Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปการบรรยาย ครั้งที่ 2

สรุปการบรรยาย ครั้งที่ 2

Published by P SP, 2021-08-03 15:48:19

Description: สรุปการบรรยาย ครั้งที่ 2

Search

Read the Text Version

ส า รั ต ถ ะ พุ ท ธ ป รั ช ญ า ใ น พ ร ะ ไตรปฎก ส รุ ป ก า ร บรรยาย ค รั ง ที 2 ป ริ ญ ญ า โ ท ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ เสนอ

ชอ่ื นายทศวรรษ นามสกุล พุม่ ศรชี าย รหัส 6420140432007 คะแนน............. สรปุ ใจความสำคญั ของพุทธปรชั ญา เร่ือง ไตรลกั ษณ์ : กระบวนการเกิดดับ บรรยาย โดย พระมหาสันติราษฎร์ ฌานสนตฺ ิ. ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนอ้ื หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) ไตรลกั ษณ์ ถอื เปน็ แกนกลางของหลักธรรมคำสอนในพระพุทธศาสนา ท่ีพระพุทธเจ้าได้ทรงยกให้เห็น เข้าใจความจริงของจักรวาล เพื่อให้เข้าถึง ปัญญาญาณ ในการละถึงกิเลสต่าง ๆ ได้ และสามารถเชื่อมโยงกับ พทุ ธปรชั ญาเรอื่ งอน่ื ๆ แม้จะเปน็ เรื่องศาสนาแตก่ เ็ กี่ยวเนื่องทางวิทยาศาสตร์ ทำให้เข้าใจความจริงของชีวติ ๒. เน้ือหาใจความสำคญั ไตรลักษณ์ ลักษณะข้อกำหนด ๓ ประการ ที่แสดงถึงลักษณะของสภาวะสิ่งต่าง ๆ ที่เป็นไปในโลก โดยพระพุทธเจ้าได้ทรงค้นพบสัจธรรม ที่เป็นลักษณะโดยตรงของทุกสรรพสิ่งในโลก การเข้าใจความจริงของ จักรวาลก็คือ การเข้าใจชีวิต จึงถือเป็นพื้นฐานขององค์ความรู้ทั้งหมด การถ่ายเทองค์ความรู้ในกระบวนการ ศึกษาหรือเรื่องอื่น ๆ กระบวนการเกิดขึ้นของโลก สอดคล้องกับลักษณะของไตรลักษณ์ ที่เกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป และมีการเปลี่ยนแปลง มิได้คงที่อยู่ที่เดิม จักรวาลในทางพระพุทธศาสนา คือ ขึงข่ายของล้อที่ หมุนเวียนเปลี่ยนแปลงไป ทุกสิ่งมีข้อที่สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน ในทางวัตถุก็มีการหมุนเวียนเปลี่ยนถ่ายเสมอ ไม่มีอะไรคงทก่ี ายวัตถุ กายภาพทุกอยา่ งยอ่ ม เกิดขึน้ ตง้ั อยแู่ ละดับไป ประเภทของไตรลกั ษณ์ มี ๓ ประเภท ๑. อนจิ จงั ความไมเ่ ท่ียง ความเปลี่ยนแปลงนำมาซึ่งการปรับตัว โดยมนุษย์สามารถปรับตัวเพ่อื การ ดำรงอยู่ และเพื่อพัฒนา ลักษณะของอนิจจัง ประกอบด้วยกระบวนการในตัวมันเอง ได้แก่ กระบวนการ ทำลาย กระบวนการจมลงหรือถดถอย กระบวนการเสอ่ื มสลายส้ินไป และกระบวนการแตกสลายในที่สุด ๒.ทุกขัง ความทุกข์ เป็นสภาวะที่ไม่สามารถคงทนอยู่ในแบบนั้นได้ กล่าวคือ ทนได้ยาก เป็นลกั ษณะคือการเคล่ือนที่ คงทนอยู่ในสภาพเดมิ ไม่ได้ ความเป็นเปล่ยี นจะชัดเจนข้ึน เม่ือทุกขังเข้ามาบีบค้ัน สภาวะเดมิ ไปสู่สภาวะอ่นื กระบวนการทุกขัง คือ เราเจรญิ เติบโตในทุก ๆ วัน เกดิ การเปลยี่ นแปลงตลอดเวลา ๓.อนัตตา สภาวะที่ไม่มีตัว ไม่มีตน เป็นพุทธปรัชญาที่มาหักล้างความเชื่อเดิม เชื่อโลกว่าเที่ยงตรง สภาวะทไี่ ม่มีตวั ไม่มีตน เพราะ เกดิ การเปลีย่ นแปลง แตกดบั ย่อยสลายไป กระบวนการคิดของมนษุ ย์ เป็นส่ิง ทไี่ ม่มตี ัวไมม่ ีตน เพราะเกิด-ดบั ตลอดเวลา เรยี กวา่ กระบวนการสนั ฐติ พุทธศาสนามองให้เหตุปัจจัย ทุกสิ่งทุกอย่างมี ความเชื่อปรมาตมัน ทุกสิ่งทุกอย่างอาศัยสภาวะ ทางไตรลักษณ์และสภาวะเหตุปัจจัย อาศัยความสัมพันธ์ต่าง ๆ จึงเกิดขึ้นมา ไตรลักษณ์มิได้ทำหน้าที่เกิด สะสม แต่เกิดการทำให้แตกสลาย ทำให้เกิดกระบวนการเปลี่ยนแปลงตามธรรมชาติ ปล่อยวัฏฏะ ไม่ยึดไว้ แต่ปล่อยให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปตามธรรมดา ไม่รวบรวมวัฏฏะ คือ ไม่สั่งสมไว้ และการทำให้ดับ เปน็ กระบวนการทสี่ ้ินสดุ ของวัฏฏะ ไตรลักษณจ์ ะทำหน้าท่ีใหแ้ ตกดบั สลาย

ช่ือ นายทศวรรษ นามสกุล พมุ่ ศรีชาย รหัส 6420140432007 คะแนน............. การพิจารณาไตรลักษณ์ พจิ ารณาสตปิ ัฏฐาน เพือ่ ใช้สติ พิจารณา ลมหายใจเขา้ ออก พิจารณาด้วยความเปน็ ธาตุ พิจารณาโดยไม่ยึดม่ันถือมน่ั กระบวนการพิจารณาเหล่านี้ จะทำให้เห็นกระบวนการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ ดับไป เมื่อใจเรารับรู้ ไม่ยึดม่ัน ถือมั่น ก็จะปล่อยวางและเกิดปัญญาเพื่อเอาชนะกิเลสต่าง ๆ ได้ ซึ่งถ้าเราเข้าถึงแก่นพุทธปรัชญานี้แล้ว ก็จะเกดิ ความเขา้ ใจในชีวิต การไมย่ ึดตดิ กับสรรพสง่ิ ตา่ ง ๆ และดำรงชีวติ อย่างเขา้ ใจสัจธรรมความจรงิ

ชอื่ นางสาวสาวติ รี นามสกุล เช่ยี วชาญ รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๕ สรปุ ใจความสาคัญของไตรลักษณ์ บรรยาย โดย พระมหาสันติราษฎร์ ฌานสนฺติ, ดร. ------------------------------------------------ ๑. ภาพรวมของเนอื้ หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทัด) ไตรลกั ษณ์ เป็นหลกั ที่พระพทุ ธเจ้าทรงนามาสอน ซึ่งเปรียบเสมอื นหลักธรรมท่ีเป็นบอ่ เกดิ ของการรู้สัจ ธรรม บนโลก เป็นหนึ่งในองค์ประกอบของชีวิต ซึ่งเป็นส่ิงที่จะพัฒนาศักยภาพของมนุษย์ให้เป็น ผู้รู้ ผู้มีสติ และผู้มีปัญญา อย่างสมบูรณ์ ๒. เนอ้ื หาใจความสาคัญ ๒.๑ อนิจจัง คือ กระบวนการการเกิดข้ึน เกิดการเปล่ียนแปลง การหมุนเวียนเปล่ียนถ่ายไปเร่ือยๆ ความเปลยี่ นแปลงเพอ่ื การปรับตวั ทุกขัง คือ สภาวะที่ไม่สามารถคงทนในแบบเดิมได้ ลกั ษณะของการเปล่ียนแปลง เชน่ ทุกขใ์ นใจ ไม่นานความทุกข์ก็จะหายไป เพราะมีกระบวนการในการนามาซึ่งการเปลี่ยนแปลง บีบคั้นสภาวะเดิมไปสู่ สภาวะอน่ื อนัตตา คือ การไม่มีตัวไม่มีตน เพราะมีการแตกดับสลายไป อาศัยเหตุปัจจัยซึ่งกันและกัน มี เหตแุ ละปจั จยั จึงมผี ลตามมา “เมื่อถงึ เวลา เหตปุ จั จยั รวมตัวกันแลว้ จะอาศัยซง่ึ กนั และกัน แลว้ จะสง่ ผลให้เกิดส่งิ ใหม่ข้นึ มา ไตรลักษณ์ มี กระบวนการในการทาลาย มีกระบวนการในการบบุ สลายลง และกระบวนการเสือ้ มสลายสญู สน้ิ ไป” ๒.๒ ลกั ษณะของไตรลักษณ์ ➢ ยึดถือวัฏฏะ การเวียนว่ายตายเกิด ทาลายวงจรของวัฏฏะ เป็นธรรมชาติที่ไตร ลกั ษณม์ คี วามเกยี่ วข้อง ➢ ไมย่ ึดถือวฏั ฏะ ทาให้มีกระบวนการเปลี่ยนแปลง ปลอ่ ยไปตามธรรมดา ➢ ไม่รวบรวมวัฏฏะ ไมส่ ง่ั สมไว้ ➢ ทาให้วัฏฏะดับ ไม่ให้ลุกโพรง การแตกดบั สลายไป สรุป คือ การเข้าใจในสัจจธรรมของชีวิต คือการเข้าถึงหลักไตรลักษณ์ ที่ประกอบด้วย อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา หากเขา้ ใจในหลักธรรมนี้ได้ จะทาใหจ้ ิตใจมคี วามแข็งแกร่ง ไมห่ ว่ันไหวหรอื โอนเอียงตอ่ ส่ิงเร้าที่มา กระทบ เพราะหากตั้งมั่นได้ว่า ทุกอย่างล้วน เกิดข้ึน ตั้งอยู่ และดับไป ก็จะทาให้ผู้น้ันเข้าใจความเป็นมนุษย์ และคาว่า ปลง ไดม้ ากยงิ่ ขนึ้

ช่อื ว่าท่ี ร.ต.หญิงศิริลกั ษณ์ นามสกลุ สมพงศ์ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๐๔ คะแนน............. สรุป ใจความสำคัญของไตรลกั ษณ์ บรรยาย โดยพระมหาสันตริ าษฎร์ ฌานสนฺต,ิ ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเน้ือหา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทัด) ไตรลักษณ์ เปนพ้นื ฐานขององคความรูทงั้ หมดถือเป็นแกนกลางของคำสอนทางพระพทุ ธศาสนาและ คอยเช่ือมโยงปรชั ญาและเร่อื งอนื่ ๆ ซ่งึ หลกั ไตรลกั ษณ์จะแทรกแฝงอยใู่ นทุกกระบวนการดำรงชีวติ รอบๆตัวเรา แบบไม่ตายตัว เป็นกระบวนการเกิดขึน้ ตัง้ อยู่ และ ดบั ไป ทกุ สิ่งในโลก เปน็ กระบวนการหลกั ไตรลักษณท์ ง้ั ส้ิน ๒. เนอ้ื หาใจความสำคัญ “ไตรลักษณ์” หรือกฎสำคัญแห่งธรรมชาติ ซึง่ เป็นสจั ธรรมที่เป็นจรงิ ตลอดมาและตลอดไป โดยสรรพ สง่ิ ในโลกน้ี ย่อมมลี ักษณะ ๓ ประการ ดงั นี้ ๑. อนิจจัง (ความไมเ่ ที่ยง) เกิดมาเปน็ ทารก เป็นเด็ก เป็นหนุ่มสาว วัยชราหรอื สงู อายุ ตามลำดับ บาง คนบุญน้อยอาจตายก่อนไม่ได้ตามนกี้ ม็ ี รา่ งกายสวยงาม เห่ียวย่น ผมดำ ผมหงอก ฟันดี กก็ ลายเป็นฟันโยกฟนั หลดุ ฟนั หลอ และฟนั หมด และมฟี นั เทียม เปน็ เรอ่ื งธรรมดาของสังขาร ๒. ทกุ ขัง (ความทนทกุ ข์) เมื่อดำรงอยกู่ ็พบกบั สิ่งต่าง ๆ มากระทบ ทำให้สุขบ้าง ทุกข์บ้าง ถ้าเป็นสิง่ มีชวี ิตกจ็ ะพบความเจ็บป่วย ปวดหวั ตวั ร้อน ปวดทอ้ ง ปวดฟนั มโี รคภัยมาเบยี นเบยี น ตอ้ งทนทุกขท์ รมาน เบาหวาน ความดนั ไมเกรน หนา้ มืด ตาลาย สารพดั โรค ๓. อนัตตา (ความไม่ใชต่ วั ตน) บังคับไม่ได้ อยา่ แก่นะ อย่าตายนะ ร่างกายจงงามตลอดไปนะ ไม่ สามารถบงั คับเหมอื นหุ่นยนตท์ ่ีเขาสร้างข้นึ มา ไมม่ ีใครบอกไดว้ ่า เจ้าร่างกาย จงอย่าเหีย่ วย่น อยา่ อ้วน อย่า เป็นโอง่ หรอื อึง่ ยืนนะ บอกไมไ่ ด้ - พิจารณาไตรลกั ษณควบคูกับลมหายใจเขา ลมหายใจออก ใหพิจารณาวาทกุ สิง่ มีกระบวนการเกดิ ขึ้น ตง้ั อยู และดับไปตลอดเวลา - พจิ ารณาไตรลักษณควบคูกบั ธาตุ มนั เปนแคธาตุ ๔ คอื ดนิ น้ำ ลม ไฟ - พจิ ารณาไตรลกั ษณควบคูกบั การไมยดึ มั่นถือมน่ั ไมยึดถอื วามนั เปนตวั กู ของกูเมอื่ ใจไมยึดมั่นถือม่ัน ใจ เมอ่ื สรรพสิ่งตกอยู่ในอำนาจไตรลักษณ์ คอื เกดิ ข้ึน ต้งั อยู่ ดบั ไป ไม่เทย่ี ง เป็นทกุ ข์ และเปน็ อนัตตา ไม่สามารถบังคับได้ เราต้องไม่ประมาท ตงั้ อยูใ่ นคุณงามความดี ตัง้ หนา้ ต้ังตาทำแตค่ วามดี ละเว้นช่ัว และทำใจ ใหผ้ ่องใส สรา้ งสรรค์คุณค่าให้เกิดความสมบูรณ์และก้าวหน้าให้แกช่ ีวติ ตนเอง สิง่ ที่เปนภมู ิคุมกนั ทางใจกจ็ ะ เกิดข้ึนตามมา

ชอ่ื ......นางมีนา สขุ ชุ่ม ............... รหัส........... 6420140432023.........................คะแนน............. สรุป ใจความสำคญั ของพุทธปรชั ญา เร่อื ง ไตรลักษณ์ : กระบวนการเกดิ ดบั บรรยาย โดย พระมหาสันตริ าษฎร์ ฌานสนตฺ ิ. ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนอื้ หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) ไตรลักษณ์ เป็นพุทธปรัชญาที่ว่าเป็นแกนกลางของหลักพระพุทธศาสนา ไตรลักษณเปรียบเสมือน เป็นเสาหลกั เป็นตัวเชอ่ื มเข้ากับหลักธรรมหรือปรญั ญาอื่น ๆ เพ่ือนำความจรงิ สจั ธรรมที่เป็นจรงิ มาประยุกต์ใช้ ในสงั คมให้เกิดประโยชน์ โดยประกอบด้วย 3 ประการ คอื อนจิ จัง ทุกขัง อนตั ตา ๒. เน้ือหาใจความสำคญั ๒.๑ ไตรลักษณ์ : กระบวนการเกิดดบั ไตรลกั ษณ์ หมายถึง ลักษณะขอ้ กำหนด ๓ ประการ ที่แสดงถึงลกั ษณะของสภาวะสงิ่ ต่าง ๆ ท่ี เป็นไปในโลก โดยพระพุทธเจ้าได้ทรงค้นพบสจั ธรรม ท่เี ป็นลักษณะโดยตรงของทุกสรรพส่ิงในโลก การเข้า ใจความจรงิ ของจกั รวาล สอดคลอ้ งกับลักษณะของไตรลกั ษณ์ คอื เกิดข้ึน ต้ังอยู่ ดบั ไป และมีการ เปลย่ี นแปลง มไิ ด้คงที่อยทู่ เี่ ดิม ประกอบไปดว้ ย 1. อนจิ จงั หมายถึง ความไมเ่ ทยี่ ง ลกั ษณะท่ีไมส่ ามารถควบคุมบัญชาได้ มีการหมุนเวียนอยู่ ตลอดเวลา หรืออาจหมายถงึ มกี ารเปลย่ี นแปลง พระอรรถคาถาจารย์ไดม้ ีการจำแนกลักษณะของไตรลกั ษณ์ (อนจิ จงั ) มี ๔ ประการ คือ ๑) กระบวนการทำลาย ๒) กระบวนการจมลง ๓) กระบวนการเสื่อมสลาย ๔) กระบวนการทรี่ ปู รา่ งแตกสลายไป 2. ทุกขัง หมายถงึ ความทกุ ข์ เป็นสภาวะทไ่ี ม่สามารถคงทนอยใู่ นแบบน้นั ได้ ทนได้ยาก เป็นลักษณะคือการเคลอื่ นท่ี คงทนอยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ 3. อนัตตา หมายถงึ ความไม่มีตัวตน การบบี คัน้ ลักษณะเดิม ไปสู่ลกั ษณะอ่นื และในทสี่ ุดก็เกดิ การเปลยี่ นแปลง แตกดับสลายไป หลกั อนตั ตาเป็นการหักล้างความคดิ ความเหน็ ความเช่อื เดมิ ๆ เชน่ คนเรา มีความเชอ่ื วา่ โลกเป็นอตั ตา มีความเท่ียงแท้แน่นอน ๒.1 การพิจารณาไตรลักษณ์ - พิจารณาสติปฏฐาน (กาย เวทนา จติ ธรรม) - พจิ ารณาลมหายใจเข้า ลมหายใจออก ให้พจิ ารณาวา่ ทุกสิ่งมีกระบวนการเกิดข้นึ ตงั้ อยู่ และดบั ไปตลอดเวลา - พิจารณาธาตุ วา่ เป็นแค่ธาตุ ๔ - พิจารณาการไมย่ ึดม่ันถือม่ัน ประโยชน์โดยภาพรวมที่ได้จากการการศึกษา เรื่อง ไตรลักษณ์ คือ มีความเข้าใจความเป็นจริงของ ชวี ติ วา่ มีการเกิดขึน้ ตงั้ อยู่ และดบั ไป การเขา้ ใจสภาวะการเปล่ยี นแปลงต่าง ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ เมื่อมีการเปลีย่ นแปลง เกิดขนึ้ ก็สามารถปรับตวั ให้เข้า กบั การเปลี่ยนแปลงนัน้ ไดก้ จ็ ะมีสภาวะทางจิตใจทีเ่ ขม็ แข็ง ม่นั คง

ชือ่ วา่ ท่ี ร.ต.หญิงนันท์ชณัฐพร นามสกลุ นาคพล้งั รหัส 6420140432006 คะแนน............. สรปุ ใจความสำคญั ของไตรลักษณ์ บรรยายโดย พระมหาสนั ติราษฎร์ ญานสนตฺ ,ิ ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนือ้ หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทัด) ไตรลักษณ์ เป็นแกนกลางของหลักพระพุทธศาสนา และสามารถเช่ือมโยงกับหลักปรัชญาอ่ืน ๆ รวมไปถึงหลักการของวิทยาศาสตร์ โดยไตรลักษณ์ครอบคลุมทุกสิ่งภายในจักรวาล เพราะไตรลักษณ์คือ การเกดิ ขนึ้ ตั้งอยู่ และดับไป ๒. เน้อื หาใจความสำคัญ ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะ 3 ประการท่ีค้นพบได้ภายในโลก หรือกฎเกณฑ์ทางธรรมชาติ ซ่ึงเป็น สัจธรรม มกี ารเปลย่ี นแปลงไปตามโลก และเป็นความจรงิ เสมอ ได้แก่ 1. อนิจจัง คือ ลักษณะอาการไม่เที่ยง อาการไม่คงที่ อาการไม่ยั่งยืน อาการท่ีเกิดข้ึนแล้วเสื่อม และสลายไป 2. ทุกขงั คือ ลกั ษณะอาการทเ่ี ปน็ ทุกข์ อาการท่ีถูกบีบคัน้ ด้วยการเกดิ ขึ้นและสลายตวั อาการท่ี กดดัน อาการฝืนและขัดแย้งอยู่ในตัว เพราะปัจจัยที่ปรุงแต่งให้มีสภาพเป็นอย่างนั้นเปล่ียนแปลงไป จะทำให้ คงอยูใ่ นสภาพน้ันไม่ได้ อาการทไ่ี ม่สมบรู ณ์ มคี วามบกพร่องอยใู่ นตัว 3. อนัตตา คือ ลักษณะอาการของสิ่งท่ีไม่ใช่ตัวตน อาการที่ไม่มีตัวตน อาการท่ีแสดงถึงความ ไม่ใช่ใคร ไมใ่ ชข่ องใคร ไม่อยูใ่ นอำนาจควบคุมของใคร อาการท่ีแสดงถงึ ไม่มีตัวตนที่แท้จรงิ ของมันเอง อาการที่ แสดงถึงความไม่มีอำนาจแท้จริงในตัวเลย อาการท่ีแสดงถึงความด้อยสมรรถภาพโดยสิ้นเชิง ไม่มีอำนาจกำลัง อะไร ตอ้ งอาศัยพ่ึงพิงสง่ิ อน่ื ๆ มากมายจึงมขี นึ้ ได้ การพิจารณาไตรลักษณ์ 1. พิจารณาสติปฏั ฐาน เพ่ือใชส้ ติ 2. พจิ ารณา ลมหายใจเขา้ ออก 3. พิจารณาด้วยความเป็นธาตุทัง้ 4 คือ ดิน นำ้ ลม และไฟ 4. พิจารณาโดยไม่ยดึ ม่ันถือม่นั ทุกส่ิงบนโลกล้วนอยู่ในไตรลักษณ์ ขึ้นอยู่กับว่าตัวเรานั้นสามารถพิจารณาแล้วนำมามองโลกและมอง ตนเองเพ่ือจะหลุดพ้นจากอนิจจัง ทุกขัง และปล่อยวางจากอนัตตาได้หรือไม่ ถ้าเราเข้าถึงในไตรลักษณ์ได้ก็ เหมือนกับเราเขา้ ถงึ ซงึ่ แกน่ แหง่ พระศาสนา และจะเกิดประโยชนส์ ขุ ในมโนสันดาน นนั้ แล

ช่อื ....นายคณุ ากรณ์...นามสกลุ ...พงษายอยคา.... รหสั .. 6420140432007 คะแนน............. สรปุ ใจความสาคญั ของไตรลกั ษณ์ บรรยายโดย พระมหาสนั ติราษฎร์ ฌานสนฺติ, ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนื้อหา (ไมเ่ กิน ๓ บรรทดั ) ไตรลกั ษณ์ เป็นพทุ ธปรชั ญาทเ่ี ป็นแกนกลางของปรชั ญาอ่นื ๆ ทงั้ หมดเป็นลกั ษณะทางกายภาพ ของวตั ถุสงิ่ ของต่างๆ ทวั่ โลก และเป็นลกั ษณะทางนามธรรมของสง่ิ ตา่ งๆ ทไ่ี ม่ปรากฏรปู ไตรลกั ษณจ์ งึ เป็นแกนกลางในเร่อื งคาสอนของพระพทุ ธศาสนา อกี ทงั้ ยงั มคี วามสาคญั ตอ่ การเรยี นรูพ้ ุทธปรชั ญาอ่นื ๆ ๒. เนื้อหาใจความสาคญั ไตรลกั ษณ์ ไตรลกั ษณ์ แปลวา่ \"ลักษณะ ๓ อยา่ ง\" หมายถึงสามญั ลักษณะ หรือสง่ิ ที่มีประจำอยใู่ นตัวของ สังขารท้ังปวงเป็นธรรมทีพ่ ระพุทธเจ้าไดต้ รัสรู้ ๓ อย่าง ได้แก่ (๑) อนิจจงั คือ \"ความไมเ่ ที่ยง\" คือ สรรพส่งิ ทั้งหลายไมว่ ่าจะเปน็ คน สัตว์ ส่งิ ของ สมบัติ เพชร หิน ดิน ทราย และรูปกายของเรา ล้วนแต่ไม่เที่ยงแท้แน่นอน เมื่อมีเกิดขึ้นแล้วก็ต้องเปลี่ยนแปลงไป ตลอดเวลา เพียงแตจ่ ะช้าหรือเรว็ เทา่ น้ัน ไมอ่ าจจะให้ตั้งมนั่ ทรงอย่ใู นสภาพเดมิ ได้ เชน่ คนและสตั ว์ เมือ่ มกี าร เกิดขนึ้ แล้ว ก็มีการเจริญเติบโตเป็นหนมุ่ สาว และเฒ่าแกจ่ นตายไปในที่สดุ ไมม่ ีเว้นไปได้ทุกผู้คน แม้แตอ่ งคส์ มเดจ็ พระสมั มาสัมพทุ ธเจ้า พระอรหนั ตเ์ จ้าท้ังหลาย พรหมและเทวดา ฯลฯ (๒) ทุกขงั ได้แก่ \"สภาพที่ทนอยู่ในสภาพเดมิ ไม่ได้\" ทุกขัง ในที่นมี้ ิไดห้ มายความแต่เพียงว่าเป็น ความทุกข์กายทุกขใ์ จเท่านั้น แต่การทุกข์กายทกุ ข์ใจก็เป็นลักษณะส่วนหนึ่งของทุกขังในที่นี้ สรรพสิ่ง ทั้งหลายอันเป็นสังขารธรรม เมื่อเกิดขึ้นแล้ว ก็ไม่อาจที่จะทนตั้งมั่นอยู่ในสภาพนั้น ๆ ได้ตลอดไป ไม่อาจจะทรงตัว และต้องเปล่ยี นแปลงไป เพียงแต่จะช้าหรือเร็วเท่าน้ัน เมือ่ ได้เกิดมาเป็นเด็กจะให้ทรง สภาพเปน็ เด็ก ๆ เชน่ น้ันตลอดไปหาได้ไม่ จะต้องเปลย่ี นแปลงไปเป็นหนุ่มและสาว แล้วก็เฒ่าแก่ จนใน ทีส่ ุดก็ต้องตายไป แม้แตข่ นั ธ์ที่เปน็ นามธรรมอันได้แก่ เวทนา สญั ญา สังขาร และวิญญาณ กไ็ มม่ ีสภาพ ทรงตัวเช่นเดยี วกนั (๓) อนัตตา ได้แก่ \"ความไม่ใช่ตัว ไม่ใช่ตน ไม่ใช่สัตว์ ไม่ใช่บุคคล ไม่ใช่สิ่งของ\" โดยสรรพสิ่ง ทั้งหลายอันเนื่องมาจากการปรุงแตง่ ไม่ว่าจะเป็น \"รูป เวทนา สัญญา สังขาร และวิญญาณ\" ล้วนแต่ เกิดขนึ้ เพราะเหตุปัจจัย เชน่ รูปขนั ธ์ย่อมประกอบขึ้นดว้ ยแร่ธาตุต่าง ๆ มาประชุมรวมกันเป็นกลุ่มก้อน เป็นหน่วยชีวิตเล็ก ๆ ขึ้นก่อน เรียกในทางวิทยาศาสตร์ว่า \"เซลล์\" แล้วเซลล์เหล่านั้นก็ประชุมรวมกนั เปน็ รูปใหญ่ขึน้ จนเป็นรูปกายของคนและสตั วท์ ั้งหลาย ซึ่งพระท่านรวมเรียกหยาบ ๆ วา่ เป็นธาตุ ๔ มา ประชุมรวมกัน โดยส่วนที่เป็นของแข็งมีความหนักแน่น เช่น เนื้อ กระดูก ฯลฯ เรียกว่า ธาตุดิน ส่วนที่ เป็นของเหลว เชน่ น้ำเลอื ด นำ้ เหลอื ง น้ำลาย น้ำดี น้ำปัสสาวะ น้ำไขขอ้ น้ำมกู น้ำลาย ฯลฯ

ชอื่ นางสาวเสาวนีย นามสกลุ สนใจ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๗ คะแนน สรปุ ใจความสำคัญ เรื่อง ไตรลักษณ : กระบวนการเกิดดบั บรรยาย โดยพระมหาสนั ติราษฎร ฌานสนตฺ ิ, ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเน้อื หา (ไมเ กนิ ๓ บรรทัด) ไตรลักษณถือวาเปนพื้นฐานขององคความรูทั้งหมด ที่แทรกอยูในกระบวนการเรียนรู ไตรลักษณ ประกอบดวย อนิจจัง ทุกขัง และอนัตตา ประโยชนในการศึกษาเรื่องไตรลักษณ คือ เกิดความไมยึดมั่นถือมั่น การเหน็ ความเปน จรงิ ดำเนินชวี ิตดวยปญญา และยอมรบั การเปลี่ยนแปลงวา ทุกส่งิ มกี ารเกิดขึน้ ตง้ั อยู และดบั ไป ๒. เนอ้ื หาใจความสำคัญ ๒.๑ ไตรลกั ษณ : กระบวนการเกิดดับ ๒.๑.๑ ลกั ณะของไตรลักษณ ไตรลักษณ เปนพุทธปรัญญาที่ถือวาเปนแกนกลางของปรัชญญา (หลักคำสอน) อื่น ๆ เปนลักษณะทาง กายภาพของวัตถุ สิ่งของ และเปนลักษณะนามธรรมตาง ๆ ไตรลักษณเปรียบเสมือนเปนเสาหลักเปน ตวั เชื่อมเขา กบั หลกั ธรรมหรือปรญั ญาอ่ืน ๆ เพ่อื นำความจริง สจั ธรรมทเ่ี ปนจรงิ มาประยกุ ตใ ชในสงั คมใหเ กิดประโยชน ไตรลักษณ หมายถึง ลักษณะขอกำหนด ๓ ประการ ซึ่งเปนหลักปรัชญญา (หลักความจริงที่เดนชัด) ในทางพระพทุ ธศาสนา ประกอบไปดวย 1. อนจิ จัง – หมายถงึ ความไมเ ทย่ี ง ลกั ษณะทีไ่ มสามารถควบคุมบัญชาได มกี ารหมนุ เวียนอยูตลอดเวลา หรืออาจหมายถงึ การเปล่ยี นแปลงนน่ั เอง การใชชีวิตประจำวันตองใชหลักการปรับตัวเขามารวมดวย มิเชนนั้นจะทำใหเราไมสามารถดำรงชีวิตอยู ในสังคมที่มีการเปล่ียนแปลงอยตู ลอดเวลาได 2. ทุกขัง - หมายถึง ความทุกข ความเจ็บไขไดปวย หรือหมายถึงสภาวะที่ไมสามารถคงทนอยูในสภาพ เดมิ ได ซ่ึงเปนสภาวะทต่ี อเนอื่ งจากอนจิ จงั เมอ่ื มอี นิจจงั ก็จะตามมาดวยทกุ ขัง ซงึ่ ไมส ามารถแยกออกจากกันได 3. อนัตตา - ความไมมีตัวไมมีตน หลักอนัตตาเปนการหักลางความคิด ความเห็น ความเชื่อเดิม ๆ เชน คนเรามคี วามเช่ือวาโลกเปนอัตตา มคี วามเท่ียงแทแนน อน ลักษณะอนัตตา คือ สภาวะที่ไมม ีตัวไมมีตน เกิดกระบวนการในการเปลี่ยนแปลง การบีบคั้นลักษณะเดิม ไปสลู ักษณะอื่น และในท่ีสุดก็เกิดการเปลย่ี นแปลง แตกดบั ยอ ยสลายไป ไมม ีตัวไมม ตี น พระอรรถคาถาจารยไ ดมกี ารจำแนกลักษณะของไตรลักษณไว เชน - อนิจจัง มี ๔ ประการ คือ ๑) กระบวนการทำลายตัวมันเอง ๒) มีกระบวนการจมลง ๓) มีกระบวนการ เสอ่ื มสลายสูญส้ินไป และ ๔) มรี ปู รา งทีม่ กี ารแตกสลายไปเปน ที่สดุ กระบวนการทง้ั ๔ ทีเ่ กดิ ข้นึ น้ีเรยี กวา อนจิ จงั นอกจากนัน้ พระอรรถคาถาจารยไ ดอธิบายลกั ษณะไตรลกั ษณแบบสรปุ ไดว า ๑. มีลกั ษณะทำวัฏใหพนิ าศไมส งเสริมวัฏ ไตรลักษณเ ขามาเกี่ยวของโดยการเขามาทำลายวงจรของวัฏให พนิ าศ ไมม ีการเกบ็ หรอื การอุม กระบวนการเกดิ ขน้ึ ต้งั อยู ดบั ไป ไตรลกั ษณมหี นา ทที่ ำใหว ัฏพินาศไป (วฏั หมายถงึ การหมนุ การเวียนไป หรือการเวยี นวา ยตายเกดิ ) ๒. ปลอ ยวัฏไมย ดึ ถอื ไมห นวงเหน่ียววฏั ไว ทำใหเกิดกระบวนการเปลยี่ นแปลงในวฏั ๓. ไมรวบรวมวัฏไว หมายถึง ไมมีการสั่งสมวัฏไววาจะใหตรงนี้ดับหรือตรงนี้คงอยู ไตรลักษณทำหนาท่ี เสมอกันทง้ั หมด ใหวัฏเกดิ ข้ึน ตั้งอยู และดบั ไปตามหนาท่ีของมันเอง

ชือ่ นางสาวเสาวนยี  นามสกลุ สนใจ รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๗ คะแนน ๔. ทำใหดับ ไมใหลุกโพรง หมายถึง กระบวนการเปนทีส่ ิ้นสุดของวัฏแลว โดยไตรลักษณทำหนาทีใ่ นการ ถงึ จุดทแ่ี ตกดบั สลาย ไมมตี ัว ไมม ตี นอยอู กี ตอไป ๒.๑.๒ การพิจารณาไตรลักษณใ นทางพระพุทธศาสนา - พิจารณาไตรลกั ษณค วบคกู บั เร่อื งสติปฏฐาน (กาย เวทนา จติ ธรรม) - พิจารณาไตรลักษณควบคูกับลมหายใจเขา ลมหายใจออก ใหพิจารณาวาทุกสิ่งมีกระบวนการเกิดข้ึน ตั้งอยู และดบั ไปตลอดเวลา - พิจารณาไตรลกั ษณค วบคกู ับธาตุ มันเปน แคธ าตุ ๔ คือ ดิน น้ำ ลม ไฟ - พจิ ารณาไตรลกั ษณค วบคูกับการไมยดึ มัน่ ถอื ม่นั ไมย ึดถือวา มนั เปน ตวั กู ของกู เมอ่ื ใจไมยึดมน่ั ถือม่ัน ใจ ไมเ ปนทกุ ขก็จะเกิดปญญา ๒.๑.๓ ประโยชนการศกึ ษา เรอื่ ง ไตรลกั ษณ ประโยชนโ ดยภาพรวมในการศึกษา เรอ่ื ง ไตรลักษณในทางพระพุทธศาสนาตามหลกั พทุ ธปรัชญญา คอื - ความไมย ดึ ม่ันถือม่ัน - การเหน็ ความเปนจรงิ ดว ยปญ ญา - การดำเนินชวี ิตดว ยปญญา - การเขา ใจสภาวะการเปลยี่ นแปลงตาง ๆ ทีเ่ กดิ ขน้ึ เมอ่ื มกี ารเปลยี่ นแปลงเกิดข้ึนกส็ ามารถปรับตัวใหเขา กับการเปลยี่ นแปลงนน้ั ได สรุป ถา มนษุ ยเ ราเขาใจ เรื่องไตรลกั ษณ อันเปนหลกั พทุ ธปรชั ญญาท่ีเปนแกนของทุกสภาวะตา ง ๆ หรือ สรรพสิ่งที่เปนทั้งรูปธรรมและนามธรรมนั้น ซึ่งประกอบไปดวยลักษณะทั้ง ๓ ประการ คือ อนิจจัง ทุกขัง และ อัตตาไดอยางแจมชัดก็ยอมจะมีสภาวะทางจิตใจที่เข็มแข็ง มีอารมณที่เบิกบานอยูตลอดเวลา เพราะมีความเขาใจ บริบทของชีวติ เขา ใจความเปน จริงของชีวิตวามีการเกิดขึ้น ตง้ั อยู และดับไป สงิ่ ทเ่ี ปนภมู คิ ุมกันทางใจก็จะเกิดขึ้น ตามมา

ชอ่ื นางสาวลัดดาวลั ย์ นามสกุล ทองแกว้ รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๓๒๐๑๖ สรุป ใจความสาคัญของพุทธปรชั ญา บรรยาย โดยพระมหาสันตริ าษฎร ฌานสนต,ิ ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนื้อหา (ไมเ่ กิน ๓ บรรทัด) ไตรลกั ษณ์ในทางพระพทุ ธศาสนาเปน็ วทิ ยาศาสตร์ สามารถพิสจู นไ์ ด้ คือสภาวะของทกุ ส่งิ ทกุ อย่างบนโลกในจักวาลนเี้ ปน็ กระบวนการ เปลย่ี นแปลง การเคลื่อนไหว ไม่คงทน ไมท่ นท่ี ท้งั รูปธรรม นามธรรม มี ๓ ลักษณะ ดงั ต่อไปนี้ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนตั ตา ความไมม่ ตี ัวตนท้งั หมด ๒. เน้ือหาใจความสาคญั ไตรลักษณ์ มคี าสอน ๓ ขอ้ อนิจจัง คือ ส่งิ ตา่ ง ๆ ในโลกธรรมชาติท่ปี ระกอบดว้ ยความไมเ่ ท่ยี ง ทุกขงั คือ เปน็ การมองลึกให้เป็นประโยชน์ มองเหน็ ถงึ ความไมใ่ ชต่ วั ตนของเรา อนัตตา คอื ในโลกนไี้ ม่มสี ง่ิ ใดเป็นของเรา ทกุ อย่างคือส่งิ สมมตุ ิ ถา้ มมี นษุ ยม์ ีไตรลกั ษณ์ ๓ ข้อนีจ้ ะทาให้มองความเปน็ เรา นอ้ ยลง จางลง การพิจารณาไตรลักษณในทางพระพุทธศาสนา - พิจารณาไตรลักษณควบคกู บั เร่อื งสติปฏฐาน (กาย เวทนา จิต ธรรม) - พิจารณาไตรลักษณควบคกู บั ลมหายใจเขา ลมหายใจออก ใหพจิ ารณาวาทกุ สิง่ มีกระบวนการ เกดิ ขึ้น ตง้ั อยู และดับไปตลอดเวลา - พิจารณาไตรลักษณควบคกู ับธาตุ มันเปนแคธาตุ ๔ คอื ดิน นา้ ลม ไฟ - พิจารณาไตรลักษณควบคกู ับการไมยึดมน่ั ถอื มนั่ ไมยึดถือวามนั เปนตวั กู ของกเู มื่อใจไมยดึ มัน่ ถอื มั่น ใจ ไมเปนทกุ ขก็จะเกดิ ปญญา ๒.๑ ประโยชนการศกึ ษา เรอ่ื ง ไตรลกั ษณ ประโยชนโดยภาพรวมในการศกึ ษา เรอื่ ง ไตรลกั ษณ ในทางพระพทุ ธศาสนาตามหลักพุทธปรชั ญญา คือ - ความไมยดึ มัน่ ถอื ม่นั - การเห็นความเปนจริงดวยปญญา - การดาเนินชีวิตดวยปญญา - การเข้าใจสภาวะการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น เม่ือมกี ารเปล่ียนแปลงเกดิ ขึ้นกส็ ามารถ ปรบั ตัวให้เขา กับการเปลย่ี นแปลงน้นั ได

ช่อื นายอธิพันธุ นามสกุล ทองรตั น รหสั 6420140432011 คะแนน............. สรปุ ใจความสำคัญ เร่ือง ไตรลักษณ : กระบวนการเกิดดบั บรรยาย โดย พระมหาสนั ติราษฎร ฌานสนฺติ, ดร. -------------------------------------------------- ๑. ภาพรวมของเน้อื หา (ไมเ กิน ๓ บรรทัด) ไตรลักษณ หลักธรรมหมวดที่ ๓ เปนแกนกลางของคำสอนทาง ผูที่จะเขาถึงองคความรู ละกิเลส ความโลภ ความโกรธ และความหลงไดตองเขาใจไตรลักษณ เรื่องนี้จึงมีความสำคัญตอการศึกษาหลัก พุทธปรัชญาอื่นๆ เปนหลักสัจธรรมที่นำใชในชีวิตประจำวัน ถึงแมจะเรื่องทางพระพุทธศาสนาแตก็มี ความเกยี่ วเน่ืองกบั หลกั ทางวิทยาศาสตร ๒. เน้อื หาใจความสำคัญ ไตรลักษณ คือ ลักษณะขอกำหนด ๓ ประการ เปนหลักของสภาวะสิ่งตาง ๆ ที่เกิดในโลกใบนี้ ผูที่ คนพบหลักการนี้คือพระพุทธเจาทรงคนพบสัจธรรมความจริง ลักษณะ ๓ ประการนี้ คือ ความเที่ยงแท โดยตรงของทุกสรรพสงิ่ ในโลก ประเภทของไตรลักษณ ประกอบดว ย ๓ ประเภท ดังน้ี ๑. อนิจจัง คือ ความไมเที่ยง ไมสามารถควบคุมบัญชา การปรับตัวจึงควรนำมาประยุกตใชกบั หลัก อนิจจังเพือ่ ใชใ นการดำเนนิ ชวี ิต ซึง่ มนุษยเ ราสามารถปรบั ตัวใหเขากับธรรมชาติปจ จุบนั ได ๒. ทกุ ขัง ท่ีเรานกึ ถึง คือ ความทกุ ข ความเจบ็ ปว ย แตขอบเขตที่แทจรงิ นั้น คือ สภาวะที่ไมสามารถ คงทนอยใู นสภาพเดิมได (ทนไดยาก) แปรเปลยี่ นไปไมค งสภาพเดิม ๓. อนัตตา คือ ความไมม ีตวั ไมม ตี น เปนการหักลา งความเชื่อเดิม ทวี่ าโลกเปนอัตตา มีความเท่ียงแท แนนอนในศาสนาพราหมณ มีกระบวนการเกดิ ดบั กระบวนการมีผูสรางจะขัดแยงกับกระบวนการของไตรลักษณ เพราะทุกอยางบนโลกมีการเกิด ตัง้ อยูแ ละดบั ไป ซ่งึ กระบวนการตา ง ๆ ตองอาศยั เหตุปจ จัยทง้ั สิน้ อยา งแนน อน ไตรลกั ษณ ทางพระอรรถกถาไดจ ำแนกขอ ยอ ยออกไป คอื อนิจจัง ๑.มีการกระบวนในการทำลายตัวมันเอง ๒. มีกระบวนการจมลง ถดถอยลง ๓.มีกระบวน การเสอ่ื มสลายสญู ส้ินไป ๔. มรี ปู รางทม่ี ีการแตกสลายไป พระอรรถกถาไดส รปุ ลกั ษณะของไตรลกั ษณ ดงั น้ี ๑. ทำวฏั ใหพนิ าศ ทำลายการเกิดข้ึน ตัง้ อยู ดบั ไป ไมเวยี นวายตายเกิด ไตรลักษณเปน ธรรมชาติ ท่ี ทำหนาท่ีของตนเอง ๒. ปลอ ยวัฏ ไมย ดึ ถือ ทำใหม ีกระบวนการหมนุ เวียน เปล่ียนแปลง ปลอ ยไปตามธรรมดาใหเปนไป ๓. ไมรวบรวมวัฏ ไมส ะสมใหคงอยูไว ทำหนาที่เสมอเทา เทยี มกันหมดตามธรรมชาติ ๓. ทำใหด บั ไมใ หลกุ โพลง กระบวนการเปน ที่สน้ิ สุด ไมมีตวั ไมม ตี นอกี ตอไป

ชอ่ื ......นางสาวสุธีรา......นามสกลุ ......บญุ ส่ง....... รหัส.....6420140432008.....คะแนน............. สรุป ใจความสำคัญ เรื่อง ไตรลักษณ์ : กระบวนการเกดิ ดับ บรรยาย โดยพระมหาสันตริ าษฎร์ ฌานสนตฺ ,ิ ดร. ---------------------------- ๑. ภาพรวมของเน้อื หา (ไมเ่ กิน ๓ บรรทัด) ไตรลักษณ์ เป็นพุทธปรัชญาที่ว่าเป็นแกนกลางคำสอนของปรัชญาอื่นๆ ทั้งลักษณะทาง กายภาพของวตั ถุ และนามธรรม เป็นเสาหลกั ใจกลางพทุ ธปรัชญา ซ่ึงประกอบดว้ ย 3 อยา่ ง คือ อนจิ จัง ทุกขัง อนัตตา และประโยชน์การศึกษาไตรลกั ษณ์ ๒. เนอื้ หาใจความสำคญั ๒.๑ ไตรลักษณ์ : กระบวนการเกดิ ดบั ไตรลักษณ์ เป็นข้อกำหนดสภาวะในโลก เป็นเรื่องของสรรพสิ่งที่เปน็ ความจรงิ ของจักรวาล การเข้าใจชีวิต สามารถแก้ปัญหา และเกิดความเข้าใจพื้นฐานองค์ความรู้ทั้งหมดของไตรลักษณ์ ข้อกำหนด 3 ประการ คอื อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยง ความเปลี่ยนแปลง มีการปรับตัวมาใช้ในการดำเนินชีวิต มนุษย์ ก็จะมกี ารปรบั ตวั ในการใช้ชวี ิต เชน่ โควดิ 19 มีการปรบั ตัวดว้ ยวิธกี ารแยกกันอยู่ สวมใสแ่ มสป้องกนั ทุกขัง คือ ความทุกข์ เจ็บไข้ สภาวะที่ไม่คงทนในสภาพเดิม ทนได้ยาก การเคลื่อนที่ ในกระบวนการเปลี่ยนแปลง ไม่คงสภาพเดิม เช่น ความทุกข์ ป่วยไม่สามารถทนอยู่ในสภาพนั้นตลอดไป สว่ นทุกขท์ างใจเวลาจะช่วยรกั ษาและปรบั ตวั ทางกายภาพบีบคัน้ เปลย่ี นลักษณะเดมิ ไปใหม่ อนัตตา คือ ความไม่มีตัว ไม่มีตน หักลา้ งความเช่ือเดิม การแตกดับ ย่อยสลายไป ไม่มีตัวตน อนัตตา เป็นกระบวนการเริ่มต้นจาก อนิจจัง ทุกขัง มาแล้ว แล้วเกิดการย่อยสลายไม่มีตน นามธรรมไม่มีตัว ไม่มีตนกระบวนการความคิดของมนุษย์ มีการเกิดและดับตลอดเวลา พระอรรถคาถาจารย์ ได้จำแนก ไตรลักษณ์ ใน (อนิจจา) ไว้ 4 ขอ้ คอื 1. กระบวนการทำลาย 2. กระบวนการจมลง 3. กระบวนการเสื่อมสลาย 4. กระบวนการรูปรา่ งที่แตกสลายไป การพิจารณาไตรลักษณ์ 1. ไมย่ ึดม่ันถอื มั่น ไม่มีทกุ ข์ 2. ใชป้ ัญญาช่วยกำจัดกเิ ลส 3. ดำเนนิ ชีวติ โดยใช้ปญั ญา 4. เขา้ ใจเม่ือมกี ารเปลี่ยนแปลงท่เี กดิ ขน้ั ไตรลักษณ์เป็นธรรมชาติอย่างหนึ่งที่มีหน้าที่ของตนเอง เกี่ยวข้องกับการทำลาย ปล่อยวัตตะ ไม่เหนี่ยวนำ ทำใหม้ ีหมุนเวยี นเปลี่ยนแปลงไมย่ ึดไว้จักรวาลไม่แตก ไม่ยดึ ไมอ่ ุ้มปล่อยตามเวลา

ชือ่ จกั รพนั ธ์ วจิ ิตรบรรจง รหัส 6420140432018 คะแนน............. สรุปใจความสำคญั ของ ไตรลกั ษณ์ บรรยาย โดย พระมหาสันตริ าษฎร์ ฌานสนฺติ, ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนอ้ื หา (ไมเ่ กิน ๓ บรรทัด) ไตรลักษณ์ เป็นหลักธรรมหมวดที่ ๓ เป็นแกนกลางหลักของพระพุทธศาสนาซึง่ มีความสำคัญต่อการ เรียนรู้ หลกั พทุ ธปรชั ญาอน่ื ๆ หากมองในเชงิ วิทยาศาสตร์คือการคน้ หาความจรงิ เพอื่ ให้เกิดประโยชน์สงู สดุ ๒. เน้ือหาใจความสำคญั ไตรลักษณ์ ถูกค้นพบโดยพระพุทธเจ้า กล่าวถึงทุกสิ่งที่มีในโลก ไม่ว่าจะเป็นรูปธรรมหรือนามธรรม ทุกส่งิ ย่อมมีการปรับตวั เปลีย่ นแปลงและแตกสลาย โดยมีขอ้ กำหนด ๓ ประการ ดังต่อไปนี้ ๑. อนจิ จงั คือ ความไมเ่ ที่ยง กล่าวไดว้ ่าคือความเปลี่ยนแปลงใหเ้ ข้ากบั สถานการณ์ หรือเหตกุ ารณ์ ต่าง ๆ เพือ่ การปรบั ตวั ในการดำเนินชวี ติ ใหอ้ ยรู่ อดโดยอัตโนมัตขิ องสรรพสิ่งบนโลก ๒. ทุกขัง คือ สงิ่ ที่ไม่สามารถคงทนอย่ใู นสถานภาพเดมิ ได้ ซ่ึงเปน็ กระบวนการทีส่ ืบตอ่ มาจาก อนิจจัง ทุกสง่ิ ย่อมมกี ารแปรเปล่ียนหรือกระบวนการเปลยี่ นแปลงไปตามสภาวะและกาลเวลา ๓. อนัตตา คือ กระบวนการทตี่ ่อเนอ่ื งจาก อนิจจัง และทกุ ขัง เมอ่ื ทุกสิง่ บนโลกมีการปรับเปล่ยี น เปลีย่ นแปลง สุดท้ายยอ่ มแตกสลายและดบั ไป แสดงใหเ้ ห็นถึงสภาวะท่ไี ม่มตี ัวตน พระอรรถกถา ได้กล่าวไว้ว่าที่ใดมีอนิจจังย่อมมีกระบวนการการทำลายตนอง กระบวนการการ ถดถอยลง กระบวนการเสือ่ มโทรมและสดุ ท้ายคือการแตกสลาย ไตรลักษณ์เป็นธรรมชาติอย่างหน่ึงท่มี ีหน้าท่ี ของตนเอง และได้จำแนกขอ้ ยอ่ ยของไตรลักษณ์ออกไปดงั นี้ ๑. ไมส่ งั่ สมวฏั ฏะ กล่าวคือ การทำให้วัฏฏะพินาศลง ตามหลกั วิทยาศาสตร์ คอื การเกิดขึน้ ตง้ั อยูแ่ ละ ดับไป หากตามหลกั พุทธศาสนา คือ การเวียน วา่ ย ตาย เกดิ ๒. ไม่ยึดถอื วัฏฏะ กล่าวคือ ทำให้มกี ระบวนการการเปลีย่ นแปลง ๓. ไม่รวบรวมวฏั ฏะไว้ กลา่ วคือ ไมม่ กี ารสงั่ สมส่งิ ใดไว้ ๔. ทำให้ดบั กลา่ วคอื ไตรลกั ษณ์มีหนา้ ทท่ี ำใหก้ ระบวนการของวัฏฏะแตกดบั สลายไป

ชือ่ นายวชิ ยั นามสกุล พรหมสรุ ินทร์ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๐๒ คะแนน............. สรุป ใจความสำคญั ของ ไตรลกั ษณ์ บรรยาย โดย พระมหาสนั ติราษฎร์ ฌานสนตฺ ิ, ดร. ------------------------------------------------------ ๑. ภาพรวมของเน้ือหา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) ไตรลักษณ์ ไม่ใช่เรื่องที่มุ่งหมายเฉพาะในเรื่องของศาสนาเท่านั้น เนื่องด้วยว่าไตรลักษณ์เป็น วิทยาศาสตร์ พิสูจน์ได้ คือ สภาวะของทุกสรรพสิ่งในโลกและจักรวาลที่เป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลง เคลอ่ื นไหว ไม่คงทน ท้ังรปู ธรรมและนามธรรม มี ๓ ลักษณะ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา คอื ความไม่มตี วั ตน ๒. เนอ้ื หาใจความสำคัญ ๒.๑ ลักษณะของไตรลกั ษณ์ ไตรลักษณ์ เป็นพุทธปรัญญาที่ถือว่าเป็นแกนกลางของปรัชญา หลักคำสอน อื่น ๆ เป็นลักษณะทาง กายภาพของวัตถุ สิ่งของ และเป็นลักษณะนามธรรมต่าง ๆ ไตรลักษณ์เปรียบเสมือนเป็นเสาหลักเป็นตัวเชื่อม เขา้ กบั หลักธรรม หรอื ปรชั ญาอืน่ ๆ เพ่อื นำความจรงิ สจั ธรรมที่เป็นจริงมาประยกุ ตใ์ ชใ้ นสงั คมให้เกิดประโยชน์ ไตรลักษณ์ หมายถึง ลักษณะข้อกำหนด ๓ ประการ ซึ่งเป็นหลักปรัชญา หลักความจริงที่เด่นชัด ในทาง พระพุทธศาสนา ประกอบไปด้วย 1.อนิจจัง คือ ความไม่เที่ยงของทุกสรรพสิ่งบนโลก มีการหมุนเวียน เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ท่าน กล่าวว่า อนิจจัง มีกระบวนการ 4 กระกระบวนการ คือ 1. ทำลายตัวเอง 2. จมลงถดถอยลง 3. เสื่อมสลาย หมดสน้ิ ไป 4. มีรูปรา่ งที่แตกสลายไป 2.ทุกขัง หมายถึง ความทกุ ข์ ความเจบ็ ไข้ได้ป่วย หมายถึง สภาวะท่ไี มส่ ามารถคงทนอยู่ในสภาพเดิม ได้ ซึง่ เป็นสภาวะทีต่ ่อเนือ่ งจากอนิจจงั เม่อื มอี นจิ จังกจ็ ะตามมาดว้ ยทุกขงั ซ่งึ ไม่สามารถแยกออกจากกันได้ 3.อนัตตา คือ สถาวะที่ไม่มีตัว ไม่มีตน เป็นกระบวนการต่อเนื่องจากอนัจจัง ทุกขัง ไม่ใช่แค่เรื่องกาย วตั ถุ ในที่นร้ี วมถงึ ความรสู้ กึ นึกคดิ ท่ีเป็นนามธรรมดว้ ย เพราะกระบวนการทำงานของจิต กระบวนการเกิดดับ สืบต่อกันตลอดเวลา ความรู้สึกจากอดีต มักจะทำให้เราเข้าใจผิดว่าเป็นอัตตา ความเป็นตัวตน พระพทุ ธศาสนาเชือ่ วา่ ทุกสง่ิ ทกุ อย่างเกิดขึน้ มาจาก “เหตุปจั จยั ” ไมม่ ผี ู้สร้าง “ไตรลักษณ์” คือ สิ่งทั้งหลายไม่มีตัวตนของมันเอง ไม่ยึดถือไม่ยึด ไม่หน่วงเหนี่ยวไว้บางครั้ง ไตร ลักษณ์ก็อาจจะไม่ใช่ไตรลักษณ์ เพราะไตรลักษณ์เป็นสิ่งสมมติให้เข้าใจถึงกระบวนการตามธรรมชาติ ซึ่งเป็น ความจริง ที่มีกระบวนการในการทำงานของมันตลอดเวลา ดังนั้น โลกวันหนึ่งก็ต้องมีวันแตกสลายไปตามกฎ ของความจริง คือ ไตรลกั ษณ์ แต่ก็สามารถเกดิ ใหม่ได้ ตามเหตปุ จั จัย ซึง่ ก็เปน็ กฎของไตรลกั ษณ์ เชน่ กัน

ชอื่ นายวุฒิกร นามสกลุ ออ๋ งมณี รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๐๑ คะแนน............. สรปุ ใจความสำคญั ของ ไตรลกั ษณ์ บรรยาย โดย พระมหาสนั ตริ าษฎร์ ฌานสนตฺ ,ิ ดร. ------------------------------------------------------ ๑. ภาพรวมของเนือ้ หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) ไตรลักษณ์ ไม่ใช่เรื่องที่มุ่งหมายเฉพาะในเรื่องของศาสนาเท่านั้น เนื่องด้วยว่าไตรลักษณ์เป็น วิทยาศาสตร์ พิสูจน์ได้ คือ สภาวะของทุกสรรพสิ่งในโลกและจักรวาลที่เป็นกระบวนการ เปลี่ยนแปลง เคลือ่ นไหว ไม่คงทน ทั้งรปู ธรรมและนามธรรม มี ๓ ลักษณะ คอื อนิจจัง ทุกขงั อนตั ตา = “ความไม่มตี วั ตน” ๒. เนอื้ หาใจความสำคญั ๒.๑ ลักษณะของไตรลกั ษณ์ ทกุ สง่ิ ทุกอยา่ ง ทกุ สรรพสิง่ ทเ่ี กดิ ขึ้นบนโลกและจักรวาล ลว้ นแตม่ ีเหตแุ ละปัจจยั กระบวนการเกิดข้นึ คงอยู่ และดบั ไป ทุกสรรพสงิ่ ท่ีเกิดข้ึนแล้ว ก็จะตอ้ งมีการหมนุ เวียน เปล่ียนแปลงอยู่ เรือ่ ยไป ไมม่ สี ภาวะทีห่ ยุดนิง่ ไมค่ งที่ และจะมสี ภาวะท่บี ีบคัน้ ทนไม่ไหว จนยอ่ ยยบั แตกสลายไปในทส่ี ุด ซง่ึ การแตกสลายนี้คอื การย่อยสลายไปจนบัญญัตชิ อื่ นามไมไ่ ด้ น่นั ก็คอื ความไม่มีตัวตนในที่สุดเปน็ ลำดบั เป็น หลกั ความจรงิ ตามธรรมชาติ กระบวนการน้เี กดิ ข้นึ อย่เู งียบๆ ตลอดเวลา แบ่งเป็น 3 ลกั ษณะ คือ 1. อนิจจัง คอื ความไมเ่ ทีย่ งของทกุ สรรพส่ิงบนโลก มีการหมุนเวยี น เปล่ียนแปลง ตลอดเวลา ท่านกล่าวว่า อนิจจงั มกี ระบวนการ 4 กระกระบวนการ คือ 1) ทำลาย ตวั เอง 2) จมลงถดถอยลง 3) เส่อื มสลายหมดสน้ิ ไป 4) มีรูปร่างท่แี ตกสลายไป 2. ทุกขงั คอื สถาวะที่ไม่สามารถคงทนอยใู่ นสภาพเดมิ ได้ ทนได้ยาก เป็นสถาวะท่ี ตอ่ เนือ่ งจาก อนิจจัง (ความเปลี่ยนแปลงการเปลยี่ นแปลง) บบี คน้ั จากสภาวะเดิมให้เกดิ สภาวะใหม่ เพ่อื ให้เกดิ อนตั ตาในท่ีสดุ 3. อนัตตา คือ สถาวะทไี่ ม่มตี วั ไม่มีตน เป็นกระบวนการต่อเน่ืองจากอนจั จงั ทุกขัง ไม่ใช่ แคเ่ รื่องกายวัตถุ ในท่นี ้ีรวมถึงความร้สู ึก นกึ คดิ ท่เี ป็นนามธรรมด้วย เพราะ กระบวนการทำงานของจติ มีกระบวนการเกิดดบั สืบต่อกันตลอดเวลา ความรสู้ กึ จาก อดีต มักจะทำใหเ้ ราเข้าใจผิดวา่ เปน็ อัตตา ความเป็นตัวตน พระพทุ ธศาสนาเชอื่ ว่าทกุ สง่ิ ทกุ อย่างเกิดข้ึนมาจาก “เหตปุ ัจจยั ” ไม่มีผูส้ รา้ ง “ไตรลักษณ์” ทำวัฏให้พินาฏ ทำลายวงจรของวัฏ ไม่ยึดถือไม่ยึด ไม่หน่วงเหนี่ยวไว้ บางที ไตรลกั ษณ์ก็อาจจะไมใ่ ช่ไตรลักษณ์ เพราะไตรลกั ษณ์เปน็ สิง่ สมมตใิ ห้เข้าใจถึงกระบวนการตามธรรมชาติ ซึ่งเป็นความจริง ที่มีกระบวนการในการทำงานของมันตลอดเวลา ดังนั้น โลกวันหนึ่งก็ต้องมีวันแตก สลายไปตามกฎของความจรงิ คือ ไตรลกั ษณ์ แตก่ ส็ ามารถเกดิ ใหม่ได้ ตามเหตปุ จั จัย ซง่ึ ก็เปน็ กฎของ ไตรลกั ษณ์ เชน่ กนั

ช่อื . นายอภนิ นั ท์ นามสกลุ . แสงแก้ว รหัส 6420140432019 คะแนน............. สรุป ใจความสำคัญของไตรลักษณ์ พระมหาสนั ตริ าษฎร์ ฌานสน.ต,ิ ดร. บรรยาย ------- ภาพรวมของเนอ้ื หา หลักพระธรรมหลักพุทธปรัชญา ไตรลักษณ์ ถือเป็นแกนกลางของคำสอนทางพระพุทธศาสนาและ คอยเช่ือมโยงปรัชญาและเร่ืองอนื่ ๆ ซง่ึ หลกั ไตรลกั ษณจ์ ะแทรกแฝงอยู่ในทุกกระบวนการดำรงชีวิตรอบๆตัวเรา แบบไมต่ ายตัว เป็นกระบวนการเกิดขึน้ ต้งั อยู่ และ ดับไป ทุกสงิ่ ในโลก เปน็ กระบวนการหลักไตรลกั ษณท์ ง้ั ส้ิน เนอื้ หาใจความสำคัญ (ไตรลักษณ์) ไตรลักษณ์ ทำให้เกิดกระบวนการ การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และ ดับไป มีการหมุนเวียนเปลี่ยนถา่ ย ตลอดเวลาตามยุคสมยั ไมค่ งที่ ไมต่ ายตัว กระบวนดังกลา่ วนกี้ ็คือหลกั ไตรลักษณน์ ้ันเอง ไตรลักษณ์ คือ ลักษณะ ๓ ประการ แห่งสังขารธรรมทั้งหลาย หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า สามัญลักษณะ (ลักษณะที่เสมอกันแก่สงั ขารธรรมท้ังปวง) กล่าวคือ พระพุทธเจ้าจะอุบัติหรือไม่ก็ตาม หลักทงั้ สามนก้ี ็คงมีอยเู่ ป็นธรรมดา พระพทุ ธเจา้ เป็นแต่ทรงค้นพบและนำมาเปิดเผยแสดงต่อสาวกศึกษา เพื่อให้เข้าใจ จกั รวาล เรื่องไตรลักษณจ์ ึงถือว่าเป็นพืน้ ฐานขององค์ความร้ทู ้ังหมด อันประกอบด้วย ๑. อนิจจัง (ไม่เที่ยง) หมายความว่า สิ่งทั้งหลายมีลักษณะเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ไม่มีความ คงทีต่ ายตัว ๒. ทุกขัง (ความเป็นทุกข์) หมายความว่า สิ่งทั้งหลายทั้งปวงมีลักษณะที่เป็นทุกข์ มองดูน่า สังเวชใจ ทำใหเ้ กดิ ความทกุ ข์ใจแกผ่ ู้ไม่มีความเหน็ อย่างแจ่มแจง้ ในสง่ิ น้นั ๆ ๓. อนัตตา (ไม่ใช่ตัวตน) หมายความว่า ทุกสิ่งทุกอย่างไม่มีความหมายแห่งความเป็นตัวเป็น ตน ไมม่ ลี กั ษณะอันใดท่ีมนุษย์ยดึ ถือได้วา่ มันเปน็ ตัวเราของเรา พทุ ธศาสนิกชนท่ีเห็นสภาวะธรรมในกฎแห่งไตร ลักษณ์ จะเข้าใจถึงสภาพของสังขารทั้งหลายที่มีการเปลีย่ นแปลง เสื่อมสลายตลอดเวลา แม้แต่โลกและชีวิตก็ ล้วนไม่เที่ยง หรือยั่งยืนด้วยกันทั้งสิ้น ไม่สามารถคงสภาพเดิมอยู่ได้ อันจะเป็นไปตามเหตุปัจจัยตามธรรมชาติ ของมัน ดังนั้น ผทู้ ีเ่ หน็ ไตรลักษณ์จะสามารถกำหนดท่าทีแหง่ จิตใจของตนเองได้อย่างถูกต้อง ในยามที่จิตใจถูก บีบค้นั หรือยามทพ่ี ลดั พรากจากกนั ก็จะไม่หวนั่ ไหวจากสิ่งดังกล่าวท่ีมากระทบ เพราะจิตใจหลุดพ้นเป็นอิสระ ไม่ไปผูกพนั ยึดมน่ั เกาะเกี่ยวอยู่กับสง่ิ หนึ่งส่ิงใด การศึกษาสภาวะธรรมทั้งหลายทั้งปวง โดยเฉพาะการทำความเข้าใจในชีวิตของมนุษย์ ตาม หลักไตรลักษณ์ นั้น ทำให้ชีวิตดำเนินอยู่ด้วยปัญญา คือ เป็นการอยู่อย่างรู้เท่าทันสภาวะ และรู้จักอยู่อย่าง ประสานกลมกลนื กบั ธรรมชาติ อยอู่ ย่างไมม่ คี วามยึดมน่ั ในตวั ตน อยู่อยา่ งอสิ ระ และอยู่อย่างไมม่ ีทุกข์ เมื่อเห็นความไม่เที่ยงของสรรพสิ่งทั้งหลายแล้ว จะทำให้มนุษย์เห็นคุณค่าของเวลาและชีวิต อันส้ัน ระมัดระวังตนเพื่อป้องกันมิให้เกิดความเสื่อมสลายของสังขารในเวลาอันมิสมควร และดำรงอยู่ด้วย ความไม่ประมาท อีกทั้งช่วยให้เกิดความกระตือรือร้นในการทำความดี สร้างสรรค์คุณค่าให้เกิดความสมบูรณ์ และกา้ วหน้าให้แกช่ วี ิตตนเอง

ชือ่ นางสาวอภิญญา นามสกุล ไชยเบา้ รหัส 6420140432013 คะแนน……......... สรุป ใจความสาคัญของไตรลักษณ์ บรรยาย โดยพระมหาสนั ติราษฎร์ ฌานสนติ, ดร. ๑. ภาพรวมของเนือ้ หา (ไม่เกิน ๓ บรรทัด) ไตรลกั ษณ์ ถอื เปน็ พน้ื ฐานองคค์ วามรู้ทง้ั หมด ซง่ึ แทรกอยู่ในทกุ กระบวนการขององคค์ วามร้ใู นศาสตร์ ตา่ ง ๆ ซึง่ ประกอบด้วย อนจิ จัง (ไมเ่ ท่ยี ง) ทุกขัง (ความเป็นทกุ ข์) และอนัตตา (ไมใ่ ชต่ ัวตน) บุคคลใดไดป้ ฏิบตั จิ ะเหน็ ความจรงิ ดาเนนิ ชวี ติ ดว้ ยปญั ญา ไม่ยึดติดถือมัน่ ๒. เน้อื หาใจความสาคัญ ไตรลักษณ์ หมายถึง เปน็ ลักษณะข้อกาหนดของสภาวะของส่ิงตา่ ง ๆ ทีเ่ กิดขน้ึ ทีม่ ีอยู่ของโลก ประกอบด้วยลกั ษณะ ๓ ประการ ดังนี้ 2.1 อนจิ จงั (ความไม่เทย่ี ง) คือ ลักษณะทีเ่ ปล่ยี นแปลงตลอดเวลาโดยเฉพาะคนรนุ่ ใหม่ การปรับตัวจงึ มีความสาคัญเป็นอย่างยงิ่ ทต่ี ้องมาใช้กบั หลกั อนจิ จงั สงั เกตได้จากมนุษยส์ ามารถปรับตัวได้ตามสถานการณ์ ตา่ ง ๆ ทาให้อยู่รอดได้ทุกวันนี้ 2.2 ทกุ ขงั (ความเป็นทุกข์) ไม่ใช่แคร่ กั ษาการเจ็บปวดทางกาย ทางใจเทา่ น้นั แตข่ อบเขตของทุกขงั กว้างกว่าน้ัน คือ สภาวะทีไ่ ม่สามารถคงทนอยู่ในสภาพเดมิ ได้ เชน่ สภาวะของความทุกข์ท่ีเกิดขึ้นในใจเรา แตเ่ วลาผ่านไปก็จะชว่ ยเยยี วยาความเจ็ดปวดเราไปเอง 2.3 อนัตตา (ไม่ใช่ตวั ตน) คอื สภาวะทไ่ี มม่ ีตัว ไมม่ ีตน เกิดจากการเร่มิ ตน้ ของอนจิ จัง ทุกขังมาแล้ว และในทสี่ ุดเกิดกระบวนการเปล่ยี นแปลงสลายไม่มีตน ถา้ พจิ ารณาในโลกน้ีสรรพสิ่งต่าง ๆ อาศัยสภาวะทางไตรลักษณแ์ ละเหตุปัจจัย หมายความว่า “มีส่งิ น้ีเกิดขึ้นสงิ่ นจ้ี ึงเกิดข้นึ ตามมา” พระอรรถกถาได้จาแนกข้อยอ่ ยออกไป เชน่ เร่ืองของอนจิ จัง ดังน้ี - มีกระบวนการทาลายตวั มันเอง - มีกระบวนการจมลงหรอื ถดถอยลง - มีการบวนการเส่อื มสลาย - มรี ูปร่างที่แตกสลายไปทีส่ ุด พระอรรถกถาไดส้ รปุ ลักษณะของไตรลักษณ์ ดงั น้ี - ทาวัฏให้พินาศ คือการเวียนวายตายเกิด - ปล่อยวฏั คอื ไม่ยึดถอื ทาให้มกี ระบวนการเปล่ียนแปลงข้ึน - ไม่รวบรวมวฏั คือไมม่ ีการสะสมใหค้ งอยู่ไว้ - ทาใหด้ บั คือกระบวนการสนิ้ สุด ไม่มตี ัวตนอกี ต่อไป

ช่อื นางสาวอภญิ ญา นามสกลุ ไชยเบา้ รหสั 6420140432013 คะแนน…….........

ชอื่ นางสาวจุฑามาศ นามสกุล ฉิมพาลี รหัส 6420140432014 คะแนน............. สรุป ใจความสำคญั ของไตรลักษณ : กระบวนการเกิดดบั บรรยาย โดย พระมหาสันติราษฎร ฌานสนฺต,ิ ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเน้ือหา (ไมเ กิน ๓ บรรทดั ) ไตรลักษณ เปนแกนกลางพุทธปญ ญาของปรัชญาอ่ืนๆ เปน ลักษณะทางนามธรรมของสิง่ ตางๆ ยกให เห็นถงึ ความจริงของจักรวาล ละกิเลส คนที่เขาใจในเรอ่ื งของ ไตรลกั ษณ กระบวนการเกิดขึ้น ต้ังอยู ดับไป ๒. เนือ้ หาใจความสำคัญ ๒.๑ ไตรลักษณ ไตรลักษณ หมายถงึ ลกั ษณะขอ กำหนด 3 ประการ ทพ่ี ระพทุ ธองคท รงเห็นธรรมชาติ ไดแก อนจิ จัง ลักษณะไมเที่ยง ทกุ ขัง ลกั ษณะทนอยูตลอดไปไมได และ อนัตตา ลักษณะไมสามารถบงั คบั บัญชาใหเปนไป ตามตอ งการได เชน ไมสามารถบังคับใหชีวิตยัง่ ยืนอยูไ ดตลอดไป ไมส ามารถบงั คบั จิตใจใหเ ปน ไปตาม ปรารถนา ความมิใชต ัวตน เปนตน ไตรลกั ษณ คือ การเกดิ ขนึ้ ตงั้ อยู และ ดบั ไป ทุกส่งิ ในโลกน้ี ลวนแลวอยใู น กฎไตรลกั ษณ 1. อนิจจงั ความไมคงทน ความไมเ ทีย่ ง ลักษณะของอนจิ จัง 4 ประการ 1.มีกระบวนการในการทำลายตัวมันเอง 2.มกี ระบวนการจมลง 3.มกี ระบวนการเส่ือมสลาย 4.มีรูปรา งที่มกี ารแตกสลาย ส้ินไป เสอื่ มไป 2.ทุกขัง ความเปน ทุกข ถูกบบี คนั้ ดวยการเกิดข้ึนและสลายตวั ลกั ษณะสภาวะเดิมไปสูสภาวะใหม เขา มาทำหนา ทตี่ ลอดเวลา มีการเปลี่ยนแปลง ลักษณะทกุ ขงั ไมสามารถคงทนอยูใ นลกั ษณะเดิม เปลย่ี นไปสู ลักษณะใหมตลอดเวลา ทำหนา ท่ีคูก บั อนิจจงั 3.อนัตตา ความไมม ีตวั ไมมีตน สภาวะเกดิ กระบวนการเปลีย่ นแปลงลกั ษณะเดิมไปสูลักษณะอ่ืน อาศยั กระบวนทางการคิดของมนุษย มกี ระบวนการเกดิ ดบั ตลอดเวลา ผา นกระบวนการทางความคิดในอดตี จนถงึ ปจ จบุ ัน ไตรลกั ษณ เปนกระบวนการทที่ ำหนาที่ธรรมชาติอยางงหนึ่ง มกี ระบวนการท่มี าถึงตนเอง เกดิ ข้ึน ตัง้ อยู ดบั ไป 4 ลักษณะ 1.ยึดถอื วฎั ฎะ เวียนวา ยตายเกดิ 2.ปลอยวัฎฎะ ไมยึดถือ หนวงเหน่ียว มีกระบวนการหมนุ เวียน เกิดขึน้ ในวัฎฎะ 3.ไมรวบรวมวัฎฎะ ไมส ่งั สมไว ทำหนา ท่ีเสมอเทาเทยี มกันหมด 4.ทำใหด ับไมใ หลุกโพรง เปน กระบวนการเปน ทสี่ ้ินสุดของวัฎฎะ

ชอ่ื นางสาวเทวตา นามสกลุ สหัสสธารา รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๐ คะแนน............. สรปุ ใจความสำคญั เรื่องไตรลักษณ: : กระบวนการเกดิ ดับ บรรยายโดย พระมหาสนั ติราษฎร ฌานสนตฺ ,ิ ดร. ----—————— ๑. ภาพรวมของเนือ้ หา (ไม4เกนิ ๓ บรรทัด) ไตรลักษณC เปEนแกนกลางของคําสอนทางพระพุทธศาสนาที่แสดงใหMเห็นถึงความจริงของจักรวาล ผูMที่จะละกิเลส ความโลภ ความโกรธ และความหลงไดM ตMองเขMาใจไตรลักษณC ไตรลักษณCเปEนหลักสัจธรรมที่ทำ ใหMเขาM ใจความจริงของชวี ติ คอื การเกิดขน้ึ ตง้ั อยZู ดบั ไป ซงึ่ ประกอบดวM ย อนิจจงั ทุกขงั อนตั ตา ๒. เนอื้ หาใจความสำคญั ไตรลกั ษณH คอื ลกั ษณะขMอกำหนด ๓ ประการ ของสง่ิ ทเ่ี กดิ ขึ้นและท่ีมีอยZู พระพทุ ธเจาM ทรงคนM พบ สัจธรรมความจริง คือ ความเที่ยงแทMโดยตรงของทุกสรรพส่ิงในโลก มีลักษณะเปEนขMอกำหนด เปEนแกนกลาง ของทกุ อยZางในชีวิต ๓ ประการ ดังน้ี ๑. อนจิ จงั คือ ความไมเZ ทย่ี ง ไมสZ ามารถควบคมุ บญั ชาการปรับตวั จงึ ควรนาํ มาประยุกตใชกM ับหลัก อนจิ จังเพอื่ ใชใM นการดาํ เนนิ ชวี ิต ซึง่ มนษุ ยเC ราสามารถปรบั ตวั ใหเM ขาM กับธรรมชาตปิ จ^ จบุ นั ไดM ๒. ทุกขัง คือ ความทุกขC ความเจ็บปว_ ย ความถูกบบี คน้ั หรือสภาวะทไ่ี มสZ ามารถคงทนอยูZในสภาพ- เดิมไดM (ทนไดยM าก) แปรเปลี่ยนไปไมคZ งสภาพเดิม ๓. อนัตตา คอื ความไมมZ ตี วั ไมมZ ตี น เพราะเกิดการเปล่ยี นแปลงแตกดบั ยZอยสลายไป กระบวนการ คิดของมนษุ ยCเปนE สงิ่ ทไี่ มมZ ีตวั ตน เพราะเกดิ ดบั ตลอดเวลา พระอรรถคาถาจารยC ไดจM าํ แนกลักษณะของไตรลักษณไC วM เชนZ อนิจจัง มี ๔ ประการ คือ ๑) กระบวนการทาํ ลายตวั มันเอง ๒) มกี ระบวนการจมลง ๓) มีกระบวนการ เส่อื มสลายสญู สน้ิ ไป ๔) มีรูปราZ งทม่ี ีการแตกสลายไปเปนE ทีส่ ดุ การพจิ ารณาไตรลกั ษณใH นทางพระพทุ ธศาสนา - พจิ ารณาไตรลักษณคC วบคกูZ ับเร่อื งสตปิ ฏ^ ฐาน (กาย เวทนา จติ ธรรม) - พิจารณาไตรลกั ษณคC วบคกZู ับลมหายใจเขาM - ออก ใหพM ิจารณาวาZ ทกุ สิ่งมกี ระบวนการเกิดขน้ึ ต้ังอยูZ และดับไปตลอดเวลา - พิจารณาไตรลักษณคC วบคกZู บั ธาตุ ๔ ธาตุ คอื ดิน นำ้ ลม ไฟ - พจิ ารณาไตรลกั ษณคC วบคกZู บั การไมยZ ึดมั่นถอื มน่ั ไมยZ ึดถือวาZ เปนE ตวั กูของกู เมอ่ื ใจไมยZ ึดม่ันถอื ม่นั ใจกจ็ ะไมเZ ปนE ทกุ ขกC ็จะเกิดปญ^ ญา เมื่อมนุษยเC ขาM ใจเรื่องไตรลักษณC อันเปนE หลักพทุ ธปรชั ญาทีเ่ ปนE แกนZ ของทุกสภาวะตาZ ง ๆ กย็ อZ มจะมี สภาวะทางจติ ใจทเี่ ขม็ แขง็ มอี ารมณทC ี่เบกิ บานอยตูZ ลอดเวลา เพราะมคี วามเขาM ใจความเปนE จริงของชีวติ วาZ “มกี ารเกดิ ขน้ึ ตัง้ อย4ู และดับไป”


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook