การพยาบาลหญงิ ที่มีโรคติดเชอ้ื ร่วมกับการตัง้ ครรภ์.....................................................................................................................................................ซ่อื สัตย์ รบั ผดิ ชอบ มีวนิ ยั
•โรคตบั อกั เสบ •หัดเยอรมัน •โรคสุกใส •ซิฟิลสิ , •เริม •Condyloma accuminata •HPV •AIDS Zika virus disease.....................................................................................................................................................ซ่อื สัตย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
3 1.การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ทมี่ ีภาวะตบั อกั เสบบี.....................................................................................................................................................ซือ่ สตั ย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
ไวรสั ตบั อักเสบบี » เกดิ จากเชือ้ ไวรัสตับอักเสบบี » อาการและอาการแสดง 1.ไม่มีอาการ มกั เป็นพาหะ พบ HBsAg มากในเลือด 2.มอี าการ จะพบผนื่ มีอาการคลา้ ยหวดั เบ่อื อาหาร คลื่นไสอ้ าเจียน ตวั ตาเหลือง พบทง้ั HBsAg และ HBeAg เอ็นไซมต์ บั เพ่มิ ข้ึน.....................................................................................................................................................ซอื่ สัตย์ รบั ผิดชอบ มีวนิ ยั
การวินิจฉยั 1. การซกั ประวัติ 2. การตรวจรา่ งกาย ส่วนใหญม่ ักจะเปน็ พาหะจึงไมป่ รากฏ อาการ ถา้ อยู่ในภาวะเฉียบพลันจะมีอาการดงั กล่าวขา้ งต้น 3. การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัติการ เช่น HBsAg , anti-HBs, HBcAg , anti-HBc, HBeAg , anti-HBe การทดสอบการ ทางานของตับ.....................................................................................................................................................ซอื่ สตั ย์ รับผดิ ชอบ มีวนิ ยั
ขอ้ มูลจากผลการตรวจเลอื ด 6HBsAg : บอกถงึ การติดเช้ือไวรสั ตับอักเสบบีHBeAg : บอกถงึ ความสามารถในการแบ่งตวั ของไวรัสตบั อกั เสบบี (Viral replication)Anti HBc : เปน็ ภมู ิคุ้มกันท่ีเกิดจากการตอบสนองของรา่ งกายต่อไวรสั ตับอักเสบบี บอกถงึการเคยติดเชื้อไวรัสบีAnti HBc-IgM : พบในตับอักเสบเฉยี บพลนัAnti HBc-IgG : พบไดท้ ง้ั ในตบั อักเสบเฉียบพลนั , เรอื้ รงั หรอื แม้แตผ่ ู้ทต่ี รวจไมพ่ บเชอ้ื แล้วAnti HBe : จะพบหลังจากตรวจไม่พบ HBeAg ในเลือดแล้วAnti HBs : จะพบหลังจากตรวจไมพ่ บ HBsAg ในเลือดแลว้ หรอื เปน็ ภมู ิคุ้มกนั ต่อการตดิเช้ือไวรสั ตับอกั เสบบี.....................................................................................................................................................ซื่อสตั ย์ รบั ผิดชอบ มวี นิ ยั
ตารางแสดงการตรวจหา antigen, antibody การตรวจพบ HBsAg HBeAg anti – anti– anti– HBs HBe HBcการแปลผล + - - +/-ติดเช้ือ HBVชนิดเฉยี บพลนั +ติดเช้ือ HBVชนิดเร้อื รงั + - - ++เคยติดเช้ือ HBVมากอ่ นเคยไดร้ บั วคั ซีน HBVมากอ่ น - - +/- +/- + - - + --.....................................................................................................................................................ซือ่ สตั ย์ รับผดิ ชอบ มีวนิ ยั
ผลกระทบ » ตอ่ มารดา มีความเส่ียงจะเป็นตับอักเสบเรอื้ รงั ตับแข็งมะเร็งตบั ต่อทารก ติดเช้อื HBV ในไตรมาสแรกมโี อกาสติดเชอื้ 10% ไตรมาสที่ 3 มีโอกาสติดเช้ือ 80-90% การแพร่เชื้อจากแม่สลู่ ูกสัมพนั ธก์ ับHBeAg ของแม่.....................................................................................................................................................ซื่อสตั ย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
การถา่ ยทอดเช้ือจากมารดาสทู่ ารก 1. ถ่ายทอดจากแมท่ ่ีติดเชอื้ เร้อื รังสลู่ กู โดยเฉพาะในมารดาที่มี ปริมาณไวรัสสูง หรือมี HBeAg เปน็ บวก 2. วิธที ่ีเกิดบอ่ ยท่ีสุด คอื การติดเช้อื ระหว่างคลอด โดยทารกกนิ เลอื ด มูกน้าคร่า หรอื ไวรสั ผา่ นรกไปกบั เลอื ดของมารดา เขา้ สู่ระบบ หมุนเวยี นของเลือดทารก 3. ผ่านทางนา้ นม โดยเฉพาะมารดาทม่ี หี วั นมแตกหรือมแี ผล.....................................................................................................................................................ซือ่ สัตย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
แนวทางการรกั ษา » ระยะตง้ั ครรภ์ มกี ารตรวจคัดกรองทกุ ราย ถ้าสัมผัสผู้ติดเชือ้ < 14 วนั และผลตรวจ HBsAg= -ve ให้HBIG 0.5 cc m และใหว้ ัคซีน 3 คร้ัง » ระยะคลอด ระยะนท้ี ารกมีโอกาสตดิ เช้ือสูงสดุ หลีกเล่ยี ง การARM , PV , PR และการเจาะเลอื ด การ c/s ทากรณีมีข้อบ่งช้ี.....................................................................................................................................................ซื่อสัตย์ รับผิดชอบ มีวนิ ยั
แนวทางการป้องกันการถ่ายทอดเชอ้ื ไวรัสตบั อักเสบ บี จากแมส่ ู่ลกู 11 เป้าหมาย ความชุกของโรคไวรสั ตบั อักเสบ บี ในเด็กอายตุ ่ากว่า 5 ปี ต่ากว่ารอ้ ยละ 0.1 ภายในปี 2568.....................................................................................................................................................ซอื่ สัตย์ รับผิดชอบ มวี นิ ยั
มาตรการหลกั 121. การตรวจคดั กรองไวรสั ตับอักเสบ บี ในหญงิ มคี รรภ์ทกุ ราย2. การให้ยาตา้ นไวรัสตับอกั เสบบี แก่หญงิ ตง้ั ครรภ์ทีม่ ีปรมิ าณไวรัสสูง3. การให้ HBIG แก่เด็กท่คี ลอดจากหญิงตั้งครรภ์ที่เปน็ ผ้ตู ิดเชื้อไวรสั ตับ อักเสบ บี ทกุ ราย4. การใหว้ คั ซีนป้องกนั ไวรัสตับอักเสบบี แก่เด็กแรกคลอดทกุ คน.....................................................................................................................................................ซือ่ สตั ย์ รบั ผิดชอบ มวี นิ ยั
การดูแลมารดาและทารกก่อนคลอด 131.การตรวจหาไวรัสตับอักเสบบี2. การตรวจประเมินโรค : HBeAg ALT Creatinine3. การบริหารยา Tenofovir Disoproxil Fumarate 300 mg OD. เร่มิ28-32 wk. จนถงึ 4 wk.หลังคลอด4. SE ปวดท้อง คล่นื ไส้ อาเจียน ท้องเสีย มไี ข้ ปวดเม่ือย ไอ อ่อนเพลียเวยี นศรี ษะ ปวดศีรษะ ปวดหลงั5. หลีกเลย่ี งหัตถการความเสี่ยงสูงต่อการตดิ เชอ้ื ไวรัสตับอกั เสบบี.....................................................................................................................................................ซอื่ สัตย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
การดแู ลมารดาระหว่างคลอด 14 ไม่จาเปน็ ต้องผ่าตัดคลอด หลีกเลยี่ งหตั ถการชว่ ยคลอดโดยไมจ่ าเป็น.....................................................................................................................................................ซอ่ื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
การดแู ลมารดาหลังคลอดมารดา ไดย้ าTenofovir Disoproxil Fumarate 300 mg OD. ตอ่จนถึง 4 wk.หลงั คลอด
การดูแลทารกหลังคลอด 16-กินนมแมไ่ ด้-ให้ HBIG 0.5 ml. M เร็วท่สี ุดหลงั คลอด ไมเ่ กิน 7 วนั-ให้ HB-vac เร็วทส่ี ดุ ภายใน 12 ชม.หลังคลอด และเมอื่ อายคุ รบ 1 2 4 6 เดือน-ตรวจเลือดหา HBsAg และ Anti-HBs เมอ่ื ทารกอายุ 12 เดือนถ้า HBsAg + ติดเชื้อถ้า HBsAg - Anti-HBs+ ไมต่ ดิ เช้อื มีภูมิHBsAg - Anti-HBs- ไมต่ ดิ เชือ้ ไมม่ ีภูมิ ตอ้ งไดว้ คั ซีนใหม่อกี 3 เขม็.....................................................................................................................................................ซอื่ สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ มีวนิ ยั
การพยาบาล» ส่งเสรมิ สุขภาพให้แข็งแรง1. กรณีไมม่ ีอาการ แนะนาการกนิ อาหารครบ 5 หมู่ งดแอลกอฮอล์ หลีกเลีย่ งยาท่ีมีผลตอ่ ตบั พักผอ่ นให้พอ ไม่เครียด ออกกาลงั กาย2. กรณีมอี าการ ใหก้ ารดูแลแบบประคบั ประคอง» การปอ้ งกันการแพร่กระจายเชือ้๏ ระยะต้ังครรภ์ ๏ ระยะคลอด๏ ระยะหลังคลอด การคุมกาเนดิ ระยะมีอาการห้ามใช้ยาเม็ด ยาฉีด ยาฝงั.....................................................................................................................................................ซ่อื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
ระยะคลอด ควรปฏิบตั ดิ งั น้ี » หลีกเลี่ยงการเกดิ แผลโดยไม่จาเปน็ อย่าตัดฝเี ย็บกวา้ งมาก » เม่ือเด็กคลอดใหร้ ีบดูดเลอื ดและมูกออกจากปาก จมกู กระเพาะอาหารออกให้ หมด » เช็ดตวั เดก็ ใหแ้ หง้ โดยเร็ว และทาความสะอาดตวั ทารกทันทที ี่คลอด ก่อนฉดี ยา.....................................................................................................................................................ซื่อสตั ย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
การพยาบาลมารดาที่เช้อื หัดเยอรมัน เชือ้ หัดเยอรมนั ผา่ นรกได้ตลอดระยะของการตั้งครรภ์ ทาให้ เกิดความพกิ ารแต่กาเนิดได้ ความรุนแรงลดลงเมือ่ อายุครรภเ์ พมิ่ ขน้ึ ถา้ ตดิ เช้อื หลัง GA 20 wks ไมพ่ บทารกมคี วามผดิ ปกติ อาการและอาการแสดง ► อาจไมม่ ีอาการ หรอื มีไข้ต่า ๆ อ่อนเพลยี แสบเคอื งตา มีผน่ื ขึ้น ตามร่างกายและจางหายไปภายใน 3 วัน.....................................................................................................................................................ซื่อสัตย์ รบั ผิดชอบ มีวนิ ยั
การวินจิ ฉยั 1.การซักประวัติ 2.ตรวจรา่ งกาย 3.การตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร ตรวจHAI titer เป็น(การตรวจหา IgG) , IgM ► การตรวจ HAI titer ในผู้สมั ผัสเชือ้ หรือมีผื่น ถา้ ตรวจ 2 ครง้ั จะตรวจหา่ งกัน 1-2 สปั ดาห์ ► IgM + แสดงวา่ เพ่ิงเป็นหัดเยอรมนั ภายใน 4-6 สัปดาห์.....................................................................................................................................................ซอ่ื สัตย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
การแปลผล HAI titer กลมุ่ ทส่ี ัมผสั เชอ้ืHAI titer ครง้ั ท่ี 1 HAI titer ครงั้ ท่ี 2 การแปลผล เท่าเดิม < 1:8 (1:10) สงู กว่าเดิม ไม่ติดเช้ือ และไม่มีภมู ิ < 1:8 (1:10) เท่าเดิม ติดเช้ือ > 1:8 (1:10) 1:64 (1:80) ไม่ติดเช้ือ และมีภมู ิ > 1:8 (1:10) ตอ้ งตรวจหา IgM.....................................................................................................................................................ซอ่ื สัตย์ รับผดิ ชอบ มีวนิ ยั
การแปลผล HAI titer กลุ่มท่มี ีผื่นระยะเวลาหลังมผี ่นื HAI titer ครัง้ ท่ี 1 HAI titer ครง้ั ท่ี 2 การแปลผล< 3 วนั < 1:8 (1:10) เท่าเดมิ ไมใ่ ชห่ ัดเยอรมันและไมม่ ภี ูมคิ มุ้ กนั < 1:8 (1:10) เพิม่ > 4 เทา่ เป็นหดั เยอรมัน > 1:8 (1:10) เทา่ เดมิ ไม่ใช่หัดเยอรมัน แต่มภี มู ิคมุ้ กัน3-7 วัน > 1:8 (1:10) เทา่ เดิม ไม่ใช่หดั เยอรมนั แตม่ ีภูมิคมุ้ กัน 1:8 – 1:32 เทา่ เดิม ไม่ใชห่ ดั เยอรมนั แต่มีภูมิคมุ้ กัน >1:64 (1:80) สูงกว่าเดิม ไม่แนใ่ จ ใหต้ รวจหา IgM> 7 วนั > 1:8 (1:10) - ไม่ใช่หัดเยอรมันและไม่มีภูมคิ ุ้มกนั 1:8 – 1:32 - ไม่ใชห่ ดั เยอรมนั แต่มภี ูมคิ มุ้ กัน >1:64 (1:80) - ไม่แนใ่ จ ใหต้ รวจหา IgM
ผลกระทบ » ตอ่ มารดา ไม่มีภาวะแทรกซ้อนท่ีรุนรง » ต่อทารก ► มีพยาธิสภาพทางตา เชน่ ต้อกระจก ต้อหิน ตาบอด ► โรคหวั ใจ เชน่ PDA, septal defects,Pulmonary artery stenosis ► หหู นวก ► อื่น ๆ เช่น IUGR ปญั ญาอ่อน เย่ือห้มุ สมองอกั เสบ.....................................................................................................................................................ซ่ือสัตย์ รบั ผิดชอบ มวี นิ ยั
แนวทางการรกั ษา » การป้องกัน โดยฉดี MMR ในสตรที ีแ่ ตง่ งานตอ้ งการมบี ุตร ให้คุมกาเนดิ หลังฉดี อยา่ งน้อย 3 เดอื น » แพทย์จะให้การรกั ษาตามอาการ หา้ มใช้ Aspirin » ลดภาวการณ์คลอดทารกที่พกิ ารแต่กาเนิด แมต่ ิดเช้ือในระยะ 3 เดือนแรก ของการต้ังครรภ์ถา้ วนิ จิ ฉัยพบว่าทารกตดิ เชอ้ื เจาะนา้ ครา่ ตรวจเน้ือรก อาจให้ยุตกิ ารตั้งครรภ์ » การรักษาหัดเยอรมันในทารกแรกเกิด.....................................................................................................................................................ซอ่ื สตั ย์ รบั ผิดชอบ มวี นิ ยั
การพยาบาล » มีวตั ถปุ ระสงคด์ งั นี้ ► ปอ้ งกันการตดิ เชื้อหัดเยอรมนั ในระยะตงั้ ครรภ์ ► ลดความวติ กกังวล ► ประคับประคองจิตใจ.....................................................................................................................................................ซ่อื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
สกุ ใส (Chickenpox) » เกิดจากเช้อื ไวรัส Varicella-Zoster » ระยะแพรเ่ ชื้อติดตอ่ ต้ังแต่ 24 ช่ัวโมง กอ่ นมผี ื่นข้นึ จนกระทงั่ ถึง 6 วันหลงั ผื่นขน้ึ » ความรนุ แรงของการติดเชื้อมากขึ้นเมื่อGA ใกลค้ รบกาหนดคลอด » อาการและอาการแสดง มไี ข้สูง ปวดเมอื่ ยตามตัว เริ่มมผี ื่นพร้อมกบั ไข้ จะเป็นตมุ่ แดง ต่อมาเปน็ ต่มุ น้า มีอาการคนั ตอ่ มาเปน็ หนองและ ตกสะเก็ด.....................................................................................................................................................ซอื่ สัตย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
ผลกระทบ » ตอ่ มารดา เส่ยี งเกดิ โรครุนแรง ปอดอักเสบ ตบั อักเสบ สมองอกั เสบ » ต่อทารก ► ในครรภม์ ีโอกาสตดิ ได้ 10% ในทกุ ไตรมาส ในไตรมาสแรก อาจทาใหเ้ กิดความพิการแตก่ าเนิด เชน่ ต้อกระจก ปัญญาออ่ น ศรี ษะเลก็ แขนขาลีบ ► ติดเช้อื ปริกาเนิด อาจผ่านทางมดลูก ช่องทางคลอด เสี่ยงสงู ใน รายทีแ่ ม่เป็นกอ่ นคลอด 5 วัน และหลงั คลอด 2 วัน.....................................................................................................................................................ซ่ือสตั ย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
แนวทางการรกั ษา » รกั ษาตามอาการ ส่วนใหญ่ อาการไม่รุนแรง และหายเองได้ » ใหย้ า acyclovir เริม่ ใหภ้ ายใน 24 ชัว่ โมง หลังจากผน่ื ขึน้ และอายคุ รรภ์มากกว่า 20 สปั ดาห์ » รกั ษาแบบประคบั ประคอง เช่น ควรพกั ผ่อนและดม่ื น้ามากๆ เชด็ ตัวถ้ามีไขส้ ูง ให้ ยาพาราเซตามอลไม่ใหก้ ลุ่มแอสไพริน เพราะอาจก่อใหเ้ กดิ Reye’s syndrome คันให้รบี กนิ ยาแกแ้ พแ้ ละทายาคาลามายด์ ใชน้ ้าเกลอื กลัว้ ปากถา้ มี อาการปากเปอื่ ยลนิ้ เปื่อย ตดั เล็บสนั้ ไมแ่ กะเกา และอาบนา้ ฟอกสบ่ใู หส้ ะอาด ปอ้ งกนั มิใหต้ ุม่ กลายเปน็ หนองและแผลเป็น.....................................................................................................................................................ซอื่ สตั ย์ รับผิดชอบ มวี นิ ยั
แนวทางการรกั ษา » เวลาในการคลอด และวิธีการคลอด อาจพิจารณาเป็นกรณๆี ไป ขน้ึ อย่กู บั อาการของหญงิ ต้ังครรภแ์ ละทารก » ควรยืดระยะเวลาการคลอดออกไปอยา่ งน้อย 7 วัน หลังจากมารดามีผนื่ ขน้ึ » การวินจิ ฉยั การติดเชือ้ ของทารกในครรภ์ ► อัลตราซาวด์วนิ จิ ฉยั อยา่ งละเอยี ดหลังการตดิ เชื้อ ► การเจาะน้าคร่าเพอ่ื วินจิ ฉัยโรคมคี า่ คาทานายผลลบสูง ควรแนะนา.......................ค...ว...า...ม...เ..ส...่ีย...ง...แ...ล...ะ...ป...ร...ะ...โ..ย...ช...น...ข์....อ...ง..ก....า..ร...ท...า.....................................................ซือ่ สตั ย์ รบั ผิดชอบ มวี นิ ยั
การป้องกนั การตดิ เชอ้ื » ฉีดวัคซีน เพอ่ื ป้องกนั ฉีด 2 ครง้ั ในเดก็ อายุ 12 - 15 เดอื นและครงั้ ท่สี องในเด็กอายุ 4 - 6 ปี » อายอุ ยู่ในช่วง 10-12 ปี วคั ซีนเพยี งเข็มเดียว » ผู้ใหญต่ ้องฉีดวัคซนี 2 เข็ม หา่ งกนั ประมาณ 1 เดือน และควรรออย่างนอ้ ยอกี 1- 3 เดอื น จงึ จะเรมิ่ ตงั้ ครรภไ์ ด้ » ผลขา้ งเคยี งท่ีอาจเกดิ ขน้ึ หลังฉดี วคั ซนี พบว่าอาจมีไข้หรอื อาการรอ้ นแดงตรงตาแหนง่ ทฉ่ี ีดยา อาจมผี น่ื คลา้ ยผื่นสกุ ใสเกดิ ข้ึนแตไ่ ม่รนุ แรง.....................................................................................................................................................ซือ่ สัตย์ รบั ผดิ ชอบ มีวนิ ยั
Guideline : Chickenpox in pregnancy » ให้วัคซีนป้องกนั โรคแกห่ ญงิ ก่อนตง้ั ครรภ์ และหลงั คลอดบตุ ร ในกรณที ี่ยังไม่ มีภูมคิ ้มุ กัน » การใหว้ ัคซีนหลังคลอด สามารถให้นมบุตรได้ตามปกติ » ถา้ ไมม่ ภี ูมิคุ้มกนั ควรหลีกเลี่ยงทจ่ี ะเข้าใกล้คนเป็นโรค » ถ้าสมั ผัสใกลช้ ิดกับผู้ติดเช้ือ ควรแนะนาให้ฉีด Varicella – zoster immunoglobulin (VZIG).....................................................................................................................................................ซือ่ สัตย์ รับผิดชอบ มวี นิ ยั
ตวั อยา่ งสถานการณ์ » หญงิ ตงั้ ครรภอ์ ายุ 27 ปี อาชพี แมบ่ า้ น GA 24 wks ใหป้ ระวัตวิ ่า อาการระหว่างต้ังครรภ์ปกติ มาฝากครรภค์ รั้งท่ี 2 ตามนดั สามี ทางานบรษิ ทั อยู่ฝา่ ยการตลาด เที่ยวกลางคืนบ่อย ตรวจปสั สาวะ albumin และ sugar = neg ผลการตรวจเลอื ด Hct = 37% VDRL = reactive 1:8 , FTA-ABS = positive, HIV = NR.....................................................................................................................................................ซือ่ สัตย์ รับผิดชอบ มีวนิ ยั
การวเิ คราะห์สถานการณ์ » หญิงตง้ั ครรภ์เกิดภาวะแทรกซอ้ นอะไร ซิฟลิ ิส ระยะ late latent » สาเหตุ เชื้อแบคทีเรยี Treponema pallidum » อาการและอาการแสดงท่อี าจตรวจพบ ไมม่ อี าการแสดง » ผลกระทบ » การวินจิ ฉยั ซักประวัติ ตรวจรา่ งกาย ตรวจทางห้องปฏบิ ัตกิ าร » การรักษา Benzathine pennicillin G sodium x 3.......................»........ก...า...ร...พ...ย....า..บ....า..ล..............................................................................................ซื่อสตั ย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
การพยาบาลมารดาท่ตี ิดเชอื้ ซิฟลิ ิส ► เกิดจากเชื้อTreponema pallidum อาการและอาการแสดง 1.ระยะแรก จะพบแผลริมแข็ง หายได้เอง ไม่ตอ้ งรักษา 2.ระยะทสี่ อง ระยะออกดอกมผี น่ื ข้ึน เบ่ืออาหาร ผมร่วง ตอ่ มน้าเหลืองโต มหี ดู หงอนไก่ 3.ระยะแฝง ไมม่ อี าการแบง่ เปน็ early or late latent โดยใชร้ ะยะเวลา 1 ปเี ปน็ ตวั แบง่ 4.ระยะทส่ี าม มกี ารทาลายกระดกู และข้อ กล้ามเนอ้ื ระบบประสาท หวั ใจและหลอดเลือด.....................................................................................................................................................ซือ่ สตั ย์ รบั ผิดชอบ มีวนิ ยั
แสดงลกั ษณะแผลรมิ แข็งใน primary syphilis
แสดงลกั ษณะแผล condyloma lata ใน 2ndsyphilis
การวนิ ิจฉัย » การซกั ประวตั ิ » การตรวจรา่ งกาย อาจไม่พบอาการเพราะส่วนใหญ่เปน็ late latent syphilis » การตรวจทางหอ้ งปฏบิ ัตกิ าร ► การตรวจคดั กรอง VDRL หรือ RPR และใช้ดผู ลการในการ Rx ว่าไดผ้ ล หรอื ไม่ ► การตรวจยนื ยนั FTAABS , MHA-TP , TPHA,HATTS ถ้าผลเป็นบวกจะ บวกตลอดชีวิต.....................................................................................................................................................ซอื่ สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
ผลกระทบ » ตอ่ มารดา อาจเสยี ชีวติ ความกลวั วิตกกงั วล » ต่อทารก ► การแทง้ การคลอดก่อนกาหนด ► IUGR ,hydrops fetalis ตายหลังคลอด ► พิการแต่กาเนิดเกือบ 100% ถา้ มารดาติดเชือ้ ระยะ แรกหรอื ระยะท่ี 2 แตร่ ะยะแฝงมีความเสี่ยงน้อยกวา่ ► ติดเช้อื แต่กาเนดิ แบ่งเปน็ early และ late congenital syphilis.....................................................................................................................................................ซื่อสัตย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
การรักษา 1.การคัดกรองตรวจ VDRL ทุกราย 2.การรักษา ► < 1 year : Benz. Pen. : 2.4.mu. IM ► >1 year : Benz. Pen. : 2.4 mu. IM, (3 wks) *หลงั การรักษา ตรวจ VDRL / RPR เมอ่ื 6,12 และ24 m.....................................................................................................................................................ซ่อื สัตย์ รบั ผดิ ชอบ มีวนิ ยั
การรักษา ถา้ แพ้ penicillin ใชย้ าปฏิชวี นะอ่นื เช่น » Erythomycin 500 mg กิน 1X4 คร้ัง 14 – 15 วนั ในระยะ early lalent syphilis และ นาน 28 วนั ในระยะ late latent syphilis » Ceftriaxone 1 g ฉดี M หรอื V วนั ละคร้ัง 10 -14 วัน รักษาซิฟลิ ิส ระยะแรกได้ » * Azithromycin 2 g รับประทานครงั้ เดียวรักษาซิฟลิ ิสระยะแรก แต่อาจ พบการรกั ษาลม้ เหลวได้.....................................................................................................................................................ซอื่ สตั ย์ รับผิดชอบ มวี นิ ยั
การรักษา » Jarisch – Herxheimer reaction เปน็ ปฏิกิริยาการรักษาซิพิลิสในระยะ ท่ี 1 และ 2 ปฏิกริ ยิ าน้เี กิดขึ้นภายหลงั การรักษา 1 – 2 ช่วั โมง และสงู สดุ ท่ี 8 ช่วั โมง และจะดีขนึ้ ใน 24 – 48 ช่ัวโมง อาจมไี ข้ ปวดศรี ษะ ปวด เมือ่ ย มผี ่ืนขึ้น และความดนั โลหติ ต่าได้ » ทางสูติกรรม ทาใหเ้ กิด การหดรัดตัวของมดลูก การคลอดกอ่ นกาหนดได้.....................................................................................................................................................ซ่ือสตั ย์ รับผิดชอบ มีวนิ ยั
การพยาบาล มีวัตถุประสงค์ดงั น้ี 1.ป้องกนั การแพร่เชื้อไปยงั ทารก 2. ลดการติดเชอื้ ระยะตงั้ ครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลงั คลอด 3. ลดความวิตกกงั วล 4. ป้องกันการตดิ เชอื้ ซา้.....................................................................................................................................................ซ่อื สัตย์ รบั ผดิ ชอบ มีวนิ ยั
การพยาบาลมารดาทตี่ ิดเชอ้ื หนองใน ► เกิดจากเชื้อ Neisseria gonorrheae ระยะฟกั ตัว 1-10 วัน ในระยะ ตั้งครรภ์ จะพบเฉพาะบริเวณอวยั วะสบื พนั ธุ์สว่ นล่างไดแ้ ก่ ทอ่ ปสั สาวะ ต่อม bartholin ปากชอ่ งคลอด ปากมดลกู อาการและอาการแสดง ► มปี ัสสาวะแสบขดั ตกขาว มกี ลิ่นเหม็น มีหนองไหล จากการอกั เสบท่ี ท่อปัสสาวะ และปากมดลกู ► ทารกจะมีเยอื่ เมอื กตาอักเสบ เป็นฝีทผี่ วิ หนงั หรอื เยื่อเมอื กของ ร่างกาย.....................................................................................................................................................ซอ่ื สัตย์ รบั ผิดชอบ มีวนิ ยั
แสดงลักษณะ gonococcal opthalmia neonatal.....................................................................................................................................................ซ่อื สตั ย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
แสดงลกั ษณะของหนองในทอ่ ปสั สาวะ.....................................................................................................................................................ซอ่ื สตั ย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
แสดงลักษณะของมกู ปนหนองท่ีปากมดลกู.....................................................................................................................................................ซื่อสัตย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
แสดงลกั ษณะของ Bartholin abscess.....................................................................................................................................................ซ่อื สัตย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
การวินจิ ฉัย » การซกั ประวตั ิ » การตรวจรา่ งกาย โดยการ PV » การตรวจทางห้องปฏบิ ตั กิ าร โดยเอาหนองจากแผลมาตรวจ ► Gram stain smear ปา้ ยหนองลงบนแผน่ สไลด์ มาสอ่ งกลอ้ งตรวจ ► เพาะเชอ้ื ในนา้ วนุ้ เลยี้ งเชอ้ื Thayer Matin ซ่งึ แมน่ ยากว่าวิธแี รก.....................................................................................................................................................ซื่อสัตย์ รบั ผดิ ชอบ มวี นิ ยั
ผลกระทบ 1.ทอ่ มดลูกตบี ตนั เป็นหมัน มบี ุตรยาก 2.การแท้ง เจบ็ ครรภค์ ลอดกอ่ นกาหนด 3.ถงุ น้าคร่าอกั เสบ แตกก่อนกาหนด 4.ทารกตายในครรภ์ 5.ตดิ เช้ือในโพรงมดลูกหลังคลอด 6.การติดเชื้อทีต่ าทาใหต้ าบอด(ophthalmia neonatorum) หรืออวัยวะอ่นื.....................................................................................................................................................ซอื่ สตั ย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
แนวทางการรักษา » การป้องกนั โดยคดั กรองในหญงิ ตัง้ ครรภ์ที่มีภาวะเสย่ี ง ทารกแรกเกดิ ไดร้ บั การหยอดตาหรือป้ายตา » การรักษากรณีไม่มีภาวะแทรกซ้อน ใหย้ าครั้งเดียว Ceftriaxone 250 mg m หรอื Cefixime 400 mg Θ ครง้ั เดียว » ถา้ ถงุ น้าแตก > 4 ชม. แพทยอ์ าจทา C/S » ทารกติดเช้ือจะได้รบั ยา Ceftriaxone ฉีด m/v ครัง้ เดียว และล้างตาดว้ ย NSS ทกุ 1 hr.....................................................................................................................................................ซื่อสตั ย์ รับผดิ ชอบ มวี นิ ยั
Search