แผนปฏบิ ตั ริ าชการและแผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนกั งานวฒั นธรรมจงั หวัดกาฬสินธ์ุ สำนกั งานวฒั นธรรมจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ กลมุ่ ยุทธศาสตรแ์ ละเฝา้ ระวงั ทางวฒั นธรรม โทร./โทรสาร 043-815806, 043-811394 E-mail:[email protected]
คณะผู้จัดทำ วัฒนธรรมจังหวัดกาฬสินธุ์ ผอู้ ำนวยการกลุ่มยทุ ธศาสตรแ์ ละเฝ้าระวังทางวฒั นธรรม ทปี่ รึกษา ผู้อำนวยการสง่ เสริมศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม หวั หนา้ ฝา่ ยบรหิ ารท่วั ไป นางกมนรตั น์ สิมมาคำ ผอู้ ำนวยการกลมุ่ กิจการพิเศษ นางธนวรรณ มัธยมนันทน์ นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ นายเอกรินทร์ ชวู ชิ ัย กล่มุ พธิ ีการศพท่ไี ด้รบั พระราชทาน นางเกษราภรณ์ ศรสี ุริยานนั ท์ นางกญั ญพัชร นางาม นกั วชิ าการวฒั นธรรมชำนาญการ นายปฏิพงษ์ ภูงามทอง นกั วิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ นักวชิ าการวฒั นธรรมชำนาญการ คณะทำงาน นักวิชาการวฒั นธรรมชำนาญการ นักวิชาการวฒั นธรรมชำนาญการ นางสขุ ณิชมน ป่นิ วเิ ศษ นกั วิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ นางสมจิต รัศมี นกั วิชาการวฒั นธรรมชำนาญการ นางเสาวคนธ์ ชนะบญุ นกั วชิ าการวฒั นธรรมชำนาญการ นางกอแก้ว ศริ กิ ลุ นักวิชาการวฒั นธรรมชำนาญการ นางนาตยา พรเพ็ชรพราว นักวชิ าการวฒั นธรรมชำนาญการ นายสถิตพน กติ ะชัย นกั วชิ าการวฒั นธรรมชำนาญการ นางณฐั วดี รอดภัย นกั วชิ าการวัฒนธรรมปฏิบตั ิการ นายตฤณ มาลัยเถาว์ นักวชิ าการวัฒนธรรมปฏบิ ัติการ นางจริ าวรรณ ตรีเนตร นักวิชาการวฒั นธรรมปฏิบัตกิ าร นางกรรณิการ์ อนันตภักด์ิ นักวิชาการวฒั นธรรมปฏิบัตกิ าร นางสาวเบญจวรรณ แข็งฤทธ์ิ นกั วิชาการวัฒนธรรมปฏิบตั กิ าร นางสาวหนลู ะมยั ทัศนา นางสาวลำดวน ทบวงศรี นกั วชิ าการวัฒนธรรมชำนาญการ นางสุปราณี ลาบบญุ เรอื ง เจ้าหนา้ ที่บันทกึ ขอ้ มลู นางสาวอภญิ ญา ทองอินทร์ นายสรุ ศักด์ิ หมวกชยั ภูมิ คณะทำงานและเลขานุการ นางสาวสิรินธร ฉตั รศภุ กลุ นายพิชิตพล ปาระภา ข สารบญั
เรือ่ ง หน้า คำนำ ก สารบัญ ข สว่ นท่ี ๑ สภาพบรบิ ททั่วไปของจังหวดั กาฬสินธ์ุ ๑ ส่วนท่ี ๒ กรอบแนวคดิ และนโยบายท่เี กี่ยวขอ้ ง ๑7 สว่ นท่ี 3 รายละเอียดแผนปฏิบตั ิราชการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ 29 3.1 รายละเอียดโครงการท่เี ปน็ แผนปฏิบัติการและแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณ 29 ➢1. งบประมาณสำนักงานปลัดกระทรวงวฒั นธรรม 31 ➢2. งบประมาณกรมสง่ เสริมวฒั นธรรม 55 ➢3. งบประมาณกรมการศาสนา 66 ➢4. งบอืน่ ๆ 117 1. งบประมาณภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ 121 2. งบประมาณพัฒนาจงั หวดั 124 3. งบประมาณองคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัด 129 4. งบประมาณ CEO จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ 132 3.2 การวิเคราะห์ความสอดคลอ้ งของโครงการกบั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ 135 3.3 แผนการใชจ้ ่ายงบประมาณรายไตรมาส ตามมาตรการการคลัง ด้านการใชจ้ ่ายภาครัฐ กระทรวงการคลัง 145 ภาคผนวก 149 - คำส่งั สำนกั งานวฒั นธรรมจังหวดั กาฬสินธุ์ - คณะผู้จดั ทำ
ก คำนำ แผนปฏิบัติราชการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวดั กาฬสินธุ์ฉบบั น้ี จัดทำข้ึนตามพระราชกฤษฎกี าว่าด้วยหลกั เกณฑ์และวธิ ีการบริหาร กิจการบ้านเมืองท่ีดี พ.ศ. ๒๕๔๖ มาตรา ๙ การบริหาราชการเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธติ์ ่อภารกิจของรัฐ ซง่ึ บญั ญัติ ใหส้ ่วนราชการจัดทำแผนปฏิบัติราชการโดยกำหนดใหต้ ้องมรี ายละเอียดของข้ันตอนระยะเวลาและงบประมาณ ทต่ี ้องใช้ในการดำเนินการของแตล่ ะขั้นตอน เป้าหมายของภารกจิ ผลสัมฤทธ์ขิ องภารกิจ และตวั ช้ีวัดความสำเร็จ ของภารกจิ แผนปฏิบัติราชการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ สำนักงานวัฒนธรรมจงั หวัดกาฬสินธ์ุ มีสาระสำคัญประกอบด้วย ๓ องคป์ ระกอบ ได้แก่ ส่วนที่ ๑ สภาพบริบท ทั่วไปขอจังหวัดกาฬสินธุ์ ส่วนที่ ๒ กรอบแนวคิดและนโยบายที่เก่ียวข้อง และส่วนท่ี ๓ แผนปฏิบัติการและ แผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ การนำแผนสู่การปฏิบัติ สำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดกาฬสินธ์ุ จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า แผนปฏิบัติราชการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่าย ประจำปี งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จะเป็นเครื่องมือและกลไกสำคัญในการบริหารงาน/โครงการของสำนักงาน การปฏิบัติงานภายในหน่วยงาน การพัฒนางานด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรมของจังหวัดกาฬสินธ์ุ เพ่ือขับเคลอ่ื นให้บรรลุวตั ถุประสงคแ์ ละเกิดประสิทธภิ าพในการดำเนินงานต่อไป สำนักงานวฒั นธรรมจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ มนี าคม ๒๕64
ภาคผนวก
ส่วนท่ี ๑ สภาพบรบิ ทท่ัวไปของจังหวัดกาฬสินธ์ุ 1.1 ประวัติความเป็นมาของจังหวัด ก าฬ สิ น ธ์ุ เป็ น จั ง ห วั ด ที่ มี ค ว าม อุ ด ม ส ม บู ร ณ์ แ ห่ ง ห นึ่ ง ใน ภ าค อี ส าน จ าก ห ลั ก ฐ าน ท า ง ประวัติศาสตร์พบว่า เร่ิมต้ังเป็นเมืองในสมัยรัตนโกสินทร์ เม่ือปี พ.ศ. 2336 โดยท้าวโสมพะมิตร ได้อพยพ หลบภัยมาจากดินแดนฝ่ังซ้ายแม่น้ำโขงพร้อมไพร่พล และมาตั้งบ้านเรือนอยู่ริมน้ำปาว เรียกว่า “บ้านแก่ง สำโรง” แล้วได้นำเคร่ืองบรรณาการเข้าถวายสวามิภักดิ์ตอ่ พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช ต่อมา ได้รับพระกรุณาโปรดเกล้ายกฐานะบ้านแก่งสำโรงขึน้ เป็นเมือง และพระราชทานนามว่า “เมืองกาฬสินธ์ุ” หรือ “เมืองน้ำดำ” ซ่ึงเป็นเมืองท่ีสำคัญทางประวตั ิศาสตร์มาต้ังแต่สมัยโบราณกาล “กาฬ” แปลว่า “ดำ” “สินธ์ุ” แปลว่า “น้ำ” กาฬสินธ์ุจึงแปลว่า “น้ำดำ” ทง้ั มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมแต่งตั้งให้ท้าว โสมพะมิตรเป็น “พระยาชัยสุนทร” ครองเมืองกาฬสินธเุ์ ป็นคนแรกกาฬสินธมุ์ ีของดีหลากหลายดังคำขวัญท่วี ่า “หลวงพ่อองค์ดำ ลือเล่ือง เมืองฟ้าแดดสงยาง โปงลางเลิศล้ำ วัฒนธรรมภูไท ผ้าไหมแพรวา ผาเสวยภูพาน มหาธารลำปาว ไดโนเสาร์สัตว์โลกลา้ นป”ี 1.2 ลกั ษณะทางกายภาพ 1.2.1 ท่ีตัง้ จังหวัดกาฬสินธ์ุ ตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย และอยู่ตอนกลางของ ภาค อยู่ระหว่าง เส้นรุ้งที่16-17องศาเหนือ และอยรู่ ะหว่างเส้นแวงท่ี 103–104 องศาตะวนั ออก ห่างจาก กรงุ เทพมหานคร ประมาณ 519 กิโลเมตร เนือ้ ทีป่ ระมาณ 6,946.75 ตารางกิโลเมตร หรอื ประมาณ 4.3 ลา้ นไร่ และมีอาณาเขตติดต่อกบั จงั หวัดใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดจงั หวัดสกลนคร และ จงั หวัดอดุ รธานี ทิศตะวันออก ตดิ จงั หวัดรอ้ ยเอ็ด และ จงั หวัดมกุ ดาหาร ทิศใต้ ติดจังหวดั ร้อยเอ็ด และ จงั หวดั มหาสารคาม ทิศตะวนั ตก ตดิ จงั หวัดมหาสารคาม และ จงั หวัดขอนแกน่ ๑
สัญลกั ษณจ์ งั หวัดกาฬสินธ์ุ เปน็ รปู บงึ ใหญ่ ตฤณชาติ และเมฆพยับฝน หมายถงึ สัญลกั ษณ์ของความชมุ่ ชื่นและอดุ มสมบูรณ์ของภมู ภิ าคทิวเขาตรงแนวสดุ ขอบฟ้าคือแนวกั้นเขตแดน กับจังหวัดใกล้เคียงน้ำในบึงที่มีสีดำเพ่ือให้ตรงกับช่ือของจังหวัดกาฬสินธ์ุ ตั้งเป็นเมือง เม่ือ พ.ศ. ๒๓๓๖ เพราะมี ชาวเมืองเวยี งจันทร์อพยพมาตง้ั บ้านเรือนอยู่มากท่ีบ้านสงเปลือยทางฝ่ังตะวันออกของริมแม่น้ำปาวจังหวัดกาฬสินธ์ุ แยกตัวออกจากจงั หวดั มหาสารคาม เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๖ คำขวัญจังหวดั กาฬสินธุ์ หลวงพอ่ องคด์ ำลือเล่อื ง เมืองฟ้าแดดสงยาง โปงลางเลศิ ล้ำ วัฒนธรรมภูไท ผา้ ไหมแพรวา ผาเสวยภูพาน มหาธารลำปาว ไดโนเสารส์ ัตว์โลกลา้ นปี ดอกไมป้ ระจำจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ ช่ือดอกไม้ : ดอกพะยอม ตน้ ไมป้ ระจำจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ ชื่อตน้ ไม้ : มะหาด ชอื่ วิทยาศาสตร์ : ArtoccarpuslacuchaRoxb ๒
1.2.2 ลกั ษณะภูมิประเทศ จงั หวดั กาฬสนิ ธม์ุ ีลกั ษณะภมู ปิ ระเทศแบง่ ออกไดเ้ ป็น 3 ลักษณะ ได้แก่ 1) ลักษณะพื้นที่ตอนบน ได้แก่ บริเวณอำเภอท่าคนั โท อำเภอคำม่วง อำเภอสามชัย อำเภอ นาคแู ละอำเภอเขาวง ซงึ่ เป็นบริเวณแนวเทอื กเขาภพู าน มีภูเขาสลบั ซบั ซ้อน และมที ร่ี าบในบริเวณระหว่างหุบ เขาสลับกับป่าทึบ ได้แก่ ป่าดงมูล และป่าดงแม่เผด บริเวณดังกล่าวเป็นแหล่งต้นน้ำลำธารหล่อเลี้ยงจังหวัด กาฬสนิ ธ์ุที่สำคญั ได้แก่ ลำน้ำปาว และลำน้ำพาน มีเขื่อนลำปาวเพื่อเก็บกกั น้ำไว้ใชใ้ นการเพาะปลกู ทั้งในฤดฝู น และฤดูแลง้ 2) ลักษณะพ้ืนท่ีตอนกลาง ได้แก่ บริเวณอำเภอหนองกุงศรี อำเภอสหัสขันธ์ อำเภอสมเด็จ อำเภอ ห้วยผ้ึง อำเภอนามน อำเภอกุฉินารายณ์ และอำเภอห้วยเม็ก ลักษณะภูมิประเทศเป็นเนินเขาสลับกับป่าโปร่งและ ทงุ่ ราบ 3) ลักษณะพืน้ ท่ตี อนล่าง ไดแ้ ก่ บรเิ วณอำเภอยางตลาด อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ อำเภอร่องคำ อำเภอกมลาไสยอำเภอดอนจาน และอำเภอฆ้องชัยลักษณะภูมิประเทศเป็นท่ีราบต่ำเป็นแหล่งเพาะปลูกที่ สำคญั ของจังหวัดกาฬสินธ์ุ เป็นบริเวณที่รับน้ำชลประทานจากโครงการชลประทานลำปาว และมีลำน้ำชี ลำน้ำ พานลำหว้ ย บึง และหนองน้ำทว่ั ไป 1.2.3 ลักษณะภูมิอากาศ ภูมิอากาศโดยท่ัวไปจะมีลักษณะคล้ายคลึงกับจังหวัดอ่ืนๆ ในภาคตะวันออกเฉยี งเหนือ คือ มีอากาศร้อนและค่อนข้างหนาวในฤดูหนาว โดยเฉลี่ยแล้วในปีหนึ่งๆ มีฝนตกประมาณ 113 วัน ฤดูฝนเร่ิม ประมาณระหว่างเดือนพฤษภาคม ถงึ เดือนพฤศจกิ ายน ปรมิ าณน้ำฝนเฉลีย่ ในชว่ ง ๓๐ ปี (2524 – 2553) ปรมิ าณ น้ำฝนเฉล่ียประมาณ 1,367.1 มิลลิเมตรต่อปี เดือนกันยายน เป็นเดือนท่ีฝนตกมากที่สุด ประมาณ 238 มิลลเิ มตร อณุ หภมู สิ ูงสุดในเดือนเมษายน 41.9 องศาเซลเซียส ตำ่ สุดในเดือนมกราคม 16.0 องศาเซลเซียส (ท่ีมา : ศนู ยอ์ ุตุนยิ มวทิ ยาภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน / สถานอี ตุ นุ ิยมวทิ ยากาฬสนิ ธ)์ุ 1.3 ขอ้ มลู การปกครอง/ประชากร 1.3.1 ขอ้ มลู การปกครอง / ประชากร จงั หวัดกาฬสินธุ์ แบ่งการปกครองส่วนภูมิภาค ออกเปน็ 18 อำเภอ 135 ตำบล 1,584.หมู่บ้าน โดยมีอำเภอดังนี้ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ อำเภอกมลาไสย.อำเภอกุฉินารายณ์ อำเภอเขาวง อำเภอ คำม่วง อำเภอท่าคันโท อำเภอนามน อำเภอยางตลาด อำเภอร่องคำ อำเภอสมเด็จ อำเภอสหัสขันธ์ อำเภอ หนองกงุ ศรี อำเภอห้วยผงึ้ อำเภอห้วยเมก็ .อำเภอฆ้องชัย.อำเภอดอนจาน อำเภอนาคู และอำเภอสามชยั การปกครองส่วนท้องถ่ิน ประกอบด้วย องค์การบริการส่วนจังหวัด ๑ แห่ง เทศบาลเมือง 2 แห่ง คือ.เทศบาลเมืองกาฬสนิ ธุ์และเทศบาลเมืองบวั ขาว เทศบาลตำบล 77 แห่ง องค์การบริหารสว่ นตำบล 7๑ แห่ง จำนวนประชากรจากสถิติของ กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เมื่อสิ้นปี 25๖2 จังหวัด กาฬสินธ์ุ มีประชากร ทั้งส้ิน 983,418 คน เป็นชาย 487,451 คน และเป็นหญิง 495,967 คน ประชากร ที่อาศัยอยู่ในเทศบาลมีเพียงร้อยละ 30.08 ส่วนท่ีเหลืออีก ร้อยละ 69.92 อาศัยอยู่นอกเขตเทศบาล ความหนาแน่นของประชากรเท่ากับ 141.8 คนต่อตารางกิโลเมตร จำนวนประชากรโดยเฉลี่ยต่อครัวเรือน เทา่ กับ 3.6 คน จำนวนครัวเรือนเฉล่ียต่อหมู่บา้ น 175 ครัวเรือน และจำนวนประชากรเฉล่ียต่อหมู่บ้าน 622 คน (ข้อมูล : สถิตจิ ังหวดั กาฬสินธุ์, ๓๑ ธนั วาคม ๒๕๖2) ข้อมลู ประชากรปรากฏดังตารางที่ ๑ ๓
ตารางท่ี ๑ แสดงขอ้ มลู การปกครอง/ประชากร จำแนกตามอำเภอ ท่ี อำเภอ ตำบล หม่บู ้าน อบต. เทศบาล อปท. พน้ื ที่ ประชากร จำนวนบ้าน (แหง่ ) (แห่ง) (แหง่ ) (ตร.กม.) 1 เมอื งกาฬสินธ์ุ ชาย หญงิ รวม (หลงั ) 2 ยางตลาด 3 กฉุ ินารายณ์ 17 185 1 1๖ 17 691.524 71,857 74,504 146,361 48,420 4 หนองกุงศรี 5 ห้วยเม็ก 15 208 9 8 17 621.084 63,235 65,441 128,676 38,274 6 กมลาไสย 7 สมเดจ็ 12 145 9 5 14 739.247 50,499 50,982 101,481 31,843 8 สหสั ขนั ธ์ 9 เขาวง 9 113 3 7 10 626.944 33,365 33,424 66,789 19,406 10 คำมว่ ง 11 ทา่ คนั โท 9 84 7 4 11 291.011 25,683 25,634 51,317 14,791 12 นามน 13 นาคู 8 111 5 5 10 317.329 33,838 35,330 69,168 19,204 14 ฆ้องชัย 15 ดอนจาน 8 94 4 5 9 454.095 30,795 31,371 62,166 19,467 16 หว้ ยผึง้ 17 สามชัย 8 85 2 6 8 316.402 21,262 21,603 42,865 12,208 18 รอ่ งคำ 6 71 2 4 6 205.105 16,963 17,283 34,246 13,347 รวม 6 71 5 3 8 621.005 24,630 24,394 49,024 13,421 6 60 1 5 6 393.549 18,982 19,043 38,025 10,637 5 67 4 2 6 245.329 18,220 18,415 36,635 10,964 5 55 4 2 6 203.092 15,516 15,720 31,236 9,466 5 48 4 1 5 136.247 13,345 13,497 26,842 7,171 5 48 3 2 5 194.961 13,026 13,029 26,055 7,264 4 52 2 3 5 256.832 15,053 15,214 30,267 8,790 4 47 4 0 4 550.853 13,037 12,691 25,728 7,136 3 40 2 1 3 82.137 8,145 8,392 16,537 5,174 135 1,584 71 79 150 6,946.746 487,451 495,967 983,418 296,981 ท่มี า : ท่ที ำการปกครองจังหวัดกาฬสินธ์ุ, สถติ ิจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ ข้อมูล ณ วันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๖๒ 1.3.2 จำนวนครัวเรือนและความหนาแนน่ ของประชากร จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ มีประชากรท้ังส้ิน ณ วนั ที่ ๓๑ ธันวาคม 25๖2 จำนวน 983,418 คน แยกเปน็ หญิง จำนวน 495,967 คนและชาย จำนวน 487,451 คนประชากรส่วนใหญ่อยู่ในวัยทำงาน โดยอำเภอที่มี ประชากรมากท่ีสุด ได้แก่ อำเภอเมืองกาฬสินธุ์ รองลงมาคือ อำเภอยางตลาด และกุฉินารายณ์ความหนาแน่น ของประชากร 141.84 คน/ตร.กม. (หมายเหตุ : โครงสร้างประชากรใช้ข้อมูลผทู้ ่ีมีสัญชาติไทย และมีชื่ออยู่ใน ทะเบียนบ้านกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย) ๔
1.4 การคมนาคมขนสง่ จังหวัดกาฬสินธ์ุ มีทางหลวงแผ่นดิน และทางหลวงจังหวัด ใช้ในการเดินทางติดต่อใน จังหวัดและระหว่างจังหวัด ได้โดยสะดวกมีถนนเช่ือมต่อระหว่างตำบลและหมู่บ้านในชนบทซึ่งมีประโยชน์ต่อการ เดินทางไปมา และการขนส่งผลิตผลทางการเกษตร จำนวนรถท่ีจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติรถยนต์ ณ วนั ที่ 31 กรกฎาคม 2563 จำนวน 291,359 คัน และจดทะเบียนตามพระราชบัญญัติขนสง่ ทางบก จำนวน 13,211 คัน 1.4.1 ระยะทางจากตัวจงั หวัดไปยังอำเภอตา่ งๆ 1. อำเภอเมอื ง–อำเภอนามน ระยะทาง 42 กโิ ลเมตร 2. อำเภอเมอื ง–อำเภอกมลาไสย ระยะทาง 13 กโิ ลเมตร 3. อำเภอเมอื ง–อำเภอรอ่ งคำ ระยะทาง 38 กโิ ลเมตร 4. อำเภอเมือง–อำเภอกฉุ ินารายณ์ ระยะทาง 80 กโิ ลเมตร 5. อำเภอเมอื ง–อำเภอเขาวง ระยะทาง 98 กิโลเมตร 6. อำเภอเมอื ง – อำเภอยางตลาด ระยะทาง 16 กิโลเมตร 7. อำเภอเมือง–อำเภอหว้ ยเม็ก ระยะทาง 48 กโิ ลเมตร 8. อำเภอเมือง–อำเภอสหัสขันธ์ ระยะทาง 32 กิโลเมตร 9. อำเภอเมือง–อำเภอคำม่วง ระยะทาง 85 กิโลเมตร 10. อำเภอเมือง – อำเภอท่าคนั โท ระยะทาง 109 กโิ ลเมตร 11. อำเภอเมือง–อำเภอหนองกงุ ศรี ระยะทาง 62 กิโลเมตร 12. อำเภอเมือง – อำเภอสมเด็จ ระยะทาง 42 กโิ ลเมตร 13. อำเภอเมอื ง – อำเภอห้วยผงึ้ ระยะทาง 59 กิโลเมตร 14. อำเภอเมือง – อำเภอสามชัย ระยะทาง 85 กิโลเมตร 15. อำเภอเมอื ง – อำเภอนาคู ระยะทาง 88 กิโลเมตร 16. อำเภอเมือง – อำเภอดอนจาน ระยะทาง 32 กิโลเมตร 17. อำเภอเมือง – อำเภอฆอ้ งชยั ระยะทาง 38 กโิ ลเมตร 1.4.2 การเดนิ ทาง ระหว่าง กาฬสินธุ์ – กรุงเทพฯ การเดินทางโดยรถยนต์ระยะทางจากกรุงเทพฯ – กาฬสินธุ์ มีระยะทาง 519 กิโลเมตร ใช้เส้นทางหลวงหมายเลข 2 เลี้ยวขวาไปตามเสน้ ทางหลวงหมายเลข23และ 213 มีรถประจำทาง ของบริษัท ขนส่ง จำกัด และรถรว่ มของเอกชนใหบ้ รกิ ารหลายเทย่ี วตอ่ วนั การเดินทางโดยรถไฟจากกรุงเทพถึงกาฬสินธ์ุ สามารถขึ้นลงท่ีสถานีรถไฟจังหวัดขอนแก่น จากนั้นโดยสารรถประจำทางจากขอนแก่นถึงกาฬสนิ ธุ์ ระยะทางประมาณ 80 กโิ ลเมตร การเดินทางโดยเครื่องบินจากกรุงเทพถึงจังหวัดกาฬสินธุ์สามารถขึ้นลงท่ีสนามบินจังหวัด ขอนแก่นและจังหวัดรอ้ ยเอด็ (ท่มี า : สำนกั งานขนส่งจังหวดั กาฬสนิ ธ์ุ) ๕
1.4 ข้อมลู ด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม 1.4.1 ขอ้ มูลด้านศาสนา ประชากรส่วนใหญ่ของจงั หวดั กาฬสนิ ธ์นุ ับถอื ศาสนาพทุ ธจงึ มีวดั และสำนักสงฆ์ในพุทธศาสนา กระจายอยู่ท่ัวไปในจังหวดั ขอ้ มูล ณ เดอื นธันวาคม 2560 มีวดั /สำนกั สงฆ์ จำนวนทั้งส้ิน 910 แหง่ ทีพ่ ักสงฆ์ 422 แหง่ พระสงฆ์ 3,803 รปู พุทธศาสนิกชน 985,253 คน หรือคิดเปน็ ร้อยละ 99.89 นอกน้นั อกี ร้อย ละ 0.11 เป็น คริสตศ์ าสนิกชนจำนวน 300 คน อิสลาม จำนวน 168 คน ตารางแสดงข้อมลู สำคัญทางพทุ ธศาสนาจงั หวัดกาฬสินธ์ุ ข้อมลู สำคัญ/ปี พ.ศ. 2559 2560 2561 2562 จำนวนวดั /สำนกั สงฆ์ (แหง่ ) 896 910 910 941 ทีพ่ ักสงฆ์ (แหง่ ) 422 422 422 421 วัดร้าง (แหง่ ) 46 45 33 16 พระสงฆ์ (รูป) 4,012 3,803 4,962 3,050 จำนวนพทุ ธศาสนิกชน (คน)* 983,955 985,253 984,465 985,084 ที่มา : สำนกั งานพระพทุ ธศาสนาจงั หวัดกาฬสินธ์ุ ตารางแสดงข้อมลู สำคัญทางศาสนาอน่ื ๆ ในจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ศาสนาครสิ ต์ ขอ้ มูลสำคัญ/ปี พ.ศ. 2560 2561 2562 2563 2564 จำนวนคริสตจักร (แห่ง) ๙๙๙ ๙ 24 จำนวนบาทหลวง (คน) ๙๙๙ ๙ 9 จำนวนศิษยานุบาล (คน) --- 9 24 จำนวนศาสนกิ ชน ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐ ๓๐๐ 598 ทม่ี า : ผนู้ ำศาสนาครสิ ต์ จงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ขอ้ มูล ณ วันที่ ๖ มกราคม ๒๕๖๔ ข้อมูลปี 2564 ทมี่ ีทะเบยี นถกู ตอ้ ง ศษิ ยาภิบาล 1 คน สมาชกิ 40 คน 1. ครสิ ตจกั รกาฬสินธุ์ ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชิก 16 คน 2. ครสิ ตจักรพระกติ ติคุณกาฬสินธ์ุ ศิษยาภบิ าล 1 คน สมาชกิ 51 คน 3. ครสิ ตจักรจนี กาฬสนิ ธ์ุ ศษิ ยาภบิ าล 1 คน สมาชกิ 40 คน 4. คริสตจกั รชีวติ สุขสนั ตกาฬสินธุ์ ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชิก 30 คน 5. ครสิ ตจักรเบธเลเฮม ศิษยาภบิ าล 1 คน สมาชกิ 30 คน 6. คริสตจกั รร่มพระพรหัวขวั ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชกิ 30 คน 7. ครสิ ตจกั รบ้านดงบัง ศษิ ยาภิบาล 1 คน สมาชิก 30 คน 8. คริสตจักรสานสมั พนั ธบ์ ้านดอนขี ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชกิ 20 คน 9. คริสตจักรสามคั คธี รรมกลมลาไสย ศษิ ยาภบิ าล 3 คน สมาชกิ 19 คน 10. คริสตจกั รพันธสญั ญาใหม่ ศษิ ยาภบิ าล 1 คน สมาชกิ 37 คน 11. ครสิ ตจกั รสิงหราช ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชกิ 20 คน 12. คริสตจักรสิงหราชหนองกงุ ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชกิ 40 คน 13. ครสิ ตจกั รความรกั ยางตลาด ศษิ ยาภิบาล 1 คน สมาชกิ 20 คน 14. ครสิ ตจักรชีวิตสขุ สนั ต์สมเด็จ ศษิ ยาภิบาล 1 คน สมาชิก 20 คน 15. คริสตจักรชีวิตสุขสนั ตท์ า่ คนั โท ศษิ ยาภบิ าล 1 คน สมาชกิ 32 คน 16. คริสตจกั รแผน่ ดินบริบรูณ์ ๖
17. ครสิ ตจักรความหวงั ท่าคันโท ศษิ ยาภบิ าล 1 คน สมาชกิ 8 คน 18. คริสตจักรความหวงั นาคู ศษิ ยาภิบาล 1 คน สมาชิก 10 คน 19. คริสตจักรความหวงั ยางตลาด ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชิก 20 คน 20. คริสตจักรความหวังกาฬสนิ ธ์ุ ศิษยาภบิ าล 1 คน สมาชิก 20 คน 21. ครสิ ตจักรบ้านโพนสมิ ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชิก 15 คน 22. ครสิ ตจักรบ้านดอนยาง ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชิก 15 คน 23. คริสตจกั รคำมว่ ง ศิษยาภิบาล 1 คน สมาชกิ 15 คน 24. ครสิ ตจกั รถ้ำปลา ศษิ ยาภบิ าล 1 คน สมาชิก 20 คน ตารางแสดงขอ้ มูลสำคัญทางศาสนาอืน่ ๆ ในจงั หวดั กาฬสนิ ธุ์ ศาสนาอสิ ลาม ขอ้ มลู สำคญั /ปี พ.ศ. 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2 จำนวนมัสยิด (แห่ง) ๓ ๓ 2 22 2 96 จำนวนอหิ มา่ ม (คน) ๓ ๓ 2 22 จำนวนศาสนิกชน ๒๑๐ ๑๙๗ ๑๙๕ ๑๖๘ 165 ที่มา : อิหม่าม (อำเภอเมอื ง/สมเดจ็ ) ข้อมูล ณ วันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๖๔) 1.4.2 ขอ้ มลู ปฏทิ ินเทศกาล ศลิ ปวฒั นธรรม ประเพณขี องจงั หวัด จังหวัดกาฬสินธ์ุมีการสืบสานประเพณีท้องถิ่นอีสาน “ฮีตสิบสอง คองสิบสี่” เช่น งาน มหกรรมโปงลาง แพรวา และงานกาชาด งานมหกรรมวิจิตรแพรวาราชนิ ีแห่งไหม งานบุญบ้ังไฟ ตะไลล้านบา้ น กดุ หว้า งานสรงน้ำพระธาตุยาคู งานประเพณีตกั บาตรเทโวโรหณะ งานบุญคณู ลาน และมหกรรมเส็งกลองกิ่ง ประเพณีท้องถิ่นอีสาน“ฮตี สิบสอง คองสิบส”่ี คำว่า “ฮีต” คือ “จารีต และ “สิบสอง” หมายถงึ สิบสองเดือน ดงั น้ัน “ฮีตสิบสอง”จึงหมายถึงประเพณีท่ีชาวลาวในภาคอีสานปฏิบัติกันมาในโอกาสต่าง ๆ ทัง้ สิบสองเดือนของ แตล่ ะปี เปน็ การผสมผสานพธิ กี รรมท่ีเกีย่ วกบั เรือ่ งผีและพิธีกรรมทางการเกษตรเข้ากับพิธกี รรมทางพุทธศาสนา ขณะที่ “คองสิบส”ี่ เปน็ คำและข้อปฏิบตั คิ ูก่ บั “ฮตี สบิ สอง”คำวา่ “คอง” แปลวา่ แนวทาง หรอื ครรลอง ธรรม เนียมประเพณี และ “สิบสี”่ หมายถงึ ข้อวตั รหรือแนวทางปฏิบตั สิ บิ สขี่ ้อ ดังน้ัน “คองสิบสี่” จึงหมายถึงข้อวัตรหรือแนวทางที่ประชาชนทุกระดับ นับตั้งแต่ พระมหากษัตริย์ ผู้มหี นา้ ทปี่ กครองบา้ นเมือง พระสงฆ์ และคนธรรมดาสามัญพงึ ปฏิบตั สิ ิบส่ขี อ้ นอกนี้ยังมีวัฒนธรรมที่โดดเด่นและเป็นเอกลักษณ์อย่าง “วัฒนธรรมภูไท” หรือ“วัฒนธรรมผู้ ไท”ชาวผู้ไทเป็น ชนกลุ่มน้อยท่ีอพยพมาจากเมืองวัง และเมืองตะโปน ซง่ึ อยทู่ างทิศตะวันออกของเมืองสะหวันนะ เขต ประเทศสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาวในปจั จบุ ัน และแยกย้ายกันตั้งหลกั แหลง่ อยบู่ รเิ วณเทอื กเขาภู พานในเขต 3 จังหวัด คือจังหวัดกาฬสินธุ์ จังหวัดสกลนคร และจังหวัดนครพนม โดยชาวผู้ไทจังหวัดกาฬสินธุ์ อาศัยอยู่ในเขตอำเภอเขาวงอำเภอกุฉินารายณ์ อำเภอสหัสขันธ์ อำเภอคำม่วง ชาวผู้ไทจะมีอัตลักษณ์เฉพาะตัว เช่น วัฒนธรรมการแตง่ กาย การฟอ้ น ลกั ษณะการสร้างบา้ นเรอื น ลักษณะทางสังคม และวิถชี วี ิต เป็นต้น ประเพณีฮตี สบิ สอง คองสบิ สี่ จงั หวัดกาฬสินธุ์ ท่ี ประเพณี วนั ที่ เดือน สถานท่ี ๑. - ประเพณีบุญเข้ากรรม (งานปรวิ าสกรรม) เดอื นมกราคม / อำเภอสมเดจ็ / ร่องคำ / นามน - ประเพณีบญุ ดอกเผิ่ง เดอื นมกราคม / อำเภอกมลาไสย / หว้ ยผง้ึ ๒. - ประเพณบี ญุ คณู ลาน เดือนกุมภาพันธ์ / วดั เศวตวันวนาราม บ้านต้อน ๓. - ประเพณีบุญขา้ วจ่ี อำเภอเมืองฯ / อำเภอยางตลาด / ฆอ้ งชยั เดือนมีนาคม / ๑๘ อำเภอ ๗
๔. - ประเพณบี ุญผะเหวด เดือนเมษายน / ๑๘ อำเภอ - ประเพณีสงกรานต์ เดอื นเมษายน / ๑๘ อำเภอ / อำเภอเมืองฯ (โดดเดน่ ) เดือนเมษายน / อำเภอทา่ คันโท - ประเพณเี ล้ียงแสงไทญ้อ ๕. - ประเพณบี ญุ บงั้ ไฟ / บงั้ ไฟตะไลลา้ น เดือนพฤษภาคม / ตำบลกดุ หว้า อำเภอกุฉนิ ารายณ์ เดือนพฤษภาคม / อำเภอเขาวง - พิธีเหยา และเลีย้ งทะหลามเหศกั ด์หิ ลักเมือง เดอื นพฤษภาคม / วดั อินทรประทานพร ตำบลภูปอ - ประเพณสี รงนำ้ ภปู อ อำเภอเมืองฯ / อำเภอคำมว่ ง เดือนมถิ นุ ายน / อำเภอเมอื งฯ ๖. - ประเพณบี ญุ ซำฮะ เดือนกรกฎาคม / อำเภอเมืองฯ ๗. - ประเพณีบุญเทศกาลเข้าพรรษา เดือนสงิ หาคม / อำเภอกุฉนิ ารายณ์ ๘. - ประเพณีบญุ ข้าวประดบั ดิน เดือนกันยายน / ๙. - ประเพณบี ญุ ข้าวสาก เดือนกนั ยายน / อำเภอกมลาไสย เดือนตุลาคม / อำเภอสหัสขนั ธ์ - ประเพณีแขง่ ขันเรอื ยาว เดอื นพฤศจิกายน / อำเภอเมอื ง / สมเดจ็ / ยางตลาด ๑๐. - ประเพณอี อกพรรษา / ตกั บาตรเทโวโรหนะ เดอื นธันวาคม / ๑๘ อำเภอ ๑๑. - ประเพณลี อยกระทง ๑๒. - ประเพณบี ุญกฐิน ๘
ประเพณที ี่โดดเด่นของจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ ประจำปี ๒๕๖๔ วัน/เดือน/ปี ชือ่ เทศกาล/ประเพณี สถานท่จี ดั งาน ทีจ่ ัดงาน สนามหนา้ สำนกั งานเทศบาล 7 - 9 กุมภาพันธ์ 2564 งานมหกรรมเส็งกลองร่องคำ กาฬสนิ ธ์ุ แข่งขัน ตำบลรอ่ งคำ อำเภอร่องคำ จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ ประชันกลองพน้ื บ้านอีสานสู่มหกรรมกลองอาเซียน วัดเศวตวันวนาราม อำเภอเมือง กาฬสินธ์ุ ประจำปี 2564 จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ บริเวณสนามหนา้ ศาลากลาง ๙ – ๑๒ กมุ ภาพันธ์ ๒๕๖4 งานประเพณบี ญุ บายศรสี ูข่ วัญข้าวคนู ลาน สืบสาน จังหวัดกาฬสินธ์ุ (หลังเก่า) อำเภอเมืองกาฬสนิ ธุ์ จังหวดั ตำนานพระแมโ่ พสพ กาฬสนิ ธุ์ ๒๖ กมุ ภาพนั ธ์ – งานมหกรรมโปงลาง แพรวากาฬสินธ์ุ - ๗ มนี าคม ๒๕๖๔ - เทศบาลตำบลกุดหว้า มีนาคม ๒๕๖๔ - สถานท่ีจุดบ้งั ไฟ : บรเิ วณหลงั เมษายน ๒๕๖๔ - วัดกกตอ้ ง ๑๕ – 16 พฤษภาคม งานประเพณวี ฒั นธรรมผู้ไท บรเิ วณโบราณสถานพระธาตุ บุญบ้ังไฟตะไลลา้ น ยาคู บ้านเสมา อำเภอกมลาไสย ๒๕๖๔ จังหวัดกาฬสินธ์ุ - 26 พฤษภาคม – 4 งานวิสาขปูรณมี ประเพณี - มถิ นุ ายน 2564 สรงน้ำพระธาตยุ าคู - - มถิ ุนายน ๒๕๖๔ - บรเิ วณเชิงเขาภูสงิ ห์ ตำบลโนน กรกฎาคม ๒๕๖๔ - บุรี อำเภอ สิงหาคม ๒๕๖๔ - สหัสขันธ์ จังหวัดกาฬสินธ์ุ กนั ยายน 2564 - - ประเพณตี ักบาตรเทโวโรหณะ สักการะพระ - 30 ตลุ าคม – ประชาชนบาล นมัสการพระพรหมภูมปิ าโล 5 พฤศจิกายน ๒๕๖๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๔ - ธนั วาคม ๒๕๖๔ - ๙
1.4.3 ขอ้ มูลเครอื ข่ายดา้ นศาสนา ศลิ ปะ และวัฒนธรรม จำนวน (แห่ง) ๑ (1) ข้อมลู แหลง่ เรียนร้/ู เครือขา่ ยทางวฒั นธรรม จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ ๑๘ ๑45 ท่ี แหลง่ เรียนร/ู้ เครอื ข่าย 72 1 สภาวฒั นธรรมจังหวดั 336 2 สภาวัฒนธรรมอำเภอ ๒7 3 สภาวัฒนธรรมตำบล/เทศบาล ๒35 4 ศนู ยเ์ ฝา้ ระวังทางวฒั นธรรมในสถานศกึ ษา 40 5 สถานประกอบกิจการตาม พรบ. ภาพยนตรแ์ ละวดี ิทศั น์ พ.ศ. ๒๕๕๑ 6 ลานธรรมลานวิถไี ทย 23 คณะ 7 ศูนยศ์ ึกษาพระพทุ ธศาสนาวนั อาทิตย์ 30 8 ชุมชนคณุ ธรรมพลงั “บวร” 5 9 คณะหมอลำ 6 10 คณะวงดนตรพี ืน้ บา้ นโปงลาง 11 คณะวงดนตรีพื้นบา้ นกลองยาว 3 รปู /คน 12 ผทู้ ำคณุ ประโยชนต์ อ่ กระทรวงวัฒนธรรม ปี 2563 ๒ องคก์ ร 13 ผู้ทำคุณประโยชนต์ อ่ พระพุทธศาสนา 50 แห่ง - ประเภทบคุ คล 349 - ประเภทองคก์ ร 48 14 สถานศึกษาบรรเลงดนตรพี ื้นบา้ นโปงลาง 18 15 ชุมชนคณุ ธรรมนอ้ มนำหลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี ง 14 แหง่ (332 16 องค์กรคณุ ธรรม ช้นิ /อนั /องค์) 17 อำเภอคณุ ธรรม 1 แหง่ 18 โบราณสถาน- ขน้ึ ทะเบยี นแล้ว 3 อำเภอ 19 พพิ ิธภณั ฑ์ของดเี มอื งกาฬสินธุ์ (หอศิลป)์ 7 อำเภอ/63 20 ชาตพิ ันธ์ุไทญ้อ จำนวน 3 อำเภอ ประกอบดว้ ย อำเภอทา่ คนั โท บ้านกุดจิก/ หมู่บ้าน อำเภอห้วยเมก็ บา้ นค้อ /อำเภอนาคู ตำบลสายนาวงั บ้านนากระเดาบา้ นโนน 12 ชมุ ชน ศาลา และบ้านเมืองภู ตำบลภูแลน่ ชา้ ง 2 ต้น 21 ขาติพันธ์ผู้ไท (63 หมบู่ ้าน) จำนวน 7 อำเภอ ประกอบดว้ ย อำเภอคำม่วง อำเภอนาคู อำเภอห้วยผึ้ง อำเภอเขาวง อำเภอกฉุ ินารายณ์ อำเภอสมเดจ็ และอำเภอสหสั ขนั ธ์ 22 ชมุ ชนคุณธรรมตน้ แบบ “บวร On Tour” 23 รกุ ขมรดกของแผ่นดิน ๑๐
(2) ข้อมลู ดา้ นสถานประกอบการตามพระราชบญั ญตั ภิ าพยนตร์และวดี ทิ ัศน์ พ.ศ. ๒๕๕๑ ท่ี อำเภอ เกมเนต็ คาราโอเกะ เช่าจำหน่าย โรงภาพยนตร์ รวม 1 เมอื งกาฬสินธุ์ 39 9 19 3 70 2 กมลาไสย 15 5 4 - 24 3 กฉุ ินารายณ์ 14 10 6 1 31 4 เขาวง 7 8 1 - 16 5 คำมว่ ง 6 1 2 - 9 6 ฆอ้ งชัย 5 1 1 - 7 7 ดอนจาน 2 0 1 - 3 8 ทา่ คนั โท 16 5 2 - 23 9 นาคู 5 6 2 - 13 10 นามน 7 4 1 - 12 11 ยางตลาด 27 9 7 - 43 12 ร่องคำ 6 0 1 - 7 13 สมเดจ็ 5 8 3 - 16 14 สหัสขันธ์ 5 4 1 - 10 15 สามชยั 0 0 1 - 1 16 หนองกงุ ศรี 19 3 3 1 26 17 หว้ ยผงึ้ 4 2 1 - 7 18 หว้ ยเมก็ 13 4 1 1 19 195 79 57 6 337 รวม (ขอ้ มูล ณ วันท่ี 28 ธันวาคม ๒๕๖3) ๑๑
(3) บญั ชีลานธรรม ลานวถิ ีไทย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ี อำเภอ ชือ่ ศาสนสถาน ทอี่ ยู่ ชื่อผูน้ ำศาสนสถาน หมายเลขโทรศัพท์ 1 เมอื งฯ วัดประชานยิ ม ต.กาฬสินธุ์ อ.เมือง พระเทพสารเมธี 081-7086853 2 เมอื งฯ วัดป่าไมแ้ ดง ต.กาฬสินธ์ุ อ.เมือง พระครูวรจิตตานรุ กั ษ์ 081-0555454 3 นามน วดั อโศการาม ต.ยอดแกง อ.นามน พระครูวบิ ูลวฒุ กิ ร 062-5699695 4 ดอนจาน วดั มณนี พรัตน์ ต.ดอนจาน อ.ดอนจาน พระครกู มลรัตนคุณ 086-2209171 5 ยางตลาด สว่างอุทัยดอนยูง ต.ยางตลาด อ.ยางตลาด พระครอู ุทัยโชติคุณ 093-5596083 6 ยางตลาด โพธ์ชิ ัยบา้ นตมู ต.บวั บาน อ.ยางตลาด พระครโู พธชิ ยานโุ ยค 081-3699223 7 ยางตลาด คริสตจักรแอ๊ดเวนติสโคกศรี ต.โคกศรี อ.ยางตลาด นายพกิ ุล ภคู งน้ำ 093-8489505 8 กมลาไสย วดั โพธ์ศิ รบี ึงไฮ ต.หลักเมือง อ.กมลาไสย พระทองเลอื่ น นปิ โุ น 084-5195007 9 ร่องคำ วัดสวา่ งใต้ ต.ร่องคำ อ.รอ่ งคำ พระครสู ริ ิภทั รโสภณ 081-5468858 10 ฆ้องชัย วัดตลาดแครห์ วั หนอง ต.เหล่ากลาง อ.ฆ้องชยั พระอธกิ ารวิโรจน์ ยสินธโร 084-7091056 11 ห้วยเม็ก วัดป่าธรรมพทิ ักษ์ ต.ห้วยเมก็ อ.ห้วยเม็ก พระมหามีชยั กจิ จสาโร 093-3205679 12 หนองกงุ ศรี วดั หนองสวง ต.หนองสรวง อ.หนองกงุ ศรี พระครูสธุ ีวรสาร 091-8652754 13 ท่าคนั โท วัดนาตาล ต.นาตาล อ.ท่าคันโท พระอนงค์ มหาลาโภ 089-7091045 14 ห้วยผึง้ วัดหนองอีบุตร ต.หนองอีบุตร อ.ห้วยผง้ึ พระครูปริยตั ิวราภิรกั ษ์ 080-0094986 15 กุฉนิ ารายณ์ โพธ์ชิ ยั บา้ นหวาย ต.นาโก อ.กุฉนิ ารายณ์ พระครโู พธิชยาภินนั ท์ 081-4710561 16 กุฉนิ ารายณ์ วดั สวา่ งบึงทอง ต.สามขา อ.กุฉินารายณ์ พระครูประโชตธิ รรมวงศ์ 089-5755309 17 เขาวง โพนวมิ าน ต.กุดสิมค้มุ ใหม่ อ.เขาวง พระครูจินดารตั นาภรณ์ 081-0590732 18 นาคู กลางภแู ลน่ ชา้ ง ต.ภูแลน่ ช้าง อ.นาคู พระครปู ริยตั ิกิจจานุยุต 096-7759662 19 สมเด็จ วดั มัชฌมิ าวาส ต.หนองแวง อ.สมเดจ็ พระมหาธีรวฒั นธ์ รี วณโฺ ณ 089-0488072 20 สมเด็จ มสั ยิดอัลฮายาต 84 หมู่ที่ 5 ต.สมเดจ็ อ.สมเด็จ นายราเชนทร์ แสงบำรุง 081-3204653 21 สหสั ขนั ธ์ วัดเวฬุวัน บ.ตาดดงเค็ง ต.นคิ ม อ.สหัสขันธ์ุ พระครสู ิทธวิ ราคม 091-8615208 22 สหสั ขันธ์ วดั กัลยาณบรหิ าร ต.โนนบรุ ี อ.สหัสขันธ์ พระครูกลั ยาณทวิ ากร 098-9711095 23 สามชยั วัดอโศกธรรมาราม บ.หนองกงุ นอ้ ย ต.สำราญ อ.สามชยั พระครูอโศกธรรมาภรณ์ 087-2220205 24 เมอื งฯ ครสิ ตจักรกาฬสินธ์ุ 70/129 ซ.สุขสบายใจ ต.กาฬสินธุ์ นายปรญิ ญา มหาชานนท์ 086-0003669 25 นามน ศรีสะอาดนามน 184 ม.11 ตำบลนามน พระครูสเุ ขตธรรมาภริ ม 063-8782951 26 ฆ้องชัย วดั ดอนแคน 64 ม.2 ต.ฆ้องชยั พัฒนา อ.ฆอ้ งชยั พระมขุ สริ ินธโร 090-8857337 27 กมลาไสย วัดไตรภูมิ ต.โนนบรุ ี อ.สหัสขนั ธ์ พระครสู ริ พิ ฒั นนิเทศ 081-7682862 (ข้อมลู ณ วนั ท่ี 28 ธันวาคม 2563) ๑๒
(4) ศูนยศ์ ึกษาพระพุทธศาสนาวันอาทิตย์ ประจำปี 2564 ที่ อำเภอ จำนวน ศพอ. ข้อมลู ครู 16 นกั เรียน 122 ๑ กมลาไสย 24 6,112 168 ๒ กุฉินารายณ์ 10 8,666 68 ๓ เขาวง 12 3,949 81 ๔ คำมว่ ง 9 3,507 81 ๕ ฆอ้ งชัย 4 2,729 26 ๖ ดอนจาน 17 999 129 ๗ ทา่ คันโท 8 6,067 65 ๘ นาคู 22 2,637 159 ๙ นามน 28 9,144 168 ๑๐ เมืองกาฬสินธุ์ 26 5,464 208 ๑๑ ยางตลาด 0 10,598 0 ๑๒ รอ่ งคำ 18 153 ๑๓ สมเดจ็ 4 0 30 ๑๔ สหัสขันธ์ 4 5,418 26 ๑๕ สามชัย 13 1,047 69 ๑๖ หนองกุงศรี 8 1,693 39 ๑๗ ห้วยผึ้ง 12 4,063 76 ๑๘ ห้วยเม็ก 235 2,286 1,668 2,704 รวม 77,083 (ขอ้ มลู ณ วันท่ี 6 มกราคม 2564) ๑๓
(5) ชุมชนคุณธรรมต้นแบบ “บวร On Tour” ประจำปี 2564 อำเภอ ท่ี ช่อื ชมุ ชนคณุ ธรรม กมลาไสย สหสั ขนั ธ์ 1 วัดโพธิช์ ยั เสมาราม ตำบลหนองแปน สหัสขันธ์ 2 บา้ นโนนบรุ ี ตำบลโนนบุรี นามน 3 วัดเวฬวุ นั ตำบลนิคม เขาวง 4 วัดอโศการาม ตำบลยอดแกง กุฉนิ ารายณ์ 5 วดั วงั คำ ตำบลสงเปลือย กฉุ นิ ารายณ์ 6 บ้านโคกโกง่ ตำบลกุดหว้า กฉุ ินารายณ์ 7 วดั กกตอ้ ง ตำบลกุดหวา้ คำมว่ ง 8 วดั บรู พาวนาราม ตำบลหนองห้าง สามชยั 9 วัดโพธช์ิ ัยบา้ นโพน ตำบลโพน เมืองกาฬสินธุ์ 10 วดั โพธ์ศิ รีสวา่ งหนองช้าง ตำบลหนองชา้ ง สมเดจ็ 11 วัดประสทิ ธิไ์ ชยาราม ตำบลลำปาว ๑๒ วัดมัชฌมิ าวาส ตำบลหนองแวง (ข้อมูล ณ วันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๖๔) (6) ผู้ทำคณุ ประโยชน์ต่อกระทรวงวฒั นธรรม ประจำปี 2563 ➢ ประเภทเด็กและเยาวชน ไดแ้ ก่ ๑. นายอาทิตย์ นาสำแดง โรงเรยี นเหลา่ กลางวทิ ยาคม อำเภอฆอ้ งชยั ๒. นางสาวสุนันทา ภกู ิ่งเงิน โรงเรยี นฆอ้ งชยั วิทยาคม อำเภอฆ้องชยั ➢ ประเภทบคุ คล ได้แก่ ๑. พระครูสริ ิพฒั นนเิ ทศก์ รองเจ้าคณะอำเภอสหัสขนั ธ์ 2. นายสเุ ทพ ชัยวฒั น์ นายอำเภอหว้ ยเมก็ ➢ ประเภทกลุ่มบุคคล ไดแ้ ก่ ๑. ชุมชนคุณธรรมวัดดอนตาปู่ อำเภอยางตลาด 2. ชมุ ชนคณุ ธรรมขับเคลือ่ นดว้ ยพลงั บวรวัดเหลา่ ใหญ่ อำเภอฆ้องชัย ๑๔
(7) บุคคลสำคัญของจังหวดั กาฬสนิ ธุ์ ท่ี ช่อื – สกุล ตำแหน่ง 1 พระยาชยั สนุ ทร (เจา้ โสมพะมิต) เจ้าเมอื งกาฬสนิ ธอุ์ งคท์ ี่ 1 2 นายทรงพล ใจกร่ิม ผู้ว่าราชการจงั หวดั กาฬสินธ์ุ (คนปัจจุบัน) 3 นายสนน่ั พงษอ์ กั ษร รองผ้วู า่ ราชการจังหวดั กาฬสินธ์ุ 4 นายเลศิ บศุ ย์ กองทอง รองผวู้ า่ ราชการจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ 5 พระพุทธสัมฤทธิน์ ิรโรคันตราย (หลวงพอ่ พระคูบ่ า้ นคู่เมอื งจงั หวดั กาฬสนิ ธ์ุ วัดกลาง องคด์ ำ) (พระอารามหลวง ชัน้ ตรชี นิดสามัญ) อำเภอ เมืองกาฬสินธุ์ 6 พระเทพสารเมธี เจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ (ธ) และเจ้าอาวาส วัดประชานิยม 7 พระครูวรธรรมธชั (ดร.) เจ้าคณะจังหวัดกาฬสินธุ์ และเจ้าอาวาส วดั สว่างคงคา 8 พระราชศีลโสภิต (หนูอนิ ทร์ กิตฺตสิ าโร) ทีป่ รึกษาเจา้ คณะจงั หวัดกาฬสินธ์ุ (ม) และ เจ้าอาวาสวัดปา่ พทุ ธมงคล อำเภอเมือง กาฬสนิ ธ์ุ 9 ครเู ปลอ้ื ง ฉายรัศมี ศลิ ปินแหง่ ชาติ สาขาศิลปะการแสดง (ดนตรี พ้ืนบา้ น) ประจำปี 2529 ผ้พู ฒั นาเครื่อง ดนตรี โปงลาง เครือ่ งดนตรปี ระจำจงั หวัด กาฬสนิ ธุ์ 10 คำสอน สระทอง ศิลปินแหง่ ชาติ สาขาทศั นศลิ ป์ (ประณตี ศิลป์– ทอผ้า) ประจำปี 2559 ผู้นำกลมุ่ ทอผ้าไหม แพรวา 11 อลงกต คำโสภา ผ้กู อ่ ตัง้ วงดนตรโี ปงลางหนองสอ อำเภอเมอื ง กาฬสินธ์ุ 12o สมพงษ์ คุนาประถม (อด๊ี โปงลางสะออน) ดารา-นกั แสดง, นักรอ้ ง/นกั ดนตรี วงโปงลาง สะออน (8) ข้อมลู รกุ ขมรดกของแผน่ ดนิ ท่ี ปี ช่ือต้นไม้ “รกุ ขมรดกของแผ่นดนิ ” สถานท่ี 1 2561 ต้นโพธ์ิ วัดสว่างภิรมย์ บ้านท่าคันโท หมู่ท่ี ๑ ตำบล ท่าคนั โท อำเภอท่าคันโท จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ 2 2562 ต้นยาง บ้านกลางหม่ืน ตำบลกลางหม่ืน อำเภอเมือง กาฬสนิ ธ์ุ จงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ ๑๕
1.๕ ลกั ษณะทางสงั คม 1.๕.1 จำนวนและสัดสว่ นคนจน จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ มรี ้อยละของประชากรทีอ่ ยู่ใต้เส้นความยากจน พ.ศ. 2559 ร้อยละ 31.99 อยู่ในอันดับท่ี ๔ ของประเทศ ขณะท่ีค่ากลางของประเทศอยู่ท่ีร้อยละ 7.87จังหวัดกาฬสินธ์ุมีสัดส่วนคนจน เพ่ิมข้ึนจากปี พ.ศ. ๒๕๕8 ร้อยละ 0.97 โดยจังหวัดกาฬสินธ์ุเป็นจังหวัดท่ีติดอันดับยากจนนับตั้งแต่ปี 2543-2558 จำนวนความถี่ ๑๒ ครั้ง นับเป็นปัญหาที่สำคัญของจังหวัดที่ต้องแก้ไข โดยจังหวัดได้เร่งแก้ไข ปญั หานีผ้ ่านโครงการ “Kalasin Happiness Model” 1.๕.๒ การศึกษา จังหวัดกาฬสนิ ธุ์ มี “มหาวิทยาลยั กาฬสนิ ธุ์” เป็นมหาวทิ ยาลัยประจำจังหวัด มีนักศึกษารวม ทั้งหมด 5,322 คนบุคลากรรวมท้ังหมด 645 คน มีเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษา 3 เขต และเขตพ้ืนที่ มธั ยมศกึ ษา 1 เขต รวมมสี ถานศึกษาทั้งสิ้น 605 แห่ง ในปี 256๓ มีจำนวนนักเรียนประมาณ 146,066 คน จำนวนห้องเรียน ๗,428 ห้อง และมีครู 8,845 คนจำนวนนักเรยี นเฉล่ียตอ่ หอ้ งอย่ทู ่ี ๒๒ คน และอัตราสว่ นครู 1 คนตอ่ นักเรียน 1๖ คน ********************* ๑๖
ส่วนท่ี ๒ กรอบแนวคดิ และนโยบายที่เกีย่ วขอ้ ง ๒.๑ การวเิ คราะหส์ ถานการณ์ (SWOT Anaalysis) 1) การวเิ คราะห์ SWOTของจังหวดั กาฬสินธ์ุ จากการข้อมูลทั่วไป การวิเคราะห์ความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น และการ วิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพด้านต่างๆ ของจังหวัดกาฬสินธุ์ นำมาสู่การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและ ภายนอก เพื่อกำหนดจดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค ทำให้ทราบถงึ ศักยภาพและการเปล่ียนแปลงของจงั หวัด โดยผลจากการวเิ คราะห์ SWOT นใ้ี ช้เป็นแนวทางในการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาของจงั หวัดตอ่ ไป จุดแข็ง (S) จดุ อ่อน (W) 1. มีสภาพพ้ืนที่และสภาพภูมิอากาศเหมาะสมต่อการ 1. รายไดเ้ ฉลยี่ ต่อหัวประชากรต่ำ เพาะปลูกพชื 2. ระบบชลประทานยังมีไม่เพียงพอและไม่ครอบคลุม 2. มีพ้ืนท่ีปลูกข้าวหอมมะลินาปีและนาปรังที่อยู่ในเขต พ้นื ที่ทางการเกษตร ชลประทานมากกว่า 338,000 ไร่ สามารถท่ีจะทำได้ 3. ผลผลิตภาคการเกษตรเฉล่ียต่อไร่ต่ำและไม่มีตลาด ตลอดปี รองรับ 3. มีโรงสีขา้ วขนาดใหญ่ทมี่ ีกำลังการผลิตมากกว่า 700 4. โฮมสเตย์ท่ีได้มาตรฐานมีนอ้ ย ตนั เป็นศูนย์รวมขา้ วจาก จ.สกลนคร นครพนม สรุ ินทร์ 5. ระบบสาธารณูปโภคด้านการท่องเท่ียวยังไม่ได้ ศรีษะเกษ มุกดาหาร เพ่ือขนส่งสู่ภาคกลาง และ มาตรฐาน ขาดการประชาสมั พนั ธด์ ้านการท่องเท่ียวทด่ี ี ภาคใต้ 6. ระบบการขนส่ง และ ระบบโลจิสติกส์ ยังไม่ 4. มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก ครอบคลุมและเช่ือมโยงในทกุ พ้นื ที่ ใน พ้ื น ท่ี ม าก ก ว่ า ๕ 8 3 แห่ ง มู ลค่ าก ารล งทุ น 7. ปัญหาแรงงานสูงอายุ และการอพยพย้ายถ่ินของวัย 19,858,140,000 บาท แรงงาน 5. มีซากดกึ ดำบรรพ์ (ฟอสชิล) ยคุ โบราณไดโนเสารล์ า้ น 8. การลงทุนขนาดใหญ่ของภาครฐั และเอกชนยงั มนี อ้ ย ปี มีเป็นพิพิธภัณฑ์สิรินธร ท่ีเป็นแหล่งจัดแสดงและ 9. ปริมาณขยะมีจำนวนมากข้ึนจากการขยายตัวเมือง รวบรวมฟอสชิลไดโนเสาร์มากท่ีสุดและสมบูรณ์ท่ีสุดใน พร้อมทั้ง อปท. ไม่มีการจัดการที่ถูกต้องตามหลัก ประเทศไทย สุขาภิบาล 6. มีแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ทางวัฒนธรรม 10. ผลสัมฤทธทิ์ างการศกึ ษาต่ำ (ผลสอบ O-net ตำ่ ) และแหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตรที่สวยงามเป็น 11. อัตราสว่ นแพทย์ต่อประชากรตำ่ เอกลักษณป์ ระจำถิ่น 12. สัดส่วนคนจนคอ่ นข้างสงู 7. เป็นแหล่งผลิตสินค้าทางวัฒนธรรม และผลิตภัณฑ์ 13. การลงทุน SMEs จากภาคเอกชนยังมีนอ้ ย ชุมชนที่มีช่ือเสียงและมีคุณภาพ เช่น ผ้าไหมแพรวา 14. ขาดแหลง่ ดึงดดู ใจด้านการทอ่ งเทย่ี ว (Landmark) ไสก้ รอกปลากาฬสินธ์ุ หมูทบุ หมเู ค็ม อาหารปลอดภัย (ks) ข้าวเกรียบเขาวง ข้าวเหนียวเขาวง มะม่วง มหาชนก พุทรานมสด 8. มีวัฒนธรรมประจำถ่ินที่มีความโดดเด่นและเป็น เอกลักษณ์ เช่น วัฒนธรรมผู้ไท งานบุญบ้ังไฟตะไลล้าน การแสดงโปงลาง และปราสาทรวงข้าว ๑๗
จุดแขง็ (S) จุดออ่ น (W) 9. มีมหาวิทยาลยั กาฬสนิ ธุ์ เป็นแหล่งศกึ ษาความร้ขู อง บคุ ลากร สนับสนนุ วิชาการให้จังหวัด 10. การมีสว่ นร่วมของหน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และภาคประชาชน ในจังหวัด กาฬสินธ์ุ ๑๑. มีความได้เปรยี บท่ีตัง้ อยบู่ นภูมิศาสตรเ์ สน้ ทางสาย EWEC ผ่านจงั หวัดส่งผลตอ่ การค้า การลงทนุ ของ ผ้ปู ระกอบการ เพอ่ื การผลติ สินค้า มุง่ สตู่ ลาดอาเซียน โอกาส (O) อปุ สรรค (T) ๑.รฐั บาลสนบั สนุนการพฒั นาภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ 1. สภาพเศรษฐกิจของประเทศและของโลก มีการ ผลิตภัณฑช์ ุมชน และการส่งเสริมการทอ่ งเที่ยววถิ ีไทย เปล่ียนแปลงตลอดเวลา และอยู่ในภาวะชะลอตัว ส่งผล ๒.นโยบายรัฐบาลสง่ เสรมิ SME จัดต้งั บรษิ ทั ประชารัฐ การลงทุนทางเศรษฐกจิ จำกดั และนโยบายสานพลังประชารัฐ 2. อิทธิพลของวัฒ นธรรมต่างชาติเข้ามาทำลาย ๓.กระแสความนิยมการบรโิ ภคอาหารทมี่ ีคุณภาพและ วฒั นธรรมทอ้ งถิ่น ปลอดภยั ต่อผู้บริโภค 3. ภยั ธรรมชาติ ๔.ADB และกลมุ่ จงั หวดั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 4. ปัจจัยการผลิตมีการปรับราคาสูงขึ้นส่งผลให้ต้นทุน ตอนกลาง ใหค้ วามมั่นใจและสนับสนนุ ใหเ้ ปน็ จังหวัดนำ การผลิตภาคเกษตร ปรบั สงู ขึ้น รอ่ งการผลิตอาหารปลอดสารพิษ (KS) เกษตรอนิ ทรีย์ 5. การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) จะส่งผล ๕.นโยบายรฐั บาลส่งเสรมิ บทบาทและการใชโ้ อกาสใน กระทบ ต่อภาคการผลิตและการแข่งขันสินค้าเกษตรมี การเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 การไหลเข้า ของแรงงานต่างชาติ ส่งผลต่อการจ้างงาน ๖.นโยบายประเทศไทย 4.0 ของประชาชนในประเทศ รวมท้ังสุขภาพอนามัยของ ๗.นโยบายรัฐบาลสนบั สนนุ โครงการนำร่อง kalasin ประชาชนและความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพยส์ นิ Rice City และการพฒั นาเขตเศรษฐกิจพิเศษเมอื งขา้ ว 6. กลุ่มโรคไม่ติดตอ่ เรอ้ื รัง (NCDs) 7. ปญั หายาเสพตดิ /๒) การกำหนด...... ๑๘
2) การกำหนดประเดน็ การพฒั นา จากผลการวิเคราะห์ศกั ยภาพและสภาพแวดล้อม โดยเคร่ืองมอื TOWS Matrix SO : รุกไปข้างหนา้ WO : พัฒนาภายใน - ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การท่องเท่ียววิถีไทยอีสาน(S8, - เพมิ่ ประสิทธิภาพการผลติ การแปรรูปอาหารปลอดภัย O1) ให้ไดม้ าตรฐาน (W1, W3, O4, O5) - ส่งเสริมเศรษฐกิจฐานรากใหม้ ีความเขม้ แข็ง และ - พัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเท่ียวให้ได้มาตรฐาน (W4, ยกระดบั ศกั ยภาพผปู้ ระกอบการ SMEs และ Startup W5, O1) จากภมู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ (S7, O2) - พัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานของจังหวัด เพ่ือดึงดูดนัก - วจิ ยั และพัฒนานวัตกรรมการผลิตและการแปรรูปเพอ่ื ลงทนุ (W8, O3) เพ่ิมมูลค่าและคณุ คา่ ใหแ้ กผ่ ลติ ภัณฑ์จากภูมิปัญญา - พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตท้ังภาค ทอ้ งถ่นิ เช่น ผา้ ไหมแพรวา ผลิตภัณฑช์ ุมชน และสินคา้ เกษตรและอุตสาหกรรม (W7, O6,O7) OTOP (S7, S9) - พัฒนาถนนสายหลักเพ่ือเชื่อมโยงการขนสง่ สินค้า และ - พฒั นาและเชื่อมโยงกลมุ่ เครอื ข่ายเกษตรกร ผผู้ ลิต อำนวยความสะดวกใหแ้ กป่ ระชาชน(W6, O5) ผู้ประกอบการ ใหม้ ีความเข้มแข็งและมีเอกภาพ เพื่อ - ส่งเสริมความร่วมมือการพัฒนาด้วยกลไกประชารัฐ สร้างอำนาจตอ่ รองทางการตลาด (S7, O2) (W1, O2) - เพ่มิ ศักยภาพการบูรณการของหน่วยงานภาครัฐในการ ส่งเสรมิ และพัฒนากระบวนการผลติ การแปรรปู การ จำหนา่ ย ผ้าไหมแพรวา สินค้า OTOP และผลิตภัณฑ์ ชมุ ชน ใหไ้ ด้มาตรฐานแบบครบวงจร (S7, S10, O1, O2) - สง่ เสริมและพัฒนาการผลิต การแปรรูปอาหาร ปลอดภยั และเกษตรปลอดภยั แบบครบวงจร ดว้ ยการ จดั ต้ังเขตเศรษฐกจิ พเิ ศษเมืองข้าว(S1, S2, O4, O5,O7) ๑๙
ST : สร้างพนั ธมิตร WT: ปรับปรุงภายใน - พัฒนาโครงสรา้ งพนื้ ฐาน ระบบสาธารณปู โภค เพือ่ - พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำเพ่ือการเกษตร สนับสนนุ การคา้ และการลงทนุ ในพ้ืนทจี่ งั หวัด(S3, S4, (W2, T3, T4) T1) - พัฒนาฝีมือแรงงานภายในจังหวัดกาฬสินธ(ุ์ W1, W3, - สง่ เสริมและสนับสนนุ ความเขม้ แข็งของภาคการตลาด T5) เพอ่ื สรา้ งความย่ังยืน และแข่งขันไดข้ องสินค้าอาหาร - พัฒ นาศักยภาพ ทุนมนุษย์ทุกช่วงวัย การดูแล ปลอดภัย (S2, S3, S4, T4, T5) ผู้ด้อยโอกาส ตามกรอบกิจกรรม 3 ดี (คนดี รายได้ดี - เผยแพรว่ ัฒนธรรม ประเพณที อ้ งถ่ินอสี าน (S8, T2) สุขภาพดี) (W11, T6) - พฒั นาระบบฐานขอ้ มูลและระบบสารสนเทศของ - พัฒนาคุณภาพด้านสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน และ หนว่ ยงานภาครัฐ และการเช่อื มโยงขอ้ มูล ประชาชนสามารถเขา้ ถึงได้อยา่ งสะดวก รวดเรว็ (W11, ด้านการคา้ การลงทนุ การท่องเทย่ี วใหไ้ ดม้ าตรฐาน T6) เพือ่ ใหป้ ระชาชนสามารถเข้าถงึ ได้ อย่างสะดวกรวดเรว็ - สนับสนุนการเพ่ิมประสิทธิภาพการจัดการคุณภาพ (S3, S4, S5, S6, S7, S8, T1 ,T5) สง่ิ แวดล้อมเชงิ พ้ืนท่ี การเพ่ิมพนื้ ท่สี เี ขียว และการบูรณา - สร้างสงั คมแหง่ ความมั่นคงและปลอดภยั และแกไ้ ข การการจดั การขยะอย่างถกู สขุ อนามยั (W9) ปัญหายาเสพติด โดยสง่ เสรมิ การมีสว่ นรว่ มของทกุ ภาค - พัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธิ์ ส่วน (T5, T7, S10) ทางการศึกษา (W10) 2.2 ทิศทางการพฒั นาสำนกั งานวัฒนธรรมจงั หวดั กาฬสินธุ์ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จากการข้อมูลการวิเคราะห์ความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถ่ิน และการวิเคราะห์ สภาวการณ์และศักยภาพด้านต่างๆ ของจังหวัดกาฬสินธ์ุ นำมาสู่การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก เพ่ือกำหนดจดุ แข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอปุ สรรค ทำใหท้ ราบถึงศกั ยภาพและการเปลย่ี นแปลงของจงั หวัดโดยไดน้ ำผล จากการวิเคราะห์ SWOT มาเช่ือมโยงกับนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (นายอิทธิพล คุณปลื้ม) และ วิสัยทัศน์ พันธกิจและยุทธศาสตร์ กระทรวงวัฒนธรรม นำมาสู่การกำหนดทิศทางการพัฒนาสำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดกาฬสินธ์ุ ดังน้ี 2.2.1 วิสยั ทัศน์ เปน็ องค์กรผ้นู ำการส่งเสรมิ วิถีชีวิตวฒั นธรรมไทย สู่การพฒั นาชาตอิ ยา่ งยง่ั ยืน 2.2.2 พันธกจิ สืบสาน ส่งเสริม พัฒนาต่อยอด สนับสนุน การมีส่วนร่วม นำวิถีชีวิตความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทอ้ งถนิ่ เพ่ือสงั คมและสันติสขุ อย่างย่ังยนื 2.2.3 วัฒนธรรมองคก์ ร - ร่วมคิด - รว่ มทำ - ร่วมนำ - ร่วมเปลยี่ น - รว่ มพฒั นาสร้างสรรค์ - รว่ มเสรมิ สร้างภาพลักษณ์องค์กร ๒๐
2.2.4 ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๑ ส่งเสริมอนุรักษ์ สืบทอด ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของท้องถ่ินให้คงอยู่ อยา่ งยงั่ ยนื โดยกำหนดกลยุทธใ์ นการดำเนินงาน ๓ กลยทุ ธ์ ดังน้ี (1) ศึกษา วจิ ยั อนุรักษ์ มรดกทรพั ย์สนิ ทางศาสนา ศิลปวฒั นธรรม (2) ส่งเสริม พฒั นา สบื ทอดภูมิปญั ญาท้องถ่ิน (3) สง่ เสริม ฟ้นื ฟู ขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรมของทอ้ งถ่ิน ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ สร้างค่านยิ ม จติ สำนกึ และพฒั นาคน สงั คมให้มคี ุณภาพ โดยกำหนดกลยทุ ธใ์ นการดำเนินงาน 4 กลยทุ ธ์ ดังนี้ (1) สร้างแหลง่ เรยี นรู้ทางวฒั นธรรม เพื่อให้โอกาสประชาชนในระดับทอ้ งถิน่ ได้ศกึ ษาเรียนรู้ (2) ส่งเสริมการนำหลักธรรมทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรมมาใช้ในการดเนินชีวิตได้อย่างผาสุก (3) สง่ เสริมให้เยาวชนได้เรียนรู้ และสรา้ งสรรค์ พฒั นา ด้านศิลปะและวฒั นธรรม (4) ส่งเสรมิ องคก์ รเครือขา่ ยทางวัฒนธรรมให้เข้มแข็ง ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ ๓ นำทนุ ทางวฒั นธรรมมาสร้างคณุ คา่ ด้านเศรษฐกิจและการทอ่ งเท่ยี ว โดยกำหนดกลยุทธใ์ นการดำเนนิ งาน 4 กลยทุ ธ์ ดงั นี้ (1) ส่งเสริมการวจิ ยั ภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ให้หลากหลาย (2) สง่ เสริมและสนบั สนุนชมุ ชนทางวัฒนธรรมไปสูก่ ารท่องเทย่ี วของจงั หวัด (3) ส่งเสรมิ และพัฒนาผลติ ภณั ฑ์พื้นบ้าน เพ่อื สรา้ งรายได้แกช่ มุ ชน (4) เปน็ ศนู ย์กลางการเรียนร้ขู องวฒั นธรรมผู้ไทยในระดบั ประเทศ ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๔ การบรหิ ารจัดการองคค์ วามรู้ด้านศาสนา ศลิ ปวัฒนธรรม โดยกำหนดกลยทุ ธใ์ นการดำเนนิ งาน 4 กลยทุ ธ์ ดงั น้ี (1) สง่ เสริมให้คนในชมุ ชนมีส่วนร่วมและดำเนนิ งานดา้ นศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม (2) ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ การบริการ การเผยแพร่ และการประชาสมั พนั ธ์ (3) บูรณาการความร่วมมือ และสร้างเครอื ข่ายในการดำเนินงาน ดา้ นศาสนา ศิลปวัฒนธรรม (4) การติดตามประเมนิ ผลการดำเนินงานด้านศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม 2.3 เป้าประสงค์ ๑. วัฒนธรรมไดร้ ับการอนรุ ักษ์และสบื ทอดอยา่ งเปน็ ระบบ ๒. ประชาชนมีสว่ นรว่ มในการอนุรักษ์ พฒั นาและสืบสานมรดกทางศลิ ปะและวัฒนธรรม ๓. ประชาชนเกิดรายได้จากอตุ สาหกรรมวฒั นธรรมเชิงสรา้ งสรรค์เพิม่ มากขึ้น ๔. ประชาชนเกดิ ความรัก และภูมิใจในวฒั นธรรมและความเป็นไทย 5. การจัดการความรู้ดา้ นศาสนา ศลิ ปะ และวัฒนธรรมมคี ุณภาพและมาตรฐาน โดยประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ขอ้ มลู ได้ 6. คนไทยมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และค่านยิ มท่ีดงี าม ๒๑
2.4 ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ ดา้ นความมนั่ คง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ ด้านการพฒั นา และเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ ดา้ นการสรา้ งโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม ยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ ดา้ นการสร้างความเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๖ ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ 2.3 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าต/ิ แผนปฏริ ปู ประเทศ/แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒/นโยบายหลัก ๑๒ ด้าน/นโยบายเรง่ ด่วน ๑๒ เรอื่ ง 2.3.1 แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ประกอบดว้ ย ๒๓ ประเดน็ ดังนี้ (๑) ความมั่นคง (๒) การ ต่างประเทศ (๓) การเกษตร (๔) อุตสาหกรรรมและบรกิ ารแห่งอนาคต (๕) การทอ่ งเท่ียว (๖) พนื้ ทแี่ ละเมอื ง น่าอยอู่ ัจฉรยิ ะ (๗) โครงสรา้ งพ้นื ฐาน ระบบโลจิสตกิ ส์ และดิจิทัล (๘) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอ่ มยคุ ใหม่ (๙) เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ (๑๐) การปรบั เปลี่ยนค่านยิ ม และวฒั นธรรม (๑๑) ศกั ยภาพ คนตลอดช่วงชวี ิต (๑๒) การพฒั นาการเรยี นรู้ (๑๓) การเสรมิ สรา้ งใหค้ นไทยมสี ุขภาวะที่ดี (๑๔) ศกั ยภาพการ กฬี า (๑๕) พลงั ทางสังคม (๑๖) เศรษฐกจิ ฐานราก (๑๗) ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม (๑๘) การ เติบโตอย่างยงั่ ยนื (๑๙) การบรหิ ารจัดการนำ้ ทงั้ ระบบ (๒๐) การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครัฐ (๒๑) การต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ (๒๒) กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม (๒๓) การวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม ๒๒
2.3.2 แผนปฏิรปู ประเทศ (1) ด้านการเมอื ง (2) ด้านการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (3) ดา้ นกฎหมาย (4) ดา้ นกระบวนการยุติธรรม (5) ดา้ นเศรษฐกิจ (6) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (7) ด้านสาธารณสขุ (8) ด้านสอ่ื สารมวลชนเทคโนโลยสี ารสนเทศ (9) ด้านสงั คม (10) ด้านพลงั งาน (11) ดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ (12) ด้านการศกึ ษา (13) ดา้ นวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ 2.3.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. 2560 – 2564) (1) การเสริมสร้างและพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย์ (2) การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหลอ่ื มลำ้ ในสังคม (3) การสร้างความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจและแขง่ ขนั ได้อย่างยั่งยืน (4) การเติบโตทเี่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื (5) การเสรมิ สร้างความมัน่ คงแหง่ ชาตเิ พ่ือการพฒั นาประเทศ สคู่ วามมัง่ คัง่ และยั่งยืน (6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การปอ้ งกันการทุจรติ ประพฤติมชิ อบ และธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย (7) การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานและระบบโลจิสติกส์ (8) การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวัตกรรม (9) การพัฒนาภาค เมือง และพืน้ ทเี่ ศรษฐกิจ (10) ความรว่ มมอื ระหว่างประเทศเพอ่ื การพัฒนา 2.3.4 นโยบายหลกั ๑๒ ด้าน (๑) การปกปอ้ งและเชิดชูสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ (๒) การสร้างความม่ันคงและความปลอดภยั ของประเทศ และความสงบสขุ ของประเทศ (๓) การทํานบุ ํารุงศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม (๔) การสรา้ งบทบาทของไทยในเวทโี ลก (๕) การพฒั นาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแข่งขันของไทย (๖) การพัฒนาพ้ืนทเ่ี ศรษฐกจิ และการกระจายความเจรญิ สภู่ ูมภิ าค (๗) การพัฒนาสร้างความเขม้ แข็งจากฐานราก (๘) การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทุกชว่ งวัย (๙) การพฒั นาระบบสาธารณสขุ และหลกั ประกนั ทางสังคม (๑0) การฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสง่ิ แวดลอ้ มเพื่อสร้างการเติบโตอยา่ งยัง่ ยืน (๑๑) การปฏริ ูปการบรหิ ารจัดการภาครัฐ (๑๒) การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ และกระบวนการยตุ ิธรรม ๒๓
2.3.5 นโยบายเร่งด่วน ๑๒ เรอื่ ง (๑) การแก้ไขปัญหาในการดํารงชีวิตของประชาชน (๒) การปรับปรงุ ระบบสวสั ดิการและพฒั นาคุณภาพชีวติ ของประชาชน (๓) มาตรการเศรษฐกิจเพื่อรองรับความผนั ผวนของเศรษฐกจิ โลก (๔) การให้ความชว่ ยเหลือเกษตรกรและพฒั นานวตั กรรม (๕) การยกระดบั ศักยภาพของแรงงาน (๖) การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต (๗) การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ (๘) การแก้ไขปญั หาทจุ ริตและประพฤตมิ ชิ อบในวงราชการ ท้ังฝา่ ยการเมอื งและฝา่ ยราชการประจาํ (9) การแกไ้ ขปญั หายาเสพติดและสร้างความสงบสขุ ในพ้ืนที่ชายแดนภาคใต้ (10) การพัฒนาระบบการใหบ้ รกิ ารประชาชน (๑๑) การจัดเตรียมมาตรการรองรบั ภัยแล้งและอทุ กภยั (1๒) การสนับสนนุ ให้มีการศกึ ษา การรับฟังความเหน็ ของประชาชน และการดําเนนิ การเพือ่ แก้ไขเพ่ิมเตมิ รฐั ธรรมนูญ 2.4 แผนแม่บท/แผนพฒั นาทีเ่ กี่ยวขอ้ ง 2.4.1 แผนแมบ่ ทส่งเสริมคุณธรรมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.2559 – 2564) ยุทธศาสตรท่ี ๑ วางระบบรากฐานการเสรมิ สรางคณุ ธรรมในสงั คมไทย ยทุ ธศาสตรท่ี ๒ สรางความเขมแข็งในระบบการบรหิ ารจัดการ ดานการสงเสรมิ คุณธรรมใหเปนเอกภาพ ยุทธศาสตรท่ี ๓ สรางเครือขายความรวมมือในการสงเสริมคณุ ธรรม ยทุ ธศาสตรท่ี ๔ สงเสริมใหประเทศไทยเปนแบบอยางดานคุณธรรมในประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก 2.4.2 แผนยุทธศาสตร์พฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตรท์ ่ี 1 การพัฒนาคณุ ภาพแหลง่ ท่องเท่ียว สนิ ค้าและบรกิ ารให้เกิดความสมดุล และยัง่ ยนื ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน และ ส่งิ อำนวยความสะดวก เพ่ือรองรบั การขยายตัวของ อตุ สาหกรรม การท่องเที่ยว ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 การพฒั นาบุคลากรดา้ นการท่องเท่ียว และสนับสนนุ การมสี ่วนร่วมของ ประชาชนในการ พฒั นาพื้นที่ ยทุ ธศาสตร์ท่ี 4 การสร้างความสมดลุ การทอ่ งเทีย่ วไทย ผ่านการตลาดเฉพาะกลุม่ การสง่ เสรมิ วิถไี ทย และการสรา้ งความเชอื่ มน่ั ของนกั ท่องเที่ยว ยทุ ธศาสตร์ท่ี 5 การบูรณาการการบริหารจัดการ การท่องเทย่ี ว และส่งเสริมความร่วมมอื ระหว่าง ประเทศ 2.4.3 นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวฒั นธรรม ตามทไ่ี ด้มพี ระบรมราชโองการแต่งต้ังใหพ้ ลเอก ประยุทธ์ จนั ทร์โอชา ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี เมอ่ื วันที่ 9 มถิ นุ ายน พุทธศกั ราช 2562 และแตง่ ตัง้ รัฐมนตรีเมอื่ วันท่ี 10 กรกฎาคม พทุ ธศักราช 2562 น้นั บัดนี้ คณะรัฐมนตรีได้กำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินท่ียึดมั่นการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยมีความสอดคล้องกับหมวด 5 หน้าท่ีของรัฐ และหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรฐั ตามรฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2560 ตลอดจนยุทธศาสตรช์ าติ พทุ ธศกั ราช 2561 – 2580 สรุปสาระสำคัญ ดงั นี้ ๒๔
1. น้อมนำพระปฐมบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหลักในการ บริหารประเทศ 2. ยึดมน่ั ในการปกครองในระบบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมขุ 3. พัฒนาประเทศตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเดจ็ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 4. บูรณาการการทำงานระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคีการพัฒนาต่างๆ ใน ลกั ษณะประชารัฐ เพ่ือพัฒนาประเทศใหม้ ีความเจรญิ ก้าวหนา้ อยา่ งย่ังยืน และทำให้ประชาชนคนไทยมคี วามมัน่ คงอยู่ ดีมีสขุ นโยบายหลกั 4 ประการ “ สืบสาน รกั ษา ต่อยอด และปฏิบตั ิหนา้ ทีร่ าชการดว้ ยหลกั ธรรมาภบิ าล” (๑) สืบสาน ประการท่ี 1 ด้านการสืบสานงานวฒั นธรรมของชาติ 1.1 ถวายงานพระราชพิธีและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร- รามาธบิ ดีศรีสินทรมหาวชริ าลงกรณพระวชริ เกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 และพระบรมวงศานุวงศ์ ด้วยความจงรกั ภกั ดีและ สำนกึ ในพระมหากรณุ าธคิ ุณอนั หาทสี่ ดุ มิได้ เพื่อเทดิ ทนู และธำรงไวซ้ ง่ึ สถาบันอนั สงู สดุ ของปวงชนชาวไทย 1.2 ดำเนินงานตามพระราชดำริ สง่ เสริมการนำปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สูก่ ารปฏิบตั ิเพ่ือ ไปสู่วฒั นธรรมเพือ่ คณุ ค่า และวัฒนธรรมเพม่ิ มลู ค่า 1.3 ทำนุบำรุงศาสนาให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริมสถาบันศาสนาทุกศาสนา ให้มีบทบาทในการ เผยแพร่คำสอนทด่ี ีงาม ปลกู ฝังคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และเสรมิ สร้างความร่วมมอื ในการพัฒนาคุณภาพชวี ติ จติ ใจ และสงั คม 1.4 สร้างความม่ันคงและความย่งั ยืนของมรดกทางวัฒนธรรมด้วยการอนุรักษ์ทํานุบํารุงและ บูรณปฏิสังขรณ์แหล่งศาสนาศิลปะและวัฒนธรรมโบราณสถานโบราณวัตถุรวมถึงอนุรักษ์และส่งเสริม ศิลปะการแสดงและนาฏศิลป์ไทยตลอดจนการใช้การอนุรักษ์ทรัพยากรและมรดกทางด้านวัฒนธรรมอย่างรู้คุณค่า โดยชุมชนมสี ว่ นร่วม 1.5 ส่งเสริมศิลปินปราชญ์ท้องถิ่นผู้นำจิตวิญญาณกระตุ้นให้นำรากวัฒนธรรมประจำถิ่นและ ภมู ปิ ัญญาชาวบ้านรวบรวมเป็นคลงั ข้อมลู เปน็ องค์ความรตู้ ่อยอดและส่งผ่านวัฒนธรรมของชาตสิ ืบทอดรนุ่ ส่รู ุ่นสู่เยาวชน ยคุ ดจิ ติ อลแบบไร้รอยต่อ (๒) รกั ษา ประการที่ 2 ด้านการรกั ษาและหวงแหนมรดกทางวัฒนธรรม 2.1 ส่งเสริมสร้างความเช่ือมโยงระหว่างทรัพยากรบุคคลทางด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ศิลปินแห่งชาติ ปูชนียบุคคล ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำจิตวิญญาณ ผู้นำศาสนา ให้มีส่วนร่วมเป็นแม่พิมพ์ (Role Model)ใน การถา่ ยทอดภมู ิปัญญา องคค์ วามรู้ 2.2 ปลุกกระแสความเป็นไทย (Thainess) สร้างจิตสำนึก ส่งเสริมค่านิยมและอัตลักษณ์ ความเป็นไทย ผ่านพืน้ ท่ีและกิจกรรมทางวฒั นธรรมท่ัวประเทศ 2.3 ผลักดันนโยบายการจัดการพื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ โดยมีแนวทาง การ ดำเนนิ งานทีส่ ำคัญ ได้แก่ 1) ตรวจสอบข้อมูล และสำรวจพ้ืนท่แี หล่งมรดกทางวฒั นธรรม เพ่อื จดั ทำแผนการบูรณาการการ บริหารจัดการพ้นื ท่มี รดกวัฒนธรรม 2) บูรณาการการบริหารจัดการพ้ืนท่มี รดกทางวฒั นธรรม ระหว่างหนว่ ยงานของรัฐที่เกีย่ วขอ้ งเพื่อ หาแนวทางการแก้ไขและปอ้ งกันปัญหาการบุกรุกมรดกวัฒนธรรม และแนวทางการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลที่มีประโยชน์ ๒๕
3) จัดทำแผนบูรณาการการบริหารจัดการพื้นที่มรดกวัฒนธรรม รวมทั้งแก้ไข เพ่ิมเติม กฎหมายที่เก่ียวข้องบางมาตรา เพื่อประโยชน์ในการจัดการพื้นที่ และเพ่ือลดผลกระทบต่อประชาชนท่ีบุกรุกพ้ืนท่ี มรดกวฒั นธรรม โดยไมต่ ้งั ใจ 4) นำแผนบูรณาการบริหารจัดการพ้ืนที่มรดกวัฒนธรรม ด้านการแก้ไขปัญหาการบกุ รกุ มาทดลองปฏบิ ัติ 2.4 ส่งเสริมการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ท่ีสนองต่อนโยบายการเตรียมคนไทยสู่ ศตวรรษท่ี 21 มาประยุกต์ใช้ เพื่อการอนุรักษ์ ทำนุบำรุง และบูรณปฏิสังขรณ์แหล่งศาสนา ศิลปะ วัฒนธร รม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ 2.5 สนับสนุนการจัดทำและบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (BIG DATA) เพื่อเป็นศูนย์กลาง แลกเปลี่ยนขอ้ มูลดา้ นวฒั นธรรมของประเทศ เพอื่ นำไปใช้ประโยชน์ในการเรยี นรู้ เผยแพร่ รักษาและทำนุบำรงุ สมบัติของชาติ 2.6 สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางวัฒนธรรมและการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับ อารยประเทศ เผยแพรอ่ งคค์ วามร้ทู ่ีถกู ต้องสู่สงั คมไทยและนานาอารยประเทศ 2.7 ผลักดันการพัฒนาศูนย์วัฒนธรรมแห่งใหม่เพื่อเป็นศูนย์กลางการแสดงการประชุ ม การถา่ ยทอดองค์ความรู้ การนำเสนอวิชาการและปฏิบัตกิ าร (๓) ตอ่ ยอด ประการที่ 3 การต่อยอดวัฒนธรรม ด้วยการนำคุณค่าของวัฒนธรรม สร้างสรรค์สินค้าและ บริการ(Creative Culture) เพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ ทางเศรษฐกิจสรา้ งรายได้จากการท่องเท่ยี วและบริการทางวฒั นธรรม 3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการนำทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจส่งเสริม การนำวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์และบริการด้านวัฒนธรรมพ้ืนถ่ิน ให้เป็น วัฒนธรรมสรา้ งสรรค์ สร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจ 3.2 ส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือให้เกิดสถาบันวัฒนธรรมสร้างสรรค์ สร้างมาตรฐาน ผลิตภัณฑ์และบริการ แหลง่ ทอ่ งเทยี่ วเชิงวฒั นธรรม 3.3 สนับสนุนการส่งเสริมการพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ทมี่ ีศักยภาพ 5F คือ 1) อาหาร (Food) 2) ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ (Film) 3) การออกแบบและแฟชั่น (Fashion) 4) มวยไทย (Fighting)และ ศิลปะการป้องกันตัวแบบไทย และ 5) เทศกาล ประเพณี (Festival) โดยการบูรณาการและร่วมมือกับ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน 3.4 ส่งเสริมให้มีเวทีและพ้ืนที่เชิงวัฒนธรรม รวมไปถึงการพัฒนาแหล่งท่องเท่ียวเชิงวัฒนธรรม ทไ่ี ดร้ บั การรบั รองมาตรฐาน 3.5 สนับสนุนให้เกิดการสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศการร่วมลงทุน (Eco System) ระหว่างปราชญช์ าวบ้าน นกั วจิ ยั พัฒนา นกั ลงทุน นักการตลาดและผู้ประกอบการหน้าใหม่ 3.6 ส่งเสริมการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีสมัยใหม่ มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการคิดค้น และวิจัย ออกแบบผลงาน ผลิตสินค้าและบริการทางด้านวัฒนธรรม รวมไปถึงการส่งเสริมการตลาดด้วยเครื่องมือทาง การตลาดสมัยใหม่ (๔) หลักธรรมาภบิ าล ประการที่ 4 ปฏิบัตหิ น้าที่ราชการด้วยหลักธรรมาภิบาลและการสรา้ งคุณค่าทางสังคม (Value Creation) 4.1 ผลักดันการจัดทำเกณฑ์มาตรฐานคุณธรรมแห่งชาติพร้อมด้วยร่างพระราชกฤษฎีกาจัดต้ัง ศูนย์คณุ ธรรม จดั ตงั้ คณะทำงานดำเนินการพฒั นามาตรฐานดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยม 4.2 เร่งรัดขับเคลื่อนการพัฒนาและบรรจุหลักสูตรการเรียนการสอนด้านศิลปะ วัฒนธรรม การศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม โดยประสานความร่วมมือระหว่างกระทรวงศึกษาธิการกับกระทรวงวัฒนธรรม และสง่ เสรมิ ใหม้ ีการวางหลกั สตู รการเรยี นรู้เสรมิ ภายในทอ้ งถ่ิน ๒๖
4.3 เร่งสร้างสรรคว์ ถิ ีชีวิตและสังคมคณุ ภาพ ดว้ ยการนำมติ ิทางวัฒนธรรมมาสร้างค่านิยมและ จติ สำนกึ ทีด่ ใี หก้ บั สังคมไทย การใช้ชวี ติ อยา่ งมีคุณภาพ เคารพและรบั ผดิ ชอบตอ่ สังคมสว่ นรวม 4.4 สนับสนุนนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลในการนำมติ ิของวัฒนธรรมมาปลูกฝังและสร้างสำนึกวินัย การจราจรอย่างย่งั ยนื เพ่อื แก้ปัญหาวกิ ฤติด้านการจราจรและลดการสูญเสียชวี ิตและทรัพย์สินของพี่นอ้ งประชาชน 4.5 สนับสนุนการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคมเพื่อสร้างความเข้มแข็ง ของสถาบันทางสังคมทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของชุมชนเสริมสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรร ม ที่เอื้อต่อการดำรงชีวติ ในสงั คมสูงวัย 4.6 ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐด้วยการดำเนินการปรับปรุงโครงสร้าง บทบาทและภารกิจของหน่วยงานด้านศิลปวัฒนธรรมปรับปรุงกฎหมายด้านศิลปวัฒนธรรมพัฒนากลไกสนับสนุน การบรหิ ารจัดการงานวฒั นธรรม 4.7 นำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารราชการและส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรบุคคลภายใน องค์กรใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถเช่ยี วชาญในการปฏิบตั งิ านในหนา้ ทม่ี ีความม่ันคงและเจริญก้าวหนา้ ในสาขาอาชีพ 2.4.4 ยุทธศาสตรก์ ระทรวงวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ท่ี ๑ เสรมิ สร้างความตระหนกั ต่อสถาบนั หลักของชาติ และพฒั นากลไกในการอนรุ ักษ์และ สืบทอดวัฒนธรรม ยุทธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสรมิ อตุ สาหกรรมวฒั นธรรมเชิงสรา้ งสรรคเ์ พื่อสรา้ งมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ พัฒนาความสัมพนั ธ์ และส่งเสรมิ เกียรตภิ มู ิและภาพลักษณ์ไทยในเวทีโลก ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ เสริมสร้างคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และความเป็นไทย ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ พฒั นาคณุ ภาพและมาตรฐานในการจดั การศึกษา วิจยั บรหิ ารจัดการความรู้ และสรา้ ง นวัตกรรมด้านศาสนา ศิลปะ และวฒั นธรรม ยุทธศาสตรท์ ี่ ๖ พฒั นากลไกและยกระดับการบรหิ ารจัดการงานวัฒนธรรม 2.4.5 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาพ้ืนที่ระดับภาค (แผนพฒั นาภาคตะวันออกเฉียงเหนอื พ.ศ. 2560 – 2565) ฉบบั ทบทวน (กรกฎาคม 2562) ยุทธศาสตร์ท่ี 1 บริหารจัดการน้ำให้เพยี งพอตอ่ การพฒั นาเศรษฐกจิ และคุณภาพชีวิตอยา่ งย่ังยืน ยุทธศาสตร์ที่ 2 แกป้ ญั หาความยากจนและพฒั นาคุณภาพชีวติ ผมู้ ีรายไดน้ อ้ ยเพ่อื ลดความเหลอ่ื มล้ำ ทางสังคม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 สร้างความเขม้ แขง็ ของฐานเศรษฐกจิ ภายในควบค่กู ับการแกป้ ญั หาทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม ยุทธศาสตร์ที่ 4 พัฒนาการทอ่ งเท่ยี วเชิงบูรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ใชโ้ อกาสจากการพัฒนาโครงขา่ ยคมนาคมขนสง่ ท่ีเชือ่ มโยงพน้ื ทีเ่ ศรษฐกจิ หลัก ภาคกลางและพ้นื ทรี่ ะเบียงเศรษฐกจิ ภาคตะวนั ออก (EEC) เพือ่ พฒั นาเมอื งและพ้ืนที่เศรษฐกจิ ใหมๆ่ ของภาค ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 พฒั นาความร่วมมอื และใช้ประโยชน์จากขอ้ ตกลงกบั ประเทศเพ่ือนบ้านในการสร้าง ความเข้มแข็งทางเศรษฐกจิ ตามแนวชายแดนและแนวระเบียงเศรษฐกจิ ๒๗
2.4.6 ประเดน็ การพัฒนากลุ่มจังหวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนกลาง (แผนพัฒนากลมุ่ จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ. 2561 – 2565 (ฉบับทบทวน)) ประเด็นการพัฒนาท่ี 1 เพมิ่ ศักยภาพการผลิตการเกษตร และอตุ สาหกรรมการเกษตร ให้สามารถ แขง่ ขันได้อยา่ ง ยง่ั ยนื ประเดน็ การพฒั นาที่ 2 การพฒั นาขีดความสามารถทางการแข่งขนั ดา้ นการคา้ การบริการ ระบบ โลจสิ ตกิ ส์ ระบบราง และอุตสาหกรรมอากาศยาน ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 การเพมิ่ ศกั ยภาพ และยกระดับคณุ ภาพการทอ่ งเท่ียวอย่างครบวงจร 2.4.7 ประเด็นการพฒั นาจังหวดั ประเดน็ การพฒั นาที่ 1 พัฒนาศกั ยภาพท่ีมุงเนนการผลิตสนิ คาเกษตรและอาหารปลอดภัย ประเด็นการพฒั นาท่ี 2 ยกระดับคุณภาพและรายไดดานการทองเท่ยี ว และสงเสรมิ การคา การลงทนุ และอุตสาหกรรมอาหารปลอดภยั ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ประเด็นการพฒั นาที่ 4 การพัฒนาทนุ มนษุ ย ลดความเหล่ือมล้ำ สรางสังคมทม่ี ีความม่นั คงและสงบสขุ ๒๘
สว่ นท่ี ๒ กรอบแนวคดิ และนโยบายท่เี ก่ยี วข้อง ๒.๑ การวเิ คราะห์สถานการณ์ (SWOT Anaalysis) 1) การวเิ คราะห์ SWOTของจงั หวัดกาฬสนิ ธ์ุ จากการข้อมูลทั่วไป การวิเคราะห์ความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น และการ วิเคราะห์สภาวการณ์และศักยภาพด้านต่างๆ ของจังหวัดกาฬสินธุ์ นำมาสู่การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและ ภายนอก เพื่อกำหนดจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค ทำให้ทราบถึงศักยภาพและการเปลี่ยนแปลงของจังหวดั โดยผลจากการวเิ คราะห์ SWOT นีใ้ ช้เปน็ แนวทางในการกำหนดยุทธศาสตร์การพฒั นาของจงั หวัดตอ่ ไป จุดแข็ง (S) จดุ ออ่ น (W) 1. มีสภาพพื้นที่และสภาพภูมิอากาศเหมาะสมต่อการ 1. รายไดเ้ ฉลยี่ ต่อหัวประชากรต่ำ เพาะปลกู พชื 2. ระบบชลประทานยังมีไม่เพียงพอและไม่ครอบคลุม 2. มีพื้นทีป่ ลูกข้าวหอมมะลินาปีและนาปรังท่ีอยู่ในเขต พน้ื ที่ทางการเกษตร ชลประทานมากกว่า 338,000 ไร่ สามารถที่จะทำได้ 3. ผลผลิตภาคการเกษตรเฉลี่ยต่อไร่ต่ำและไม่มีตลาด ตลอดปี รองรบั 3. มีโรงสีขา้ วขนาดใหญท่ ม่ี กี ำลงั การผลติ มากกวา่ 700 4. โฮมสเตยท์ ไี่ ด้มาตรฐานมนี อ้ ย ตัน เป็นศนู ย์รวมข้าวจาก จ.สกลนคร นครพนม สุรินทร์ 5. ระบบสาธารณูปโภคด้านการท่องเที่ยวยังไม่ได้ ศรษี ะเกษ มุกดาหาร เพอ่ื ขนสง่ สภู่ าคกลาง และ ภาคใต้ มาตรฐาน ขาดการประชาสัมพนั ธด์ ้านการทอ่ งเท่ียวทด่ี ี 4. มีโรงงานอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง ขนาดเล็ก 6. ระบบการขนส่ง และ ระบบโลจิสติกส์ ยังไม่ ในพ ื้นที่ มากกว ่า ๕83 แห่ง มูลค่าการลงทุ น ครอบคลมุ และเช่อื มโยงในทุกพืน้ ที่ 19,858,140,000 บาท 7. ปัญหาแรงงานสูงอายุ และการอพยพย้ายถิ่นของวยั 5. มซี ากดึกดำบรรพ์ (ฟอสชลิ ) ยุคโบราณไดโนเสาร์ล้าน แรงงาน ปี มีเป็นพิพิธภัณฑ์สิรินธร ที่เป็นแหล่งจัดแสดงและ 8. การลงทนุ ขนาดใหญข่ องภาครัฐและเอกชนยังมนี ้อย รวบรวมฟอสชิลไดโนเสาร์มากทีส่ ุดและสมบูรณ์ที่สุดใน 9. ปริมาณขยะมีจำนวนมากขึ้นจากการขยายตัวเมือง ประเทศไทย พร้อมทั้ง อปท. ไม่มีการจัดการที่ถูกต้องตามหลัก 6. มีแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ทางวัฒนธรรม สุขาภิบาล และแหล่งท่องเที่ยวทางการเกษตรที่สวยงามเป็น 10. ผลสมั ฤทธิท์ างการศึกษาตำ่ (ผลสอบ O-net ตำ่ ) เอกลักษณ์ประจำถน่ิ 11. อตั ราสว่ นแพทย์ต่อประชากรตำ่ 7. เป็นแหล่งผลิตสินค้าทางวัฒนธรรม และผลิตภัณฑ์ 12. สัดสว่ นคนจนคอ่ นขา้ งสูง ชุมชนที่มีชื่อเสียงและมีคุณภาพ เช่น ผ้าไหมแพรวา 13. การลงทุน SMEs จากภาคเอกชนยงั มนี ้อย ไส้กรอกปลากาฬสินธุ์ หมทู บุ หมูเคม็ อาหารปลอดภัย 14. ขาดแหล่งดงึ ดดู ใจดา้ นการทอ่ งเท่ียว (Landmark) (ks) ข้าวเกรียบเขาวง ข้าวเหนียวเขาวง มะม่วง มหาชนก พุทรานมสด 8. มีวัฒนธรรมประจำถิ่นที่มีความโดดเด่นและเป็น เอกลักษณ์ เช่น วัฒนธรรมผู้ไท งานบุญบั้งไฟตะไลล้าน การแสดงโปงลาง และปราสาทรวงขา้ ว ๑๗
จุดแขง็ (S) จุดออ่ น (W) 9. มีมหาวิทยาลยั กาฬสนิ ธุ์ เป็นแหล่งศกึ ษาความร้ขู อง บคุ ลากร สนับสนนุ วิชาการให้จังหวัด 10. การมีสว่ นร่วมของหน่วยงานภาครฐั ภาคเอกชน ภาคประชาสงั คม และภาคประชาชน ในจังหวัด กาฬสินธ์ุ ๑๑. มีความได้เปรยี บท่ีตัง้ อยบู่ นภูมิศาสตรเ์ สน้ ทางสาย EWEC ผ่านจงั หวัดส่งผลตอ่ การค้า การลงทนุ ของ ผ้ปู ระกอบการ เพอ่ื การผลติ สินค้า มุง่ สตู่ ลาดอาเซียน โอกาส (O) อปุ สรรค (T) ๑.รฐั บาลสนบั สนุนการพฒั นาภูมิปญั ญาทอ้ งถ่นิ 1. สภาพเศรษฐกิจของประเทศและของโลก มีการ ผลิตภัณฑช์ ุมชน และการส่งเสริมการทอ่ งเที่ยววถิ ีไทย เปล่ยี นแปลงตลอดเวลา และอยูใ่ นภาวะชะลอตวั ส่งผล ๒.นโยบายรัฐบาลสง่ เสรมิ SME จัดต้งั บรษิ ทั ประชารัฐ การลงทนุ ทางเศรษฐกจิ จำกดั และนโยบายสานพลังประชารัฐ 2. อิทธิพลของวัฒนธรรมต่างชาติเข้ามาทำลาย ๓.กระแสความนิยมการบรโิ ภคอาหารทมี่ ีคุณภาพและ วฒั นธรรมท้องถนิ่ ปลอดภยั ต่อผู้บริโภค 3. ภยั ธรรมชาติ ๔.ADB และกลมุ่ จงั หวดั ภาคตะวันออกเฉียงเหนอื 4. ปัจจัยการผลิตมีการปรับราคาสูงขึ้นส่งผลให้ต้นทุน ตอนกลาง ใหค้ วามมั่นใจและสนับสนนุ ใหเ้ ปน็ จังหวัดนำ การผลิตภาคเกษตร ปรบั สงู ขึ้น รอ่ งการผลิตอาหารปลอดสารพิษ (KS) เกษตรอนิ ทรีย์ 5. การเปดิ ประชาคมเศรษฐกิจอาเซยี น (AEC) จะส่งผล ๕.นโยบายรฐั บาลส่งเสรมิ บทบาทและการใชโ้ อกาสใน กระทบ ต่อภาคการผลิตและการแข่งขันสินค้าเกษตรมี การเขา้ สู่ประชาคมอาเซียน ปี 2558 การไหลเข้า ของแรงงานต่างชาติ ส่งผลต่อการจ้างงาน ๖.นโยบายประเทศไทย 4.0 ของประชาชนในประเทศ รวมทั้งสุขภาพอนามัยของ ๗.นโยบายรัฐบาลสนบั สนนุ โครงการนำร่อง kalasin ประชาชนและความปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ย์สิน Rice City และการพฒั นาเขตเศรษฐกิจพิเศษเมอื งขา้ ว 6. กลมุ่ โรคไม่ติดต่อเรื้อรัง (NCDs) 7. ปัญหายาเสพติด /๒) การกำหนด...... ๑๘
2) การกำหนดประเด็นการพฒั นา จากผลการวเิ คราะหศ์ กั ยภาพและสภาพแวดล้อม โดยเครอื่ งมือ TOWS Matrix SO : รุกไปข้างหนา้ WO : พัฒนาภายใน - ส่งเสริมและสนบั สนนุ การท่องเทย่ี ววถิ ีไทยอสี าน(S8, - เพิ่มประสิทธภิ าพการผลิต การแปรรูปอาหารปลอดภัย O1) ใหไ้ ดม้ าตรฐาน (W1, W3, O4, O5) - ส่งเสริมเศรษฐกจิ ฐานรากให้มคี วามเขม้ แขง็ และ - พัฒนาศักยภาพแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐาน (W4, ยกระดับศกั ยภาพผ้ปู ระกอบการ SMEs และ Startup W5, O1) จากภมู ปิ ัญญาท้องถน่ิ (S7, O2) - พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของจังหวัด เพื่อดึงดูดนัก - วจิ ัยและพฒั นานวตั กรรมการผลติ และการแปรรปู เพอ่ื ลงทนุ (W8, O3) เพม่ิ มลู คา่ และคณุ คา่ ให้แก่ผลิตภณั ฑ์จากภูมิปญั ญา - พัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมในการผลิตทั้งภาค ท้องถน่ิ เชน่ ผ้าไหมแพรวา ผลิตภัณฑช์ ุมชน และสนิ ค้า เกษตรและอตุ สาหกรรม (W7, O6,O7) OTOP (S7, S9) - พฒั นาถนนสายหลกั เพือ่ เชอื่ มโยงการขนส่งสินคา้ และ - พัฒนาและเชื่อมโยงกลุ่มเครือขา่ ยเกษตรกร ผู้ผลิต อำนวยความสะดวกให้แก่ประชาชน(W6, O5) ผู้ประกอบการ ใหม้ ีความเข้มแขง็ และมีเอกภาพ เพอื่ - ส่งเสริมความร่วมมือการพัฒนาด้วยกลไกประชารัฐ สรา้ งอำนาจตอ่ รองทางการตลาด (S7, O2) (W1, O2) - เพม่ิ ศกั ยภาพการบรู ณการของหนว่ ยงานภาครัฐในการ ส่งเสริมและพฒั นากระบวนการผลติ การแปรรปู การ จำหนา่ ย ผ้าไหมแพรวา สนิ คา้ OTOP และผลิตภัณฑ์ ชมุ ชน ใหไ้ ด้มาตรฐานแบบครบวงจร (S7, S10, O1, O2) - สง่ เสรมิ และพัฒนาการผลิต การแปรรูปอาหาร ปลอดภัย และเกษตรปลอดภยั แบบครบวงจร ด้วยการ จดั ตง้ั เขตเศรษฐกิจพิเศษเมืองขา้ ว(S1, S2, O4, O5,O7) ๑๙
ST : สร้างพนั ธมติ ร WT: ปรับปรงุ ภายใน - พฒั นาโครงสร้างพืน้ ฐาน ระบบสาธารณูปโภค เพื่อ - พัฒนาระบบการบริหารจัดการน้ำเพื่อการเกษตร สนบั สนุนการคา้ และการลงทนุ ในพ้นื ที่จังหวดั (S3, S4, (W2, T3, T4) T1) - พัฒนาฝีมือแรงงานภายในจังหวัดกาฬสินธุ์(W1, W3, - ส่งเสรมิ และสนบั สนุนความเข้มแขง็ ของภาคการตลาด T5) เพ่อื สร้างความยง่ั ยืน และแขง่ ขนั ไดข้ องสนิ คา้ อาหาร - พัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ทุกช่วงวัย การดูแล ปลอดภยั (S2, S3, S4, T4, T5) ผู้ด้อยโอกาส ตามกรอบกิจกรรม 3 ดี (คนดี รายได้ดี - เผยแพร่วัฒนธรรม ประเพณีทอ้ งถิน่ อสี าน (S8, T2) สขุ ภาพดี) (W11, T6) - พัฒนาระบบฐานขอ้ มลู และระบบสารสนเทศของ - พัฒนาคุณภาพด้านสาธารณสุขให้ได้มาตรฐาน และ หน่วยงานภาครฐั และการเชือ่ มโยงขอ้ มลู ประชาชนสามารถเขา้ ถงึ ไดอ้ ยา่ งสะดวก รวดเร็ว (W11, ดา้ นการคา้ การลงทุน การทอ่ งเท่ียวใหไ้ ด้มาตรฐาน T6) เพอื่ ให้ประชาชนสามารถเข้าถงึ ได้ อยา่ งสะดวกรวดเรว็ - สนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการคุณภาพ (S3, S4, S5, S6, S7, S8, T1 ,T5) สงิ่ แวดลอ้ มเชิงพน้ื ที่ การเพมิ่ พน้ื ทสี่ เี ขียว และการบูรณา - สรา้ งสังคมแห่งความม่ันคงและปลอดภัย และแกไ้ ข การการจัดการขยะอย่างถูกสุขอนามยั (W9) ปัญหายาเสพติด โดยสง่ เสรมิ การมสี ว่ นร่วมของทกุ ภาค - พัฒนาสังคมแห่งการเรียนรู้และยกระดับผลสัมฤทธ์ิ สว่ น (T5, T7, S10) ทางการศึกษา (W10) 2.2 ทิศทางการพฒั นาสำนกั งานวัฒนธรรมจงั หวัดกาฬสนิ ธุ์ ปงี บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔ จากการข้อมูลการวิเคราะห์ความต้องการและศักยภาพของประชาชนในท้องถิ่น และการวิเคราะห์ สภาวการณ์และศักยภาพด้านต่างๆ ของจังหวัดกาฬสินธุ์ นำมาสู่การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในและภายนอก เพอื่ กำหนดจุดแข็ง จดุ อ่อน โอกาส และอุปสรรค ทำให้ทราบถึงศกั ยภาพและการเปล่ยี นแปลงของจังหวัดโดยได้นำผล จากการวิเคราะห์ SWOT มาเชื่อมโยงกับนโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (นายอิทธิพล คุณปลื้ม) และ วิสัยทัศน์ พันธกิจและยุทธศาสตร์ กระทรวงวัฒนธรรม นำมาสู่การกำหนดทิศทางการพัฒนาสำนักงานวัฒนธรรม จังหวัดกาฬสนิ ธ์ุ ดังนี้ 2.2.1 วิสยั ทัศน์ เปน็ องคก์ รผู้นำการสง่ เสริมวิถีชีวติ วฒั นธรรมไทย สู่การพฒั นาชาตอิ ย่างยงั่ ยนื 2.2.2 พันธกจิ สืบสาน ส่งเสริม พัฒนาต่อยอด สนับสนุน การมีส่วนร่วม นำวิถีชีวิตความหลากหลายทางวัฒนธรรม ทอ้ งถนิ่ เพ่อื สงั คมและสนั ตสิ ุขอยา่ งย่ังยืน 2.2.3 วฒั นธรรมองคก์ ร - ร่วมคิด - ร่วมทำ - ร่วมนำ - รว่ มเปล่ียน - รว่ มพัฒนาสร้างสรรค์ - ร่วมเสริมสรา้ งภาพลักษณอ์ งคก์ ร ๒๐
2.2.4 ประเด็นยทุ ธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตรท์ ี่ ๑ ส่งเสริมอนุรกั ษ์ สืบทอด ความหลากหลายทางวัฒนธรรมของท้องถิ่นให้คงอยู่ อย่างยั่งยืน โดยกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินงาน ๓ กลยทุ ธ์ ดงั นี้ (1) ศึกษา วจิ ยั อนรุ กั ษ์ มรดกทรพั ย์สนิ ทางศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม (2) สง่ เสรมิ พฒั นา สบื ทอดภมู ิปัญญาท้องถน่ิ (3) สง่ เสรมิ ฟ้ืนฟู ขนบธรรมเนียม ประเพณี วฒั นธรรมของทอ้ งถ่ิน ประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ สร้างค่านยิ ม จติ สำนึก และพัฒนาคน สงั คมให้มคี ุณภาพ โดยกำหนดกลยทุ ธ์ในการดำเนินงาน 4 กลยุทธ์ ดังน้ี (1) สร้างแหล่งเรยี นรูท้ างวัฒนธรรม เพอื่ ใหโ้ อกาสประชาชนในระดับท้องถ่ินได้ศกึ ษาเรยี นรู้ (2) ส่งเสริมการนำหลักธรรมทางศาสนา คุณธรรม จริยธรรมมาใช้ในการดเนินชีวิตได้อย่างผาสุก (3) สง่ เสรมิ ใหเ้ ยาวชนได้เรียนรู้ และสร้างสรรค์ พฒั นา ด้านศิลปะและวัฒนธรรม (4) สง่ เสริมองค์กรเครือขา่ ยทางวฒั นธรรมให้เข้มแขง็ ประเดน็ ยุทธศาสตร์ที่ ๓ นำทนุ ทางวฒั นธรรมมาสร้างคณุ ค่า ดา้ นเศรษฐกิจและการทอ่ งเท่ยี ว โดยกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนินงาน 4 กลยุทธ์ ดงั นี้ (1) ส่งเสรมิ การวจิ ัยภมู ปิ ัญญาทอ้ งถ่นิ ให้หลากหลาย (2) สง่ เสริมและสนับสนนุ ชุมชนทางวัฒนธรรมไปส่กู ารทอ่ งเท่ียวของจังหวดั (3) สง่ เสริมและพฒั นาผลิตภณั ฑ์พนื้ บา้ น เพอ่ื สรา้ งรายไดแ้ กช่ ุมชน (4) เป็นศูนยก์ ลางการเรียนรขู้ องวัฒนธรรมผไู้ ทยในระดับประเทศ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๔ การบริหารจดั การองคค์ วามรดู้ ้านศาสนา ศิลปวฒั นธรรม โดยกำหนดกลยุทธ์ในการดำเนนิ งาน 4 กลยทุ ธ์ ดงั น้ี (1) ส่งเสรมิ ใหค้ นในชมุ ชนมีส่วนรว่ มและดำเนินงานดา้ นศาสนา ศิลปะและวัฒนธรรม (2) ใช้ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศมาพัฒนาระบบฐานข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ การบริการ การเผยแพร่ และการประชาสมั พันธ์ (3) บูรณาการความรว่ มมอื และสรา้ งเครอื ขา่ ยในการดำเนินงาน ด้านศาสนา ศลิ ปวฒั นธรรม (4) การติดตามประเมินผลการดำเนินงานดา้ นศาสนา ศลิ ปะและวฒั นธรรม 2.3 เป้าประสงค์ ๑. วัฒนธรรมไดร้ บั การอนรุ กั ษแ์ ละสืบทอดอยา่ งเปน็ ระบบ ๒. ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนรุ กั ษ์ พัฒนาและสบื สานมรดกทางศลิ ปะและวฒั นธรรม ๓. ประชาชนเกดิ รายไดจ้ ากอตุ สาหกรรมวฒั นธรรมเชิงสร้างสรรคเ์ พม่ิ มากขน้ึ ๔. ประชาชนเกิดความรัก และภูมิใจในวฒั นธรรมและความเป็นไทย 5. การจดั การความรู้ด้านศาสนา ศลิ ปะ และวฒั นธรรมมีคุณภาพและมาตรฐาน โดยประชาชนสามารถเขา้ ถึง ข้อมลู ได้ 6. คนไทยมีคุณธรรม จริยธรรม และคา่ นยิ มที่ดงี าม ๒๑
2.4 ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี ยุทธศาสตรท์ ่ี ๑ ดา้ นความมนั่ คง ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๒ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขนั ยุทธศาสตรท์ ่ี ๓ ด้านการพฒั นา และเสริมสร้างศกั ยภาพทรพั ยากรมนุษย์ ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ ดา้ นการสรา้ งโอกาส และความเสมอภาคทางสังคม ยทุ ธศาสตร์ที่ ๕ ดา้ นการสร้างความเตบิ โตบนคุณภาพชีวติ ท่ีเป็นมติ รตอ่ ส่ิงแวดลอ้ ม ยทุ ธศาสตรท์ ่ี ๖ ดา้ นการปรับสมดลุ และพัฒนาระบบการบรหิ ารจดั การภาครัฐ 2.3 แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าต/ิ แผนปฏริ ปู ประเทศ/แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๒/นโยบายหลัก ๑๒ ด้าน/นโยบายเรง่ ด่วน ๑๒ เรอื่ ง 2.3.1 แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ (พ.ศ. 2561 – 2580) ประกอบดว้ ย ๒๓ ประเดน็ ดังนี้ (๑) ความมั่นคง (๒) การ ต่างประเทศ (๓) การเกษตร (๔) อุตสาหกรรรมและบรกิ ารแห่งอนาคต (๕) การทอ่ งเท่ียว (๖) พนื้ ทแี่ ละเมอื ง น่าอยอู่ ัจฉรยิ ะ (๗) โครงสรา้ งพ้นื ฐาน ระบบโลจิสตกิ ส์ และดิจิทัล (๘) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลาง และขนาดยอ่ มยคุ ใหม่ (๙) เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ (๑๐) การปรบั เปลี่ยนค่านยิ ม และวฒั นธรรม (๑๑) ศกั ยภาพ คนตลอดช่วงชวี ิต (๑๒) การพฒั นาการเรยี นรู้ (๑๓) การเสรมิ สรา้ งใหค้ นไทยมสี ุขภาวะที่ดี (๑๔) ศกั ยภาพการ กฬี า (๑๕) พลงั ทางสังคม (๑๖) เศรษฐกจิ ฐานราก (๑๗) ความเสมอภาคและหลักประกนั ทางสังคม (๑๘) การ เติบโตอย่างยงั่ ยนื (๑๙) การบรหิ ารจัดการนำ้ ทงั้ ระบบ (๒๐) การบรกิ ารประชาชนและประสทิ ธิภาพภาครัฐ (๒๑) การต่อต้านการทจุ รติ และประพฤติมิชอบ (๒๒) กฎหมายและกระบวนการยตุ ธิ รรม (๒๓) การวจิ ยั และพัฒนานวัตกรรม ๒๒
2.3.2 แผนปฏิรปู ประเทศ (1) ด้านการเมอื ง (2) ด้านการบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ (3) ดา้ นกฎหมาย (4) ดา้ นกระบวนการยุติธรรม (5) ดา้ นเศรษฐกิจ (6) ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดล้อม (7) ด้านสาธารณสขุ (8) ด้านสอ่ื สารมวลชนเทคโนโลยสี ารสนเทศ (9) ด้านสงั คม (10) ด้านพลงั งาน (11) ดา้ นการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบ (12) ด้านการศกึ ษา (13) ดา้ นวัฒนธรรม กีฬา แรงงาน และการพัฒนาทรพั ยากรมนุษย์ 2.3.3 แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๑๒ (พ.ศ. 2560 – 2564) (1) การเสริมสร้างและพฒั นาศกั ยภาพทนุ มนษุ ย์ (2) การสรา้ งความเปน็ ธรรมและลดความเหลอ่ื มลำ้ ในสังคม (3) การสร้างความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกิจและแขง่ ขนั ได้อย่างยั่งยืน (4) การเติบโตทเี่ ป็นมติ รกับสง่ิ แวดลอ้ มเพ่อื การพฒั นาอยา่ งยั่งยนื (5) การเสรมิ สร้างความมัน่ คงแหง่ ชาตเิ พ่ือการพฒั นาประเทศ สคู่ วามมัง่ คัง่ และยั่งยืน (6) การบริหารจัดการในภาครัฐ การปอ้ งกันการทุจรติ ประพฤติมชิ อบ และธรรมาภบิ าลในสงั คมไทย (7) การพฒั นาโครงสร้างพน้ื ฐานและระบบโลจิสติกส์ (8) การพฒั นาวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี วจิ ัย และนวัตกรรม (9) การพัฒนาภาค เมือง และพืน้ ทเี่ ศรษฐกิจ (10) ความรว่ มมอื ระหว่างประเทศเพอ่ื การพัฒนา 2.3.4 นโยบายหลกั ๑๒ ด้าน (๑) การปกปอ้ งและเชิดชูสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ (๒) การสร้างความม่ันคงและความปลอดภยั ของประเทศ และความสงบสขุ ของประเทศ (๓) การทํานบุ ํารุงศาสนา ศิลปะและวฒั นธรรม (๔) การสรา้ งบทบาทของไทยในเวทโี ลก (๕) การพฒั นาเศรษฐกจิ และความสามารถในการแข่งขันของไทย (๖) การพัฒนาพ้ืนทเ่ี ศรษฐกจิ และการกระจายความเจรญิ สภู่ ูมภิ าค (๗) การพัฒนาสร้างความเขม้ แข็งจากฐานราก (๘) การปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรแู้ ละการพฒั นาศักยภาพของคนไทยทุกชว่ งวัย (๙) การพฒั นาระบบสาธารณสขุ และหลกั ประกนั ทางสังคม (๑0) การฟืน้ ฟูทรัพยากรธรรมชาติและการรักษาสง่ิ แวดลอ้ มเพื่อสร้างการเติบโตอยา่ งยัง่ ยืน (๑๑) การปฏริ ูปการบรหิ ารจัดการภาครัฐ (๑๒) การปอ้ งกนั และปราบปรามการทจุ รติ และประพฤตมิ ชิ อบ และกระบวนการยตุ ิธรรม ๒๓
2.3.5 นโยบายเร่งด่วน ๑๒ เร่ือง (๑) การแก้ไขปญั หาในการดํารงชวี ติ ของประชาชน (๒) การปรับปรงุ ระบบสวัสดกิ ารและพฒั นาคุณภาพชีวิตของประชาชน (๓) มาตรการเศรษฐกิจเพือ่ รองรับความผนั ผวนของเศรษฐกิจโลก (๔) การใหค้ วามช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวตั กรรม (๕) การยกระดบั ศกั ยภาพของแรงงาน (๖) การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสูอ่ นาคต (๗) การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษท่ี ๒๑ (๘) การแก้ไขปญั หาทจุ ริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ท้ังฝ่ายการเมืองและฝ่ายราชการประจาํ (9) การแกไ้ ขปญั หายาเสพติดและสร้างความสงบสขุ ในพน้ื ทีช่ ายแดนภาคใต้ (10) การพฒั นาระบบการใหบ้ ริการประชาชน (๑๑) การจดั เตรยี มมาตรการรองรบั ภยั แล้งและอทุ กภยั (1๒) การสนับสนุนให้มีการศึกษา การรับฟังความเหน็ ของประชาชน และการดําเนนิ การเพื่อแกไ้ ขเพมิ่ เติม รฐั ธรรมนูญ 2.4 แผนแมบ่ ท/แผนพฒั นาที่เกยี่ วข้อง 2.4.1 แผนแม่บทส่งเสริมคณุ ธรรมแห่งชาติ ฉบบั ท่ี ๑ (พ.ศ.2559 – 2564) ยุทธศาสตรท่ี ๑ วางระบบรากฐานการเสรมิ สรางคณุ ธรรมในสงั คมไทย ยุทธศาสตรท่ี ๒ สรางความเขมแข็งในระบบการบรหิ ารจัดการ ดานการสงเสริมคุณธรรมใหเปนเอกภาพ ยุทธศาสตรท่ี ๓ สรางเครือขายความรวมมือในการสงเสรมิ คณุ ธรรม ยทุ ธศาสตรท่ี ๔ สงเสริมใหประเทศไทยเปนแบบอยางดานคุณธรรมในประชาคมอาเซียน และประชาคมโลก 2.4.2 แผนยุทธศาสตร์พฒั นาการทอ่ งเทย่ี วแห่งชาติ ฉบบั ที่ ๒ (พ.ศ. 2560 – 2564) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การพัฒนาคณุ ภาพแหลง่ ท่องเท่ียว สินคา้ และบรกิ ารให้เกดิ ความสมดุล และยง่ั ยนื ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 การพฒั นาโครงสรา้ งพน้ื ฐาน และ สิ่งอำนวยความสะดวก เพอ่ื รองรับการขยายตัวของ อตุ สาหกรรม การทอ่ งเทยี่ ว ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 การพัฒนาบุคลากรดา้ นการท่องเท่ียว และสนบั สนนุ การมีสว่ นรว่ มของ ประชาชนในการ พฒั นาพื้นท่ี ยทุ ธศาสตร์ที่ 4 การสร้างความสมดลุ การทอ่ งเทย่ี วไทย ผ่านการตลาดเฉพาะกลมุ่ การสง่ เสริมวิถีไทย และการสร้างความเชอื่ มัน่ ของนักท่องเที่ยว ยทุ ธศาสตร์ที่ 5 การบูรณาการการบริหารจัดการ การทอ่ งเที่ยว และส่งเสริมความรว่ มมอื ระหวา่ ง ประเทศ 2.4.3 นโยบายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวฒั นธรรม ตามท่ไี ด้มพี ระบรมราชโองการแต่งตั้งให้พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา ดำรงตำแหน่ง นายกรัฐมนตรี เมอ่ื วันที่ 9 มิถนุ ายน พทุ ธศักราช 2562 และแตง่ ตัง้ รฐั มนตรเี ม่อื วันที่ 10 กรกฎาคม พทุ ธศกั ราช 2562 นั้น บัดนี้ คณะรัฐมนตรีได้กำหนดนโยบายการบริหารราชการแผ่นดินที่ยึดมั่นการปกครองในระบอบ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยมีความสอดคล้องกับหมวด 5 หน้าที่ของรัฐ และหมวด 6 แนวนโยบายแห่งรฐั ตามรฐั ธรรมนูญแหง่ ราชอาณาจักรไทย พุทธศกั ราช 2560 ตลอดจนยทุ ธศาสตรช์ าติ พทุ ธศกั ราช 2561 – 2580 สรปุ สาระสำคญั ดังน้ี ๒๔
1. น้อมนำพระปฐมบรมราชโองการในพระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นหลักในการ บรหิ ารประเทศ 2. ยึดม่ันในการปกครองในระบบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมขุ 3. พัฒนาประเทศตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร 4. บูรณาการการทำงานระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาชน และภาคีการพัฒนาต่างๆ ใน ลกั ษณะประชารัฐ เพ่ือพฒั นาประเทศให้มคี วามเจรญิ กา้ วหน้าอยา่ งยงั่ ยืน และทำให้ประชาชนคนไทยมคี วามมัน่ คงอยู่ ดีมสี ขุ นโยบายหลัก 4 ประการ “ สืบสาน รักษา ต่อยอด และปฏิบตั ิหนา้ ทร่ี าชการดว้ ยหลกั ธรรมาภิบาล” (๑) สืบสาน ประการท่ี 1 ด้านการสบื สานงานวัฒนธรรมของชาติ 1.1 ถวายงานพระราชพิธีและกิจกรรมเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระปรเมนทร- รามาธบิ ดศี รีสินทรมหาวชริ าลงกรณพระวชริ เกล้าเจ้าอยู่หวั รัชกาลท่ี 10 และพระบรมวงศานุวงศ์ ด้วยความจงรักภักดีและ สำนกึ ในพระมหากรุณาธคิ ุณอันหาที่สดุ มไิ ด้ เพ่อื เทดิ ทนู และธำรงไวซ้ ึง่ สถาบันอันสงู สดุ ของปวงชนชาวไทย 1.2 ดำเนนิ งานตามพระราชดำริ สง่ เสริมการนำปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สู่การปฏบิ ตั เิ พื่อ ไปสวู่ ฒั นธรรมเพ่ือคุณคา่ และวัฒนธรรมเพ่มิ มลู คา่ 1.3 ทำนุบำรุงศาสนาให้มีความเข้มแข็ง ส่งเสริมสถาบันศาสนาทุกศาสนา ให้มีบทบาทในการ เผยแพรค่ ำสอนทีด่ ีงาม ปลูกฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม และเสรมิ สรา้ งความรว่ มมือในการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ จิตใจ และสังคม 1.4 สร้างความมั่นคงและความย่ังยืนของมรดกทางวัฒนธรรมด้วยการอนรุ ักษ์ทํานุบํารุงและ บูรณปฏิสังขรณ์แหล่งศาสนาศิลปะและวัฒนธรรมโบราณสถานโบราณวัตถุรวมถึงอนุรั กษ์และส่งเสริม ศิลปะการแสดงและนาฏศิลป์ไทยตลอดจนการใช้การอนุรักษ์ทรัพยากรและมรดกทางด้านวัฒนธรรมอย่างรู้คุณค่า โดยชุมชนมสี ่วนรว่ ม 1.5 ส่งเสริมศิลปินปราชญ์ท้องถิ่นผู้นำจิตวิญญาณกระตุ้นให้นำรากวัฒนธรรมประจำถิ่นและ ภูมปิ ัญญาชาวบ้านรวบรวมเป็นคลงั ข้อมูลเป็นองค์ความรู้ตอ่ ยอดและสง่ ผ่านวัฒนธรรมของชาติสืบทอดรุน่ สู่รุ่นสู่เยาวชน ยคุ ดจิ ิตอลแบบไรร้ อยต่อ (๒) รกั ษา ประการท่ี 2 ดา้ นการรกั ษาและหวงแหนมรดกทางวฒั นธรรม 2.1 ส่งเสริมสร้างความเชื่อมโยงระหว่างทรัพยากรบุคคลทางด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม ศิลปินแห่งชาติ ปูชนียบุคคล ปราชญ์ชาวบ้าน ผู้นำจิตวิญญาณ ผู้นำศาสนา ให้มีส่วนร่วมเป็นแม่พิมพ์ (Role Model)ใน การถ่ายทอดภมู ิปัญญา องคค์ วามรู้ 2.2 ปลุกกระแสความเป็นไทย (Thainess) สร้างจิตสำนึก ส่งเสริมค่านิยมและอัตลักษณ์ ความเป็นไทย ผา่ นพื้นทแ่ี ละกจิ กรรมทางวัฒนธรรมทัว่ ประเทศ 2.3 ผลักดันนโยบายการจัดการพื้นที่มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ โดยมีแนวทาง การ ดำเนนิ งานท่ีสำคัญ ไดแ้ ก่ 1) ตรวจสอบข้อมูล และสำรวจพนื้ ท่ีแหลง่ มรดกทางวฒั นธรรม เพือ่ จดั ทำแผนการบูรณาการการ บริหารจดั การพ้ืนทีม่ รดกวฒั นธรรม 2) บรู ณาการการบริหารจัดการพืน้ ทมี่ รดกทางวฒั นธรรม ระหวา่ งหนว่ ยงานของรัฐที่เก่ียวขอ้ งเพอ่ื หาแนวทางการแก้ไขและป้องกนั ปญั หาการบุกรุกมรดกวัฒนธรรม และแนวทางการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลทม่ี ปี ระโยชน์ ๒๕
3) จัดทำแผนบูรณาการการบริหารจัดการพื้นที่มรดกวัฒนธรรม รวมทั้งแก้ไข เพิ่มเติม กฎหมายที่เกี่ยวข้องบางมาตรา เพื่อประโยชน์ในการจัดการพื้นที่ และเพื่อลดผลกระทบต่อประชาชนที่บุกรุกพื้นท่ี มรดกวฒั นธรรม โดยไม่ตั้งใจ 4) นำแผนบูรณาการบริหารจัดการพื้นท่ีมรดกวัฒนธรรม ด้านการแก้ไขปัญหาการบกุ รุกมาทดลองปฏิบตั ิ 2.4 ส่งเสริมการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่สนองต่อนโยบายการเตรียมคนไทยสู่ ศตวรรษที่ 21 มาประยุกต์ใช้ เพื่อการอนุรักษ์ ทำนุบำรุง และบูรณปฏิสังขรณ์แหล่งศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม โบราณสถาน โบราณวตั ถุ 2.5 สนับสนุนการจัดทำและบริหารจัดการข้อมูลขนาดใหญ่ (BIG DATA) เพื่อเป็นศูนย์กลาง แลกเปล่ยี นข้อมูลด้านวฒั นธรรมของประเทศ เพ่อื นำไปใชป้ ระโยชน์ในการเรียนรู้ เผยแพร่ รักษาและทำนุบำรุงสมบัติของชาติ 2.6 สนับสนุนให้เกิดความร่วมมือทางวัฒนธรรมและการเสริมสร้างความสัมพันธ์อันดีกับ อารยประเทศ เผยแพร่องคค์ วามรูท้ ถ่ี ูกตอ้ งสู่สังคมไทยและนานาอารยประเทศ 2.7 ผลักดันการพัฒนาศูนย์วัฒนธรรมแห่งใหม่เพื่อเป็นศูนย์กลางการแสดงการประชุม การถา่ ยทอดองค์ความรู้ การนำเสนอวิชาการและปฏิบตั ิการ (๓) ต่อยอด ประการที่ 3 การต่อยอดวัฒนธรรม ด้วยการนำคุณค่าของวัฒนธรรม สร้างสรรค์สินค้าและ บริการ(Creative Culture) เพือ่ เพม่ิ มูลค่าทางเศรษฐกิจสร้างรายได้จากการทอ่ งเทย่ี วและบรกิ ารทางวัฒนธรรม 3.1 ส่งเสริมและสนับสนุนการนำทุนทางวัฒนธรรมมาสร้างมูลค่าเพ่ิมทางเศรษฐกิจสง่ เสรมิ การนำวิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น เพื่อสร้างผลิตภัณฑ์และบริการด้านวัฒนธรรมพื้นถิ่น ให้เป็น วฒั นธรรมสรา้ งสรรค์ สร้างมลู ค่าเพมิ่ ทางเศรษฐกจิ 3.2 ส่งเสริมและสนับสนุนความร่วมมือให้เกิดสถาบันวัฒนธรรมสร้างสรรค์ สร้างมาตรฐาน ผลติ ภณั ฑแ์ ละบริการ แหล่งท่องเทีย่ วเชงิ วฒั นธรรม 3.3 สนับสนุนการส่งเสรมิ การพัฒนาอุตสาหกรรมสร้างสรรค์ วัฒนธรรม ที่มีศักยภาพ 5F คอื 1) อาหาร (Food) 2) ภาพยนตร์และวีดิทัศน์ (Film) 3) การออกแบบและแฟชั่น (Fashion) 4) มวยไทย (Fighting)และ ศิลปะการป้องกันตัวแบบไทย และ 5) เทศกาล ประเพณี (Festival) โดยการบูรณาการและร่วมมือกับ หนว่ ยงานภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน 3.4 ส่งเสริมให้มีเวทีและพื้นที่เชิงวัฒนธรรม รวมไปถึงการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ทไ่ี ดร้ ับการรับรองมาตรฐาน 3.5 สนับสนุนให้เกิดการสร้างสิ่งแวดล้อมและบรรยากาศการร่วมลงทุน (Eco System) ระหว่างปราชญช์ าวบ้าน นกั วจิ ัยพัฒนา นกั ลงทุน นกั การตลาดและผู้ประกอบการหนา้ ใหม่ 3.6 ส่งเสริมการนำนวัตกรรม เทคโนโลยีสมัยใหม่ มาใช้เป็นเครื่องมือในการคิดค้น และวิจัย ออกแบบผลงาน ผลิตสินค้าและบริการทางด้านวัฒนธรรม รวมไปถึงการส่งเสริมการตลาดด้วยเครื่องมือทาง การตลาดสมัยใหม่ (๔) หลกั ธรรมาภบิ าล ประการที่ 4 ปฏบิ ัติหนา้ ที่ราชการด้วยหลักธรรมาภิบาลและการสรา้ งคุณค่าทางสังคม (Value Creation) 4.1 ผลกั ดันการจัดทำเกณฑ์มาตรฐานคุณธรรมแห่งชาตพิ รอ้ มด้วยร่างพระราชกฤษฎีกาจัดต้ัง ศูนยค์ ุณธรรม จดั ตง้ั คณะทำงานดำเนนิ การพัฒนามาตรฐานดา้ นคณุ ธรรม จริยธรรม และค่านิยม 4.2 เร่งรัดขับเคลื่อนการพัฒนาและบรรจุหลักสูตรการเรียนการสอนด้านศิลปะ วัฒนธรรม การศาสนา คุณธรรม และจริยธรรม โดยประสานความร่วมมอื ระหว่างกระทรวงศึกษาธิการกับกระทรวงวัฒนธรรม และสง่ เสรมิ ใหม้ ีการวางหลกั สตู รการเรียนร้เู สรมิ ภายในทอ้ งถน่ิ ๒๖
4.3 เรง่ สร้างสรรค์วถิ ชี ีวิตและสังคมคุณภาพ ดว้ ยการนำมติ ิทางวฒั นธรรมมาสร้างค่านิยมและ จิตสำนึกทด่ี ีใหก้ บั สงั คมไทย การใช้ชวี ติ อยา่ งมคี ณุ ภาพ เคารพและรับผิดชอบต่อสงั คมสว่ นรวม 4.4 สนบั สนนุ นโยบายเร่งด่วนของรัฐบาลในการนำมิติของวัฒนธรรมมาปลูกฝงั และสร้างสำนึกวินัย การจราจรอย่างย่ังยืนเพื่อแก้ปญั หาวิกฤตดิ ้านการจราจรและลดการสญู เสียชวี ิตและทรพั ย์สินของพี่นอ้ งประชาชน 4.5 สนับสนุนการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคมเพื่อสร้างความเข้มแข็ง ของสถาบันทางสังคมทุนทางวัฒนธรรมและความเข้มแข็งของชุมชนเสริมสร้างสภาพแวดล้อมและนวัตกรร ม ทเ่ี อือ้ ต่อการดำรงชีวิตในสังคมสงู วัย 4.6 ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐด้วยการดำเนินการปรับปรุงโครงสร้าง บทบาทและภารกิจของหน่วยงานด้านศิลปวัฒนธรรมปรับปรุงกฎหมายด้านศิลปวัฒนธรรมพัฒนากลไกสนบั สนนุ การบริหารจดั การงานวัฒนธรรม 4.7 นำหลักธรรมาภิบาลมาใช้ในการบริหารราชการและส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรบุคคลภายใน องคก์ รใหม้ ีความรู้ความสามารถเชีย่ วชาญในการปฏิบตั ิงานในหน้าทม่ี ีความมนั่ คงและเจริญกา้ วหนา้ ในสาขาอาชีพ 2.4.4 ยุทธศาสตร์กระทรวงวฒั นธรรม ยทุ ธศาสตร์ท่ี ๑ เสรมิ สรา้ งความตระหนกั ตอ่ สถาบนั หลักของชาติ และพฒั นากลไกในการอนรุ ักษ์และ สบื ทอดวฒั นธรรม ยทุ ธศาสตร์ที่ ๒ ส่งเสริมอตุ สาหกรรมวฒั นธรรมเชิงสรา้ งสรรค์เพอื่ สร้างมูลค่าเพม่ิ ทางเศรษฐกิจ ยทุ ธศาสตร์ที่ ๓ พฒั นาความสมั พนั ธ์ และส่งเสริมเกยี รติภมู ิและภาพลกั ษณไ์ ทยในเวทโี ลก ยุทธศาสตรท์ ี่ ๔ เสรมิ สรา้ งคณุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยม และความเป็นไทย ยุทธศาสตร์ท่ี ๕ พัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐานในการจดั การศกึ ษา วิจัย บริหารจดั การความรู้ และสรา้ ง นวตั กรรมดา้ นศาสนา ศิลปะ และวัฒนธรรม ยทุ ธศาสตรท์ ี่ ๖ พฒั นากลไกและยกระดับการบริหารจัดการงานวัฒนธรรม 2.4.5 ยุทธศาสตร์การพฒั นาพนื้ ทรี่ ะดับภาค (แผนพัฒนาภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื พ.ศ. 2560 – 2565) ฉบับทบทวน (กรกฎาคม 2562) ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 1 บริหารจัดการน้ำให้เพียงพอต่อการพฒั นาเศรษฐกจิ และคุณภาพชีวติ อยา่ งย่ังยืน ยุทธศาสตรท์ ี่ 2 แก้ปญั หาความยากจนและพัฒนาคณุ ภาพชีวติ ผู้มีรายไดน้ ้อยเพอื่ ลดความเหล่ือมล้ำ ทางสงั คม ยทุ ธศาสตร์ท่ี 3 สรา้ งความเข้มแขง็ ของฐานเศรษฐกจิ ภายในควบค่กู บั การแกป้ ญั หาทรัพยากรธรรมชาติ และสิง่ แวดลอ้ ม ยุทธศาสตรท์ ี่ 4 พัฒนาการทอ่ งเท่ยี วเชงิ บูรณาการ ยุทธศาสตร์ที่ 5 ใช้โอกาสจากการพฒั นาโครงขา่ ยคมนาคมขนสง่ ทเ่ี ชอ่ื มโยงพืน้ ทเี่ ศรษฐกจิ หลัก ภาคกลางและพ้นื ที่ระเบยี งเศรษฐกจิ ภาคตะวันออก (EEC) เพอื่ พฒั นาเมืองและพนื้ ทเี่ ศรษฐกิจใหม่ๆของภาค ยทุ ธศาสตร์ที่ 6 พัฒนาความร่วมมือและใชป้ ระโยชนจ์ ากข้อตกลงกบั ประเทศเพอื่ นบา้ นในการสร้าง ความเขม้ แขง็ ทางเศรษฐกจิ ตามแนวชายแดนและแนวระเบยี งเศรษฐกิจ ๒๗
2.4.6 ประเดน็ การพัฒนากลุ่มจังหวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนกลาง (แผนพัฒนากลมุ่ จังหวัด ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง พ.ศ. 2561 – 2565 (ฉบับทบทวน)) ประเด็นการพัฒนาท่ี 1 เพมิ่ ศักยภาพการผลิตการเกษตร และอตุ สาหกรรมการเกษตร ให้สามารถ แขง่ ขันได้อยา่ ง ยง่ั ยนื ประเดน็ การพฒั นาที่ 2 การพฒั นาขีดความสามารถทางการแข่งขนั ดา้ นการคา้ การบริการ ระบบ โลจสิ ตกิ ส์ ระบบราง และอุตสาหกรรมอากาศยาน ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 การเพมิ่ ศกั ยภาพ และยกระดับคณุ ภาพการทอ่ งเท่ียวอย่างครบวงจร 2.4.7 ประเด็นการพฒั นาจังหวดั ประเดน็ การพฒั นาที่ 1 พัฒนาศกั ยภาพท่ีมุงเนนการผลิตสนิ คาเกษตรและอาหารปลอดภัย ประเด็นการพฒั นาท่ี 2 ยกระดับคุณภาพและรายไดดานการทองเท่ยี ว และสงเสรมิ การคา การลงทนุ และอุตสาหกรรมอาหารปลอดภยั ประเด็นการพฒั นาท่ี 3 เพ่มิ ประสิทธภิ าพการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอม ประเด็นการพฒั นาที่ 4 การพัฒนาทนุ มนษุ ย ลดความเหล่ือมล้ำ สรางสังคมทม่ี ีความม่นั คงและสงบสขุ ๒๘
สว่ นที่ ๓ รายละเอียดแผนปฏบิ ตั ิราชการและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ 3.1 รายละเอยี ดโครงการทเี่ ปน็ แผนปฏบิ ตั ิการและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดกาฬสินธุ์ ดำเนินการจัดทำแผนปฏิบัติการและแผนการใช้จ่ายงบประมาณ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕63 แยกตามนโยบายตา่ งๆ ดังนี้ ๑. ยุทธศาสตรช์ าติ ๒๐ ปี พ.ศ. 2561 - 2580 2. แผนแมบ่ ทภายใต้ยุทธศาสตรช์ าติ 3. แผนปฏริ ปู ประเทศ 4. แผนพฒั นาเศรษฐกิจ และสังคมแหง่ ชาติ ฉบับท่ี ๑๒ 5. นโยบายหลัก ๑๒ ด้าน 6. นโยบายเร่งดว่ น ๑๒ เร่ือง 7. แผนแมบ่ ทส่งเสรมิ คุณธรรมแหง่ ชาติ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.2559 – 2564) 8. แผนยุทธศาสตร์พัฒนาการทอ่ งเท่ียวแห่งชาติ ฉบับที่ ๒ (พ.ศ. 2560 – 2564) 9. นโยบายรฐั มนตรวี า่ การกระทรวงวฒั นธรรม 10. ยุทธศาสตรก์ ระทรวงวฒั นธรรม 11. ยทุ ธศาสตร์การพัฒนาพ้ืนท่ีระดับภาค (แผนพัฒนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ พ.ศ. 2560 – 2565) ฉบบั ทบทวน (กรกฎาคม 2562) 12. ประเด็นการพฒั นากลุ่มจงั หวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนอื ตอนกลาง (แผนพัฒนากลุ่มจงั หวดั ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ตอนกลาง พ.ศ. 2561 – 2565 (ฉบบั ทบทวน)) 13. ประเด็นการพัฒนาจังหวดั และยุทธศาสตร์ kalasin happiness model : คนกาฬสินธุ์ ไม่ ท้ิงใครไวข้ า้ งหลัง สรุปแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 จำนวน 40 งาน/โครงการ/ กิจกรรม จำนวนเงินทง้ั สน้ิ 27,496,043 บาท ประกอบด้วยดังน้ี 1. สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม จำนวน 10 งาน/โครงการ งบประมาณ จำนวน 9,846,643.-บาท 2. กรมสง่ เสริมวฒั นธรรม จำนวน 4 งาน/โครงการ/กิจกรรม จำนวน 240,000.- บาท 3. กรมการศาสนา จำนวน ๒1 โครงการ จำนวน 11,760,000.- บาท 4. งบประมาณภาคตะวันออกเฉียงเหนือผ่านช่องกระทรวง จำนวน 1 โครงการ จำนวน 360,000-. บาท 5. งบพัฒนาจงั หวดั จำนวน 2 โครงการ จำนวน จำนวน 5,039,400.- บาท 6. งบจากองคก์ รปกครองสว่ นทอ้ งถน่ิ จำนวน 1 โครงการ จำนวน 7๐,000.- บาท 7. งบ CEO จงั หวดั กาฬสินธุ์ จำนวน ๑ โครงการ จำนวน 180,000.- บาท โดยแยกรายละเอียดโครงการท่ีเป็นแผนปฏิบัติการและแผนการใช้จา่ ยงบประมาณ ตามแหล่งงบประมาณ ดังตอ่ ไปนี้ 145
145
1. สำนักงานปลัดก จำนวน 10 งาน/โครงการ งบประ 14
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264
- 265
- 266
- 267
- 268
- 269
- 270
- 271
- 272
- 273
- 274
- 275
- 276
- 277
- 278
- 279
- 280
- 281
- 282
- 283
- 284
- 285
- 286
- 287
- 288
- 289
- 290
- 291
- 292
- 293
- 294
- 295
- 296
- 297
- 298
- 299
- 300
- 301
- 302
- 303
- 304
- 305
- 306
- 307
- 308
- 309
- 310
- 311
- 312
- 313
- 314
- 315
- 316
- 317
- 318
- 319
- 320
- 321
- 322
- 323
- 324
- 325
- 326
- 327
- 328
- 329
- 330
- 331
- 332
- 333
- 334
- 335
- 336
- 337
- 338
- 339
- 340
- 341
- 342
- 343
- 344
- 345
- 346
- 347
- 348
- 349
- 350
- 351
- 352
- 353
- 354
- 355
- 356
- 357
- 358
- 359
- 360
- 361
- 362
- 363
- 364
- 365
- 366
- 367
- 368
- 369
- 370
- 371
- 372
- 373
- 374
- 375
- 376
- 377
- 378
- 379
- 380
- 381
- 382
- 383
- 384
- 385
- 386
- 387
- 388
- 389
- 390
- 391
- 392
- 393
- 394
- 395
- 396
- 397
- 398
- 399
- 400
- 401
- 402
- 403
- 404
- 405
- 406
- 407
- 408
- 409
- 410
- 411
- 412
- 413
- 414
- 415
- 416
- 417
- 418
- 419
- 420
- 421
- 422
- 423
- 424
- 425
- 426
- 427
- 428
- 429
- 430
- 431
- 432
- 433
- 434
- 435
- 436
- 437
- 438
- 439
- 440
- 441
- 442
- 443
- 444
- 445
- 446
- 447
- 448
- 449
- 450
- 451
- 452
- 453
- 454
- 455
- 456
- 457
- 458
- 459
- 460
- 461
- 462
- 463
- 464
- 465
- 466
- 467
- 468
- 469
- 470
- 471
- 472
- 473
- 474
- 475
- 476
- 477
- 478
- 479
- 480
- 481
- 482
- 483
- 484
- 485
- 486
- 487
- 488
- 489
- 490
- 491
- 492
- 493
- 494
- 495
- 496
- 497
- 498
- 499
- 500
- 501
- 502
- 503
- 504
- 505
- 506
- 507
- 508
- 509
- 510
- 511
- 512
- 513
- 514
- 515
- 516
- 517
- 518
- 519
- 520
- 521
- 522
- 523
- 524
- 525
- 526
- 527
- 528
- 529
- 530
- 531
- 532
- 533
- 534
- 535
- 536
- 537
- 538
- 539
- 540
- 541
- 542
- 543
- 544
- 545
- 546
- 547
- 548
- 549
- 550
- 551
- 552
- 553
- 554
- 555
- 556
- 557
- 558
- 559
- 560
- 561
- 562
- 563
- 564
- 565
- 566
- 567
- 568
- 569
- 570
- 571
- 572
- 573
- 574
- 575
- 576
- 577
- 578
- 579
- 580
- 581
- 582
- 583
- 584
- 585
- 586
- 587
- 588
- 589
- 590
- 591
- 592
- 593
- 594
- 595
- 596
- 597
- 598
- 599
- 600
- 601
- 602
- 603
- 604
- 605
- 606
- 607
- 608
- 609
- 610
- 611
- 612
- 613
- 614
- 615
- 616
- 617
- 618
- 619
- 620
- 621
- 622
- 623
- 624
- 625
- 626
- 627
- 628
- 629
- 630
- 631
- 632
- 633
- 634
- 635
- 636
- 637
- 638
- 639
- 640
- 641
- 642
- 643
- 644
- 645
- 646
- 647
- 648
- 649
- 650
- 651
- 652
- 653
- 654
- 655
- 656
- 657
- 658
- 659
- 660
- 661
- 662
- 663
- 664
- 665
- 666
- 667
- 668
- 669
- 670
- 671
- 672
- 673
- 674
- 675
- 676
- 677
- 678
- 679
- 680
- 681
- 682
- 683
- 684
- 685
- 686
- 687
- 688
- 689
- 690
- 691
- 692
- 693
- 1 - 50
- 51 - 100
- 101 - 150
- 151 - 200
- 201 - 250
- 251 - 300
- 301 - 350
- 351 - 400
- 401 - 450
- 451 - 500
- 501 - 550
- 551 - 600
- 601 - 650
- 651 - 693
Pages: