Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สรุปการบรรยายครั้งที่ 3

สรุปการบรรยายครั้งที่ 3

Published by P SP, 2021-08-15 04:09:09

Description: สรุปเรื่อง ทางสายกลาง ครั้งที่ 3

Search

Read the Text Version

ส า รั ต ถ ะ พุ ท ธ ป รั ช ญ า ใ น พ ร ะ ไตรปฎก ส รุ ป ก า ร บรรยาย ค รั ง ที 3 ป ริ ญ ญ า โ ท ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ เสนอ

ช่ือ นางสาวสาวติ รี นามสกุล เชี่ยวชาญ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๕ สรุป ใจความสาคญั ของชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร ตามหลกั มชั ฌมิ าปฏปิ ทา บรรยาย โดย พระมหาสนั ติราษฎร์ ฌานสนฺติ, ดร. ------------------------------------------------ ๑. ภาพรวมของเน้อื หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) รปู แบบของการดาเนินชีวิตท่ีปฏิบัติตามหลักมัชฌิมาปฏิปทาหรือที่เรียกกันว่า ทางสายกลาง จะทาให้ บุคคลนั้นเป็นผู้ท่ีสามารถหลุดพน้ จากกิเลส และนาไปสู่การเวียนว่ายตายเกดิ ได้ ซึ่งน้ันคือจุดม่งุ หมายสูงสุดใน พระพุทธศาสนา ๒. เน้อื หาใจความสาคัญ ๒.๑ มชั ฌิมาปฏปิ ทา มัชฌิมาปฏิปทาคือ ทางสายกลาง ซ่ึงมีข้อธรรมที่สามารถนาไปสู่ทางสายกลางได้ น่ันคือ พระรัตนตรยั ซ่ึงประกอบด้วยการปฏิบัติทง้ั ๔ ประการดังนี้ ๑) สปั ปุริสสังเสวะ (กัลยาณมิตรท่ดี )ี เปน็ แนวทางนาไปสกู่ ารดาเนนิ ชวี ิตที่ดี คือ การไดพ้ บกบั พระรัตนตรยั ๒) สทั ธรรมสวนะ (ปรโตโฆสะที่ดี) การเขา้ ถึงพระธรรม หลักธรรม ๓) โยนิโสมนสิการ การพิจารณาทุกส่ิงทุกอย่าง โดยละเอียดรอบครอบ กระบวนการคิดท่ี นาไปส่กู ารประยุกต์ใช้ ๔) ธรรมานธุ รรมปฏิบัติ (มรรค) เริ่มเข้ารว่ มนาไปสสู่ งั ฆะ ***ส่ิงเหล่านี้ไม่สามารถแยกจากกันได้ จะอยู่ดว้ ยกันเสมอ*** ๒.๒ บพุ ภาคของการศกึ ษา จุดเริ่มตน้ ของการศกึ ษา ประกอบด้วย - ปรโตโฆสะทด่ี ี (อิทธพิ ลจากภายนอก) - โยนโิ สมนสิการ (อิทธิพลจากภายใน) นาไปสู่กระบวนการศกึ ษา ๓ ประการ - อธิสลี สิกขา (ความประพฤติ วินัย สุจริตกายวาจา และอาชพี ) - อธจิ ิตสิกขา (คณุ ธรรม คุณภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจิต) - อธปิ ญั ญาสิกขา (ความเชอื่ ค่านิยม ความคิดทถ่ี ูกตองดีงาม) ๒.๓ ความสาคญั ของกลั ยาณมติ ร คอื กลั ยาณมิตรที่ดี จะทาใหเ้ กิดความสว่างท่จี ะเกิดข้นึ ซึ่งการจะ พบกับความสว่างได้นั้น มาจากการพบพระรัตนตรยั ๒.๔ รงุ่ อรุณของการศกึ ษา - กัลยาณมิตร เกดิ จากการมคี นในสงั คมทด่ี ิทาใหส้ งั คมเจรญิ - ศีลสมั ปทา สังคมมีความเป็นระเบียบ เพราะคนมีศีล - ฉันทะสมั ปทา ความพยายามทีจ่ ะกระทาในสิ่งทด่ี ี - อัตตสมั ปทา หลักของการพัฒนา - ทิฏฐสิ ัมปทา ความคดิ ทด่ี ี - อปั ปามาทสมั ปทา ความไม่ประมาท

ช่อื นางสาวสาวิตรี นามสกุล เชยี่ วชาญ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๕ - โยนโิ สมนสกิ าร การพจิ ารณาทร่ี อบครอบ ***บคุ คลใดขาดองคป์ ระกอบในบางข้อกจ็ ะทาใหก้ ระบวนในการศกึ ษาขาดไปด้วยแต่ยงั สามารถ สาเร็จได้(อาจจะคอ่ นข้างยาก) แตถ่ า้ มคี รบทกุ ข้อก็จะสาเรจ็ ได้โดยง่าย*** ๒.๕ มชั ฌมิ าปฏปิ ทา มี ๔ กระบวนการ คอื ๑. การเร่ิมต้น ปรโตโฆสะท่ีดีและโยนิโสมนสิการ คือการพบหลักธรรมและกระบวนการ พิจารณอย่างรอบครอบ จะนาไปสู่ สัมมาทิฏฐิ คือการมีความคิดไปในทางที่ดี นาไปสู่ กระบวนการศกึ ษา ๒. การศกึ ษา ประกอบดว้ ย ศีล สมาธิ และปญั ญา ศีล เกิดจากการพบศาสนา / การสดับรับฟังธรรม (ศึกษาเชิงลึก)/เกิดความ ศรทั ธา/ออกบวช (ทกุ เพศทกุ วยั เขา้ ถงึ ได้) ซ่งึ คนทั่วไปสามารถพบในหลักธรรมน้ีได้ สมาธิ เกิดจากการสารวมตา หู จมกู ล้นิ กาย และใจ (การน่ังสมาธิ) /กาจัดนวิ รณ์ ได้ /เขา้ สู่ฌาน ปัญญา เข้าถึงวิชชา(ระลกึ อดตี ได/้ ชนะกเิ ลสได้) วิมตุ ติ(การหลุดพ้น) ๓. ชีวิตประเสริฐ (มรรค) มีทั้งหมด ๘ ประการคือ สัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะ สัมมาวาจา สัมมากมั มนั ตะ สัมมาอาชวี ะ สมั มาวายามะ สมั มาสติ และสัมมาสมาธิ ๔. จดุ มงุ่ หมาย ในทางพระพุทธศาสนาแบง่ ไว้ ๓ แบบ คอื ทฏิ ธัมมิกตั ถะ (เปา้ หมายปัจจบุ นั ) อุ (ขยัน) อา (มั่นคง) กะ (คบคนดี) สะ (มชี วี ิตทด่ี ี) สมั ปรายิกตั ถะ (เป้าหมายในภาพหน้า) มุง่ สสู่ วรรค์ ปรมัตถะ มุ่งสนู่ ิพพาน หลดุ จากกิเลส หลดุ พ้นจากการเวียนวา่ ยตายเกิด

ช่อื ว่าท่ี ร.ต.หญิงศิริลักษณ์ นามสกลุ สมพงศ์ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๐๕ คะแนน............. สรปุ ใจความสำคญั ของมรรคมอี งค์ ๘ บรรยาย โดยพระมหาสนั ติราษฎร์ ฌานสนตฺ ิ,ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเน้อื หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) สง่ิ สำคัญในชวี ติ ท่ีต้องมีคอื อริยสัจ ๔ เม่อื มีอริยสัจ ๔ แลว้ จงึ จะเข้าสู่มรรคมอี งค์ ๘ น่นั ก็คือ มัชฌมิ าปฏิปทา ในปจั จุบันเราตอ้ งมองธรรมให้เป็นวิทยาศาสตร์ คอื สามารถพิสูจน์หลกั ธรรมต่างๆไดแ้ ลว้ นำมาปฏิบัติอยา่ งเข้าใจ ๒. เนอ้ื หาใจความสำคัญ “อริยสัจ ๔” คือสง่ิ ท่มี ีความสำคัญและเก่ยี วข้องในชวี ิตของมนษุ ย์ดังน้ี - ชวี ิต คอื กาย-ใจ - ชวี ิต เปน็ อนิจจัง ทุกขงั อนัตตา - ชีวติ เป็นไปตาม กรรม วบิ าก - ชีวติ ควรให้เป็นอย่าง นพิ พาน - ชวี ิต ควรเปน็ อย่อู ยา่ ง มรรคมีองค์ ๘ หลักการเข้าสู่มรรคมีองค์ ๘ หรือเรียกอีกอยา่ งว่า มชั ฌมิ าปฏปิ ทา ประกอบไปดว้ ย - มีกัลยาณมติ ร - ปรโตโฆสะท่ดี ี - โยนโิ สมนสกิ าร - มรรค สิ่งเหลา่ นี้คอื จดุ เริ่มต้นของการศึกษาและกระบวนการศึกษา รุ่งอรณุ แหง่ การศึกษา คอื สง่ิ ทีพ่ ฒั นาตวั เองใหไ้ ปสู่จดุ หมายท่ีเราต้งั ไว้ เช่น มีการศกึ ษาที่ดีและสูงข้ึน มีฐานะทด่ี ี ข้นึ มสี งั คมทดี่ ขี ้นึ ดังนี้ - รจู้ ักเลอื กหาแหลง่ ความรแู้ ละแบบอย่างทด่ี ี - มชี ีวิตและอยรู่ ่วมสงั คมเปน็ ระเบียบด้วยวนิ ยั - พรอ้ มด้วยแรงจงู ใจใฝเ่ รียนรู้ ใฝ่สรา้ งสรรค์ - มุ่งม่ันพัฒนาตนให้เตม็ ศกั ยภาพ - ปรบั ทัศนคตแิ ละคา่ นิยมให้สมแนวเหตผุ ล - มีสติ กระตอื รือร้น ตื่นตวั ทกุ เวลา - แกป้ ญั หาและพง่ึ พาตนไดด้ ว้ ยความร้คู ิด

ช่อื ว่าท่ี ร.ต.หญิงศิรลิ กั ษณ์ นามสกุล สมพงศ์ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๐๕ คะแนน............. กลั ยาณมิตร คือมิตรท่ีดีหรอื มติ รแท้ มีดังน้ี - น่ารัก - น่าเคารพ - นา่ ยกยอ่ ง - รู้จักพูดให้ไดผ้ ล - อดทนตอ่ ถ้อยคำ - แถลงเรอ่ื งล้ำลกึ ได้ - ไม่แนะนำในเรอื่ งเหลวไหล ความมกี ลั ยาณมติ รเท่ากบั เป็นพรหมจรรยท์ ั้งหมด พรหมจรรยก์ ค็ อื ศลี สมาธิ ปญั ญา นั่นเอง

ช่ือ......นางมีนา สุขชุม่ ............... รหัส........... 6420140432023.........................คะแนน............. สรปุ ใจความสำคญั ของพุทธปรชั ญา เรอ่ื ง ชีวิตควรเปน็ อยูอ่ ย่างไร : อรยิ มรรค มีองค์ 8 บรรยาย โดย พระมหาสันตริ าษฎร์ ฌานสนตฺ ิ. ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนื้อหา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทัด) มัชฌิมาปฏิปทานี้ มีชื่อเรียกอย่างง่ายๆ ว่า มรรค ซึ่งแปลว่าทาง ทางนี้มีส่วนประกอบ ๘ อย่าง และ ทำให้ผู้ดำเนินตามเป็นอารยชน มรรคนี้ เป็นวิธีปฏิบัติของมนุษย์ ที่จะทำให้เกิดผลตามกระบวนการดับทุกข์ ของธรรมชาติ ๒. เนื้อหาใจความสำคญั 2.1 หลกั การปฏิบตั เิ ข้าส่มู รรค ปัญญาวุฒิธรรม 4 การดำเนนิ ตามมชั ณมิ าปฏปิ ทา โดยใช้ หลกั พระรตั นตรยั ๑. สัปปรุ สิ ังเสวะ คือ การคบหาสัตบุรษุ , มกี ลั ยาณมิตร (พระพุทธเจา้ คือระดบั สูงสดุ ) ๒. สทั ธัมมัสสวนะ คือ การฟังสทั ธรรม, ปรโตโฆษะที่ดี (พระธรรม) ๓. โยนโิ สมนสกิ าร คือ คดิ หาเหตุผลโดยถูกวธิ ี , โยนิโสมนสกิ าร (กิจต่อพระธรรม) ๔. ธมั มานธุ ัมมปฏบิ ัติ คอื มรรค (เริม่ เข้าร่วมสู่สังฆะ) ๒.๒ บุพภาคของการศึกษา ประกอบไปดวย จดุ เรมิ่ ตน้ ของการศึกษา คือ ปรโตโฆสะท่ีดี คอื การรบั ฟงั ความคดิ เหน็ ของผู้อื่น ซึ่งมีอิทธิพลมาจาก ภายนอกร่างกายของเรา และ โยนิโสมนสกิ าร คือ การรู้จักคดิ คดิ ถูกวธิ ี เป็นปัจจัยภายในร่างกายของเรา สำหรบั กระบวนการของการศึกษา คือ การไปสู่ไตรสกิ ขา ประกอบไปดว้ ย ๑. อธสิ ีลสกิ ขา - ความประพฤติ วนิ ยั สุจรติ กายวาจา และอาชพี ๒. อธจิ ิตสิกขา - คณุ ธรรม คุณภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจิต ๓. อธิปัญญา - ความเช่อื ค่านยิ ม ความคดิ ทีถ่ ูกต้องดงี าม พระพุทธเจ้าไดท้ รงแสดงองค์ธรรมหรือข้อธรรม ทเี่ ก้ือกูลต่อการดำเนินชวี ติ ท่ีถูกต้องไว้ ๗ ประการ เป็นจุดต้งั ตน้ และเปน็ ตวั ประกอบท่ีเก้ือหนุนต่อการศึกษา เรยี กว่า เป็นบพุ นมิ ติ แหง่ อรยิ มรรค หรือรงุ่ อรุณของ การศึกษา นำไปสู่การดำเนนิ ชีวิตทถี่ ูกตอ้ งและเป็นบพุ ภาคของการศึกษา หลัก ๗ ประการ

ช่ือ......นางมีนา สุขชุ่ม ............... รหสั ........... 6420140432023.........................คะแนน............. ๑. กลั ยาณมติ ตตา ความมกี ัลยาณมิตร หรอื ความรู้จักเลอื กหากัลยาณมิตร มสี ภาพแวดล้อมทาง สงั คมที่ดี ๒. สีลสัมปทา การทำศีลให้ถึงพร้อม หรือการสร้างสรรค์ความมีวินัยในการดำเนินชีวิต และ ความสัมพนั ธ์ท่ีดใี นสังคม ๓. ฉันทสมั ปทา การทำฉันทะให้ถงึ พร้อม ก็คือ การสร้างแรงจงู ใจที่ถูกต้องในการศกึ ษา การมคี วาม ใฝส่ ัจจะ ใฝ่ความดงี าม หรอื ใฝร่ ู้ ใฝส่ รา้ งสรรค์ ๔. อัตตสมั ปทา อัตตะ แปลว่าตน อตั ตสัมปทา กค็ ือ การทำตนใหถ้ ึงพร้อม ขยายความออกไปว่า การทำศักยภาพของตนใหเ้ ขา้ ถงึ ความสมบรู ณ์ ๕. ทฏิ ฐิสมั ปทา ทศั นคติ ค่านิยมตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดข้นึ จากการหลอ่ หลอมทางสังคม สภาพแวดล้อม ๖. อัปปมาทสมั ปทา การทำความไม่ประมาทใหถ้ ึงพรอ้ ม ๗. โยนโิ สมนสิการสมั ปทา การทำโยนโิ สมนสิการใหถ้ งึ พรอ้ ม คือการรจู้ ักคิด หรอื คดิ เป็น 2.3 กัลยาณมติ รธรรม 7 (องคค์ ณุ ของกัลยาณมติ ร, คณุ สมบัติของมติ รดหี รือมติ รแท้ คือทา่ นท่ีคบ หรอื เขา้ หาแล้วจะเป็นเหตุใหเ้ กิดความดงี ามและความเจริญ 1. ปิโย (นา่ รกั ในฐานเป็นทส่ี บายใจและสนทิ สนม ชวนให้อยากเข้าไปปรึกษา ไต่ถาม) 2. ครุ (น่าเคารพ ในฐานประพฤตสิ มควรแก่ฐานะ ใหเ้ กิดความรสู้ ึกอบอุ่นใจ เป็นท่ีพึ่งใจ และ ปลอดภยั ) 3. ภาวนีโย (น่าเจริญใจ หรอื น่ายกย่อง ในฐานทรงคณุ คือความรแู้ ละภูมิปญั ญาแทจ้ รงิ ทงั้ เปน็ ผู้ ฝกึ อบรมและปรบั ปรุงตนอยู่เสมอ ควรเอาอย่าง ทำให้ระลึกและเอย่ อ้างดว้ ยซาบซง้ึ ภมู ิใจ) 4. วตตฺ า จ (รูจ้ ักพูดใหไ้ ด้ผล รู้จกั ชีแ้ จงให้เข้าใจ รู้วา่ เม่ือไรควรพดู อะไรอย่างไร คอยใหค้ ำแนะนำ วา่ กล่าวตกั เตอื น เป็นที่ปรึกษาที่ดี) 5. วจนกขฺ โม (อดทนต่อถ้อยคำ คือ พร้อมท่ีจะรบั ฟงั คำปรึกษาซักถามคำเสนอแนะวิพากษ์วิจารณ์ อดทน ฟังได้ไม่เบื่อ ไม่ฉุนเฉยี ว 6. คมภฺ รี ญฺจ กถํ กตตฺ า (แถลงเรื่องลำ้ ลึกได้ สามารถอธิบายเรอ่ื งย่งุ ยากซบั ซ้อน ใหเ้ ข้าใจ และให้ เรียนรเู้ รอื่ งราวท่ลี ึกซ้ึงย่งิ ขนึ้ ไป) 7. โน จฏฐฺ าเน นิโยชเย (ไมช่ กั นำในอฐาน คือ ไม่แนะนำในเรือ่ งเหลวไหล หรอื ชกั จูงไปในทาง เสือ่ มเสยี )

ชื่อ......นางมีนา สุขชมุ่ ............... รหัส........... 6420140432023.........................คะแนน............. 2.4 มรรค ในฐานะพรหมจรรย์ หรือพุทธจริยธรรม พรหมจรรย์ หรือจรยิ ธรรมอันประเสรฐิ หรือจริยธรรมตามหลกั พระพุทธศาสนานั้น กค็ ือ มรรค หรอื มัชฌิมาปฏิปทาน้ีเอง และพรหมจารี หรอื ผูป้ ระพฤติพรหมจรรย์ หรือผมู้ จี ริยธรรมตามหลกั พระพทุ ธศาสนา ก็ คอื ผดู้ ำเนินชวี ิตตามมรรค หรือปฏิบตั ิตามมชั ฌิมาปฏิปทาที่จะนำไปสจู่ ุดหมาย คอื ความดับทกุ ข์ หรือความสุด สิ้นปัญหา อยู่อย่างเป็นอิสระไร้ทุกข์ มัชฌิมาปฏิปทา มี ๔ กระบวนการ คือ ๑. การเริม่ ต้น ปรโตโฆสะท่ีดีและโยนโิ สมนสกิ าร คอื การพบหลักธรรมและกระบวนการ พจิ ารณอย่าง รอบครอบ จะนำไปสู่ สัมมาทิฏฐิ คอื การมีความคดิ ไปในทางทีด่ ี ๒. การศกึ ษา ประกอบดว้ ย ศีล สมาธิ และปัญญา ๓. ชวี ิตประเสรฐิ (มรรค) มที ้งั หมด ๘ ประการคือ สมั มาทิฏฐิ สัมมาสังกปั ปะ สัมมาวาจา สัมมากมั มันตะ สัมมาอาชีวะ สมั มาวายามะ สัมมาสติ และสัมมาสมาธิ 4. จุดมุง่ หมาย จุดหมายสงู สุดของพระพุทธศาสนา หรือพรหมจริยะน้ี ก็คือนิพพาน ซึ่งมชี อื่ เรยี ก อยา่ งหนงึ่ วา่ “ปรมัตถ์” หรือ “ปรมตั ถะ” แปลวา่ ประโยชน์อยา่ งยิง่ หรอื จุดหมายสูงสุด เปน็ ธรรมดาว่า ใน การสอนธรรม จะต้องเนน้ และเรง่ เร้าใหป้ ฏิบัติเพือ่ บรรลุจดุ หมายสงู สุด พระพุทธศาสนามิได้มองข้ามประโยชนห์ รอื จุดหมายขัน้ รองลดหล่ันกันลงมา ทมี่ นุษยจ์ ะพงึ ได้พงึ ถึง ตามระดบั ความพรอ้ มของตน และก็ไดจ้ ำแนกจัดวางเป็นหลักไว้ด้วยจุดหมายน้ีแบ่งเป็น 3 ชนั้ คอื ๑. ทิฏฐธัมมิกตั ถะ ๒. สมั ปรายกิ ัตถะ 3. ปรมัตถะ เป็นจดุ หมายสูงสุด หรือท่หี มายขน้ั สดุ ท้าย ******************************************

ชอื่ วา่ ที่ ร.ต.หญงิ นันท์ชณฐั พร นามสกุล นาคพล้ัง รหสั 6420140432006 คะแนน............. สรุป ใจความสำคญั ของคำว่า ชีวิตควรเปน็ อยู่อยา่ งไร : อริยมรรค มอี งค์ 8 บรรยายโดย พระมหาสนั ตริ าษฎร์ ญานสนฺต,ิ ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนอื้ หา (ไม่เกิน ๓ บรรทดั ) ชีวติ ของคนเรานั้นล้วนเป็นไตรลกั ษณ์ ส่ิงท่ีจะสามารถนำตนไปให้ดำรงอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข คือ มรรค หรือทางสายกลาง ที่มีองค์ประกอบ คือ ไตรรัตน์ เพราะไตรรัตน์เป็นกัลยาณมิตรท่ีดีที่สุดของโลก และมคี วามเช่ือมโยงกบั ไตรสิกขา ๒. เนอ้ื หาใจความสำคญั หลกั การปฏิบัตเิ พ่ือเขา้ สมู่ รรค มี ๓ หลัก คือ ๑. ปัญญาวุฒธิ รรม ๔ ดงั น้ี - สปั ปุริสสงั เสวะ หมายถึงการอยใู่ กลค้ นดี ใกล้ผูร้ ู้ มคี รู อาจารยด์ ี มขี ้อมูล มสี อ่ื ทีด่ ี - สัทธมั มัสสวนะ หมายถึง เอาใจใสศ่ ึกษาโดยมหี ลักสูตร การเรียนการสอนที่ดี - โยนิโสมนสิการ หมายถงึ มีกระบวนการคิดวเิ คราะห์พจิ ารณาหาเหตผุ ลที่ดแี ละถูกวธิ ี - ธมั มานธุ มั มปฏิปัตติ หมายถงึ ความสามารถนำความร้ไู ปใช้ในชวี ิตได้ถกู ต้องเหมาะสม ๒. มัชฌิมาปฏิปทาหรือทางสายกลาง ในศาสนาพุทธ หมายถงึ การไม่ยึดถือสดุ ทางท้ัง 2 ไดแ้ ก่ - อัตตกลิ มถานุโยค คอื การประกอบตนเองให้ลำบากเกินไป - กามสุขัลลิกานโุ ยค คือ การพัวพนั ในกามในความสบาย พระพุทธเจ้าทรงกำหนดหลักทางสายกลางนี้ไว้ชัดเจน คือ อริยมรรคมีองค์ 8 เมื่อย่นย่อแล้ว เรียก \"ไตรสกิ ขา\" ได้แก่ ศีล สมาธิ ปัญญา อริยมรรคมีองค์ 8 คือ สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ สัมมาวายามะ สัมมมาสติ สมั มาสมาธิ สมั มาทิฏฐิ และ สมั มาสงั กปั ปะ ๓. หลักพระรัตนตรัย คือ พระพุทธเจ้า, พระธรรม และพระสงฆ์ ซ่ึงเรียกเต็มว่าพุทธรัตนะ, ธรรมรตั นะ, สังฆรตั นะ บุพภาคของการศึกษา จดุ เริ่มต้น ๑.ปรโตโฆสะ ๒. โยนิโสมนสิการ กระบวนการของการศึกษา (ไตรสกิ ขา) ๑. อธิสีลสกิ ขา ๒. อธิจติ สิกขา ๓. อธิปญั ญาสกิ ขา กัลยาณมิตร หมายถึง คนที่คอยช่วยเหลือเพ่ือนอย่างจริงใจโดยไม่หวังส่ิงใดตอบแทน เป็นมิตรท่ีหวังดี มีส่ิงดี ๆ ให้ กันดว้ ยความจรงิ ใจ หากเรามกี ัลยาณมิตรทดี่ กี จ็ ะสามารถเข้าถึงแก่นของมรรคได้

ชื่อ ว่าที่ ร.ต.หญงิ นนั ทช์ ณัฐพร นามสกุล นาคพลงั้ รหสั 6420140432006 คะแนน............. กัลยาณมติ ร มอี งค์ประกอบ ดงั นี้ 1) ปิโย นา่ รัก ในฐานเปน็ ท่สี บายใจและสนทิ สนม ชวนใหอ้ ยากเขา้ ไปปรึกษา ไต่ถาม 2) ครุ น่าเคารพ ในฐานประพฤติสมควรแก่ฐานะ ให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ เป็นที่พ่ึงใจ และปลอดภัย 3) ภาวนโี ย น่าเจริญใจ หรือน่ายกย่อง ในฐานทรงคณุ คือ ความรู้และภูมิปัญญาแท้จริง ท้ัง เปน็ ผฝู้ ึกอบรมและปรบั ปรงุ ตนอยู่เสมอ ควรเอาอย่าง ทำให้ระลกึ และเอ่ยอา้ งดว้ ยซาบซงึ้ ภมู ิใจ 4) วตฺตา จ รู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักชี้แจงให้เข้าใจ รู้ว่าเมื่อไรควรพูดอะไรอย่างไร คอยให้ คำแนะนำว่ากล่าวตักเตอื น เปน็ ท่ีปรึกษาที่ดี 5) วจนกฺขโม อดทนต่อถ้อยคำ คือ พร้อมท่ีจะรับฟังคำปรึกษาซักถามคำเสนอแนะ วิพากษว์ จิ ารณ์ อดทน ฟังไดไ้ มเ่ บื่อ ไมฉ่ นุ เฉยี ว 6) คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา แถลงเร่ืองล้ำลึกได้ สามารถอธิบายเร่ืองยุ่งยากซับซ้อน ให้เข้าใจ และใหเ้ รยี นรเู้ รื่องราวทลี่ กึ ซงึ้ ยงิ่ ขึน้ ไป 7) โน จฏฐาเน นิโยชเย ไม่ชักนำในอฐาน คือ ไม่แนะนำในเร่ืองเหลวไหล หรือชักจูงไป ในทางเส่อื มเสยี บพุ นิมติ แหง่ มรรค 1. กลั ยาณมิตตตา (ความมกี ลั ยาณมติ ร) 2. สลี สัมปทา (ต้ังตนอยใู่ นวินยั และมีความประพฤติทว่ั ไปดงี าม) 3. ฉันทสมั ปทา (ความใฝ่ใจอยากจะทำกจิ หนา้ ที่และส่งิ ทั้งหลายท่ีเก่ียวข้องให้ดีงาม) 4. อัตตสมั ปทา (ความถึงพรอ้ มดว้ ยตนทฝี่ ึกดแี ล้ว) 5. ทิฏฐสิ ัมปทา (การตัง้ อยใู่ นหลกั ความคดิ ความเชื่อถอื ที่ถูกต้องดงี ามมีเหตุผล) 6. อปั ปมาทสัมปทา (ความถงึ พร้อมด้วยความไมป่ ระมาท) 7. โยนโิ สมนสกิ ารสมั ปทา (ความฉลาดคิดแยบคายให้เหน็ ความจรงิ และหาประโยชนไ์ ด้) ทิฏฐธมั มกิ ตั ถสังวติ ตนิกธรรม ๔ คือ ธรรมท่ีเปน็ ไปเพอื่ ประโยชน์ในปัจจุบนั หลักธรรมอันอำนวยประโยชนส์ ุขขั้นต้น มดี ังนี้ - อุฏฐานสัมปทา คือ พรอ้ มด้วยความขยัน หมั่นเพียร ในการประกอบสมั มาอาชีพ - อารักขสัมปทา คือ การเก็บรกั ษาทรัพยส์ ินทีไ่ ดม้ า โดยชอบธรรม - กลั ยาณมิตตา คอื การคบหาสมาคมกับคนดี มคี ณุ ธรรม มีน้ำใจและเป็นเพือ่ นทไ่ี ม่พาไปผลาญทรพั ย์ - สมชีวิตา คือ การใชจ้ า่ ยอยา่ งประหยดั พอเพียง ใชช้ ีวติ สมถะ ไมฟ่ ุม่ เฟอื ย

ช่ือ นางสาวเสาวนีย นามสกุล สนใจ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๗ คะแนน สรุป ใจความสำคญั เรอ่ื ง ชีวิตควรเปน อยอู ยา งไร : อรยิ มรรคมีองค ๘ บรรยาย โดยพระมหาสนั ตริ าษฎร ฌานสนฺติ, ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเน้ือหา (ไมเกนิ ๓ บรรทดั ) อรยิ มรรคมอี งค ๘ คอื ทางสายกลางตามหลกั จริยศาสตร การทจี่ ะไปสูทางสายกลางไดน ั้นมีองคประกอบ ที่สำคัญคือ การเขาถึงพระรัตนตรยั พระรัตนตรัยเปรียบเสมือนกัลยาณมิตรทีด่ ีที่สดุ ที่ประเสริฐที่สุดของเรา ซ่ึง กระบวนการศกึ ษาและปฏบิ ัตจิ ะเชือ่ มโยงกับหลักธรรมไตรสกิ ขา คอื การเกดิ ศลี สมาธิ และปญญา เปนสำคัญ ๒. เน้อื หาใจความสำคัญ อริยมรรคมีองค ๘ มรรค หมายถึง ทางสายกลาง ซง่ึ จดั วา อยูในหลักจริยศาสตร ๒.๑ หลักการปฏบิ ัตเิ พื่อเขาสูมรรค ปญญวุฑฒฺ ิธรรม ๔ คือ การดำเนินตามมัชฌิมาปฏิปทา หรือ การดำเนินตามทางสายกลาง 1. สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง มีกัลยาณมิตร การมีสังคมที่ดี เพราะคุณภาพของสมั คมมีผลตอการปฏิบตั ิ ตามทางสายกลาง ซง่ึ กลั ยาณมิตรทด่ี ีท่สี ดุ ที่ประเสรฐิ ทสี่ ุดตามหลักพระพุทธศาสนา คอื พระรัตนตรัย 2. สัทธรรมสวนะ หมายถงึ ปรโตโฆสะทีด่ ี การรับฟงส่ิงที่ดี การรบั ฟงขอคิดเหน็ แนวความคิด แนวทาง ในการดำเนนิ ชวี ิตทด่ี ี ๆ จากผรู ู 3. โยนโิ สมนสิการ หมายถึง การรูจ กั คิด, การพจิ ารณาโดยแยบคาย, การคิดถกู วิธี เมื่อเรามีเพ่ือที่ดี อยูในสังคมที่ดี มีองคความรูที่ดีแลว องคประกอบตอมาคือ การคิดพินิจพิจารณา การ ใครครวญกระบวนการจัดการองคค วามรูท ดี่ ี ๔. ธรรมานุธรรมปฏิบัติ หมายถงึ การนำหลักตาง ๆ ท่ีไดไ ปประพฤตปิ ฏิบตั ิ เพอ่ื ใหก ารดำเนนิ เปน ไปตามหลกั ธรรมมรรคมอี งค ๘ หรือหลกั ทางสายกลาง หลกั การปฏบิ ัติท้ัง ๔ ขอท่ี กลาวมาขางตนน้ไี มส ามารถแยกออกจากกนั ได ๒.๒ บุพภาคของการศึกษา (องคป ระกอบการศึกษา) ประกอบไปดว ย จดุ เริม่ ตนของการศกึ ษา คอื ๒.๒.๑ ปรโตโฆสะทด่ี ี คือ การรบั ฟง ความคิดเห็นของผอู ่นื ซงึ่ มีอทิ ธพิ ลมาจากภายนอกรางกายของเรา ๒.๒.๒ โยนิโสมนสกิ าร คอื การรจู กั คดิ คดิ ถกู วิธี เปนปจจยั ภายในรา งกายของเรา สำหรับกระบวนการของการศกึ ษา คือ การไปสูไ ตรสกิ ขา ประกอบไปดว ย ๑) อธิสลี สกิ ขา - ความประพฤติ วินัย สจุ รติ กายวาจา และอาชพี ๒) อธจิ ติ สิกขา - คณุ ธรรม คณุ ภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจติ ๓) อธิปญ ญา - ความเชื่อ คา นิยม ความคิดท่ถี ูกตอ งดงี าม ๒.๓ ความสำคญั ของกลั ยาณมิตร ๑) เปน ตวั นำ เปน บุพนมิ ติ แหง การเกดิ มรรคมีองค ๘ ๒) กยั าณมติ จะชว ยเยยี วยาความทกุ ขท ม่ี ีใหห มดไป จงึ อาจกลาวไดวา ศาสนา คอื กลั ยาณมิตทดี่ ที ่ีสุด และกัลยาณมิตรท่ีดีท่ีสุดคือ พระรตั นตรยั อนั ประกอบ ไปดว ย พระพทุ ธ พระธรรม และพระสงฆ

ช่อื นางสาวเสาวนีย นามสกุล สนใจ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๗ คะแนน ๒.๔ รุงอรณุ ของการศกึ ษา (บพุ นมิ ติ แหง มรรค , แสงเงนิ แสงทองของชวี ิตท่ดี )ี ประกอบไปดวย ๑) กัลยาณมิตตตา การรูจ กั หารแหลงความรแู ละแบบอยา งท่ดี ี ๒) สลี สมั ปทา มชี ีวิตและอยใู นสังคมที่เปนสงั คมทมี่ รี ะเบียบวินัย ๓) ฉันทะสมั ปทา แรงจงู ใจ ความศรทั ธา ความเล่ือมใส ความพรอมท่ีจะทำสง่ิ ใดส่งิ หนง่ึ เพราะ “แรงบันดาลใจเปนส่งิ สำคัญในการเรยี นร”ู ๔) อัตตสมั ปทา มุงพฒั นาตนใหเ ตม็ ศกั ยภาพ ๕) ทิฏฐิสัมปทา ทศั นคติ คานยิ มตา ง ๆ ท่ีเกิดข้นึ จากการหลอหลอมทางสงั คม สภาพแวดลอม ๖) อปั ปมาทสัมปทา ความไมป ระมาท ความตืน่ ตัว ความมีสติ ๗) โยนิโสมนสกิ ารสัมปทา ความมีปญ ญาพจิ ารณา ซึง่ อาจสรุปไดวา การปฏบิ ัติตามทางสายกลาง ตอ งมอี งคป ระกอบท่สี ำคัญ ๗ ประการขางตน หากขาดขอ ใดขอหนึ่งไป การปฏิบัติเพื่อใหบ รรลุตามหลักไตรสขิ าก็มิอาจเกิดข้ึนไดส มบูรณ ซึ่งจะสงผลทำใหการทำงานของ มรรคมีองค ๘ ก็จะไมสมบูรณและไมสามารถเจริญงอกงามได ตรงกันขามหากมีองคประกอบที่สำคัญครบทั้ง ๗ ประการ กจ็ ะทำใหก ารทำงานของมรรคมอี งค ๘ สมบูรณแ ละเจริญงอกงามตามลำดับ ๒.๕ องคประกอบของกัลยาณมติ ตธรรม องคค ณุ ของกลั ยาณมติ ร, คุณสมบตั ขิ องมิตรดีหรอื มิตรแท 1. ปโย - นารกั ในฐานเปนที่สบายใจและสนิทสนม ชวนใหอยากเขาไปปรกึ ษา ไตถาม 2. ครุ - นา เคารพ ในฐานประพฤตสิ มควรแกฐ านะ ใหเกิดความรสู ึกอบอนุ ใจ เปนที่พึง่ ใจ และปลอดภัย 3. ภาวนีโย - นาเจริญใจ หรือนายกยอง ในฐานทรงคุณคอื ความรูและภูมิปญญาแทจริง ทั้งเปนผูฝกอบรม และปรบั ปรงุ ตนอยูเสมอ ควรเอาอยา ง ทำใหระลึกและเอย อางดวยซาบซง้ึ ภูมิใจ 4. วตฺตา จ - รูจักพูดใหไดผล รูจักชีแ้ จงใหเ ขาใจ รูวาเมื่อไรควรพูดอะไรอยางไร คอยใหคำแนะนำวากลาว ตักเตือน เปนท่ปี รกึ ษาทด่ี ี 5. วจนกฺขโม - อดทนตอถอ ยคำ คือ พรอมทีจ่ ะรับฟงคำปรึกษาซักถามคำเสนอแนะวิพากษวิจารณ อดทน ฟง ไดไ มเบื่อ ไมฉนุ เฉยี ว 6. คมฺภีรฺจ กถํ กตฺตา - แถลงเรื่องล้ำลึกได สามารถอธิบายเรื่องยุงยากซับซอน ใหเขาใจ และใหเรียนรู เรื่องราวทีล่ ึกซ้งึ ย่ิงข้นึ ไป 7. โน จฐ าเน นโิ ยชเย - ไมชกั นำในอฐาน คอื ไมแนะนำในเรือ่ งเหลวไหล หรอื ชักจงู ไปในทางเสื่อมเสีย ๒.๖ การไปสูจดุ มุงหมาย ๓ ระดบั สามารถอธิบายไดด งั น้ี ๑) ศีล ประการแรกคอื การทไ่ี ดพบพระพุทธศาสนา ตามดวยการไดส ดับธรรม ซ่งึ หมายถึง การศึกษาเชิงลึกตาม หลักแนวความคิดที่องคสัมมาสัมพุทธเจาไดตรัสไว จากนั้นจะเกิดความศรัทธา แลวสงผลใหออกบวช และเกิด อรยิ ศีลเปนลำดับ ๒) สมาธิ เริ่มตนจากการพัฒนาอินทรียสังวรโดยการนั่งสมาธจิ ะเกิดผลดที ีส่ ุด เมื่อเกิดสติสัมปชัญญะ + สันโดษ ก็ จะชว ยใหช ำระนิวรณไดหมดสิน้ และเกิดฌาน ๔ คอื การทำใหใ จมีพลงั มอี นภุ าพมาก ๓) ปญญา เมื่อมีศีล สมาธิ ก็จะเกิดปญญา ตามหลักธรรมวิชชา ๓ หมายถึง สามารถระลึกถึงอดีตชาติได และ สามารถเอาชนะกิเลสได สง ผลใหห ลดุ พนจากการเวยี นวา ยตายเกิด

ชื่อ นางสาวเสาวนยี  นามสกุล สนใจ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๗ คะแนน สรุป มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง เปนหนทางที่องคสัมมาสัมพุทธเจาไดปฏิบัติดวยพระองคเอง และทำใหพ ระองคไ ดคน พบหนทางแหงการดบั ทุกข ซ่งึ นั่นคอื หลักธรรมมรรคมีองค ๘ นับวา เปนหลกั จรยิ ศาสตรที่ มนุษยท ุกคนพงึ กระทำใหเกดิ ขน้ึ ในตนเอง หากสามารถปฏิบตั ไิ ดก็จะทำใหการดำเนนิ ชีวิตเปนไปอยา งราบร่นื สงบ ปราศจากความทกุ ข ตามหลกั ทางสายกลางตามที่พระพุทธองคไดตรัสไว ประเด็นคำถาม อยากทราบวาพระอาจารยมีวิธีการงาย ๆ ท่ีจะแนะนำเกีย่ วกับเรื่องการปฏิบัติเพื่อใหไปสูทางสายกลาง บา งไหมคะ เพราะในความเปนจรงิ ชวี ติ เราตองเจอกับเรอื่ งราวที่เกดิ ขึน้ มากมาย ตอใหเราจะบอกตัวเองวาอยายึด ตดิ ใหเ ดินทางสายกลางแตก ็ไมส ามารถที่จะใชไ ดก ับทกุ ๆ เรอื่ งคะ

ชือ่ . นายอภนิ นั ท์ นามสกลุ . แสงแกว้ รหสั . 6420140432019 คะแนน.......... สรปุ ใจความสำคัญของชวี ิตควรเปน็ อยู่อยา่ งไร : อรยิ มรรค มีองค์ 8 พระมหาสันติราษฎร์ ฌานสน.ต,ิ ดร. บรรยาย --------------------------- ภาพรวมของเนอื้ หา ในทางพระพุทธศาสนา หลักในการปฏิบัติเพื่อบรรลุเป้าหมายสูงสุดของชีวิต ด้วยรูปแบบการพัฒนาชีวิตตามหลักพระพุทธศาสนา มัชฌิมาปฏิปทา อริยมรรค มีองค์ 8 “ทางสายกลาง” ถือเปน็ จดุ มุ่งหมายสูงสุดของชีวติ ทที่ กุ คนแสวงหาในปัจจบุ นั เนื้อหาใจความสำคัญ 2.1 ชวี ิตควรเปน็ อยู่อย่างไร : อริยมรรค มอี งค์ 8 หลักการปฏิบัติเพื่อเข้าสู่มรรค เป็นหลักการท่ีนำไปสู้รูปแบบการพัฒนาชีวิตตามหลัก พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า ว ่ า ช ี ว ิ ต น ั ้ น ค ว ร เ ป ็ น อ ย ู ่ อ ย ่ า ง ไ ร จ ึ ง จ ะ ช ื ่ อ ว ่ า เ ป ็ น ผ ู ้ ด ำ เ น ิ น ช ี ว ิ ต ถ ู ก ต ้ อ ง ต า ม ห ลั ก มชั ฌิมาปฏิปทา มัชฌิมาปฏิปทา หมายถึง ทางสายกลาง การเดินทางสายกลางได้ต้องเริ่มต้น ด้วยหลัก สำคัญ ๔ ประการ ดงั น้ี ๑. สปั ปุริสสังเสวะ คอื มีกลั ยาณมติ ร อยู่ในสงั คมที่ดี การอย่ใู กลค้ นดี ใกล้ผรู้ ู้ มีครู อาจารย์ดี มขี ้อมลู มีสอ่ื ทด่ี ี และในทางพระพทุ ธสาสนาพระพุทธเจา้ ทรงตรัสไวว้ ่า กลั ยาณมิตรทด่ี ีท่ีสุดนัน้ ก็คือพระ รัตนตรยั เปน็ แนวทางนำเราไปสู้การดำเนินตามหลักมชั ฌมิ าปฏปิ ทา ๒. สัทธรรมสวนะ คือ การรับฟังสิ่งดีๆ ฟังธรรมมะ ความรู้ที่ดี วิสัยทัศน์ที่ดี กระบวนการใน การศึกษาทั้งหมดเรียกว่า สัทธรรมสวนะ คือการมีโอกาสได้รับฟังข้อคิดเห้นจากคนที่เป็นสัตบุรุษ คนที่เป็น นักปราชญ์ คนท่ีให้แรงบนั ดาลใจ คนที่ใหท้ ัศนคติทด่ี งี าม สงิ่ เหล่านี้เกิดจากการอยูใ่ นสังคมทด่ี ีซึ่งสัมพันธ์กับข้อ แรก ๓. โยนโิ สมนสกิ าร คอื กระบวนการศึกษา คดิ วิเคราะหพ์ จิ ารณาหาเหตุผลท่ดี แี ละถูกวธิ ี ๔. ธรรมมานุธรรมปฏิบตั ิ คือ ความสามารถนำความรไู้ ปใช้ในชวี ติ ไดถ้ กู ต้องเหมาะสม สรุปไดว้ า่ 4 องค์ประกอบน้ี ถอื ว่าเป็นหลกั การปฏบิ ตั ิ เพ่ือทีจ่ ะดำเนินไปตามอริยมรรคมีองค์ 8 มัชฌิมาปฏปิ ทา หรอื ทางสายกลาง ไมส่ ามารถแยกจากกนั ได้ พระมหาสันติราษฎร์ ฌานสน.ติ, ดร. ท่านมีข้อเสนอแนะแนวทางจากประสบการณ์ของตัว ท่านเอง มุมมองการในการนำธรรมะมาปฏบิ ตั ดิ ำเนินชวี ิต ด้วยรปู แบบการมองธรรมะในแงข้ องวทิ ยาศาสตร์

ชือ่ . นายอภนิ ันท์ นามสกุล. แสงแกว้ รหัส. 6420140432019 คะแนน.......... 2.2 บพุ ภาคของการศกึ ษา องคป์ ระกอบท่เี ป็นจุดเริ่มตน้ หรือแหลง่ ทม่ี าของการศึกษาน้ันกค็ ือ 1.) ปรโตโฆสะที่ดี คือ การรับฟังขอ้ คดิ เหน็ เสียงจากผูอ้ ่นื อทิ ธิพลจากภายนอก 2.) โยนโิ สมนสกิ าร คอื การพิจารณาใครค่ ราญ แสวงหาความรู้ต่างๆ และการรู้จักคิด คดิ ถูก วธิ ี ปจั จยั ภายใน ท้ัง 2 ปจั จยั น้ีจะนำไปสกู้ ระบวนการศึกษาท่ีเรียกวา่ ไตรสิกขา (ศลี สมาธิ ปญั ญา) 2.3 ความสำคัญของกัลยาณมติ ร สังคมอุดมปัญญาจะสร้างขึ้นได้ต้องอาศัยกัลยาณมิตร อาศัยสังคมที่ดีเป็นแนวทางที่ดี ไปสู่การปฏิบตั ิตามหลักอริยมรรค มีองค์ 8 ทางสายกลาง กัลยาณมิตรหรือสังคมที่ดีมีส่วนสำคญั อย่างไรบ้าง ดังที่พระผู้มีพระภาคตรัสว่า “สังคมที่ดีเหมือนกับแสงอรุณที่ขึ้นมาในช่วงเช้าเป้นแสงแรกของแสงอรุณ ความ สวา่ งท่ีจะเกิดข้นึ ต่อสงั คม ต้องจะเกดิ ขึ้นจากสงั คมทด่ี มี ีกัลยาณมติ รท่ดี ี มคี นที่ดี ” เป็นตน้ 2.4 รุ่งอรณุ ของการศกึ ษา การศึกษาตามหลักอริยมรรค มีองค์ 8 หรอื ไตรสกิ ขา ประกอบด้วย • กลั ป์ยาณมิตตตา – ร้จู ักเลอื กหาแหลง่ ความรู้และแบบอย่างทีด่ ี • สีลสัมปทา – ถึงพร้อมดว้ ยศีล มชี ีวิตและอยูร่ ว่ มสังคมเป็นระเบยี บด้วยวนิ ัย • ฉันทะสัมปทา – พร้อมด้วยแรงจูงใจใฝร่ ู้ ใฝ่สรา้ งสรรค์ • อตั ตสมั ปทา - มุ่งม่นั พฒั นาตนให้เต็มศักยภาพ • ทิฏฐิสัมปทา – ปรับทศั นคติและค่านิยมต่างๆ • อัปปมาทสัมปทา - มสี ติ กระตอื รือร้น ต่ืนตัวทุกเวลา • โยนิโสมนสิการสัมปทา - แกไ้ ขปญั หาและพึงพาตนได้ดว้ ยความรู้คิด สรปุ ไดว้ ่า รงุ่ อรณุ ของการศึกษาคือบุพพนิมิต ในการที่จะนำไปสู่การปฏบิ ัติทางสายกลางทด่ี ไี ด้ 2.5 กลั ยาณมติ ตธรรม ๑) ปิโย - น่ารัก น่าเคารพศรัทธา ๒) คะรุ - นา่ เคารพ มีความหนกั แนน่ สขุ มุ ๓ฉ ภาวะนีโย - น่ายกย่อง ดำรงตนอยู่ในคุณความรู้หรือภูมิธรรมได้อย่างน่ายกย่อง ๔) วัตตาจะ - รูจ้ กั พูดให้ไดผ้ ล ให้คำแนะนำปรึกษาวา่ กลา่ วตักเตอื นผู้อืน่ ได้อยา่ งถูกต้อง ๕) วะจะนกั ขะโม - อดทนตอ่ ถอ้ ยคำบุคคลอ่นื การวิพากษ์วจิ ารณ์ ๖) คัมภรี ัญจะ กะถัง กตั ตา - แถลงถงึ เรื่องลำ้ ลึกได้ แสดงอรรถธรรมได้ลึกซึง้ ๗) โน จฏั ฐาเน นโิ ยชะเย – ไมแ่ นะนำในเรอื่ งท่เี หลวไหล 2.6 ปญุ ญสิกขา ในเรื่องของการฝึกฝนในเรือ่ งความดี ในเบื้องต้นในสังคมนั้น เริ่มต้นจาก ปุญญสิกขา เริ่มต้น การฝกึ ฝนปฏบิ ตั อิ บรมในเรือ่ งความดี การทำใหค้ นเจริญงอกงามขนึ้ ในความดตี ่างๆ ดว้ ย ทาน ศีล ภาวนา และ หลักปุญญสิกขาก็จะเอื้ออำนวยต่อหลักไตรสิกขา หลังจากนั้น มรรค มีองค์8 และ ภาวนา4 ซึ่งเป็นเรื่องท่ี สงู ขึน้ ตามลำดบั

ชอ่ื . นายอภนิ นั ท์ นามสกลุ . แสงแกว้ รหัส. 6420140432019 คะแนน.......... 2.7 มัชฌมิ าปฏิปทา หลักมัชฌิมาปฏิปทาที่มีความสัมพันธ์กันกับหลักไตรสิกขาและประโยชน์อันสูงสุดในชีวิต มดี ว้ ยกนั อยู่ 4 กระบวนการ ดงั ต่อไปนี้ 1. กระบวนการ จดุ เรม่ิ /เครื่องสง่ เสริม (ปจั จัยของสัมมาทฏิ ฐิ) เป้าหมายในทางพระพทุ ธศาสนา มีอยู่ 3 ระดับ คอื 1.1 ทิฏฐธมั มิกัตถะ คอื เพอื่ ประโยชน์ในปจั จุบันนีม้ ี 4 ประการ \"อุ อา กะ สะ\" คือ • เป้าหมายในการมุง่ ม่ันขยนั อดทนทำในสง่ิ หน่ึงใหบ้ รรลุเปา้ หมาย • เปา้ หมายความมั่นคง การได้รบั ความคุ้มครองความปลอดภัย • เปา้ หมายการมสี ังคมท่ีดี บริบททด่ี ี มีครอบครัวท่ดี ี คนรอบข้างที่ดี • เปา้ หมายคุณภาพของชวี ิตที่ดี อยู่อยา่ งพอเพียง 1.2 สัมปรายิกัตถะ คือ ประโยชน์ภายหน้า มุ่งถึงสวรรค์ ภพหน้า ถึงพร้อมด้วย ศรัทธา ศีล การบรจิ าค และปัญญา 1.3 ปรมัตถธรรม คือ ธรรมชาติที่เป็นความจริงแท้แน่นอน หรือสภาวธรรม ประกอบด้วย จิต เจตสกิ รูป และนพิ พานจุดมงุ่ หมายสงู สดุ ชวี ติ 2. กระบวนการของการศึกษา (ไตรสกิ ขา) คอื กระบวนการ ศลี สมาธิ ปญั ญา 2.1 ศีล คือ เริ่มต้นพบพระพุทธเจ้าก็คือพบพระพุทธศาสนา การสดับธรรม การศึกษาเชิงลึก เกิดความศรัทธา และออกบวช ก็สามารถบรรลุเป้าหมาย สงู สุดได้ และแมไ้ ม่ออกบวชก็ไปถึงจดุ สูงสดุ เป้าหมายไดเ้ ชน่ กัน 2.2 สมาธิ คือ กระบวนการพฒั นาสำรวมอนิ ทรีย์ ๖ คอื ตา หู จมูก ล้นิ กาย ใจ 2.3 ปัญญา คือ ปัญญาในพระพุทธศาสนา วิชชา3 สามารถระลึกอดีตชาติ รู้จัก กำหนดจุตแิ ละเกดิ รูจ้ ักทำอาสวะใหส้ น้ิ สามารถเอาชนะกเิ ลสได้ 3. ชีวติ ประเสริฐ (มรรค) คือ หลักมรรคมีองค์ 8 ทงั้ หมด 4. จุดหมายของชีวิต (อัตถะ) คอื หลักมชั ฌิมาปฏิปทา กระบวนมรรคมีองค์ 8 การเดินทาง สายกลง

ชอ่ื นางสาวลัดดาวัลย์ นามสกลุ ทองแก้ว รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๓๒๐๑๖ สรปุ ใจความสาคัญของมรรคมอี งค์ ๘ บรรยาย โดยพระมหาสันตริ าษฎร ฌานสนติ, ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนื้อหา พระพุทธศาสนาเป็นแนวทางวิทยาศาสตร์ที่สอนให้มองเห็นความเป็นจริง ในเร่ืองของการ พัฒนาชีวิตจากจุดเริ่มต้นไปยังจุดที่สูงสุดโดยใช้หลักมัชฌิมาปฏิปทา หรือทางสายกลาง ประกอบด้วยอริยมรรค มีองค์ ๘ คือ ข้อปฏบิ ัติ ๘ ขอ้ เปน็ แนวทางทีพ่ ระพุทธเจ้าใช้ในการหลดุ พ้น การเวยี นวา่ ยตายเกดิ เพื่อไปส่พู ระนพิ พาน ๒. เนือ้ หาใจความสาคญั ๒.๑ หลกั การปฏบิ ตั ิเพอื่ เขา้ สูม่ รรค อริยมรรคมีองค์ ๘ มรรค หมายถงึ ทางสายกลาง ซ่งึ จัดวาอยใู่ นหลกั จรยิ ศาสตร์ มัชฌิมาปฏิปทาคือ ทางสายกลางซึ่งมีข้อธรรมที่สามารถนาไปสู่ทางสายกลางได้นั่นคือ พระ รตั นตรัย ซึง่ ประกอบด้วยการปฏบิ ตั ทิ ง้ั ๔ ประการดงั นี้ ๑) สัปปุริสสังเสวะ (กัลยาณมิตรที่ดี) เป็นแนวทางนาไปสู่การดาเนินชีวิตท่ีดี คือ การได้ พบกบั พระรตั นตรัย ๒) สัทธรรมสวนะ (ปรโตโฆสะท่ดี ี) การเขา้ ถงึ พระธรรม หลักธรรม ๓) โยนิโสมนสิการ การพิจารณาทุกสิ่งทุกอย่าง โดยละเอียดรอบครอบ กระบวนการคิดที่ นาไปสกู่ ารประยุกตใ์ ช้ ๔) ธรรมานธุ รรมปฏบิ ตั ิ (มรรค) เรม่ิ เข้ารว่ มนาไปสสู่ งั ฆะ ๒.๒ บพุ ภาคของการศกึ ษา บพุ ภาคของการศกึ ษา จดุ เริ่มต้นแหลง่ ทมี่ าของการศึกษา ๑. ปรโตโฆสะทด่ี ี คือ เสียงจากผู้อืน่ อิทธิพลจากภายนอก ๒. โยนิโสมนสิการ คือ รจู้ ักคดิ คิดถกู วธิ ีปจั จัยภายในรา่ งกาย กระบวนการของการศกึ ษา นาไปสู่ไตรสกิ ขา ประกอบดว้ ย ๑. อธิสีลสกิ ขา คอื ความประพฤติ วินัย สจุ ริตกายวาจา และอาชีพ ๒. อธิจิตสกิ ขา คอื คุณธรรม คณุ ภาพ สุขภาพ และสมรรถภาพของจิต ๓. อธปิ ญั ญาสิกขา คือ ความเชือ่ ค่านยิ ม ความรู้ ความคดิ ถกู ตอ้ งดีงามตรงตามจรงิ

ช่อื นางสาวลดั ดาวลั ย์ นามสกลุ ทองแกว้ รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๓๒๐๑๖ ๒.๓ ความสาคัญของกัลยาณมิตร คือ กัลยาณมิตรที่ดีจะทาให้เกิดความสว่างที่จะเกิดขึ้นซ่ึงการ จะพบกับความสวา่ งได้นั้นมาจากการพบพระรตั นตรัย ๒.๔ มัชฌิมาปฏปิ ทา จุดหมายของชีวติ ทีท่ าใหก้ ารดาเนินชวี ติ บรรลตุ ามเป้าหมายแบ่งออกเปน็ ๓ เปา้ หมาย คอื ๑. ทิฏฐิธัมมิกัตถะ (เป้าหมาย) ประกอบด้วย มีความขยันหมั่นเพียร ต้องการ ความมั่นคง ความคุ้มครอง ความปลอดภัย ต้องการสังคมที่ดี ครอบครัวและบริวารที่ดีและมีสามารถใน การ เลย้ี งชีวติ ความเป็นอยู่ทดี่ ี มีคุณภาพได้ ๒. สมั ปรายกิ ตั ถะ (เป้าหมายในภพภมู ิทดี่ ี) คอื เม่ือลว่ งลับไปแล้วตอ้ งการไปอยู่ในภพภูมิที่ ดี ๓. ปรมัตถะ (เป้าหมายนิพพาน) คือต้องการท่ีจะหลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ไปสู่ พระนพิ พาน

ช่อื ....นายคณุ ากรณ์...นามสกลุ ...พงษายอยคา.... รหสั .. 642014043200๔ คะแนน............. สรุป ใจความสำคญั เร่อื ง อรยิ มรรค มีองค์ ๘ บรรยาย โดยสมภาร พรมทา ------- ๑. ภาพรวมของเน้อื หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) มรรค เป็นหนทางสู่ความดับทุกข์ (ซึ่งเป็นหนึ่งในอริยสัจ 4) หรือทางสายกลางในการใช้ชีวิต และการลงมือปฏิบัติเพื่อให้พ้นจากทุกข์ประกอบด้วยองค์ประกอบ 8 ประการอันเป็นหนทางอย่าง ประเสริฐหนทางผู้ไกลจากกเิ ลส ๒. เนอ้ื หาใจความสำคญั ๒.๑ ปัญญาวุฒิธรรม 4 การดำเนนิ ชีวิตตามมัชฌิมาปฏิปทา คือ หลกั พระรัตนตรับ ๑.คบคนดี (สปั ปรุ ิสสงั เสวะ) หมายถึง การเลอื กคบกับคนดเี ป็นมติ ร ๒.ฟงั คำแนะนำที่ดี (สัทธัมมสั สวนะ) หมายถึง การฟงั คำแนะนำทีด่ ีจากผมู้ ีคุณธรรมความรู้เพื่อ นำมาพฒั นาตนเอง และช่วยเหลอื ผู้อื่น ๓.คิดถูกวิธี (โยนิโสมนสกิ าร) หมายถึง การใช้ปญั ญาพิจารณาไตรต่ รองอย่างรอบคอบกอ่ น ๔.มือปฏิบัติปฏิบตั ถิ ูกต้องตามธรรม (ธมั มานุธมั มปฏิบตั ิติ) หมายถึง ปฏิบัตถิ ูกต้องเหมาะสม ตามทำนองคลองธรรม ไม่ก่อความเดอื ดร้อนแกต่ นเองและสังคม ๒.๒ บุพภาคของการศึกษา คือ รู้จกั องคป์ ระกอบทีเ่ ปน็ ปัจจยั แหง่ สัมมาทิฏฐิ ๒ ประการ ดงั นี้ ๑. องค์ประกอบภายนอกที่ดี ได้แก่ มีกลั ยาณมิตร หมายถึง รู้จักหาผู้แนะนำสง่ั สอน ที่ปรึกษา เพื่อน หนังสือ ตลอดจนสิ่งแวดล้อมทางสังคมโดยทั่วไปที่ดี ที่เกื้อกูล ซึ่งจะชักจูง หรือกระตุ้นให้เกิด ปัญญาได้ด้วยการฟัง การสนทนา ปรึกษา ซักถาม การอ่าน การค้นคว้า ตลอดจนการรู้จักเลือกใช้ สอ่ื มวลชนให้เป็นประโยชน์ ๒. องคป์ ระกอยภายในทีด่ ี ได้แก่ โยนิโสมนสกิ าร หมายถึง การใช้ความคิดถกู วิธี รู้จกั คิด หรือ คิดเป็น คือ มองสิ่งทั้งหลายดว้ ยความคิดพิจารณา สบื สาวหาเหตุผล แยกแยะสง่ิ นั้นๆ หรือปัญหาน้ันๆ ออกให้เหน็ ตามสภาวะและตามความสัมพันธ์แห่งเหตุปัจจัย จนเข้าถึงความจริง และแก้ปญั หาหรือทำ ประโยชนใ์ ห้เกิดขนึ้ ได้ ๒.๓ รุง่ อรุณของการศึกษา ชีวิตควรจะดำเนินไปอยา่ งไร กต็ ้องพฒั นาฝึกฝนชีวิตให้เป็นอยา่ งน้ันมรรคเป็นอย่างไร ก็ศึกษา ให้เป็นอย่างนั้น จึงลงตัวเป็นอนั เดียวกัน เมื่อเราปฏิบัติถูกต้อง ชีวิตคนนั้นก็เป็นการศึกษาไปในตัวเลย ตลอดเวลา ตกลงว่าการศึกษาเข้าไปอยู่ในตัวของชีวิตเองแล้ว ก็จบนี่แหละชีวิตที่เป็นการศึกษา ตาม หลักธรรมถือว่า ชีวิตคือการศึกษา แต่หมายถึงชีวิตที่ดำเนินถูกต้อง เมื่อดำเนินชีวิตถูกต้องก็เป็น

ชอ่ื ....นายคณุ ากรณ์...นามสกุล...พงษายอยคา.... รหสั .. 642014043200๔ คะแนน............. การศึกษาทันที เพราะชีวิตอย่างนั้นจะมีการพัฒนาตลอดเวลาด้วยการเรียนรู้จากประสบการณ์ และ การพยายามแก้ปัญหา แสงเงินแสงทองของชีวิตทีด่ ีงาม หรือ รุ่งอรุณของการศึกษา เปน็ ชดุ ขององค์ธรรม ๗ ประการ เหมือนดงั ลำแสงที่กระจายรัศมีเป็นสที ั้ง ๗ มีหวั ข้อซึง่ ไดเ้ รียบเรียงไว้ให้จำไดง้ ่ายดงั นี้ ๑. กัลยาณมิตตตา รู้จักเลือกหาแหล่งความรแู้ ละแบบอยา่ งที่ดี ธรรมข้อน้เี ป็นหลกั ปฏิบัตสิ ำคัญทีท่ ำให้มน่ั ใจวา่ เด็กจะมีสภาพแวดล้อมทางสังคมที่ดี และรู้จกั ใช้ประโยชน์จากสภาพแวดลอ้ มทีด่ ีน้ัน เรียกตามภาษาทางธรรมวา่ ความมีกลั ยาณมิตร หรือพูดให้คลุม ความกว้างข้นึ อีกว่า การมีและการได้กลั ยาณมิตร เรียกเป็นคำศพั ทว์ ่า กัลป์ยาณมิตตตา ๒. สีลสัมปทา มีชีวิตและอยูร่ ว่ มสงั คมเป็นระเบียบดว้ ยวินยั หมายถึงความมีวินยั ในการดำเนนิ ชีวิต และในการอยู่รว่ มในสังคม หรือการรู้จักจัดระเบียบชีวิต และความสัมพันธ์ในสังคมให้เรียบรอ้ ยเก้ือกูล เรียกตามภาษาทางธรรมว่า ความถึงพร้อมด้วยศีล หรือ การทำศีลให้ถึงพร้อม ตรงกับคำศพั ท์วา่ สลี สัมปทา ๓. ฉนั ทะสัมปทา พร้อมด้วยแรงจงู ใจใฝ่รใู้ ฝ่สร้างสรรค์ หมายถึงการมแี รงจงู ใจทีเ่ กิดจากการรักความจริง รกั ความถกู ต้องดงี าม คือ เมื่อรักความจริง ต้องการเข้าถึงความจริง ก็ทำให้มีความอยากรู้หรือใฝร่ ู้ เมื่อรักความถูกต้องดีงาม ก็อยากทำให้ความ ถกู ต้องดงี ามนน้ั เกิดมีเป็นจริงข้นึ ความอยากรู้และอยากทำให้ถกู ต้องดงี ามน้ี ในภาษาทางธรรมเรียกว่า ฉนั ทะ หลักปฏิบตั ขิ ้อนี้ ทา่ นจึงเรยี กวา่ ความถึงพร้อมด้วยฉันทะ หรือการทำฉันทะให้ถึงพร้อม รงจูงใจท่จี ะให้กา้ วไปในทางน้ัน กต็ ้องเปน็ แรงจูงใจที่ถูกต้องสอดคลอ้ งกนั ดว้ ย ถ้ามีแรงจูงใจที่ ผิดก็อาจจะทำให้ติดเพลินอยูก่ บั ที่เดิม หรือชักพาให้ก้าวไปในทิศทางอื่นกลายเป็นออกนอกลู่นอกทาง ไป แรงจงู ใจใหญๆ่ ที่เดน่ มากมี ๒ อยา่ ง คือ ๑) ความปรารถนาสง่ิ บำรงุ บำเรอปรนเปรอตัวตน ๒) ความรกั ความจรงิ รกั ความดงี าม ๔.อตั ตสัมปทา มุง่ มั่นพัฒนาตนให้เต็มศักยภาพ หมายถึงการมจี ิตสำนึกเร้าเตือนใจอยเู่ สมอ ในการที่จะพฒั นาตนให้เต็มที่ จนถึงความ สมบรู ณแ์ ห่งศักยภาพ เรียกส้ันๆ ดว้ ยภาษาทางธรรมว่า การทำตนให้ถึงพร้อม ๕.ทิฏฐิสัมปทา ปรบั ทัศนคติและค่านยิ มใหส้ มแนวเหตุผล หมายถึง การมีความเชื่อถือ แนวความคิดความเข้าใจ ทัศนคติ และค่านิยมที่ดีงามถูกต้อง สอดคลอ้ งกับหลักความจรงิ แห่งความเป็นไปตามเหตุปัจจยั อาจจะใช้คำสน้ั ๆ วา่ มีโลกทัศน์และชีวทศั น์ ดงี ามถกู ต้องตามแนวทางของเหตุปัจจัย แตใ่ นภาษาทางธรรม ท่านใช้ถอ้ ยคำที่ส้ันกว่าน้ันอีกว่า ความ ถึงพร้อมด้วยทิฏฐิ หรือการทำความเหน็ ความเข้าใจให้ถงึ พร้อม คือ ให้ถกู ต้องดงี าม

ช่อื ....นายคณุ ากรณ์...นามสกุล...พงษายอยคา.... รหสั .. 642014043200๔ คะแนน............. ๖.อัปปมาสมั ปทา มีสติกระตอื รือรน้ ตืน่ ตัวทกุ เวลา หมายถึง ความตน่ื ตวั ทีจ่ ะกระตอื รือรน้ เรง่ รัดจัดทำการตา่ งๆ ดว้ ยจติ สำนึกตอ่ กาลเวลาและ ความเปลย่ี นแปลง ไมป่ ลอ่ ยปละละเลย ทอดธุระ หรือน่งิ เฉย เฉ่อื ยชา ปลอ่ ยเวลาลว่ งเปล่า พูดส้ันๆ วา่ ความถึงพร้อมดว้ ยความไมป่ ระมาท หรือการทำความไม่ประมาทให้ถึงพร้อม ๗.โยนโิ สมนสิการสมั ปทา แกป้ ัญหาและพ่งึ พาตนไดด้ ว้ ยความรู้คิด ความรจู้ กั คิด รู้จกั พิจารณา รู้จกั สำเหนียก กำหนดมองส่งิ ท้ังหลายให้ได้คุณคา่ คิดเป็น รู้จัก คิดวิเคราะห์ สบื สาวใหเ้ ข้าถงึ ความจรงิ ซึ่งทำให้สามารถแก้ปญั หาได้ และรู้จกั ริเร่มิ ทำการตา่ งๆ อย่าง ถกู ต้องได้ด้วยตนเอง ในภาษาทางธรรม ท่านพูดส้ันๆ วา่ ความถึงพร้อมด้วยโยนิโสมนสกิ าร หรือการ ทำโยนิโสมนสกิ ารให้ถึงพร้อม โยนิโสมนสกิ าร จัดเปน็ ประเภทใหญ่ได้ ๒ อย่าง คือ ๑) โยนิโสมนสกิ ารแบบเสริมปัญญา ๒) โยนิโสมนสกิ ารแบบเร้ากุศล ๒.๔ วิสทุ ธิ 7 1. สลี วิสุทธิ ความหมดจดแห่งศีล คือ รกั ษาศีลตามภมู ิขน้ั ของตนให้บรสิ ุทธ์ิ และให้เป็นไปเพื่อสมาธิ 2. จิตตวิสุทธิ ความหมดจดแหง่ จิต คือ ฝึกอบรมจิตจนบังเกิดสมาธพิ อเปน็ บาทฐานแหง่ วิปสั สนา 3. ทิฏฐิวิสทุ ธิ ความหมดจดแห่งทิฏฐิ คือ ความรเู้ ข้าใจมองเหน็ นามรปู ตามสภาวะเปน็ จริง เป็นเหตุข่ม ความเข้าใจผิดวา่ เปน็ สัตวบ์ คุ คลเสยี ได้ เริ่มดำรงในภูมิแห่งความไม่หลงผิด 4. กังขาวิตรณวิสุทธิ ความหมดจดแห่งญาณเป็นเหตุข้ามพ้นความสงสัย, ความบริสุทธิ์ขั้นที่ทำให้ กำจดั ความสงสัยได้ 5. มคั คามคั คญาณทัสสนวิสทุ ธิ ความหมดจดแห่งญาณที่รู้เห็นวา่ เปน็ ทางหรือมิใชท่ าง 6. ปฏิปทาญาณทัสสนวิสทุ ธิ ความหมดจดแห่งญาณอนั รู้เห็นทางดำเนิน 7. ญาณทสั สนวิสุทธิ ความหมดจดแหง่ ญาณทัสสนะ คือ ความรใู้ นอริยมรรค 4 หรือ มรรคญาณ อัน เกิดถดั จากโคตรภูญาณเป็นต้นไป

ช่ือ จักรพนั ธ์ วิจิตรบรรจง รหสั 6420140432018 คะแนน............. สรปุ ใจความสำคญั ของ อรยิ มรรค บรรยาย โดย พระมหาสันติราษฎร์ ฌานสนฺติ, ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนือ้ หา (ไม่เกิน ๓ บรรทัด) แนวทางดำเนินอันประเสริฐของชวี ิตหรือกาย วาจา ใจ เพอื่ ความหลุดพ้นจากทกุ ข์ เรยี กวา่ อรยิ มรรค แปลว่าทางอนั ประเสริฐ เปน็ ขอ้ ปฏิบัติทีม่ หี ลักไม่อ่อนแอ แต่กไ็ มแ่ ข็งตึงจนถงึ กับเปน็ การทรมานกายให้เหอื ด แห้งจากความสุขทางกาย เพราะฉะนั้นจึงได้เรยี กวา่ มชั ฌมิ าปฏปิ ทา คือ ทางดำเนินสายกลาง ๒. เนื้อหาใจความสำคัญ 2.1 หลกั การปฏบิ ัติเพอ่ื เข้าสู่มรรค ปัญญาวุฒิธรรม ๔ ประการ คอื ๑. สัปปุรสิ สงั เสวะ หมายถึงการอย่ใู กล้คนดี ใกล้ผู้รู้ มคี รู อาจารย์ดี มขี อ้ มลู มีส่อื ทีด่ ี ดีทส่ี ุดคือรพระ รตั นตรยั ๒. สทั ธมั มสั สวนะ หมายถงึ เอาใจใส่ศึกษรบั ฟงั ธรรมะกับสตั บุรุษ ๓. โยนโิ สมนสิการ หมายถึง มกี ระบวนการคดิ วิเคราะห์พิจารณาหาเหตุผล ๔. ธรรมานธุ รรมปฏิปัตติ หมายถงึ ความสามารถนำองค์ความรไู้ ปใช้ในชีวติ ได้ถกู ต้องเหมาะสม 2.2 บุพภาคของการศกึ ษา - จุดเริ่มต้นหรือแหล่งทีม่ าของการศึกษา -ปรโตโฆสะทีด่ ี (เสียงจากผู้อ่นื อิทธิพลจากภายนอก) - โยนโิ สมนสการ (รจู้ กั คิด คดิ ถกู วธิ ี ปัจจัยภายใน) - กระบวนการของการศกึ ษา - อธสิ ีลสิกา (ความประพฤติ วนิ ัย สจุ ริตกายวาจาและอาชพี ) - อธจิ ิตสกิ ขา (คุณธรรม คุณภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจิต) - อธปิ ัญญาสกิ ขา (ความเช่อื ค่านยิ ม ความรู้ ความคิดถูกตอ้ งดงี ามตรงตามจริง 2.3 รุ่งอรุณของการศึกษา บุพนมิ ติ แหง่ มรรค, แสงเงินแสงทองของชีวติ ที่ดี กลั ยามิตตตา รจู้ ักเลือกหาแหล่งความรแู้ ละแบบย่างท่ีดี สีลสัมปทา มชี วี ติ และอยูร่ ่วมสงั คมเป็นระเบียบดว้ ยวินยั ฉันทะสมั ปทา พร้อมด้วยแรงจงู ใจใฝ่รู้ ใฝ่สร้างสรรค์ อตั ตสมั ปทา มุ่งมั่นพฒั นาตนให้เตม็ ศักยภาพ ทฏิ ฐิสัมปทา ปรับทศั นคติและค่านิยมให้สมแนวเหตุผล อปั ปมาทสัมปทา มสี ติ กระตือรือรน้ ตน่ื ตวั ทุกเวลา โยนโิ สมนสิการสมั ปทา แก้ปญั หาและพ่ึงพาตนไดด้ ้วยความรคู้ วามคิด

ชือ่ จกั รพนั ธ์ วิจิตรบรรจง รหสั 6420140432018 คะแนน............. 2.4 บุพมติ แหง่ มรรค ๑. กลั ยาณมิตตตา ความมกี ัลยาณมิตร หรือ ความรู้จักเลือกหากลั ยาณมิตร มีสภาพแวดล้อมทาง สังคมทีด่ ี ๒. สีลสมั ปทา การทำศีลให้ถึงพร้อม หรือการสรา้ งสรรคค์ วามมวี นิ ยั ในการดำเนินชวี ติ และ ความสมั พนั ธท์ ีด่ ใี นสงั คม ๓. ฉันทสัมปทา การทำฉันทะให้ถึงพร้อม ก็คอื การสร้างแรงจงู ใจทถ่ี กู ต้องในการศกึ ษา ๔. อตั ตสมั ปทา อัตตะ แปลว่าตน อัตตสมั ปทา ก็คือ การทำตนให้ถงึ พร้อม ๕. ทิฏฐิสัมปทา การทำทิฏฐิใหถ้ ึงพรอ้ ม ทิฏฐิ คืออะไร ทฏิ ฐกิ ค็ อื ความเชอ่ื ทัศนคติ หรือทีเ่ ราเรียกกนั เด๋ียวน้วี ่า เจตคติ คา่ นยิ มต่างๆ ตลอดจนทา่ ทีและทัศนะในการมองโลกและชีวติ ๖. อปั ปมาทสมั ปทา การทำความไม่ประมาทให้ถึงพรอ้ ม ๗. โยนิโสมนสกิ ารสัมปทา การทำโยนิโสมนสิการให้ถึงพร้อม คอื การรูจ้ กั คิด หรอื คิดเป็น 2.5 พรหมจรรย์ ทีส่ ำเร็จผล ศลี พบพระพุทธเจ้า (เสวนาสัตบุรุษ) - สดับธรรม - ศรทั ธา(ออกบวช) - อริยศีล (อนวชั ชสุข) สมาธิ อนิ ทรียสังวร (อัพยาเสกสุข) – สติสมั ปชัญญะ - สันโดษ (สู่ท่ีสงดั ทำสมาธิ) - ชำระนวิ รณ์ (ปราโมทย์) - ฌาน 4 (ฌานสขุ ) ปัญญา วชิ ชา 3 (หรอื อภญิ ญา 6 หรอื วิชชา 8) – วิมตุ ติ - ขยญาณ

ช่ือ นายอธิพนั ธุ นามสกลุ ทองรตั น รหัส 6420140432011 คะแนน............. สรปุ ใจความสำคัญ เรอ่ื ง ชีวิต ควรเปน อยอู ยา งไร : อรยิ มรรค มอี งค ๘ บรรยาย โดย พระมหาสนั ติราษฎร ฌานสนตฺ ิ, ดร. -------------------------------------------------- ๑. ภาพรวมของเนอื้ หา (ไมเ กิน ๓ บรรทดั ) พระพุทธศาสนาสอนในเรื่องของการพัฒนาชีวิตตั้งแตเริ่มตนจนถึงขัน้ สูงสุด การดำเนินการตามหลัก มัชฌมิ าปฏปิ ทา หรือทางสายกลาง ซึง่ ก็คอื อรยิ มรรค มีองค ๘ คือ ขอ ปฏิบตั ิ ๘ ขอ เปนแนวทางท่ีพระพทุ ธเจา ทรงเลือกในการปฏิบัติเพอ่ื ใหห ลุดพน จากการเวยี นวายตายเกดิ มงุ ไปสูพระนิพพานในทีส่ ดุ ๒. เนอ้ื หาใจความสำคญั ๒.๑ หลักการปฏบิ ตั ิเพื่อเขา สูม รรค การที่พระองคไปสูจุดมุงหมายสูงสุดคือความสำเร็จไดนั้น พระองคทรงใชหลักปญญาวุฑฒิธรรม ๔ เปน การดำเนนิ ตามหลกั มชั ฌมิ าปฏิปทา ซึ่งตอ งปฏิบตั ติ ามหลักพระรัตนตรัย ประกอบดว ย ๑. สปั ปุรสิ สงั เสวะ คอื การมีกลั ยาณมิตรท่ีดี สงั คมทด่ี ี ก็คือพระรตั นตรัย ๒. สัทธรรมสวนะ คือ ปรโตโฆสะที่ดี การมีโอกาสไดรับฟงขอคิดเห็น ทัศนคติที่ดีงาม จากสัตบุรุษ นกั ปราชญทม่ี าจากสงั คมที่ดี เพื่อเปนแนวทางในการใชช ีวติ ๓. โยนโิ สมนสิการ คอื มีการกระบวนการองคความรูท ีด่ ี ๔. ธรรมานธุ รรมปฏบิ ัติ คอื การนำกระบวนการองคค วามรไู ปปฏิบตั ิใชเ ปน มรรควธิ ี ๒.๒ บุพภาคของการศกึ ษา - จดุ เริม่ ตน หรอื แหลงทม่ี าของการศึกษา ประกอบดวย ๑. ปรโตโฆสะที่ (เสียงจากผูอนื่ มอี ิทธิพลจากภายนอก) ๒. โยนโิ สมนสิกา (รูจ กั คดิ คดิ ถูกวิธี ปจ จยั ภายใน) - กระบวนการของการศกึ ษา ตามหลกั ไตรสกิ ขา ประกอบดว ย ๑. อธิสลี สิกขา คอื ความประพฤติ วนิ ัย สุจริตกาย วาจา และอาชพี ๒. อธิจิตสกิ ขา คอื คุณธรรม คณุ ภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจิต ๓. อธปิ ญญาสิกขา คือ ความเชอ่ื คา นยิ ม ความรู ความคดิ ทีถ่ ูกตอง ความดงี ามตามจรงิ ๒.๓ รุง อรณุ ของการศกึ ษา บุพนมิ ติ แหงมรรค แสงเงนิ แสงทองของชีวิตท่ดี ี ประกอบดวย ๑. กลั ยาณมิตตตา รจู กั เลอื กหาแหลงความรูแ ละแบบอยา งที่ดี ๒. สีลสัมปทา มีชีวิตและอยูรวมสังคมทมี่ ีความเปน ระเบยี บและมวี ินัย ๓. ฉนั ทะสัมปทา ความศรัทธา เชอ่ื มั่น พรอ มดว ยแรงบนั ดาลใจ ใฝส รา งสรรค ๔. อตั ตสมั ปทา พรอมท่จี ะยกระดบั พฒั นาตนเองใหเ ต็มศักยภาพ ๕. ทฏิ ฐิสมั ปทา ปรบั ทัศนคตแิ ละคานิยมทดี่ ี ใหส มแนวเหตุผล ๖. อัปปมาทสัมปทา การมีสติ ไมป ระมาท มีความตน่ื ตวั กระตอื รือรน อยูต ลอดเวลา

ชอ่ื นายอธิพนั ธุ นามสกลุ ทองรตั น รหัส 6420140432011 คะแนน............. ๗. โยนิโสมนสกิ าสัมปทา แกป ญหาและพงึ่ พาตนเองไดด วยความรูค ดิ ๒.๔ การทำคณุ งามความดใี นสังคม สามารถเร่มิ ตน ไดท ี่ ๑. ปญุ ญสิกขา คือ การปฏิบตั ิทาน ศีล ภาวนา จติ ปญ ญา ซึง่ อาจขาดอยางใดอยางหน่ึงได แตหากไมมที ง้ั ๕ ประการ สังคมจะหลดุ หรือขาดความคณุ งามความดีทง้ั สิ้น ๒. ไตรสกิ ขา คอื การปฏิบัติ ศลี สมาธิ ปญญา จะมุงไปในการพฒั นาตนเอง ๓. มรรค มอี งค ๘ คอื การปฏบิ ตั ติ ามหลกั มชั ฌมิ าปฏปิ ทา หรือทางสายกลาง ๔. ภาวนา ๔ คือ สงิ่ ทค่ี วรเจริญ ควรอบรมใหงอกงามยิง่ ขน้ึ ( กาย ศีล จิต ปญญา) ๒.๕ มชั ฌิมาปฏิปทา จดุ หมายของชีวติ ทที่ ำใหก ารดำเนินชีวิตบรรลตุ ามเปา หมาย แบงออกเปน ๓ เปาหมาย คือ ๑. ทิฏฐิธัมมิกัตถะ (เปาหมายปจจุบัน) ประกอบดวย มีความขยันหมั่นเพียร ตองการ ความมั่นคง ความคุมครอง ความปลอดภัย ตองการสังคมที่ดี ครอบครัวและบริวารท่ีดี และมีสามารถใน การเลย้ี งชีวิต ความเปน อยทู ดี่ ี มีคณุ ภาพได ๒. สัมปรายิกตั ถะ (เปาหมายในภพภูมิทีด่ ี) คอื เม่ือลว งลับไปแลว ตองการไปอยใู นภพภูมิท่ีดี ๓. ปรมัตถะ (เปาหมายนิพพาน) คือ ตองการทจ่ี ะหลุดพนจากการเวยี นวายตายเกิด มั่งไปสู พระนิพพาน ๒.๖ พรหมจรรย ทีส่ ำเรจ็ ผล การเขา ถึงเปา หมายสงู สุด ประกอบดว ยหลัก ๓ ประการ คอื ๑. ศีล คือ การไดมีโอกาสพบพระพุทธศาสนา รูหลักธรรมคำสั่งสอนเพื่อเปนแนวทางใน การประพฤตปิ ฏิบัตติ น เกิดความศรทั ธา เล่ือมใส มีอรยิ ศลี หรือการรักษาศีลใหส มบูรณ ๒. สมาธิ คือ การสำรวมทางตา หู จมูก ปาก ลิ้น กาย ใจ การมีสติสัมปชัญญะ มีสันโดษ เขา ถึงสมาธิ ชำระนวิ รณใหบ รสิ ุทธ์ิ และสุดทายคอื การเขา ถงึ ฌาน ๔ ๓. ปญญา คือ การเอาชนะและหลดุ พนตอกเิ ลสทัง้ ปวงได สรุปไดวา สิ่งที่จะพัฒนาชีวิตของมนุษยใหไปสูจุดหมายสูงสุดได คือ การปฏิบัติตามหลักอริยมรรค มีองค ๘ หรือ มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง ซึ่งเปนหนทางแหงการดับทุกข และทำใหผูปฏิบัติตามพบ ความสุขท่ีแทจ ริง

ชอื่ ......นางสาวสุธรี า......นามสกุล......บุญส่ง....... รหัส.....6420140432008.....คะแนน............. สรปุ ใจความสำคญั เร่ือง ชวี ิตควรเป็นอยอู่ ยา่ งไร : อรยิ มรรค มีองค์ 8 บรรยาย โดยพระมหาสันตริ าษฎร์ ฌานสนตฺ ิ, ดร. ---------------------------- ๑. ภาพรวมของเนือ้ หา (ไม่เกิน ๓ บรรทัด) อริยมรรค มีองค์ 8 การดำเนินตามมัชฌิมาปฏิปทาซึ่งเป็นทางสายกลาง กัลยาณมิตรที่ดี ที่สุด คือ พระรัตนตรัย บุพภาคของการศึกษา เป็นจุดเริ่มต้นแหล่งที่มาของการศึกษา และกระบวนการ ของการศึกษา นำไปสู่ไตรสิกขา ๒. เนอ้ื หาใจความสำคญั ๒.๑ หลกั การปฏบิ ตั ิเพ่ือเข้าสมู่ รรค ปญั ญาวฑุ ฒิธรรม 4 คอื การดำเนินตามมชั ฌมิ าปฏิปทาตามหลกั พระรตั นตรยั ๑. สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง มีกัลยาณมิตร คุณภาพของสังคมมีผลต่อการปฏิบัติทางสาย กลาง กลั ยาณมติ รที่ดีท่สี ุด คอื พระรัตนตรัย ๒. สทั ธรรมสวนะ หมายถึง ปรโตโฆสะท่ีดี การรบั ฟงั สงิ่ ทีด่ ี การรบั ฟังขอ้ คดิ เหน็ ที่ดี ๓. โยนิโสมนสกิ าร หมายถึง มีกระบวนการคิด พิจารณา ทบทวนหาแนวทางที่มีประโยชน์ ๔. ธรรมานธุ รรมปฏบิ ัติ หมายถึง นำธรรมะไปประยุกต์ใช้ในชวี ติ 2.2 บพุ ภาคของการศกึ ษา จดุ เร่ิมตน้ แหลง่ ทม่ี าของการศึกษา 1. ปรโตโฆสะท่ดี ี คอื เสียงจากผู้อื่นอทิ ธพิ ลจากภายนอก 2. โยนโิ สมนสิการ คือ ร้จู กั คิด คิดถกู วิธี ปจั จยั ภายในรา่ งกาย กระบวนการของการศกึ ษา นำไปสูไ่ ตรสกิ ขา ประกอบด้วย 1. อธสิ ลี สกิ ขา คอื ความประพฤติ วนิ ยั สุจริตกายวาจา และอาชพี 2. อธจิ ติ สกิ ขา คือ คุณธรรม คณุ ภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจติ 3. อธปิ ญั ญาสกิ ขา คอื ความเชือ่ คา่ นิยม ความรู้ ความคิด ถูกต้องดงี ามตรงตามจริง 2.3 ความสำคัญของกลั ยาณมิตร 1. ความมกี ลั ยาณมติ ร กเ็ ป็นตวั นำ เป็นบุพนิมิต แห่งการเกดิ ขึ้นของอรยิ อัษฎางคิกมรรค 2. ความมีกัลยาณมิตร เท่ากับเป็นพรหมจรรย์ทัง้ หมดทีเดียว ก็พ้นจากโสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนสั และอปุ ายาส 3. ความมกี ลั ยาณมิตร กเ็ ปน็ ตวั นำ เปน็ บพุ นิมิต แหง่ การเกิดขน้ึ ของโพชฌงค์ 7 2.4 ร่งุ อรณุ ของการศึกษา บพุ นมิ ิตแห่งมรรค, แสงเงินแสงทองของชวี ิตที่ดี 1. กัลยาณมิตตตา คอื รจู้ ักเลือกหาแหลง่ ความรู้และแบบอยา่ งท่ดี ี 2. สีลสัมปทา คือ มีชีวติ และอยู่รว่ มสังคมเป็นระเบียบด้วยวินยั 3. ฉนั ทะสมั ปทา คอื พร้อมดว้ ยแรงจงู ใจใฝร่ ู้ ใฝ่สรา้ งสรรค์

4. อตั ตสัมปทา คือ มุ่งม่นั พัฒนาตนใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพ 5. ทฏิ ฐสิ ัมปทา คอื ปรับทศั นคติและคา่ นิยมให้สมแนวเหตผุ ล 6. อัปปมาทสัมปทา คอื มีสติ กระตอื รือรน้ ตน่ื ตัวทุกเวลา 7. โยนิโสมนสกิ ารสัมปทา คือ แกป้ ัญหาและพ่งึ พาตนได้ด้วยความรคู้ ดิ 2.5 กัลยาณมิตตธรรม องค์คุณของกัลยาณมิตร, คณุ สมบตั ขิ องมิตรดหี รือมติ รแท้ 1. ปโิ ย (นา่ รัก ในฐานเป็นทส่ี บายใจและสนทิ สนม ชวนให้อยากเข้าไปปรกึ ษา ไต่ถาม) 2. ครุ (น่าเคารพ ในฐานประพฤติสมควรแก่ฐานะ ให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ เป็นที่พึ่งใจ และปลอดภยั ) 3. ภาวนีโย (น่าเจริญใจ หรือน่ายกย่อง ในฐานทรงคุณคือความรู้และภูมิปัญญาแท้จริง ทงั้ เป็นผู้ฝึกอบรมและปรับปรงุ ตนอยู่เสมอ ควรเอาอย่าง ทำให้ระลึกและเอย่ อ้างด้วยซาบซึง้ ภูมใิ จ) 4. วตฺตา จ (รู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักชี้แจงให้เข้าใจ รู้ว่าเมื่อไรควรพูดอะไรอย่างไร คอยให้ คำแนะนำว่ากลา่ วตกั เตือน เปน็ ทปี่ รึกษาท่ดี ี) 5. วจนกฺขโม (อดทนต่อถ้อยคำ คือ พร้อมที่จะรับฟังคำปรึกษาซักถามคำเสนอแนะ วิพากษว์ ิจารณ์ อดทน ฟังได้ไม่เบือ่ ไม่ฉนุ เฉยี ว) 6. คมฺภีรญฺจ กถํ กตฺตา (แถลงเรื่องล้ำลึกได้ สามารถอธิบายเรื่องยุ่งยากซับซ้อน ให้เข้าใจ และใหเ้ รยี นร้เู รื่องราวท่ลี ึกซึง้ ยง่ิ ขนึ้ ไป) 7. โน จฏฺฐาเน นิโยชเย (ไม่ชักนำในอฐาน คือ ไม่แนะนำในเรื่องเหลวไหล หรือชักจูง ไปในทางเส่ือมเสยี ) 2.6 จดุ หมายของชวี ิต (อตั ถะ) 1. ทฏิ ฐธัมมิกตั ถะ 2. สัมปรายกิ ตั ถะ 3. ปรมตั ถะ (สัมมาญาณ - สมั มาวมิ ุตติ) สรุป อริยมรรค มีองค์ 8 หรือ มัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง ทางดำเนินชีวิตอันประเสริฐ เป็นการหนทางพน้ ความทุกข์ สามารถนำมาประยกุ ต์และเปน็ แนวทางในการดำเนินชวี ิตได้ ประเดน็ คำถาม 1. เราจะมีการปฏบิ ตั ิอย่างไรให้สอดคล้องกับมัชฌิมาปฏปิ ทา

ชอ่ื นายวิชยั นามสกุล พรหมสุรินทร์ รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๐๒ คะแนน............. สรุป ใจความสำคญั ของ ชวี ติ ควรเปน็ อยอู่ ยา่ งไร : อริยมรรคมอี งค์ ๘ บรรยาย โดย พระมหาสนั ติราษฎร์ ฌานสนตฺ ิ, ดร. ------------------------------------------------------ ๑. ภาพรวมของเน้ือหา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) มรรค คือ หนทางสู่ความดับทุกข์ เป็นหนึ่งในอริยสัจ 4 การลงมือปฏิบัติเพื่อให้พ้นจากทุกข์ ประกอบด้วยองค์ประกอบ ๘ ประการอันเป็นหนทางอย่างประเสริฐหนทางผู้ไกลจากกิเลส สังคมที่ดีมี กัลยาณมิตรที่ดีมีคนที่ดีเพราะฉะนั้นเมื่อเรามีชีวิตที่ดีแล้วสิ่งที่จะหวังได้คือ สามารถในการเจริญหรือพัฒนาใน เรื่องของอริยมรรค หลักธรรมไตรสิกขา คือ การเกิดศีล สมาธิ และปัญญา เป็นสำคัญ นำไปสู่ประโยชน์ใน ปัจจบุ ัน ประโยชนใ์ นเบอื้ งหนา้ ได้ ๒. เนือ้ หาใจความสำคัญ ๒.๑ การเข้าสมู่ รรคการเขา้ ถงึ พระรัตนตรยั หลักการปฏิบตั เิ พ่อื เข้าสมู่ รรค ปญั ญาวุฑฒิธรรม - การดำเนนิ ตามมชั ฌิมาปฏิปทา หลักพระรัตนตรยั ๑. สปั ปรุ สิ สงั เสวะ = มกี ลั ยาณมติ ร = พระพุทธเจ้า (ระดบั สงู สดุ ) มีกลั ยาณมติ ร การมสี ังคมท่ดี ี เพราะ คุณภาพของสมั คมมผี ลต่อการปฏิบตั ติ ามทางสายกลาง ซ่ึงกลั ยาณมติ รทด่ี ีทีส่ ุด ที่ประเสริฐทส่ี ดุ ตามหลัก พระพทุ ธศาสนา คอื พระรตั นตรัย ๒. สทั ธรรมสวนะ = ปรโตโฆสะทด่ี ี = พระธรรม พระพุทธเจา้ บอกว่ากัลยาณมติ รทีด่ ที ีส่ ดุ ก็คือพระรตั นตรัย ๓. โยนิโสมนสกิ าร = โยนิโสมนสกิ าร = (กจิ ตอ่ พระธรรม) ถา้ มโี อกาสอยใู่ นสงั คมท่ีดีกจ็ ะมคี วามรูค้ วามคดิ ไป ในทางทดี่ ี ๔. ธรรมานุธรรมปฏิบตั ิ = มรรค = เริ่มเขา้ ร่วม นำสสู่ ังฆะ การนำหลกั ตา่ ง ๆ ทีไ่ ด้ไปประพฤตปิ ฏิบตั ิเพอื่ ใน การดำเนินเปน็ ไปตามหลักธรรมมรรคมอี งค์ ๘ หรือหลักทางสายกลาง หลกั การปฏบิ ตั ทิ ั้ง ๔ ข้อทีก่ ลา่ วมา ข้างตน้ น้ีไมส่ ามารถแยกออกจากกนั ได้ บพุ ภาคของการศกึ ษา จดุ เร่ิมต้นกระบวนการหรือแหล่งทีม่ าของการศึกษาของการศึกษา ๑. ปรโตโฆสะท่ีดี (เสียงจากผ้อู ่ืนอทิ ธพิ ลจากภายนอก) ๒. โยนโิ สมนสกิ าร (รจู้ ักตดิ คิดถูกวธิ ปี จั จัยภายใน)

ชื่อ นายวชิ ยั นามสกลุ พรหมสรุ ินทร์ รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๐๒ คะแนน............. - อธสิ ถี สึกขา (ความประพฤติ วินยั สุจรติ กายวาจา และอาชีพ) - อธิจิตสกึ ขา (คณุ ธรรม คณุ ภาพ สขุ ภาพ และสมรรณภาพของจติ ) - อธิปญั ญาสึกขา (ความเช้อื คา่ นิยมความรคู้ วามคดิ ถกู ตอ้ งดีงามตรงตามจริง) การมีกัลยาณมิตรที่ดีพระพุทธเจ้าทรงเปรียบเสมือนสังคมที่ดีเหมือนกับแสงอรุณขึ้นมาในช่วงเช้าเป็น แสงแรกของ ความสว่างท่ีเกดิ ขึ้นตอ่ สงั คมต้องเกิดข้ึนจากการท่สี ังคมน้ันเป็นสังคมท่ีดีมีกัลยาณมิตรท่ีดีมีคนท่ีดี เพราะฉะนั้นเมื่อมีชีวิตที่ดีแล้ว สิ่งที่จะหวังได้คือสามารถ พัฒนาในเรื่องของอริยมรรคมีองค์ ๘ ทางสายกลาง ให้มากขึ้น สามารถในการฝึกอบรมสะสมกระทำให้มากซึ่งอริยมรรคมีองค์ 8 หมายความว่าทำให้เกิดข้ึนอะไร ที่ยังไม่มี ในเรื่องของระยะทางสายกลางก็จะเริ่มพัฒนาความสามารถในการต่อยอดในเรื่องของการให้มีความ เจรญิ ในตวั เรามากข้ึนมากขึ้นแลว้ กม็ กี ารพฒั นาตอ่ ยอดไปส่สู งั คมได้ สังคมอุดมปัญญาจึงเป็นตัวพรหมจรรย์เป็นสิ่งที่เป็นศาสนาพูดถึงเรื่องของเราต้องบอกว่ากัลยาณมิตร ที่ดีที่สุดและราคาที่ดีที่สุดนั้นก็คือ พระรัตนตรัยและความรู้ที่พระองค์ทรงให้ความสำคัญ ว่าทำไมจึงมีอารย ธรรมในสงั คมทมี่ ีความสำคญั เพราะสังคมนัน้ เปน็ สังคมท่ีเตม็ ไปด้วยปัญหาในระดบั พ้ืนฐานของชีวิตคือ มีมรณะ เป็นธรรมดามคี วามเศรา้ ความสขุ ความทกุ ข์ ความทุกขท์ างใจ อปุ ายาสความคบั แค้นใจ คำวา่ เป็นความทุกข์ท่ี เกิดจากปัญหาทางสังคมโครงสร้างทางสังคมนำมาซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจะมองว่าจะมาช่วย ในการทำใหค้ วามทกุ ขจ์ างหายไป การเยียวยาความทุกข์หรอื ปญั หาในสงั คมเพราะฉะนั้นกลั ยามิตรจึงเป็นส่วน สำคญั อยา่ งยง่ิ ทีจ่ ะช่วยเรอ่ื งปญั หาทางสงั คมใหห้ มดให้หมดไปได้ ๑.สลี สมั ปทา มีชวี ิตและอยู่ร่วมสงั คมมเป็นระเบียบด้วยวินยั ๒.ฉันทะสมั ปทา แรงจงู ใจใฝ่ร้สู รา้ งสรรค์ ๓.อนัตตสมั ปทาความศรัทธาความเช่ือม่ันความเลื่อมใสความพร้อมในการที่จะมุง่ หน้าทำอะไรสักอยา่ งทำไมจงึ ตอ้ งมที ำไมจึงต้องมนี กั พูดสรา้ งแรงบันดาลใจแรงขนาดใหญ่เพราะว่าแรงบันดาลใจเปน็ ส่วนสำคัญต่อการ พัฒนาการเรยี นรูก้ ารศกึ ษาตอ่ ตนเองพร้อมดว้ ยตนเองเต็มเปีย่ มไปดว้ ย ๔.ทฏิ ฐสิ ัมปทาจดั การหล่อหลอมกระบวนการทางความคดิ ท่รี บั มาจากสังคมวัฒนธรรม สรุป มัชฌิมาปฏิปทาเป็นทางสายกลาง องค์สัมมาสัมพุทธเจ้าได้ปฏิบตั ิด้วยพระองค์เอง และได้ค้นพบ หนทางแห่งการดับทุกข์ ซึ่งนั่นคือหลักธรรมมรรคมีองค์ ๘ หากสามารถปฏิบัติได้ก็จะทำให้การดำเนินชีวิตได้ อยา่ งมีความสขุ ไมม่ ีความทกุ ข์ ตามหลักทางสายกลางตามที่พทุ ธเจา้ ไดต้ รัสไว้

ช่อื นางสาวจุฑามาศ นามสกุล ฉิมพาลี รหัส 6420140432014 คะแนน............. สรุป ใจความสำคัญของ อริยมรรค บรรยาย โดย พระมหาสนั ติราษฎร ฌานสนตฺ ,ิ ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนอื้ หา (ไมเกิน ๓ บรรทดั ) อริยมรรคมีองค 8 ทางสายกลางเปนแกนกลางพทุ ธปญญาของปรชั ญาอน่ื ๆ ในการดำเนนิ ชวี ิตหรือการ กระทำใด ๆ ควรยึดทางสายกลาง ไมต ึงหรอื หยอนจนเกนิ ไป โดยสำหรับบุคคลท่ัวไปนน้ั การเดนิ ทางสายกลาง หมายถึงการดำเนนิ ชวี ติ อยางพอดี พอเหมาะพอควร รจู ักประมาณ ซ่งึ จะนำความสุขและความสำเร็จมาให ๒. เนอื้ หาใจความสำคญั หลักปฏิบตั เิ ขา สูมรรค การดำเนนิ ตามมชั ฌมิ าปฏปิ ทา : ทางสายกลาง อาศยั หลกั พระรัตนตรัย 1.สัปปรุ ิสสงั เสวะ = มกี ลั ยาณมิตร คุณภาพสังคมทีด่ ี 2.สัทธรรมสวนะ = ไดม โี อกาสรับฟงขอ คิดเห็นจากนักปราชญ ฟงธรรมะ 3.โยนิโสมนสิการ = กระบวนการในการคดิ พจิ ารณา ทบทวน 4. ธรรมานุธรรมปฏิบัติ = การนำหลักตางๆ มาประยกุ ตใช บพุ ภาคของการศึกษา จุดเร่มิ ตนหรอื แหลง ทมี่ าของการศึกษา 1. ปรโตโฆสะที่ดี = เสียงจากผอู ืน่ การกระตุนหรอื ชักจูงจากภายนอก 2. โยนโิ สมนสิการ = การใชความคดิ ถูกวธิ ี ความรจู ักคิด คิดเปน หรอื คิดอยา งมีระเบยี บ กระบวนการของการศกึ ษา 1. อธสิ ีลสิกขา = ความประพฤติ วินยั สุจรติ กายวาจา และอาชีพ 2. อธิจิตสิกขา = คุณธรรม คุณภาพ สุขภาพ และสมรรถภาพของจติ 3. อธิปญญาสิกขา = ความเชือ่ คานยิ ม ความรู ความคดิ ถกู ตองดงี ามตรงตามจรงิ กลั ยาณมิตร ความมีกลั ยาณมิตร ก็เปน ตวั นำ เปนบพุ นมิ ิต ผทู ่มี ีสว นสำคญั ชวยปลดเปลอื ง สังคมพ่งึ หวงั ได องคป ระกอบแรกท่สี ำคญั กลั ยาณมติ ร มิไดหมายถงึ เพ่อื นที่ดเี ทานน้ั แตห มายถงึ บุคคลผูเพียบพรอ มดว ย คุณสมบตั ทิ ่ีจะสัง่ สอน แนะนำ ชแ้ี จง ชกั จงู ชวยบอกชอ งทาง หรอื เปน ตัวอยา งใหผูอ ื่นดำเนินไปในมรรคาแหง การฝก ฝนอบรมอยาง ถูกตอง กลั ปย าณมิตตธรรม องคค ุณของกลั ยาณมิตร 7 ประการ ๑. ปโ ย ผมู ีบคุ ลิกนารัก นา เคารพศรทั ธา ๒. ครุ มคี วามหนักแนนสขุ มุ นา เคารพ ๓. ภาวนโี ย ดำรงตนอยูในคุณความรู นายกยอ ง ๔. วตตฺ า จ ใหคำแนะนำปรกึ ษา รูจกั พูดใหเหตุผล ๕. วจนกฺขโม อดทนตอ ถอ ยคำ การวิพากษวิจารณ ๖ คมภฺ ีรัฺจ กถํ กตฺตา แสดงอรรถธรรมไดลกึ ซงึ้ ๗ โน จฏฐาเน นโิ ยชเย ไมแ นะนำชกั จูงในทางทเ่ี สอื่ มเสยี

ชอ่ื นางสาวจฑุ ามาศ นามสกุล ฉิมพาลี รหัส 6420140432014 คะแนน............. รุงอรณุ ของการศึกษา บพุ นมิ ติ แหง มรรค, แสงเงินแสงทองของชีวิตทีด่ ี มีองคป ระกอบดงั นี้  กัลยาณมติ ตตา = รูจักเลือกหาแหลงความรแู ละแบบยางท่ีดี  สีลสมั ปทา = มีชวี ติ และรวมสังคมเปน ระเบยี บดวยวนิ ัย  ฉันทะสมั ปทา = พรอมดวยแรงจงู ใจใฝร ู ใฝสรางสรรค  อัตตสัมปทา = มุงมน่ั พฒั นาตนใหเตม็ ศกั ยภาพ  ทฏิ ฐสิ มั ปทา = ทัศนคตแิ ละคา นยิ มตาง  อปั ปามาทสัมปทา = มีสติ ตื่นตัวตลอดเวลา  โยนิโสมนสิการสัมปทา = แกปญ หาและพึง่ พาตนไดด วยความรูคิด พรหมจรรยท สี่ ำเร็จ -ศีล [ พบพระพทุ ธเจา สดบั ธรรม  ศรัทธา  (ออกบวช)  อรยิ ศลี ] -สมาธิ [ อินทรียสงั วร + สติสมั ปชัญญะ + สันโดษ  (สูที่สงดั ทำสมาธิ)  ชำระนวิ รณ  ฌาณ 4] -ปญญา [วิชชา 3 (ระลึกอดีตชาตไิ ด)  วมิ ตุ ติ (หลุดพน)  ชยญาณ]

ช่ือ นายวุฒิกร นามสกุล ออ๋ งมณี รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๐๑ คะแนน............. สรุป ใจความสำคัญของ ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไรตามหลักอรยิ มรรคมีองค์ ๘ บรรยาย โดย พระมหาสันติราษฎร์ ฌานสนฺติ, ดร. ------------------------------------------------------ ๑. ภาพรวมของเนอื้ หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) “ชวี ิตทีป่ ระเสริฐ ต้องมีศรัทธาเริ่มต้นด้วยหลักการทางมรรคมีองค์ 8 หรือหลกั ไตรสิกขา+กัลยาณมิตร ที่รวมลงทางสายกลาง เริ่มต้นจากสัมมาทิฐิ คือความเห็นความเข้าใจที่ถูกต้อง จะทำให้เกิด สัมมาสังกัปปะ คอื ความคิดเชงิ บวก จะนำไปสู่ประโยชน์ในปจั จุบัน ประโยชน์ในเบื้องหน้า และประโยชน์อันสูงสดุ ได้” ๒. เนอื้ หาใจความสำคญั ๒.๑ หลักการปฏิบตั ิเพือ่ เขา้ สู่มรรค หลักการนำธรรมะมาปฏิบัติในชีวิตอยา่ งหน่ึง คือการเข้าใจว่าธรรมะไม่ใช่เร่ืองเฉพาะศาสนา แต่เปน็ วิทยาศาสตร์ หากคดิ แบบน้ีแล้วจะเขา้ ใจว่าธรรมะเป็นสิ่งท่ีใกล้ตวั ผลแห่งการประพฤติปฏิบัติจะทำให้ เกิดความคิดใหม่ที่จะนำธรรมะมาใช้ ซึ่งทุกคนไม่ว่าจะมีภูมิหลังอย่างไรก็สามารถนำธรรมะมาประยุกต์ใช้ได้ ทุกคน ไดท้ นั ที 2.2 บพุ ภาคของการศกึ ษา บุพภาคของการศึกษา คือ จุดเริ่มต้นของการศึกษาซึง่ องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กับเรือ่ ง ทางสายกลาง แหล่งท่ีมาของการศึกษา 1) ปรโฆสะ คือ การรับฟังข้อคิดเห็น รับฟังเสียงจากผู้อื่น 2) โยนิโสมนสิการ คือการพิจารณาใคร่ครวญการแสวงหาความรู้ต่างๆ ซึ่ง 2 ปัจจัยนี้จะนำไปสู่กระบวนการ ศึกษาที่เรียกว่า ไตรสิกขา กระบวนการพัฒนาคุณภาพ ศักยภาพของมนุษย์ได้รับการวิจัยมาเป็นอย่างดีแล้ว จากพระพทุ ธเจ้า โดยหลกั ธรรมคำสอนของพระพุทธเจา้ เมื่อสรุปแลว้ ได้เปน็ หลักของ ไตรสกิ ขา เป็นหลักสำคัญ ประกอบด้วย 1) ศีล 2) สมาธิ 3) ปญั ญา ซง่ึ 3 สว่ นน้มี คี วามสำพนั ธ์กบั หลกั ทางสายกลาง 2.3 ความสำคญั ของกัลยาณมติ ร สังคมอุดมปัญญาจะเกิดขึ้นได้ต้องอาศัยกัลยาณมิตร อาศัยสังคมที่ดีเป็นแนวทางไปสู่การ ปฏิบัติตามหลักอริยมรรคมีองค์ 8 ทางสายกลาง สังคมที่ดีพระพุทธองค์ทรงเปรียบเสมือนแสงอรุณที่ขึ้นมา ในช่วงเช้าเป็นแสงแรก เปน็ แสงสว่างทเี่ กิดขึ้นในสงั คมทีด่ ี กลั ยาณมิตรทด่ี ี ถ้ามีสงั คมที่ดี มีกัลยาณมิตรที่ดีแล้ว ก็จะสามารถ 1) เจริญหรือพัฒนาในเรื่องของอริยมรรคมีองค์ 8 ทางสายกลางให้มากขึ้น 2) อบรมส่ังสม กระทำให้มาก ต่อยอดซึ่งอริยมรรคมีองค์ 8 ศาสนาคือกัลยาณมิตรที่ดีที่สุด และกัลยาณมิตรที่ดีที่สุด คือ พระรัตนตรยั กัลยาณมิตรจึงมีส่วนสำคัญในการชว่ ยแกไ้ ข ปลดเปล้ืองปัญหาทางสงั คมให้หมดไปได้ หรือเปน็ สิง่ ที่สงั คมพงึ หวังได้ 2.4 รุ่งอรณุ ของการศึกษา รุ่งอรุณของการศึกษา คือการศึกษาตามหลักอริยมรรคมีองค์ 8 หรือตามหลักไตรสิกขา ประกอบดว้ ย ๑) กัลยาณมิตตตา คือ การรจู้ ักหาแหล่งความรู้และแบบอย่างที่ดี 2) สลี สมั ปทา คอื มีชีวิตและ อยู่ในสงั คมที่เป็นสังคมท่ีมรี ะเบียบวนิ ัย 3) ฉนั ทะสัมปทา คอื พรอ้ มด้วยแรงจงู ใจใฝส่ รา้ งสรรค์ 4) อตั ตสัมปทา คือ ความมุ่งมั่นพัฒนาตนให้เต็มศักยภาพ 5) ทิฏฐิสัมปทา คือ ปรับทัศนคติและค่านิยมให้สมแนวเหตุผล

ชอ่ื นายวุฒกิ ร นามสกลุ ออ๋ งมณี รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๐๑ คะแนน............. 6) อัปปมาทสัมปทา คอื มสี ตกิ ระตือรือรน้ ต่นื ตวั ทกุ เวลา 7) โยนิโสมนสกิ ารสมั ปทา คอื แกป้ ัญหาและพ่ึงพา ตนดว้ ยความรคู้ ดิ การศึกษาพัฒนาตนตามหลักไตรสิกขาทางสายกลาง จะต้องมีองค์ประกอบครบทั้ง 7 องค์ประกอบข้างต้น หากขาดข้อใดข้อหนึ่งไป การปฏิบัติเพื่อให้บรรลุตามหลักไตรสิขาก็จะไม่ครบถ้วนไม่ สมบูรณ์ แต่ถ้ามีองค์ประกอบเกิดขึ้นครบอยู่ภายในตนเองแล้วการพัฒนาตามหลักทางสายกลางก็เป็นสิ่งท่ี สามารถพัฒนาได้ง่าย เพราะฉะน้นั การบรหิ ารการศกึ ษาสามารถใชห้ ลกั พทุ ธปรัชญา (รุ่งอรุณของการศึกษา) 2.5 บพุ มิตแห่งมรรค กับมรรคมีองค์ 8 บุพมติ แห่งมรรค คือทางสายกลางหากมีครบทั้ง 7 ข้อ กจ็ ะสง่ ผลใหม้ รรคมีองค์ 8 เจริญงอก งาม พอกพูนขน้ึ เป็นลำดับ เสมอื นเป็นปุ๋ย ให้มรรคมีองค์ 8 ได้รับแรงส่งสเริม สนบั สนุนใหก้ ระบวนการในการ ทำงานของมรรคมีองค์ 8 เร่ิมต้นขน้ึ และพฒั นาขน้ึ ตามลำดับ ในเรอ่ื งของมรรคมีองค์ 8 นัน้ มีความสมั พันธก์ ันกบั การทำบุญ ทำทาน คุณงามความดีในทาง พระพทุ ธศาสนา ถือวา่ เป็นจุดศนู ยก์ ลางก็วา่ ได้ หากพิจารณาจะเห็นวา่ การทำคุณงามความดใี นสังงคมนน้ั เริ่มตน้ จากปญุ ญสกิ ขา (ทาน ศีล ภาวนา จติ ปัญญา) 2.6 มัชฌิมาปฏิปทา มัชฌมิ าปฏิปทา เป็นหลกั ที่มีความสมั พนั ธ์กนั ของไตรสิกขา กับจดุ มงุ่ หมายของชวี ิต มีอยู่ 4 ประกอบการ คือ 1)กระบวนการเร่ิมต้น 2) กระบวนการของการศึกษา(บุพภาค)ตามหลักไตรสกิ ขา 3) กระบวนการอดุ มปัญญาชวี ติ ทีป่ ระเสริฐตามหลักอริยมรรคมอี งค์ 8 4) จดุ มงุ่ หมายของชีวติ ซงึ่ ทาง พระพทุ ธศาสนามีจดุ หมาย คือ ทิฏฐธมั มิกตั ถะ สัมปรายิกัตถะ และปรมัตถะ 2.7 พรหมจรรยท์ ี่สำเร็จผล 1. ศลี = พบพระพุทธเจา้ (คือพบพระพทุ ธศาสนา)--->สดับธรรม--->ศรัทธา--->อรยิ ศีล 2. สมาธิ = อินทรยี สังวร--->สตสิ ัมปชัญญะ--->สันโดษ--->ชำระนิวรณ-์ -->ญาณ4---> 3. ปัญญา = วชิ ชา3(หรืออภิญญ6 หรอื วชิ ชา8) --->วิมตุ ต-ิ -->ขอญาณ “ชีวิตทีป่ ระเสริฐ ต้องมีศรัทธาเรม่ิ ต้นดว้ ยหลักการทางมรรคมีองค์ 8 หรอื หลกั ไตรสิกขาท่ีรวมลงทาง สายกลาง เร่ิมต้นจากสัมมาทิฐิ คือความเห็นความเข้าใจท่ีถูกต้อง จะทำให้เกิด สัมมาสังกัปปะ คอื ความคิดเชิง บวก ความคิดที่ถูกต้อง สามารถสร้างได้จากการสำรวมอินทรีคิดแต่เรื่องดีๆ หากเริ่มต้นได้ 2 ประการนี้ ก็จะ ทำให้เกิดวงล้อของมรรคมีองค์ 8 ได้ ตามหลักทางสายกลาง หรือหลักไตรสิกขา นำไปสู่ประโยชน์ในปัจจุบัน ประโยชน์ในเบื้องหน้า และประโยชนอ์ นั สงู สุดได”้

ชือ่ นายทศวรรษ นามสกุล พุม่ ศรชี าย รหสั 6420140432007 คะแนน............. สรปุ ใจความสำคญั ของพุทธปรัชญา บรรยาย โดย พระมหาสนั ตริ าษฎร์ ฌานสนฺติ. ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเนือ้ หา (ไม่เกิน ๓ บรรทัด) การดำเนินชีวิตในสังคมให้สงบสุข ต้องอาศัยหลักการปฏิบัติเพื่อเข้าสู่มรรค โดยเริ่มจากตัวเราเอง ตอ้ งหมัน่ บำเพ็ญทาน ศีล ภาวนา จติ กอ่ ใหเ้ กดิ ปัญญา เมอ่ื มนษุ ย์เกิดศลี สมาธิ ปัญญา ก็จะคดิ วเิ คราะห์ ดำเนิน ชีวติ บนทางสายกลางอย่างพอเหมาะพอดี ส่งผลต่อการอยูร่ ว่ มกันอย่างสงบสุขเป็นสงั คมแห่งกลั ยาณมิตร ๒. เนอื้ หาใจความสำคัญ การดำเนินชีวิตในสงั คมให้ดี สงิ่ สำคญั คือ เราต้องอยูใ่ นสงั คมท่ดี ี สังคมดี กเ็ หมอื นแสงอรณุ โดยเกิด จากการมีกลั ยาณมติ รท่ีดี การมีกลั ยาณมิตรที่ดี ก่อให้เกดิ ๑. ความเจริญ หรอื พฒั นา ทำให้เกดิ อริยมรรค มี ๘ องค์ ๒. สามารถทำใหเ้ กิดการต่อยอด อรยิ มรรคมอี งค์ ๘ สงั คมแห่งอุดมปญั ญา เปน็ ตัว พรหมจรรย์ ความบรสิ ุทธิท์ ส่ี ำเรจ็ ผล ศาสนา จึงเป็นกัลยาณมิตรที่ดที ่ีสดุ ซง่ึ ได้แก่ พระรัตนตรัย ซึ่งมนุษย์เราจะประสบพบความทกุ ข์ ๒ อยา่ ง ไดแ้ ก่ ความทกุ ขท์ างกาย โทมนัส ความทกุ ข์ทางใจ กลั ยาณมติ รจะชว่ ยเย่ยี วยา ปลดเปลื้องปญั หาทางสงั คมให้หมดไป ดงั นน้ั กัลยาณมิตรจะเริม่ ตน้ ดง่ั แสงอรุณ รุ่งอรุณของการศึกษา ๑.กัลยาณมติ ตตา ร้จู กั เลือกหาแหล่งความร้แู ละแบบอย่างทด่ี ี ๒. สลี สมั ปทา มชี วี ติ และอยู่รว่ มสงั คมเปน็ ระเบียบวินัย ๓. ฉนั ทะสมั ปทา เกย่ี วกบั แรงจูงใจ ใฝส่ รา้ งสรรค์ ความศรทั ธา ความเชอ่ื มัน่ ๔. อตั ตสมั ปทา มงุ่ ม่นั พัฒนาตนเองอย่างเต็มศกั ยภาพ ๕.ทิฏฐสิ ัมปทา จดั สรรทัศนคติและค่านิยมให้สมเหตุสมผล ๖.อปั ปมาทสัมปทา การมีสติ กระตือรือร้น ตนื่ ตัวทกุ เวลา ๗.โยนิโสมนสิการสมั ปทา การแก้ปัญหาและพ่ึงพาตนได้ด้วยความรู้คิด รุ่งอรุณของการศึกษา คือ บุพนิมิต ทต่ี อ้ งมีองคป์ ระกอบหล่าวนี้ เนื่องจากในการบรหิ ารการศึกษา ใชห้ ลกั รุ่งอรุณของการศึกษา คือ การมสี งั คมทด่ี ี เพ่ือนทด่ี ี การมีระเบยี บมวี ินยั ที่ดี แรงจูงใจในการสร้างสรรค์ ตนเองความมงุ่ มนั่ ในการพัฒนาตวั เอง ทัศนคติ ค่านิยมที่ดี ความมสี ติ ต่นื ตวั ความมปี ัญญาพิจารณา ลักษณะกลั ยาณมิตร เปน็ คนน่ารกั น่าเคารพ นา่ ยกย่อง รจู้ ักพูด มีเหตุมผี ล พูดในเร่ืองลึกซ้งึ ให้เข้าใจงา่ ย

ชือ่ นายทศวรรษ นามสกุล พุม่ ศรีชาย รหสั 6420140432007 คะแนน............. บพุ ภาคของการศกึ ษา หมายถงึ องคป์ ระกอบการศึกษา ประกอบไปด้วย จุดเรม่ิ ตน้ ของการศกึ ษาหรอื แหลง่ ทม่ี าของการศึกษา ได้แก่ - ปรโตโฆสะทด่ี ี คือ เสียงจากผู้อน่ื อิทธิพลจากภายนอก - โยนโิ สมนสิการ คอื การรู้จักคิด คิดถูกวธิ ี ปัจจัยภายใน ทจ่ี ะทำให้เรารจู้ ักใครค่ รวญอย่างลึกซ้ึง กระบวนการของการศึกษา ประกอบไปด้วย - อธิสีลสิกขา คือ ความประพฤติ วนิ ยั สจุ รติ กายวาจา และอาชีพ - อธิจติ สกิ ขา คือ คณุ ธรรม คณุ ภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจิต - อธปิ ัญญา คอื ความเช่ือ ค่านิยม ความรู้ ความคิดท่ีถกู ต้องดีงามตรงตามจรงิ หลกั การปฏิบัตเิ พื่อเขา้ สมู่ รรค ปัญญาวฑุ ฒธิ รรม ๔ อนั ได้แก่ - สปั ปรุ ิสสังเสวะ คือการคบหาบุคคลท่ดี ี เป็นแนวทางนำไปส่กู ารดำเนินชวี ติ ท่ดี ี - สทั ธรรมสวนะ การตั้งใจเรยี นหลกั ธรรมคำสอน การเข้าถึงพระธรรม - โยนโิ สมนสกิ าร การพจิ ารณาโดยละเอยี ดรอบครอบ อย่างใครค่ รวญ แยบคาย - ธรรมานุธรรมปฏิบตั ิ การปฏิบตั ใิ ห้ถกู ต้องตามธรรม การมีปัญญาวุฑฒิธรรม ทำใหเ้ กดิ การดำเนนิ ชวี ิตตามมัชฌิมาปฏปิ ทา คือ ทางสายกลาง ซงึ่ มีขอ้ ธรรมท่ี สามารถนำไปสู่ทางสายกลางได้ พระรัตนตรยั ซึ่งประกอบด้วยการปฏบิ ัติทัง้ ๔ ประการ ดังน้ี คอื - มกี ัลยาณมติ ร พระพทุ ธเจ้า ซึง่ เป็น ปรมัตถะอันสงู สดุ - ปรโตโฆสะที่ดี อันหมายถึง พระธรรม - โยนโิ สมนสกิ าร เปน็ กจิ ของพระธรรม - มรรค เรม่ิ เขา้ รว่ มสสู่ งั ฆะ ดังนั้น พระรตั นตรยั จึงถือได้ว่าเป็นกลั ยาณมิตรทด่ี ีทส่ี ดุ ของชวี ิต ท่ีจะพาชีวิตสูแ่ สงสว่างทด่ี ีงาม ซึ่งหากปถชุ นสามารถเข้าถึงได้จาก การบชู าพระรตั นตรัย การบำเพ็ญสมาธิ การทำให้กายใจ สมบรู ณ์ก็จะมี อานิสงสม์ าก เม่ือสามารถทำสมาธิได้ กส็ ามารถจดั การ นวิ รณ์ ถ้าทำได้ดีแล้วจะเขา้ ถงึ จิตใจทน่ี ่ิงสงบ ถงึ ฌาน4 มอี านุภาพทางใจทีเ่ กิดขึ้นมาก เข้าถงึ ทางปัญญา วชิ ชา3 สามารถระลกึ อดตี ชาติ สามารถเอาชนะกเิ ลสได้ สู่การหลดุ พ้น จงึ ช่อื ว่า ปรมัตถะ เขา้ ถือจดุ สูงสุดของชีวิต พระพุทธเจา้ ศลี สูงสดุ จึงไม่เวียนว่ายตายเกดิ กล่าวโดยสรปุ หากมนษุ ย์ ดำเนินชีวิตทางสายกลาง เป็นผมู้ ีศรัทธา ท่ีเร่มิ ต้น ทางมรรค สมั มาทิฐิ ความเห็นเข้าใจทถ่ี ูกตอ้ ง พิจารณาใครค่ รวญ สร้างความคิดเชงิ บวก สำรวมอนิ ทรีย์ สัมมาวาจา พูดจาดี สง่ ผลตอ่ การทำงาน อนั ไดแ้ ก่ สัมมาอาชวี ะ สงิ่ ที่จะพฒั นาชวี ติ ไปสจู่ ดุ มงุ่ หมาย คือ หลักมัชฌิมาปฏปิ ทา โดยมองเรือ่ งไตรสิกขา ให้ดำเนินชวี ิตบนความพอเหมาะพอดี ชวี ติ กจ็ ะเจอกลั ยาณมิตร และดำรงชวี ิตบน พื้นฐานสงั คมท่ดี ี

ชือ่ นางสาวสพุ รรษา นามสกุล โลห่ ์คา รหัส๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๒ คะแนน............. สรปุ ใจความสาคัญของไตรลักษณ์: อรยิ มรรคมีองค์ ๘ บรรยาย โดยพระมหาสนั ตริ าษฎร์ ฌานสนต,ิ ดร. ------- ๑. ภาพรวมของเน้ือหา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทัด) ในปัจจุบนั ถ้าจะกลา่ วถึงสง่ิ สาคัญในชวี ติ ท่ตี ้องมคี ือ อรยิ สัจ ๔ เมื่อมีอริยสจั ๔ แลว้ จงึ จะเข้าสู่มรรคมีองค์ ๘ มรรค อาจเรียกว่า มชั ฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง เป็นการเลือก คบกับคนดีเป็นมิตร มิตรท่ีดที ีส่ ุดคือพระ รตั นตรัย ซงึ่ เป็นแนวทางที่พระพุทธเจ้าทรงเลือกในการปฏิบตั ิเพื่อให้หลุดพ้นจากการเวียนว่ายตายเกิด ๒. เนอื้ หาใจความสาคญั อรยิ สัจ อริยสัจ หรือจตุราริยสจั หรืออริยสัจ 4 เปน็ หลักคาสอนหน่งึ ของพระโคตมพุทธเจ้า แปลว่า ความจริง อันประเสรฐิ หลักการปฏิบตั ิเพ่ือเขา้ สมู่ รรค การดาเนนิ ตามมัชฌิมาปฏปิ ทา : ทางสายกลาง อาศยั หลักพระรัตนตรัย หลกั การนาธรรมะมาปฏิบตั ใิ นชีวติ อย่างหนง่ึ คือ การเข้าใจว่าธรรมะไมใ่ ช่เรอื่ งเฉพาะศาสนา แต่เป็นวิทยาศาสตร์ พระพุทธเจ้าทรงใช้หลักปัญญาวุฑฒิธรรม ๔ ซ่ึงเป็นการดาเนินตามหลักมัชฌิมาปฏิปทา หรือการเดินทางสายกลาง ประกอบด้วย ๑. สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง มกี ัลยาณมิตร การมสี ังคมท่ีดี เพราะคณุ ภาพของสังคมมีผลต่อ การปฏิบัติตามทางสายกลาง ซึ่งกัลยาณมิตรท่ีดีท่ีสุด และประเสริฐท่ีสุดตามหลัก พระพุทธศาสนา คือ พระ รตั นตรัย ๒. สัทธรรมสวนะ หมายถึง ปรโตโฆสะที่ดี การรับฟังส่ิงที่ดี การรับฟังข้อคิดเห็น แนวความคดิ แนวทางในการดาเนนิ ชีวติ ท่ดี ี ๆ จากผู้รู้ ๓. โยนิโสมนสกิ าร หมายถึง การรู้จักคิด, การพิจารณาโดยแยบคาย, การคิดถูกวิธีเม่ือเรามี เพ่ือนท่ีดี อยู่ในสังคมท่ีดี มีองค์ความรู้ท่ีดีแล้ว องค์ประกอบต่อมาคือ การคิดพินิจพิจารณา การ ใคร่ครวญ กระบวนการจดั การองคค์ วามรู้ท่ดี ี ๔. ธรรมานธุ รรมปฏิบตั ิ หมายถึง การนาหลกั ต่าง ๆ ทไี่ ด้ประพฤติปฏิบัติมาประยุกตใ์ ช้ ส่ิงเหล่านค้ี ือจุดเริ่มตน้ ของการศึกษาและกระบวนการศกึ ษา ๑. ปรโตโฆสะ (เสียงจากผู้อืน่ มีอทิ ธพิ ลจากภายนอก) ๒. โยนิโสมนสกิ า (รู้จักคิด คดิ ถกู วธิ ี ปัจจยั ภายใน) กระบวนการของการศกึ ษา ตามหลักไตรสกิ ขา ประกอบด้วย ๑. อธสิ ีลสกิ ขา คือ ความประพฤติ วนิ ยั สจุ ริตกาย วาจา และอาชพี ๒. อธจิ ิตสกิ ขา คอื คุณธรรม คณุ ภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจิต ๓. อธิปัญญาสกิ ขา คือ ความเชอื่ ควานยิ ม ความรู้ ความคดิ ทถ่ี ูกต้อง ความดงี ามตามจรงิ กลั ยาณมิตร ความสาคัญของกัลยาณมิตร คือ กัลยาณมิตรท่ีดี จะทาให้เกิดความสว่างในชีวิต ซ่ึงการท่ีจะพบ กับ ความสว่างไดน้ ั้น มาจากการพบพระรัตนตรัย

ชอ่ื นางสาวสุพรรษา นามสกุล โล่ห์คา รหัส๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๒ คะแนน............. ๑. ความมีกลั ยาณมิตร ก็เป็นตัวนา เปน็ บพุ นมิ ติ แห่งการเกิดข้นึ ของอริยอษั ฎางคกิ มรรค ๒. ความมีกัลยาณมิตร เท่ากับเป็นพรหมจรรย์ทั้งหมดทีเดียว ก็พ้นจากโสกะ ปริเทวะ ทุกข์ โทมนัส และอุปายา ๓. ความมีกัลยาณมติ ร ก็เปน็ ตวั นา เปน็ บุพนมิ ิต แห่งการเกิดขึ้นของโพชฌงค์ ๗ อรุณของการศึกษา อรุณของการศึกษา บพุ นิมิตแห่งมรรค, แสงเงนิ แสงทองของชีวติ ทดี่ ี ๑. กัลยาณมิตตตา คือ ร้จู กั เลอื กหาแหลง่ ความรแู้ ละแบบอยา่ งทีด่ ี ๒. สลี สมั ปทา คือ มีชีวติ และอยูร่ ่วมสงั คมเปน็ ระเบียบด้วยวนิ ัย ๓. ฉนั ทะสัมปทา คือ พรอ้ มดว้ ยแรงจูงใจใฝร่ ู้ ใฝ่สร้างสรรค์ ๔. อตั ตสมั ปทา คือ มุ่งมนั่ พัฒนาตนให้เตม็ ศกั ยภาพ ๕. ทิฏฐิสมั ปทา คือ ปรับทัศนคตแิ ละค่านยิ มใหส้ มแนวเหตุผล ๖. อปั ปมาทสมั ปทา คือ มสี ติ กระตือรือรน้ ตื่นตัวทกุ เวลา ๗. โยนโิ สมนสกิ ารสมั ปทา คือ แกป้ ญั หาและพ่งึ พาตนได้ด้วยความรคู้ ิด กัลยาณมติ ตธรรม กลั ยาณมิตตธรรม องคค์ ุณของกัลยาณมติ ร, คุณสมบัตขิ องมติ รดหี รือมติ รแท้ ๑. ปิโย (น่ารัก ในฐานเปน็ ที่สบายใจและสนทิ สนม ชวนให้อยากเขา้ ไปปรกึ ษา ไตถ่ าม) ๒. ครุ (น่าเคารพ ในฐานประพฤติสมควรแก่ฐานะ ให้เกิดความรู้สึกอบอุ่นใจ เป็นท่ีพึ่งใจ และ ปลอดภยั ) ๓. ภาวนีโย (น่าเจริญใจ หรือน่ายกย่อง ในฐานทรงคุณคือความรู้และภูมิปัญญาแท้จริง ท้ังเป็นผู้ ฝกึ อบรมและปรับปรุงตนอยเู่ สมอ ควรเอาอยา่ ง ทาใหร้ ะลึกและเอ่ยอา้ งด้วยซาบซ้งึ ภูมใิ จ) ๔. วตฺตา (รู้จักพูดให้ได้ผล รู้จักช้ีแจงให้เข้าใจ รู้ว่าเม่ือไรควรพูดอะไรอย่างไร คอยให้ คาแนะนาว่า กล่าวตักเตือน เป็นท่ปี รึกษาที่ดี) ๕. วจนกฺขโม (อดทนต่อถ้อยคา คือ พร้อมที่จะรับฟังคาปรึกษาซักถามคาเสนอแนะ วิพากษ์วิจารณ์ อดทน ฟงั ได้ไมเ่ บอื่ ไม่ฉุนเฉียว) ๖. คมฺภรี ญฺจกถกตฺตา (แถลงเร่ืองล้าลึกได้ สามารถอธบิ ายเร่ืองยุ่งยากซับซ้อน ใหเ้ ขา้ ใจ และให้เรียนรู้ เรอ่ื งราวที่ลกึ ซึ้งยิ่งขน้ึ ไป) ๗. โน จฏฺฐาเน นิโยชเย (ไม่ชักนาในอฐาน คือ ไม่แนะนาในเรื่องเหลวไหล หรือชักจูง ไปในทางเส่ือม เสยี ) จุดหมายของชีวิต (อัตถะ) ๑. ทิฏฐธัมมกิ ัตถะ ๒. สมั ปรายกิ ัตถะ ๓. ปรมัตถะ (สัมมาญาณ - สัมมาวมิ ตุ ติ)

ชือ่ นางสาวเทวตา นามสกุล สหัสสธารา รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๐ คะแนน............. สรุป ใจความสำคัญ เรือ่ งชวี ิตควรเป8นอยูอ< ยา< งไร : อริยมรรค มีองค? ๘ บรรยายโดย พระมหาสันตริ าษฎร ฌานสนตฺ ิ, ดร. ----—————— ๑. ภาพรวมของเนอื้ หา (ไมเ4 กิน ๓ บรรทัด) มรรค อาจเรียกวCา มัชฌิมาปฏิปทา หรือ ทางสายกลาง ตHองอาศัยสัปปุริสสังเสวะ หมายถึง การเลือก คบกับคนดีเปNนมิตร พระพุทธเจHาทรงใหHแนวทางหลักวCา กัลยาณมิตรที่ดีที่สุดคือพระรัตนตรัย ซ่ึงเปNนแนวทางที่ พระพทุ ธเจาH ทรงเลอื กในการปฏิบัตเิ พือ่ ใหหH ลุดพนH จากการเวยี นวาC ยตายเกิด มงCุ ไปสพูC ระนพิ พาน ๒. เนื้อหาใจความสำคัญ ๒.๑ หลักการปฏบิ ตั เิ พื4อเขาH สมู4 รรค การดาํ เนินตามมัชฌมิ าปฏิปทา : ทางสายกลาง อาศยั หลักพระรัตนตรยั หลักการนําธรรมะมาปฏิบัติในชีวิตอยCางหนึ่งคือ การเขHาใจวCาธรรมะไมCใชCเร่ืองเฉพาะศาสนา แตCเปNน วิทยาศาสตรX การท่ีบุคคลจะไปสูCจุดมุCงหมายสูงสุดคือความสําเร็จไดHน้ัน พระพุทธเจHาทรงใชHหลักป[ญญา วุฑฒิธรรม ๔ ซง่ึ เปนN การดําเนนิ ตามหลักมชั ฌมิ าปฏิปทา หรือการเดินทางสายกลาง ประกอบดวH ย ๑. สัปปุริสสังเสวะ หมายถึง มีกัลยาณมิตร การมีสังคมที่ดี เพราะคุณภาพของสัมคมมีผลตCอ การปฏิบัติตามทางสายกลาง ซึ่งกัลยาณมิตรที่ดีท่ีสุด และประเสริฐท่ีสุดตามหลัก พระพทุ ธศาสนา คอื พระรตั นตรยั ๒. สัทธรรมสวนะ หมายถึง ปรโตโฆสะที่ดี การรับฟ[งส่ิงที่ดี การรับฟ[งขHอคิดเห็น แนวความคิด แนวทางในการดาํ เนนิ ชวี ติ ทดี่ ี ๆ จากผรHู Hู ๓. โยนิโสมนสิการ หมายถึง การรHูจักคิด, การพิจารณาโดยแยบคาย, การคิดถูกวิธีเมื่อเรามี เพื่อนที่ดี อยCูในสังคมที่ดี มีองคXความรHูท่ีดีแลHว องคXประกอบตCอมาคือ การคิดพินิจพิจารณา การ ใครคC รวญกระบวนการจัดการองคคX วามรทHู ด่ี ี ๔. ธรรมานุธรรมปฏิบัติ หมายถึง การนาํ หลักตาC ง ๆ ที่ไดปH ระพฤติปฏบิ ัตมิ าประยกุ ตใX ชH ๒.๒ บุพภาคของการศึกษา - จดุ เริ่มตนH หรือแหลงC ท่มี าของการศึกษา ประกอบดวH ย ๑. ปรโตโฆสะ (เสยี งจากผูHอื่นมอี ทิ ธิพลจากภายนอก) ๒. โยนิโสมนสิกา (รจHู ักคดิ คดิ ถูกวธิ ี ปจ[ จยั ภายใน) - กระบวนการของการศกึ ษา ตามหลักไตรสิกขา ประกอบดวH ย ๑. อธิสีลสิกขา คอื ความประพฤติ วินัย สจุ รติ กาย วาจา และอาชีพ ๒. อธิจติ สกิ ขา คือ คณุ ธรรม คุณภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจติ ๓. อธิปญY ญาสกิ ขา คือ ความเชื่อคาC นยิ ม ความรูH ความคดิ ท่ถี ูกตอH ง ความดีงามตามจริง

ช่ือ นางสาวเทวตา นามสกุล สหัสสธารา รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๐ คะแนน............. ๒.๓ ความสำคัญของกัลยาณมิตร คือ กัลยาณมิตรท่ีดี จะทำใหHเกิดความสวCางในชีวิต ซ่ึงการท่ีจะพบ กบั ความสวCางไดนH ัน้ มาจากการพบพระรัตนตรัย ๒.๔ รุง4 อรุณของการศึก คอื การศกึ ษาตามหลักอรยิ มรรคมอี งคX ๘ หรอื หลกั ไตรสกิ ขา ๑. กลั ยาณมิตตตา รHูจกั เลอื กหาเเหลCงความรูHและแบบอยCางทีด่ ี ๒. สีลสัมปทา มีชีวิตและอยCูรวC มสงั คมที่มีความเปNนระเบยี บและมวี ินยั ๓. ฉนั ทะสมั ปทา ศรัทธา เชือ่ มน่ั พรอH มดHวยแรงบนั ดาลใจ ๔. อัตตสมั ปทา พรอH มทจี่ ะยกระดับพัฒนาตนเองใหเH ตม็ ศักยภาพ ๕. ทฏิ ฐสิ ัมปทา ปรับทศั นคติและคาC นิยมทด่ี ี ใหสH มแนวเหตผุ ล ๖. อัปปมาทสมั ปทา การมีสติ ไมปC ระมาท มคี วามตน่ื ตวั กระตือรือรนH อยตCู ลอดเวลา ๗. โยนิโสมนสิกาสมั ปทา แกปH ญ[ หาและพ่งึ พาตนเองไดดH วH ยความรคูH ดิ ๒.๕ บุพมิตแหง4 มรรค บุพมิตแหCงมรรค คือ ทางสายกลางหากมีครบทั้ง ๗ ขHอ ก็จะสCงผลใหHมรรคมีองคX ๘ มีการ เจริญงอก งาม พอกพูนขึ้นเปNนลําดับ เสมือนเปNนปoุย ใหHมรรคมีองคX ๘ ไดHรับแรงสCงเสริม สนับสนุนใหH กระบวนการในการทํางานของมรรคมีองคX ๘ เร่ิมตHนขึ้นและพัฒนาขึ้นตามลําดับ หากพิจารณาจะเห็น วาC การทาํ คณุ งามความดีในสังงคมนนั้ เริ่มตHนจากทาน ศีล ภาวนา จติ ปญ[ ญา ๒.๖ มชั ฌิมาปฏปิ ทา มัชฌิมาปฏิปทา เปNนหลักท่ีมีความสัมพันธXกันของไตรสิกขา กับประโยชนXอันสูงสุดในชีวิต มี ๔ ประการ คอื ๑. กระบวนการเริ่มตHน จุดสงC เสริม ๒. กระบวนการในการศึกษาตามหลกั ไตรสิกขา (บพุ ภาค) ๓. กระบวนการอุดมปญY ญาชวี ติ ท่ปี ระเสริฐตามหลักอรยิ มรรคมอี งคb ๘ ๔. จุดมุง4 หมายของชีวิต ซงึ่ ทางพระพุทธศาสนามเี ปาp หมายหมายคือ ๑) ทฏิ ฐธมั มกิ ตั ถะ (เปeาหมายในปจY จบุ ัน) - อุฏฐานสัมปทา ถึงพรHอมดHวยความหม่ัน เชCน ขยันหมั่นเพียร เล้ียงชีพดHวยการ หม่นั ประกอบการงาน เปนN ผHูขยนั ไมCเกียจคราH นในการงานนน้ั - อารักขสัมปทา ถึงพรHอมดHวยการรักษาโภคทรัพยX (ท่ีหามาไดHดHวยความ ขยันหมัน่ เพียรโดยชอบธรรม) - กัลยาณมิตร คบคนดี มีสังคมท่ีดี ซ่ึงเปNนผHูมีสมาจารบริสุทธ์ิ ผHูถึงพรHอมดHวยศรัทธา ศลี จาคะ ปญ[ ญา - สมชีวิตา มีคุณภาพชีวิต อยูCอยCางพอเพียง รูHทางเจริญทรัพยXและทางเสื่อมแหCงโภค ทรัพยX แลHวเลยี้ งชีพพอเหมาะ ไมใC หHสุรุยC สรุ าC ยฟูมฟายนัก ไมใC หฝH ดs เคอื ง ๒) สมั ปรายกิ ตั ถะ (เปาe หมายในภพหนHา) มงุC ถงึ สวรรคX ตHองการทจี่ ะไปสภCู พภูมิทด่ี ี ๓) ปรมตั ถะ การหลดุ พนH จากกเิ ลส มCงุ สูพC ระนิพพาน

ชอ่ื นางสาวเทวตา นามสกลุ สหัสสธารา รหสั ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๐ คะแนน............. ๒.๗ พรหมจรรยbท่ีสําเร็จผล การท่ีเราจะไปสCูจุดมุCงหมาย ๓ ระดับ ประกอบดHวย ๑. ศีล คือ การไดHมีโอกาสพบพระพุทธศาสนากระบวนการในการศึกษาในเชิงลึก รHูหลักธรรมคําสั่งสอนเพื่อเปNนแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตน เกิดความศรัทธา มอี ริยศีล หรอื การรักษาศลี ใหสH มบรู ณX ๒. สมาธิ คือ การบำเพ็ญสมาธิ คือการสํารวมทางตา หู จมูก ปาก ลิ้น กาย ใจ เขHาถึงสมาธิ ชําระนิวรณX (สิ่งที่จะมาขัดขวาง) ใหHบริสุทธิ์ และสุดทHายมีจิตใจท่ีนิ่งสงบ คือการเขHาถึง ฌาน ๔ ๓. ปญY ญา คอื การเอาชนะและหลดุ พนH จากกิเลสไดH คนท่ีจะนำชีวิตไปสCูปรมัตถะที่สูงสุดในชีวิตไดHสำเร็จ ตHองเร่ิมตHนจากหลักการทางมรรค หรือหลักการ ดำเนินทางสายกลาง ตHองเริ่มตHนจากสัมมาทิฏฐิ สัมมาสังกัปปะกCอน คือความเห็นความเขHาใจที่ถูกตHอง แลHวแนวความคิดที่ดกี ็จะตามมาอนั เปนN ความคดิ เชงิ บวกในทส่ี ุด ****************************************************

ชื่อ นางสาวอภญิ ญา นามสกุล ไชยเบ้า รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๓ คะแนน....................... สรุป ใจความสาคัญ เร่อื ง ชีวิตควรเปน็ อยอู่ ย่างไร: อรยิ มรรค มีองค์ ๘ บรรยายโดย พระมหาสนั ตริ าษฎร ฌานสนติ, ดร. ๑. ภาพรวมของเนอื้ หา (ไมเ่ กนิ ๓ บรรทดั ) มรรค คอื หนทางสคู่ วามดับทุกข์ เป็นหน่ึงใน อริยสจั 4 เป็นการลงมอื ปฏบิ ัตเิ พ่ือให้พ้นจากทกุ ข์ ประกอบดว้ ยองค์ประกอบ 8 ประการ ในธัมมจักกัปปวัตตนสตู ร พระพุทธเจา้ ตรสั วา่ อริยมรรคมีองค์ 8 นี้เป็น ทางสายกลาง คือเปน็ ข้อปฏิบัติอนั พอดีทจี่ ะนาไปสู่ความหลุดพน้ ๒. เน้ือหาใจความสาคัญ ๒.๑ มรรค เป็นแนวทางดาเนินอันประเสริฐของชีวิตหรอื กาย วาจา ใจ เพือ่ ความหลุดพ้นจากทุกข์ เรียกวา่ อริยมรรค แปลว่าทางอันประเสรฐิ เป็นข้อปฏิบัตทิ ่ีมหี ลักไม่อ่อนแอ จนถงึ กับตกอย่ใู ต้อานาจ ความ อยากแห่งใจ แต่ก็ไม่แข็งตึงจนถึงกบั เป็นการทรมานกายจากความสขุ ทางกาย เพราะฉะนนั้ จงึ ได้เรยี กวา่ มัชฌมิ าปฏิปทา คือทางดาเนินสายกลาง ไมห่ ย่อนไม่ตงึ ๒.๒ การดาเนินตามมชั ฌิมาปฏปิ ทา หลกั การนาธรรมะมาปฏบิ ัตใิ นชวี ิต คือ การเข้าใจธรรมะไม่ใชเ่ รอ่ื งเฉพาะศาสนา แตเ่ ป็นวทิ ยาศาสตรอ์ ย่าง หนง่ึ โดยพระพุทธเจา้ ทรงใช้หลกั ปรญั ชาวฑุ ฒิธรรม ๔ แปลวา่ ธรรมเป็นเครื่องเจริญ, คุณธรรมท่ีก่อให้เกิด ความเจรญิ งอกงาม ซง่ึ เปน็ การดาเนินตามหลกั มชั ฌิมาปฏิปทา หรือการเดนิ ทางสายกลาง ประกอบด้วย ๔ ประการ ดงั น้ี - สปั ปรุ สิ สงั เสวะ หมายถึง การเลือกคบกับคนดีเป็นมติ ร - สัทธรรมสวนะ หมายถึง การฟงั คาแนะนาทีด่ ีจากผมู้ ีคณุ ธรรมความรู้ เพื่อนามาพฒั นาตนเอง และชว่ ยเหลอื ผ้อู ่นื - โยนโิ สมนสกิ าร หมายถงึ การใช้ปัญญาพิจารณาไตร่ตรองอยา่ งรอบคอบก่อนลงมือปฏิบัติ - ธัมมานุธมั มปฏบิ ตั ิ หมายถึง ปฏิบตั ิถกู ตอ้ งเหมาะสมตามทานองคลองธรรม ไมก่ ่อความ เดือดรอ้ นแกต่ นเองและสงั คม ๒.๓ บพุ ภาคของการศกึ ษา - จุดเร่ิมตน้ หรอื แหล่งท่ีมาของการศึกษา ประกอบไปดว้ ย ๑. ปรโตโฆสะท่ดี ี คอื เสียงจากผอู้ ่ืน อทิ ธพิ ลจากภายนอก ๒. โยนโิ สมนสกิ าร คอื รจู้ ักคิด คิดถูกวิธี ปจั จยั ภายใน - กระบวนการของการศึกษา ประกอบด้วย ๑. อธสิ ีลสิกขา คอื ความประพฤติ วินยั สุจริตกายวาจา และอาชีพ ๒. อธิจติ สกิ ขา คือคณุ ธรรม คุณภาพ สขุ ภาพ และสมรรถภาพของจิต ๓. อธปิ ัญญสิกขา คือความเชื่อ คา่ นิยม ความรู้ ความคดิ ถูกตอ้ งดีงามตรงตามความจริง

ชื่อ นางสาวอภญิ ญา นามสกุล ไชยเบ้า รหัส ๖๔๒๐๑๔๐๔๓๒๐๑๓ คะแนน....................... ๒.๔ รุ่งอรณุ ของการศกึ ษา ในการท่บี ุคคลจะกา้ วเข้าสู่การพัฒนาตนเองหรือกา้ วเขา้ สู่การศึกษาทเี่ รียกว่า บุพนิมิตแห่งมรรค หรอื เรยี กว่า รงุ่ อรุณของการศึกษา และใช้คาไทยงา่ ยๆ ว่า แสงเงินแสงทองของชวี ิตทดี่ งี าม มี ๗ ประการ คือ ๑. กัลป์ยาณมิตตตา คือรจู้ กั เลอื กหาแหลง่ ความรู้และแบบอย่างท่ดี ี ๒. สีลสัมปทา คอื มชี ีวิตและอยูร่ ่วมสังคมเป็นระเบยี บดว้ ยวนิ ัย ๓. ฉนั ทะสัมปทา คือพรอ้ มดว้ ยแรงจงู ใจใฝร่ ู้ ใฝ่สร้างสรรค์ ๔. อัตตสัมปทา คือมุง่ ม่ันพฒั นาตนใหเ้ ต็มศักยภาพ ๕. ทฏิ ฐสิ มั ปทา คือปรับทศั นคตแิ ละคา่ นยิ มใหส้ มแนวเหตุผล ๖. อปั ปมาทสมั ปทา คือมีสติ กระตือรอื รน้ ต่ืนตัวทุกเวลา ๗. โยนโิ สมนสกิ ารสมั ปทา คือแกป้ ญั หาและพึ่งพาไดด้ ้วยความรคู้ ิด ๒.๕ มชั ฌิมาปฏปิ ทา ประกอบดว้ ยองค์ ๘ ประการ ท่เี ราเรียกว่า มรรค ประกอบดว้ ยองค์ ๘ คือ ๑. สัมมาทฏิ ฐิ ความเหน็ ชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดาริชอบ ๓. สมั มากัมมนั ตะ การกระทาชอบ ๔. สมั มาวาจายะ การพูดชอบ ๕. สมั มาอาชวี ะ การเลีย้ งชพี ชอบ ๖. สัมมาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สัมมาสติ ความระลกึ ชอบ ๘. สัมมาสมาธิ ความตัง้ ใจมน่ั ชอบ - องค์มรรคทั้ง ๘ ประการนี้ จัดเป็นกลมุ่ ได้ ๓ กลุ่ม คือ กลุ่มท่ี ๑ เรียกว่า ศีล ไดแ้ ก่ ๑. สัมมากมั มันตะ การกระทาชอบ (กายสุจรติ ๓) ๒. สัมมาวาจา การพดู ชอบ (วจีสุจรติ ๔) ๓. สัมมาอาชีวะ การเลยี้ งชพี ชอบ (คอื ทาอาชีพโดยไมเ่ ปน็ กายทุจรติ ๓ และไม่เปน็ วจีทุจรติ ๔) กลมุ่ ท่ี ๒ เรยี กวา่ สมาธิ ได้แก่ ๖. สมั มาวายามะ ความพยายามชอบ ๗. สมั มาสติ ความระลกึ ชอบ ๘. สมั มาสมาธิ ความต้ังใจมนั่ ชอบ กล่มุ ที่ ๓ เรียกว่า ปัญญา ไดแ้ ก่ ๑. สมั มาทิฏฐิ ความเหน็ ชอบ ๒. สัมมาสังกัปปะ ความดารชิ อบ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook