนเชยี ล วงจรขยายผลตา ง (Difference Amplifier) EL เทคนิคลำปางวงจรขยายผลตา งใชเปรยี บเทยี บแรงดนั ทป่ี อ นเขา ขาอนิ พุตแลว แสดงผลทเ่ีอาตพ ตุ มวี งจรตาม รูปที่ 3.7 รูปท่ี 3.7 วงจรขยายผลตาง

การทดลองวงจรอเิ ลก็ ทรอนกิ สบนโปรแกรมโปรตอิ ุส ภาคปฏบิ ตั ิ ใหต อ วงจรตามรูปที่ 3.5 – รปู ที่ 3.7 แลวจาํ ลองการทํางานและวาดรปู คล่ืนสญั ญาณทเ่ี อาตพ ุต เอาตพ ตุ เอาตพ ุต อนิ พุต อนิ พตุ รปู คลน่ื ของวงจรในรปู ท่ี 3.5 รูปคลนื่ ของวงจรในรปู ที่ 3.6 สรุปผลการสงั เกต ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... EL เทคนิคลำปาง.......................................................................................................................................................................... วงจรกรองความถไ่ี วงาน (Active Filters) วงจรกรองความถ่ีเปนวงจรกรองสญั ญาณอินพตุ ใหไ ดความถ่ตี ามตองการ แลวสงออกทเี่ อาตพ ตุ และสามารถปรับแอมปลิจดู ของสญั ญาณทีผ่ านออกมาได วงจรกรองความถีไ่ วงานแบง เปน วงจรกรอง ความถีต่ ่ํา วงจรกรองความถส่ี งู และวงจรกรองแถบความถ่ี มีรายละเอียดดงั น้ี วงจรกรองความถตี่ ํ่าไวงาน (Active Lowpass Filters) วงจรกรองความถีต่ ่ําไวงาน เปนวงจรทยี่ อมใหค วามถี่ไมเ กิน 1 KHz ผา นออกทีเ่ อาตพ ตุ ความถ่ี ทผ่ี า นไปไดจะมีแอมปลจิ ูดสงู กวาสญั ญาณท่ีปอ นเขา ที่อินพตุ มวี งจรตามรูปที่ 3.8

บทที่ 3 วงจรแอนะลอก 2 รูปที่ 3.8 วงจรกรองความถีต่ าํ่ แบบไวงาน ภาคปฏบิ ตั ิ ใหผเู รยี นปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนตอไปนี้ 1. ตอวงจรตามรปู ที่ 3.8 EL เทคนิคลำปาง2. ตอเครอื่ งกาํ เนดิ สัญญาณและออสซิลโลสโคปเขาท่อี ินพตุ และเอาตพุตตามลาํ ดับ 3. จําลองการทํางานของวงจร โดยปอนสัญญาณอนิ พตุ เปน สญั ญาณรูปไซน ความถ่ี 1 KHz แลวสงั เกตดูรปู คลื่นทอ่ี อสซิลโลสโคปและวาดรูปไวใ นรปู ที่ 3.9 รปู ท่ี 3.9 รปู คล่ืนไซนค วามถี่ 1 KHz ผา นวงจรกรองความถตี่ ํ่า

การทดลองวงจรอิเลก็ ทรอนกิ สบนโปรแกรมโปรตอิ ุส 4. เปลย่ี นความถท่ี ปี่ อ นเขา เปน 100 Hz แลวสงั เกตดผู ลทอ่ี อสซลิ โลสโคปและวาดรูปคลน่ื ลงในรปู ที่ 3.10 รปู ท่ี 3.10 รูปคล่นื ไซนค วามถี่ 100 Hz ท่ีผานวงจรกรองความถต่ี ํ่า 5. เปลยี่ นคา C1 เปน 1 μF แลว จาํ ลองการทาํ งานตามขอ 3 และขอ 4 และวาดรปู ลงใน รูปที่ 3.11 EL เทคนิคลำปาง (ก) รูปคลื่นไซน 1 KHz (ข) รูปคลื่นไซน 100 Hz รูปที่ 3.11 รูปคลืน่ ทผี่ า นวงจรกรองความถต่ี ่ํา เม่ือ C1 = 1 μF

บทที่ 3 วงจรแอนะลอก 2 สรปุ ผลการสงั เกต ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... วงจรกรองความถสี่ ูงไวงาน (Active Highpass Filters) วงจรกรองความถ่ีสูงไวงานเปน วงจรทยี่ อมใหความถที่ สี่ งู กวา 1 KHz ผา นไดดี มวี งจรตาม รูปท่ี 3.12 EL เทคนิคลำปาง รูปท่ี 3.12 วงจรกรองความถสี่ ูงไวงาน ภาคปฏบิ ตั ิ ใหผูเรียนปฏบิ ตั ติ ามขนั้ ตอนตอ ไปนี้ 1. ตอ วงจรตามรปู ท่ี 3.12 2. ตอ เคร่ืองกําเนดิ สญั ญาณและออสซิลโลสโคปเขา ที่อินพตุ และเอาตพ ุตตามลําดบั 3. จาํ ลองการทาํ งานของวงจร โดยปอ นสัญญาณรูปไซน ความถี่ 1 KHz เขาท่อี ินพุต 4. สงั เกตดผู ลท่อี อสซิลโลสโคป แลว วาดรปู คลืน่ ลงในรูปท่ี 3.13

การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกสบนโปรแกรมโปรติอุส รูปท่ี 3.13 รปู คล่นื ไซนค วามถ่ี 1 KHz ท่ผี านวงจรกรองความถี่สูง 5. เปลยี่ นความถท่ี ปี่ อ นเขาวงจรกรองความถ่ีสงู เปน 100 Hz และ 10 KHz แลวสังเกตดผู ลท่ี ออสซลิ โลสโคปและวาดรูปคล่นื ลงในรูปที่ 3.14 EL เทคนคิ ลำปาง (ก) ความถ่ี 100 Hz (ข) ความถี่ 10 KHz รูปท่ี 3.14 รปู คลนื่ ไซน 100 Hz และ 10 KHz ทีผ่ า นวงจรกรองความถีส่ ูง 6. เปลย่ี นคา C1 เปน 4.7 μF แลวจาํ ลองการทาํ งานตามขอ ที่ 3 – 5 และวาดรปู คลน่ื ลงใน รูปท่ี 3.15

บทที่ 3 วงจรแอนะลอก 2 (ก) ความถี่ 1 KHz EL เทคนคิ ลำปาง(ข)ความถี่10KHz (ค) ความถี่ 100 Hz รปู ที่ 3.15 รูปคลน่ื ไซนทผี่ านวงจรกรองความถี่สงู เม่อื C = 4.7 μF สรุปผลการสงั เกต ....................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

การทดลองวงจรอเิ ลก็ ทรอนิกสบนโปรแกรมโปรตอิ สุ ไอซี 555 ภาพรวมของไอซี 555 ไอซี 555 เปน ไอซแี อนะลอกที่มี 8 ขา ใชต อเปน วงจรมัลตไิ วเบรเตอรแ บบโมโนสเตเบิล หรืออะสเตเบลิ มีรูปรา งภายนอก ตาํ แหนง ขา และสัญลักษณตามรปู ที่ 3.19 (ก) ลกั ษณะภายนอก (ข) ตําแหนงขา (ค) สัญลักษณ รูปท่ี 3.19 ตําแหนง ขาไอซี 555 บริษัทผูผ ลิตไอซี 555 มหี ลายบริษัทและไดก าํ หนดเบอรต ามรายละเอียดในตารางที่ 3.1 EL เทคนคิ ลำปางตารางท่ี3.1 เบอรไ อซี555ของแตละบรษิ ทั บริษัทผูผ ลติ เบอร ECG Phillips ECG 955M Exar XR-555 Fairchild NE-555 Harris HA-555 Intersil SE555/NE555 Lithic System LC555 Maxim ICM7555 Motorola MC1455/MC1555 National LM14555/LM555C NTE Sylvania NTE9555M Raytheon RM555/RC555 RCA CA555/CA555C

บทท่ี 3 วงจรแอนะลอก 2 EL เทคนคิ ลำปางรูปที่ 3.21 วงจรทดสอบไอซี555 ภาคปฏิบตั ิ ใหปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนตอ ไปนี้ 1. ใหตอวงจรตามรปู ท่ี 3.21 2. เปล่ยี นคาอปุ กรณใ หต รงตามวงจรในรปู ที่ 3.21 3. จาํ ลองการทาํ งานของวงจรและสงั เกตดูผลการทาํ งาน บันทกึ ผลการสงั เกต ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................................

การทดลองวงจรอิเล็กทรอนิกสบนโปรแกรมโปรตอิ ุส โมโนสเตเบลิ มัลตไิ วเบรเตอร โมโนสเตเบลิ มัลตไิ วเบรเตอร เปนวงจรที่ใชก าํ เนิดพัลซ 1 ลูก เมอ่ื มสี ญั ญาณมากระตนุ ที่ขา Trigger (ขา 2) ความกวา งของพัลซทเ่ี อาตพุตขึ้นกับคา R และ C ที่ตอ ภายนอก มีวงจรตามรูปที่ 3.22 รปู ที่ 3.22 โมโนสเตเบลิ มัลตไิ วเบรเตอร EL เทคนิคลำปางอะสเตเบิลมัลติไวเบรเตอร อะสเตเบลิ มัลตไิ วเบรเตอร เปน วงจรกาํ เนดิ พลั ซทมี่ ีความตอ เน่ือง คาความถข่ี องพัลซขึ้นกบั คา RC ทีน่ ํามาตอ ภายนอก มีวงจรตามรูปที่ 3.24 รปู ท่ี 3.24 วงจรอะสเตเบลิ มัลตไิ วเบรเตอร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook