Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การทำนา

การทำนา

Description: วิชาเลือกเสรี ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น รายวิชา การทพนา อช02001

Search

Read the Text Version

รายวชิ า การทานา อช02001 มัธยมศกึ ษาตอนตน้ ตามหลักสูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน ระดับการศกึ ษานอกระบบ พทุ ธศักราช 2551

บทที่ 1 หลักสาคญั ของการทานา

การทานา การทานา หมายถึง การปลูกขา้ วและการดแู ลรกั ษาตน้ ข้าวในนา ต้งั แต่ปลกู ไปจนถึงเก็บเก่ียว การปลกู ขา้ วในแต่ละท้องถิน่ จะแตกต่างกันไปตามสภาพของดินฟ้าอากาศ และสงั คมของ ท้องถิ่นนน้ั ๆ ในแหล่งทตี่ ้องอาศัยน้าจากฝนเพียงอย่างเดียว กต็ อ้ งกะระยะเวลาการปลูกขา้ ว ให้เหมาะสมกบั ชว่ งที่มีฝนตกสมา่ เสมอ และเก็บเก่ียวในชว่ งท่ีฤดูฝนหมดพอดี ในประเทศไทยพ้นื ฐานของการทานาและตัวกาหนดวิธีการปลกู ข้าว และพันธ์ขุ ้าวท่จี ะใช้ในการ ทานามีปจั จัยหลัก 2 ประการคือ 1. สภาพพื้นท่ี (ลักษณะเป็นพ้นื ท่ีสูงหรือตา่ ) และภมู ิอากาศ 2. สภาพน้าสาหรบั การทานา

หลักสาคัญของการทานา ฤดูทานาปใี นประเทศไทยปกตจิ ะเร่มิ ราวเดือนพฤษภาคม ถงื กรกฎาคมของทกุ ปี ขึ้นอยกู่ บั ปรมิ าณน้าฝน เมอื่ 3 เดอื นน้ีผา่ นไป ขา้ วทีป่ ักดาหรอื หว่านเอาไว้จะสุกงอมเต็มท่ีพร้อม เก็บเกีย่ ว สว่ นนาปรงั สามารถทาได้ตลอดปี เพราะพันธุข์ า้ วทใ่ี ชป้ ลูกเปน็ พนั ธท์ุ ไ่ี ม่ไวตอ่ ชว่ ง แสง เม่อื ขา้ วเจรญิ เติบโตครบกาหนดอายุกจ็ ะสามารถเกบ็ เก่ียวได้

การทานามหี ลกั สาคญั คือ 1. การเตรียมดนิ กอ่ นการทานาจะมีการเตรียมดินอยู่ 3 ขัน้ ตอน การไถดะ เป็นการไถครง้ั แรกตามแนวยาวของพื้นทกี่ ระทงนา (กรณที ีแ่ ปลงนาเปน็ กระทงยอ่ ยๆ หลายกระทงในหนึ่งแปลงนา) เมอ่ื ไถดะจะช่วยพลิกดินใหด้ ินชน้ั ล่างได้ข้ึนมาสัมผัสอากาศ ออกซิเจน และเป็นการตากดนิ เพอ่ื ทาลายวัชพืช และโรคพชื บางชนิด การไถดะจะเริม่ ทาเม่ือฝน ตกคร้ังแรกในปีฤดกู าลใหม่ หลังจากไถดะจะตากดินเอาไวป้ ระมาณ 1 – 2 สัปดาห์ การไถแปร หลังจากทีต่ ากดินเอาไว้พอสมควรแล้ว การไถแปรจะชว่ ยพลิกดนิ ท่ีกลบไว้ขึ้นมาอีก คร้งั เพือ่ ทาลายวัชพืชทข่ี นึ้ ใหม่ และเปน็ การยอ่ ยดินใหม้ ีขนาดเล็กลง จานวนครัง้ ของการไถ แปรจงึ ข้นึ อยกู่ ับชนดิ และปริมาณของวัชพืช ลักษณะดนิ และระดบั นา้ ในพ้นื ที่ ข้ึนอยู่กบั ปรมิ าณ น้าฝนด้วย แตโ่ ดยทว่ั ไปแลว้ จะไถแปรเพยี งครั้งเดียว

การคราด เพ่อื เอาเศษวชั พืชออกจากกระทงนา และย่อยดนิ ใหม้ ขี นาดเล็กลงอีก จนเหมาะ แกก่ ารเจริญของข้าว ทั้งยงั เปน็ การปรบั ระดับพื้นทใ่ี หม้ คี วามสมา่ เสมอ เพอ่ื สะดวกในการ ควบคุมดแู ลการให้นา้ 2.การปลูก การปลูกข้าวสามารถแบง่ ไดเ้ ป็น 2 วธิ ี คอื การปลกู ดว้ ยเมลด็ โดยตรง ไดแ้ ก่ การทานา หยอดและนาหวา่ น และ การเพาะเมลด็ ในท่ีหนง่ึ กอ่ น แลว้ นาตน้ ออ่ นไปปลกู ในที่อ่ืนไดแ้ ก่ การทานาดา ก. การทานาหยอด ใช้กับการปลกู ข้าวไรต่ ามเชงิ เขาหรือในที่สงู วิธกี ารปลูก : หลงั การ เตรียมดินให้ขุดหลุมหรอื ทารอ่ ง แล้วจงึ หยอดเมลด็ ลงในหลมุ หรอื รอ่ ง จากนน้ั กลบหลมุ หรือร่อง เมือ่ ต้นขา้ วงอกแล้วต้องดูแลกาจัดวัชพืชและศัตรูพืช ข. การทานาหวา่ น ทาในพ้นื ทค่ี วบคุมนา้ ไดล้ าบาก วิธีหว่าน ทาได้ 2 วิธี คอื หว่านข้าวแหง้ หรอื หวา่ นข้าวงอก

การหว่านขา้ วแหง้ แบ่งตามชว่ งระยะเวลาของการหวา่ นได้ 3 วธิ ี คอื 1. การหว่านหลังข้ไี ถ ใช้ในกรณที ่ฝี นมาลา่ ชา้ และตกชุก มเี วลาเตรียมดินน้อย จึงมีการ ไถดะเพยี งครั้งเดยี วและไถแปรอีกครั้งหนึง่ แลว้ หว่านเมล็ดขา้ วลงหลังขีไ้ ถ เมลด็ พนั ธุอ์ าจ เสียหายเพราะหนู และอาจมีวชั พืชในแปลงนามาก 2. การหวา่ นคราดกลบ เปน็ วธิ ีทน่ี ยิ มมากท่สี ุด จะทาหลงั จากท่ีไถแปรครัง้ สดุ ท้ายแล้ว คราดกลบ จะไดต้ ้นขา้ วท่งี อกสมา่ เสมอ 3. การหว่านไถกลบ มกั ทาเมอ่ื ถึงระยะเวลาทตี่ ้องหว่าน แตฝ่ นยงั ไมต่ กและดินมี ความช้นื พอควร หวา่ นเมล็ดขา้ วหลังขีไ้ ถแล้วไถแปรอีกครัง้ เมลด็ ข้าวทีห่ ว่านจะอย่ลู ึกและเรมิ่ งอกโดยอาศยั ความชนื้ ในดนิ

การหวา่ นขา้ วงอก (หว่านน้าตม) เป็นการหวา่ นเมล็ดข้าวทถี่ กู เพาะให้รากงอกกอ่ นทจี่ ะนาไป หวา่ นในทท่ี ีม่ ีนา้ ทว่ มขงั เพราะหากไม่เพาะเมลด็ เสยี ก่อน เมอ่ื หว่านแลว้ เมลด็ ขา้ วอาจเน่าเสีย ได้ การเพาะขา้ วทอดกล้าทาโดยการเอาเมล็ดขา้ วใสก่ ระบุง ไปแช่น้าเพ่ือให้เมล็ดทม่ี ีน้าหนกั เบา หรือลีบลอยขึ้นมาแล้วคดั ทงิ้ แล้วนาเมล็ดถา่ ยลงในกระบงุ ท่มี ีหญา้ แห้งกรุไว้ หมั่นรดน้า เรอ่ื ยไป อยา่ ใหข้ า้ วแตกหน่อ แล้วนาไปหว่านในที่นาที่เตรียมดนิ ไวแ้ ล้ว

ค. การทานาดา เปน็ การปลกู ข้าวโดยเพาะเมลด็ ให้งอกและเจริญเติบโตในระยะหนึง่ แลว้ ย้ายไป ปลูกในอกี ทห่ี น่งึ สามารถควบคมุ ระดบั น้าและวชั พชื ได้ การทานาดาแบง่ ได้เป็น 2 ขน้ั ตอน คือ 1.การตกกล้า โดยเพาะเมลด็ ขา้ วเปลอื กใหม้ ีรากงอกยาว 3 – 5 มิลลเิ มตร นาไปหว่าน ในแปลงกลา้ ชว่ งระยะ 7 วันแรก ตอ้ งควบคุมนา้ ไม่ให้ท่วมแปลงกล้า และถอนกลา้ ไปปกั ดาได้ เม่อื มอี ายุประมาณ 20 – 30 วัน 2.การปกั ดา ชาวนาจะนากล้าทถ่ี อนแล้วไปปักดาในแปลงปักดา ระยะหา่ งระหวา่ ง กล้าแตล่ ะหลมุ จะมีความแตกต่างกันขนึ้ อย่กู บั ลักษณะของดิน คอื ถ้าเปน็ นาล่มุ ปักดา ระยะหา่ งหนอ่ ย เพราะขา้ วจะแตกกอใหญ่ แตถ่ า้ เป็นนาดอนปักดาคอ่ นข้างถี่ เพราะข้าวจะไม่ ค่อยแตกกอ

3.การเกบ็ เกยี่ ว หลงั จากท่ีข้าวออกดอกหรือออกรวงประมาณ 20 วัน ชาวนาจะเร่งระบายนา้ ออก เพ่ือเป็นการ เร่งให้ข้าวสกุ พร้อมๆ กนั และทาให้เมลด็ มีความชืน้ ไมส่ ูงเกนิ ไป จะสามารถเก็บเกีย่ วไดห้ ลงั จาก ระบายน้าออกแลว้ ประมาณ 10 วนั ระยะเวลาทเ่ี หมาะสมสาหรบั การเก็บเก่ียว เรยี กว่า ระยะ พลบั พลึง คอื สังเกตที่ปลายรวงจะมีสเี หลอื งและ กลางรวงเปน็ สีตองอ่อน การเกบ็ เกยี่ วใน ระยะนจี้ ะไดเ้ มล็ดขา้ วท่ีมีความแข็งแกรง่ มนี ้าหนัก และมคี ณุ ภาพในการสี

4.การนวดขา้ ว หลงั จากตากขา้ ว ชาวนาจะขนเข้ามาในลานนวด จากน้นั ก็นวดเอาเมลด็ ขา้ วออกจากรวง บางแห่งใชแ้ รงงานคน บางแห่งใช้ควายหรือวัวย่า แตป่ ัจจบุ นั มีการใช้เครอ่ื งนวดขา้ วแลว้

5.การเกบ็ รกั ษา เมล็ดขา้ วที่นวดฝัดทาความสะอาดแลว้ ควรตากใหม้ ีความช้ืนประมาณ 14% ก่อนนาเข้าเกบ็ ใน ยงุ้ ฉาง ยุ้งฉางท่ดี ีควรมีลักษณะดังต่อไปน้ี อยใู่ นสภาพทม่ี ีอากาศถ่ายเทได้สะดวก การใช้ลวดตาขา่ ยกั้นให้มรี อ่ งระบายอากาศกลางยุ้งฉาง จะช่วยให้การถา่ ยเทอากาศดยี ิง่ ขนึ้ คณุ ภาพเมลด็ ขา้ วจะคงสภาพดีอย่นู าน อยู่ใกล้บรเิ วณบา้ นและตดิ ถนน สามารถขนสง่ ได้สะดวก เมลด็ ข้าวท่จี ะเก็บไวท้ าพนั ธ์ุ ต้องแยกจากเมล็ดขา้ วบรโิ ภค โดยอาจบรรจุกระสอบ มีปา้ ยบอก วนั บรรจุ และช่ือพันธุ์แยกไว้สว่ นใดสว่ นหนึง่ ในยุ้งฉาง เพอื่ สะดวกในการขนยา้ ยไปปลกู กอ่ นนาขา้ วเขา้ เกบ็ รกั ษา ควรตรวจสภาพยุง้ ฉางทกุ ครง้ั ทง้ั เรอื่ งความสะอาดและสภาพของยุง้ ฉาง ซ่ึงอาจมรี ่องรอยของหนูกัดแทะจนทาใหน้ กสามารถลอดเข้าไปจกิ กินข้าวได้ รูหรือร่อง ตา่ ง ๆ ทีป่ ิดไม่สนิทเหลา่ น้ตี อ้ งไดร้ ับการซ่อมแซมให้เรียบร้อยกอ่ น

บทท่ี 2 เครือ่ งมอื ทานา

เครอ่ื งมอื ทานา เคร่ืองมอื ทานาแบบด้งั เดิมจะมลี ักษณะคล้ายกันในแทบทกุ ภาค โดยจะแตกต่างกันบ้างใน ประเภทวสั ดุที่ใชท้ าเครื่องมือซ่ึงมาจากในทอ้ งถ่ิน การตกแต่งลวดลายและช่ือท่เี รยี ก แตกตา่ งกนั และมีลกั ษณะเฉพาะที่นยิ มใช้ในแต่ละภมู ิภาค เครอื่ งมือทานาแบง่ ออกได้ เปน็ 2 ประเภทคอื เครื่องมอื ทานาแบบพ้ืนบา้ นและเคร่ืองมือทานาแบบสมยั ใหม่

เคร่อื งมอื ทานาแบบพน้ื บา้ น เครื่องมอื ในการเตรยี มดนิ 1.คนั ไถ เครอ่ื งมอื ท่ใี ชพ้ รวนดินก่อนการปลกู ขา้ ว กลับหนา้ ดนิ เพื่อทาให้ดินรว่ นซยุ ไถแบง่ ออกเปน็ 2 ชนดิ คือ ไถวัว ซึ่งเปน็ ไถทีใ่ ช้แรงงานวัวและไถควายซึ่งเป็นไถที่ใชแ้ รงงาน ควาย 2.แอก เคร่ืองมือทีใ่ ชส้ าหรบั สวมคอควายหรอื วัวเพื่อท่จี ะไถ แอกมี 2 ชนดิ คือ แอกวัวควายคู่ กบั แอกววั ควายเดีย่ ว 3.คราด เคร่อื งมอื ทใี่ ช้สาหรับคราดดนิ ให้รว่ นซุย คราดมี 2 ชนดิ คอื คราดววั ควาย คู่ และ คราดวัวควายเดยี่ ว 4.ม้าหาบขา้ ว ใช้ในการเรยี งต้นกลา้ หรอื ฟ่อนขา้ วในคันหลาว 5.กว๋ ยกลา้ เครือ่ งมอื ท่ีใชส้ าหรบั ใส่กากลา้ หรือขนย้ายสิ่งของ มักใชท้ างภาคเหนือ

6.ไมห้ าบกลา้ (บางถนิ่ เรยี กคนั หลาว) ใชส้ าหรบั หาบต้นกลา้ เพ่อื นาไปปักดา 7.ตอก เครอ่ื งมืออกี ชนิดหนึง่ ท่ีใช้สาหรับมัดฟอ่ นหรือกากลา้ มีอยู่ 2 ชนิดคอื ตอกมดั ฟอ่ นขา้ ว กบั ตอกมดั กากล้า 8.จอบ เครอ่ื งมอื สาหรับดายหญ้า พรวนดนิ และเตรยี มดิน

เครอ่ื งมอื ในการเกบ็ เกย่ี ว 1.เคยี ว เคร่อื งมอื เก่ียวขา้ วมีรปู โคง้ เคยี วมี 2 ชนดิ คอื เคียวงอ กบั เคียวลา 2.แกระ/แกะ เคร่ืองมือเกย่ี วข้าวทใ่ี ชเ้ ก็บรวงข้าว นิยมใช้ในภาคใต้ 3.ไมห้ นบี เปน็ ไม้คู่หนงึ่ ใช้หนีบมัดรวงข้าวเพอื่ ยกข้าวฟาดลงบนลานหรอื มา้ รองนวดข้าว หัว ไมผ้ กู ติดกันดว้ ยเชอื ก 4.มา้ รองนวดขา้ ว เอาไว้ใช้สาหรบั รองรบั ฟ่อนข้าวเพอื่ นวดหรือฟาดเพ่อื ตเี มล็ดขา้ วจะได้ หลุดร่วง 5.ฟอยหนาม ใช้กวาดเศษฝนุ่ และเศษฟางออกจากกองข้าวเปลอื ก 6.ขาหมา เป็นเครื่องมือใชห้ าบขา้ ว ประกอบด้วยตวั ขาหมาทาจากไมไ้ ผ่เป็นรูปกากบาท 2 คู่ ขาไมท้ ะลตุ ัวไม้ขึน้ มาทาเปน็ กะบะสาหรับใส่รวงข้าวบุดว้ ยเสอ่ื ราแพน 7.พดั วี ใช้สาหรบั พดั ฝ่นุ ผงและข้าวลีบให้ออกจากกองข้าวเปลอื ก

เครือ่ งมอื ในการแปรรูปขา้ ว 1.ครกกระเดอื่ ง ใช้ตาข้าวโดยใชป้ ลายเท้าเหยยี บกระเดือ่ งให้สากกระดกข้นึ ลง 2.ครกซอ้ มมอื ใชส้ าหรบั ตาข้าวเปลอื ก จากขา้ วเปลอื กเป็นขา้ วกลอ้ ง จากข้าวกล้องเปน็ ขา้ วสาร 3.ตะแกรง ใช้สาหรบั รอ่ นแยกเศษฟางออกจากเมลด็ ข้าว 4.กระดง้ ใชฝ้ ัดร่อนขา้ วเอาเศษผงฝุ่น แกลบ ออกจากเมลด็ ข้าว

เครื่องมอื ทานาแบบสมยั ใหม่ เครื่องมอื ในการเตรยี มดนิ 1.รถไถนา ใช้ทัง้ เตรยี มดนิ นาหว่าน นาดา และคราด 2.รถแทรคเตอร์ เครื่องเตรยี มดิน ทานา ทาสวน ทาไรห่ รอื หกั ร้างถางพง 3.เคร่ืองปกั ดา ใช้แทนการปกั ดาดว้ ยแรงงานคน เครือ่ งมอื ชนิดนีย้ ังไมเ่ ปน็ ทน่ี ยิ มมากนัก 4.เคร่อื งสบู นา้ ใช้สบู น้าเขา้ นาโดยใช้เคร่ืองยนต์หรือไฟฟา้ เปน็ แรงหมนุ มอเตอร์สปู จากแมน่ ้า คลองชลประทานเข้ามาใช้ในนา

เครื่องมอื ในการเกบ็ เกย่ี ว 1.รถเก่ยี วข้าวและนวดข้าว ใชส้ าหรบั เกย่ี วและนวดข้าวไปพร้อมๆ กันเป็นรถแบบตนี ตะขาบวง่ิ ได้ในนาท่มี ีพน้ื ท่เี รียบ 2.เคร่อื งนวดข้าว ใชเ้ ครื่องยนตใ์ นการนวดข้าวให้ย่อยจากรวงเปน็ เมล็ดขา้ วเปลือก เมอ่ื ต้องการนวดขา้ วกเ็ อาเคร่ืองยนตจ์ ากรถไถนาเดิมมาหมนุ ตามเครือ่ งนวดและ สามารถใช้ กระสอบ หรอื ผนื ผา้ ใบมารองรับเมลด็ จากเครอ่ื ง เครอ่ื งมอื ในการแปรรูปขา้ ว เคร่อื งสขี า้ ว ใชส้ าหรับสีขา้ วเปลอื กให้เปน็ ข้าวสาร โดยนาแกลบและราออกจากข้าวเปลอื ก

จดั ทาโดย... นายนัทธพงศ์ เป็งอินทร์ ตาแหนง่ ครูอาสาสมัคร กศน. ศูนยก์ ารเรียนชมุ ชนชาวไทยภเู ขา “ แม่ฟา้ หลวง ” บ้านแสนสขุ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอนานอ้ ย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook