Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 1 เครื่องมือเล็ก

บทที่ 1 เครื่องมือเล็ก

Published by seksan sriyos, 2019-08-29 23:20:45

Description: เครื่องมือเล็ก

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการจดั การเรยี นการสอน ชื่อวิชา : ทฤษฎเี ครอ่ื งมอื กล รหัสวชิ า : 2102-2003 บทที่ 1 เครื่องมอื ขนาดเลก็ (Hand Tool) ตรงตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2562 สํานกั งานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา เรยี บเรียงโดย นายเสกสรร ศรยี ศ

บทท่ี 1 เครื่องมอื ขนาดเล็ก (Hand Tool) สาระสําคัญ เครื่องมือขนาดเล็ก (Hand Tool) เปนเคร่ืองมือท่ีชวยในการทํางานของเคร่ืองมือกลชนิดตางๆ ใน การข้ึนรูปหรือแปรรูป เชน ชวยในการตกแตงผิว การจับยึด การถอด-ประกอบ การปรับต้ัง การเคาะ การ ตัด ฯลฯ โดยเครื่องมือขนาดเล็กแตละชนิดจะถูกออกแบบมาเพื่อใหเหมาะสมกับงานแตละประเภท ดังนั้น ผูปฏิบัติงานท่ีใชเคร่ืองมือขนาดเล็ก จึงตองศึกษาเกี่ยวกับ ชนิด หนาท่ีและการใชงานของเครื่องมือขนาด เลก็ เหลา น้ัน เพือ่ ใหสามารถเลอื กใชง านไดอยา งถูกตอง เหมาะสม และมีความปลอดภัยในขณะใชง าน เนื้อหา 1. เครอื่ งมอื สําหรบั จบั ยึดงาน (Clamp) 2. คอน (Hammer) 3. คีม (Plier) 4. ไขควง (Screw Drivers) 5. ประแจ (Wrench) 6. สกัด (Cold Chisel) 7. ตะไบ (File) 8. เลือ่ ยตดั เหลก็ (Hacksaw) 9. เครอื่ งมือสําหรับทําเกลยี ว (Tap and Die) 10. เหลก็ นําศนู ย (Center Punch) 11. กรรไกรตัดโลหะแผน (Snip) จุดประสงคของบทเรยี น 1. บอกช่ือและชนดิ ของเครอ่ื งมือขนาดเลก็ ได 2. บอกชือ่ สว นประกอบของเครอื่ งมือขนาดเล็กได 3. อธบิ ายคณุ ลักษณะเฉพาะของเคร่อื งมอื ขนาดเลก็ แตล ะชนิดได 4. อธิบายวธิ ีการใชง านของเครอื่ งมอื ขนาดเลก็ แตละชนดิ ได 5. อธิบายวิธีการบํารุงรักษาเครอื่ งมือขนาดเลก็ แตละชนดิ ได 6. เลือกใชเ คร่ืองมือขนาดเลก็ แตล ะชนดิ ไดเหมาะสมกบั การใชงาน

2 1. เคร่ืองมอื สําหรับจบั ยดึ งาน (Clamp) เครื่องมือสําหรับจับยึดงานเปนเคร่ืองมือท่ีไดรับการออกแบบมาเพื่อใชในการจับยึดช้ินงานในงาน เคร่ืองมือกล เชน จับยึดงานเพ่ือทําการกัด การเจาะ การตะไบ การเล่ือย การตี การดัด เปนตน เคร่ืองมือ สําหรับจบั ยึดงานจะมีชอ่ื เรยี กตามรปู รางและลักษะการใชง านที่แตกตางกนั ดังนี้ 1.1 ปากกาจับงาน (Vise) ปากกาจับช้ินงานหรือเรียกกันสั้น ๆ วา ปากกาจับงาน เปนเครื่องมือขนาดเล็กชนิดหนึ่งท่ีใช ประกอบในการทํางาน โดยใชจ บั ยึด บีบ อัด ช้ินงานใหแนน เพื่อสะดวกตอการปฏิบัติงานอื่น ๆ เชน ใชจับ ไม โลหะ พลาสติก ฯลฯ เพ่ือใชในการเล่ือย การตะไบ การดัด การพับ และการตาปเกลียว (Tap) เปนตน ปากกาจับงานมีหลายชนิด ซ่ึงสามารถแยกตามวัสดุท่ีจับยึด คือ ปากกาจับงานโลหะ และปากกาจับงานไม สําหรับปากกาจบั งานท่ีจะกลา วถงึ ในทน่ี ี้ คอื ปากกาจบั ยดึ งานโลหะ ปากกาจับยึดในงานโลหะ หรือปากกาจับงานโลหะ เปนปากกาที่ยึดแนนบนโตะสําหรับใชงาน ใช สําหรบั จบั โลหะใหแนน เพอ่ื ตัด ขดั เจาะ ตะไบ หรือขันช้นิ งานตา งๆ ดังแสดงตัวอยางดงั ภาพที่ 1.1 ภาพท่ี 1.1 ตัวอยางปากกาจับยึดในงานโลหะ สาํ หรับปากกาจับยดึ ในงานโลหะที่ใชใ นงานเครื่องมือกล หรือในงานชางกลโรงงาน แบงออกไดเปน หลายชนิด เชน ปากกาที่ใชสําหรับจับงานบนโตะงาน (Bench Vise) ปากกาจับงานเจาะ ปากกาจับงานไส และปากกาจับงานกัด เปนตน ดงั ภาพท่ี 1.2 (ก) ปากกาสาํ หรับจบั งานบนโตะ งาน (ข) ปากกาสําหรบั จบั งานเจาะ

3 (ค) ปากกาสาํ หรับจับงานกดั (ง) ปากกาสําหรับจับงานไส ภาพที่ 1.2 ปากกาจับยึดในงานโลหะ ปากกาที่แตละชนิดที่กลาวมาน้ี มีรูปรางลักษณะ และขนาดท่ีแตกตางกันออกไปแตมีวัตถุประสงค ในการใชงานเดยี วกนั คอื ใชจับยดึ ชิน้ งานใหแนน และมัน่ คงกอนท่ีจะมีการแปรรูปช้ินงานน้ันๆ ตามลักษณะ ของงาน หลักการทาํ งานของปากกาสวนใหญคลายคลึงกัน คือ สงกําลังและจับยึดดวยเกลียวโดยใชมือหมุน ดามจบั เพอ่ื ขันเกลยี วใหป ากของปากกาบีบหรือยดึ ช้ินงานใหแ นน สําหรับขนาดของปากกาจะนิยมวัดที่ความยาวของปากท่ีใชในการจับชิ้นงาน (มีหนวยวัดเปนน้ิว) เชน 3 น้ิว , 4 น้ิว , 5 น้ิว เปนตน ซ่ึงจะสัมพันธกับขนาดของสกรูเกลียวสงกําลังและความกวางของปากใน การจบั ช้นิ งาน 1.1.1 สวนประกอบของปากกาจับงาน ปากกาจบั งานท่ีนิยมใชงานโดยทว่ั ไปมีสว นประกอบท่สี ําคัญ ดงั ภาพท่ี 1.3-1.4 แผน รองปากของปากก ปากจับเคล่ือนที่ รางเล่ือนของ ปากจับคงที่ ปากปากกา มอื หมุน สกรลู อ็ คแทนหมุน สกรเู กลยี วสงกาํ ลงั แทนหมุน ฐานปากกา ภาพที่ 1.3 โครงสรางภายนอกของปากาจับงานบนโตะงาน

4 แผนรองปากของปากกกา ปากจบั คงที่ มอื หมุน ปากจับเคลอื่ นท่ี รางเล่ือนของปากปากกา สกรเู กลียวสง กาํ ลงั นอตเกลียวสง กําลงั (ยดึ กบั ปากจับเคลื่อนท่)ี ฐานปากกา ภาพที่ 1.4 โครงสรางภายในของปากาจบั งานบนโตะ งาน 1.1.2 วิธกี ารใชแ ละการบํารงุ รกั ษาปากกา 1) กอนใชงานควรตรวจสอบความสมบูรณของปากกา เชน การจับยึดบนโตะงานตอง มน่ั คงแขง็ แรง สกรูสง กําลงั สามารถใชงานไดด ี และปากจับมีสภาพสมบรู ณพรอ มใชงาน เปนตน 2) การจับชิ้นงานควรใหปากของปากกาสัมผัสช้ินงานตลอดความยาวและตองวางช้ินงาน อยูต รงกง่ึ กลางของปากกาเพอ่ื ใหป ากกาจบั ช้ินงานไดอยางมน่ั คง 3) การจับชิ้นงานที่มีความยาวมาก ถาไมสามารถจับตรงกลางของปากกาได แตเมื่อ จําเปนตองจับยึดท่ีขอบขางใดขางหน่ึงจะตองเสริมดวยเหล็กรองซึ่งมีขนาดเทากับช้ินงาน เพ่ือปองกันไมให ปากจบั ของปากกาเอยี ง และปองกนั ไมใ หช ิน้ งานหลดุ ขณะมแี รงมากระทํากับชนิ้ งาน 4) การจับช้ินงานชิ้นงานประเภทเหล็กตัวยู ควรใชไมเนื้อแข็งหรือแทงเหล็กรองตรงกลาง เพอื่ ชว ยเสริมการจบั ยดึ ใหแนน และม่นั คงมากย่ิงข้นึ 5) ควรใชแผนรองปากของปากกกาโดยทําจากวัสดุออน เชนทองแดง อะลูมิเนียมหรือ แผน เหล็กตดิ ไฟเบอร เพ่อื ปอ งกนั ไมใหผวิ ช้ินงานเปนรอยเยนิ ขณะจับยึด 6) การจับยึดชิ้นงานใหใชมือหมุนดามมือหมุนของปากกาดวยแรงท่ีเหมาะสม หามใชคอน ตอกเพ่ือเพิม่ แรงจบั ยึดโดยเดด็ ขาด เพราะจะทาํ ใหปากของปากกาแตกหักและชํารดุ เสยี หายได 7) 3เม่ือเลกิ ใชงานใหทําความสะอาดทุกสวนของปากกาจับช้ินงานและชโลมดวยน้ํามันเพ่ือ ปอ งกันการเกดิ สนมิ แลว หมนุ มอื จับเพ่ือขันปากของปากกาจบั ชิน้ งานใหเ ขา ไปชดิ กัน

5 1.2 ซี-แคลม็ ป (C-Clamp) ซี-แคล็มปมีรูปรางลักษณะคลายรูปตัวซี เปนเคร่ืองมือท่ีใชสําหรับการจับยึดชิ้นงานท่ี ตองการขันยึดและคลายออกไดอยางรวดเร็ว ไดแกการจับยึดช้ินงานเช่ือมและการจับยึดช้ินงานขนาดใหญ เพื่อเจาะรบู นเครือ่ งเจาะ เปนตน ซี-แคล็มป มสี ว นประกอบที่สาํ คัญ ดงั ภาพที่ 1.5 สกรเู กลียวสงกาํ ลงั แปน ยดึ มือหมนุ โครงยึด ภาพท่ี 1.5 ซ-ี แคล็มปแ ละสวนประกอบ 1.2.1 วธิ กี ารใชแ ละการบํารงุ รกั ษาซ-ี แคลม็ ป 1) 3กอนใชค วรตรวจสอบสภาพความสมบูรณข องชน้ิ สว นตา งๆ ใหพ รอ มใชงาน 2) การขันยึดจะตองใหแปนยึดสัมผัสเต็มผิวหนาของชิ้นงาน เพ่ือใหกระจายแรงในการจับ ไดส มํา่ เสมอ และใหแ นวแกนของสกรูสง กาํ ลังตง้ั ฉากกับผิวช้นิ งาน 3) อยาใชซี-แคล็มปขนานจับยึดชิ้นงานที่มีขนาดใหญเกินกําลังการจับยึดของสกรูเกลียว สง กําลงั หรือใชค อ นเคาะมือหมุนเพอ่ื เพ่ิมแรงจับยึด 4) เ3ม่ือเลิกใชงานใหทําความสะอาด3แลวเก็บในช้ันวางหรือที่เก็บโดยเฉพาะ เพื่อความเปน ระเบยี บเรยี บรอ ย และไมค วรเก็บซี-แคลม็ ปร วมกบั เคร่อื งมือชนดิ อ่ืน 1.3 แคลม็ ปข นาน (Parallel Clamp) แคล็มปขนาน มีรูปรางลักษณะคลายตัวซี โดยมีสกรูเกลียวและปากจับยึดอยางละสองตัว ในการขันหรือคลายปากจับยึดจะเล่ือนเขา-ออกพรอมกัน นิยมใชจับช้ินงานเพื่อเจาะรูรวมศูนย แคล็มป ขนาน มีสว นประกอบทส่ี ําคัญ ดังภาพที่ 1.6

6 สกรเู กลียวสง กาํ ลัง ปากจบั ยดึ สกรเู กลยี วสง กาํ ลัง ปากจับยึด ภาพที่ 1.6 แคล็มปข นานและสว นประกอบ 1.3.1 วิธกี ารใชและการบํารงุ รักษาแคล็มปขนาน 1)3 กอนใชควรตรวจสอบสภาพความสมบรู ณของช้นิ สว นตา งๆ ใหพรอมใชงาน 2) การขันยึดจะตองใหปากจับสัมผัสเต็มผิวหนาของช้ินงาน เพ่ือใหกระจายแรงในการจับ ไดส มา่ํ เสมอ และใหแ นวแกนของสกรูสง เกลยี วกําลงั ตง้ั ฉากกับผิวช้ินงาน 3) อยาใชแคล็มปขนานจับยึดช้ินงานที่มีขนาดใหญเกินกําลังการจับยึดของสกรูเกลียวสง กาํ ลงั 4) เ3ม่ือเลิกใชงานใหทําความสะอาด3แลวเก็บในชั้นวางหรือท่ีเก็บโดยเฉพาะเพื่อความเปน ระเบียบเรียบรอย และไมค วรเกบ็ แคลม็ ปข นานรวมกับเคร่ืองมอื ชนิดอ่ืน 2. คอน (Hammers) คอน คือ เคร่ืองมือสําหรับตอกหรือทุบบนวัตถุอ่ืน สําหรับการใชงานเชน การตอกตะปู การจัด ชนิ้ สว นใหเ ขารูป 2ถอด ประกอบ ติดต้ัง ปรับแตงชิ้นงาน2 และการทุบทลายวัตถุ คอนอาจไดรับการออกแบบ มาใหใชงานเฉพาะทาง และมีรูปรางกับโครงสรางที่หลากหลาย แตมีโครงสรางพื้นฐานที่เหมือนกันคือดาม จบั และหวั คอน ดังภาพที่ 1.7 หัวคอน ดา มคอ น ภาพที่ 1.7 ตัวอยา งสวนประกอบของคอน

7 2.1 ชนดิ ของคอน คอ นถแู บง ออกแบงออกเปน 2 ประเภท ตามลกั ษณะของความแขง็ ของหัวคอน คอื คอ น หวั แขง็ และคอ นหัวออน โดยมีรายละเอยี ดดงั นี้ 2.1.1 คอ นหัวแข็ง คอนหัวแข็ง ประกอบดวย คอนหัวกลม (Ball Peen Hammer) คอนหัวตรง (Straight Peen Hammer) คอนหัวขวาง (Cross Peen Hammer) คอนยํ้าหมุด (Riveting Hammer) คอนชางไม (Carpenter Hammer) โดยมีรายละเอยี ดดังนี้ 2.1.1.1 คอนหัวกลม (Ball Peen Hammer) หัวคอนทําจากเหล็กหลอหรือเหล็กกลาที่ ทนทานตอแรงกระแทกไดดี ใชสําหรับงานตอกงานเคาะและงานดัดข้ึนรูป โดยมีสวนประกอบที่สําคัญดัง ภาพท่ี 1.8 ภาพที่ 1.8 คอนหวั กลมและสวนประกอบ 2.1.1.2 21คอนหัวตรง (Straight Peen Hammer) หัวคอนทําจากเหล็กหลอหรือเหล็กกลา21 เปนคอนที่สวนหงอนมีรูปทรงแบนและอยูในตําแหนงขนานไปกับดามคอน ดานหนาคอนใชตอกตีเคาะ ดัด ชน้ิ งาน สว นหงอนใชเคาะข้นึ รปู ดังภาพท่ี 1.9 ภาพที่ 1.9 คอ นหวั ตรง 2.1.1.3 คอ นหัวขวาง (Cross Peen Hammer) หัวคอ นทําจากเหล็กหลอ หรอื เหล็กกลา มี ลกั ษณะการใชง านคลา ยกบั คอ นหวั กลมและหัวตรง แตคอนชนดิ นมี้ หี งอนดา นบนมีลกั ษณะแบนแตอ ยูใน ตาํ แหนง ขวางกับดามจับ21 ดงั ภาพที่ 1.10

8 ภาพที่ 1.10 คอ นหัวขวาง 2.1.1.4 คอนยํ้าหมดุ (Riveting Hammer) หัวคอ นทาํ จากเหล็กกลา เปนคอนที่มีลักษณะ คลายกับคอนเดินสายไฟจะแตกตางกันที่หนาคอนยํ้าหมุดมีผิวโคงเพียงเล็กนอย สวนผิวหนาของคอนเดิน สายไฟจะเรยี บ สวนลําตัวหัวคอนเปนรปู สเ่ี หล่ยี มลบมุมรอบทง้ั ส่ดี าน สว นหางของหัวคอนมีรูปทรงเรียวและ โคง มน ใชสาํ หรับการย้ําหมุดในงานประกอบโลหะแผน ดงั ภาพท่ี 1.11 ภาพท่ี 1.11 คอ นย้าํ หมุด 2.1.1.5 คอ นชางไม (Carpenter Hammer) หรือคอ นหัวแพะ หรอื คอนหงอน เปน คอน สําหรบั ชา งไม ซึ่งใชสําหรับตอกตะปแู ละถอนตะปู คอ นชา งไมห วั คอ นทําจากเหลก็ หลอ หรือเหล็กกลา หนา ตดั ของคอ นจะมีลักษณะกลม ผวิ หนา เรียบหรอื มีโคง เล็กนอยเทานน้ั เพ่ือปองกันไมใ หล ืน่ ขณะทาํ การตอก ตะปู สว นหางหรอื หงอนคอ นจะมีลักษณะเปน งามคลา ยเขาแพะซ่ึงใชส าํ หรับถอนตะปู สว นดามคอ นอาจทํา ดวยไมห รือพลาสติกแข็งกไ็ ด ดังภาพท่ี 1.12 ภาพท่ี 1.12 คอ นชางไม

9 2.1.2 คอ นหวั ออน คอนหัวออน ประกอบดวย คอนพลาสติก (Plastic Hammer) คอนยาง (Rubber Hammer) คอ นไม (Wooden Mallet) โดยมรี ายละเอียดดังน้ี 2.1.2.1 คอนพลาสตกิ (Plastic Hammer) หัวคอนทาํ จากพลาสติกแขง็ โดยการหลอขนึ้ รปู ภายในเปนเกลยี วเพือ่ ขันตดิ กบั โครงโลหะท้งั สองดา นแลวประกอบเขา กับดา มไมเ หมาะสําหรบั งานเคาะ เบาๆ เพอื่ ปรบั แตงชนิ้ งานใหไดตําแหนง บนอปุ กรณจ ับยึด งานใชในงานถอด-ประกอบชน้ิ สว นเครอ่ื งมือกล และงานเคาะโลหะแผนเปน ตน ดงั ภาพท่ี 1.13 ภาพที่ 1.13 คอนพลาสตกิ 2.1.2.2 คอ นหวั ยาง (Rubber Mallet Hammer) หัวคอ นทาํ ดวยยางสังเคราะหทีม่ คี วาม เหนยี วและยดื หยนุ ไมแ ตกงาย ใชเ คาะปรบั แตงช้นิ งานในขณะทาํ การจบั ยึด ทาํ ใหชน้ิ งานไมเกดิ รอยและงาน เคาะข้นึ รูปโลหะแผน เปนตน ดังภาพที่ 1.14 ภาพที่ 1.14 คอ นหัวยาง 2.1.2.3 คอ นไม (Wood Hammer) หวั คอนทาํ ดวยไมเน้ือแข็งทําใหม คี วามเหนยี ว ไมแ ตก งาย ใชเคาะปรับแตงชิ้นงานในขณะการปรับตั้งบนอุปกรณจับยึด หรืองานเคาะขึ้นรูปและงานเคาะพับ ตะเขบ็ โลหะแผน เปนตน ดังภาพที่ 1.15

10 ภาพที่ 1.15 คอ นไม 2.2 วิธกี ารใชและการบาํ รงุ รกั ษาคอ น 2.2.1 กอนใชงานควรตรวจความเรียบรอยของดามคอนและหัวคอนใหมีความพรอมตอ การใชงาน เชน หัวคอนไมแตกหรือเกิดรอยเยิน ดามคอนอยูในสภาพสมบูรณไมแตกราว หัวคอนและดาม คอนประกอบกนั แนน และแขง็ แรง เปน ตน 2.2.2 เลือกใชคอนใหถูกประเภทและลักษณะการใชงานหรือใหเหมาะสมกับการ ปฏบิ ัติงาน 2.2.3 การใชคอนทุกชนิดใหจับที่ปลายดามคอน โดยใหนิ้วกอยอยูหางจากปลายดาม ประมาณ 25 เซนติเมตร 2.2.4 ขณะใชค อนทุบหรือตกงานจะตอ งใหหนาคอนสมั ผสั กับชน้ิ งานโดยตรงโดยนํา้ หนกั ท่ี ตอกลงบนช้นิ งานเปนไปอยางสมํ่าเสมอ 2.2.5 ขณะใชคอนอยาใหมีนํ้ามันติดบนดามคอน เพราะอาจทําใหคอนหลุดมือขณะ ปฏิบตั ิงานได 2.2.6 เม่อื เลิกใชง านใหท ําความสะอาดหวั คอนและดามคอนดว ยผา เชด็ ใหสะอาด แลวเก็บ ในกลองหรือช้ันวางหรือที่เก็บคอนโดยเฉพาะเพ่ือความเปนระเบียบเรียบรอย และไมควรเก็บคอนรวมกับ เครอ่ื งมอื ชนดิ อน่ื 3. คมี (Plier) คีม21 21 เปนเคร่ืองมือท่ีใชแรงบิดสําหรับจับ ยึด ตัด ส่ิงตางๆ เชน โลหะแผนบาง สายไฟฟา ทอขนาด เล็ก และใชสําหรับจับ บีบ ชิ้นงานขนาดเล็กและใชถอด-ประกอบช้ินสวนเคร่ืองจักรกล เปนตน คีมมีการ นํามาใชมากในโรงงานโลหะแผน งานไฟฟา งานอิเล็กทรอนิกส งานซอมรถยนต และงานเคร่ืองมือกล คีมมี หลายชนิด แตท่ีสําคัญมีดังนี้ คือ คีมปากแบนหรือปากจิ้งจก (Flat Nose Pliers) คีมปากขยาย (Slip Joint Pliers) คีมล็อค (Vise Grip Pliers) คีมตัด (Cutting Pliers) และคีมตัดปากทะแยง (Diagonal Cutting Pliers or Side cutters) เปนตน 3.1 ชนดิ ของคีม การแบงชนิดและการเรียกชื่อของคีม จะข้ึนอยูกับลักษณะการใชงาน ซ่ึงมีหลากหลาย รปู แบบ แตท่จี ะกลาวถึงในทน่ี ี้ คือคีมท่ีนิยมใชในงานของชา งกลโรงงาน ดังนี้

11 3.1.1 คมี ปากแหลมหรอื คมี ปากจง้ิ จก (Long Nose Pliersor Needle Nose Pliers) เปน คีมที่มีปากแหลมเรียว มีท้ังแบบปลายตรงและปลายงอ ใชสําหรับจับ บีบ ช้ินงานขนาดเล็กและใชถอด- ประกอบชนิ้ สวนเครือ่ งจักรกลในทีแ่ คบ เปนตน คมี ปากจิ้งจกมลี กั ษณะดงั ภาพท่ี 1.16 คีมปากแหลมปลายงอ คมี ปากแหลมปลายตรง ภาพที่ 1.16 คมี ปากแหลมหรือคีมปากจงิ้ จก 3.1.2 คีมปากแหลมแบน (Flat Nose Pliers) เปนคีมที่มีปากแบนประกอบดวยฟนเล็กๆ ใช จับและขึ้นรูปชิ้นงานขนาดเล็ก เชน งานดัดเสนลวดงานโลหะแผน และงานดัดเสนลวดสายไฟฟา เปนตน ดงั ภาพท่ี 1.17 ภาพที่ 1.17 คีมปากจ้งิ จกปากแบน 3.1.3 คีมปากแหลมกลม (Round Nose Pliers) เปนคีมท่ีปากแหลมกลม ใชในการจับ และดดั ข้ึนรูปช้ินงาน เชน การดดั เสนลวดงานโลหะแผน และงานดดั สายไฟฟา เปน ตน ดงั ภาพที่ 1.18

12 ภาพท่ี 1.18 คมี ปากแหลมกลม 3.1.4 คีมปากประสม (Combination Pliers) เปนคีมที่ออกแบบมาใหปากคีมสามารถใชงาน ไดหลายอยาง เชน จับยึดชิ้นงานโลหะแผนชิ้นงานกลม และใชคมตัดดานขางตัดเสนลวดขนาดเล็กและตัด สายไฟฟา เปน ตน ดงั ภาพท่ี 1.19 ภาพที่ 1.19 คมี ปากประสม 3.1.5 คีมตัด (Cutting Pliers) เปนคีมท่ีออกแบบมาใชสําหรับตัดเสนลวดขนาดเล็กและ สายไฟฟา เปนตน ดงั ภาพท่ี 1.20 ภาพที่ 1.20 คมี ตัด 3.1.6 คมี ปากขยายแบบปรับระยะขยบั จุดหมนุ (Slip Joint Pliers) เปนคมี ทอ่ี อกแบบมา ใหปากมีลกั ษณะเปน ฟนจับเลก็ ๆ และสามารถปรับขยายไดโ ดยมสี ลกั เลอ่ื นหรอื ขยายปากคีม นยิ มใชในการ จบั บีบช้นิ งานกลมและงานทอ เปน ตน ดังภาพท่ี 1.21

13 ภาพท่ี 1.21 คมี ปากขยายแบบปรับระยะขยับจุดหมุน 3.1.7 คีมปากขยายแบบปรับระยะเลื่อนตามแนวรอง (Groove Joint Pliers) เปนคีมที่ ออกแบบมาใหป ากมีลกั ษณะเปนฟน จับเล็กๆ และสามารถปรับขยายไดโดยเล่ือนปรับระยะตามรอง นิยมใช ในการจบั บบี ชิ้นงานกลมและงานทอ ดงั ภาพที่ 1.22 ภาพท่ี 1.22 คีมปากขยายแบบปรบั ระยะเลือ่ นตามแนว 3.1.8 คีมถางและหุบแหวนสปริง (Circlip Pliers) เปนคีมที่ออกแบบมาใหปากเรียว สวน ตรงปลายเปนทรงกระบอกขนาดเล็กเพ่ือสอดเขากับรูของแหวนสปริงล็อคนอกหรือแหวนสปริงล็อคในใช สําหรับถอดประกอบแหวนสปริงและมีทั้งชนิดปลายตรงและปลายงอ ดังภาพที่ 1.23-1.24 (ก) คมี ถา งแหวนสปรงิ ชนิดปลายตรง (ข) คมี ถา งแหวนสปรงิ ชนดิ ปลายงอ ภาพท่ี 1.23 คมี ถา งแหวนสปรงิ (แหวนสปรงิ ล็อคนอก)

14 (ก) คมี หบุ แหวนสปรงิ ชนดิ ปลายตรง (ข) คมี หุบแหวนสปรงิ ชนดิ ปลายงอ ภาพที่ 1.24 คมี หบุ แหวนสปรงิ (แหวนสปรงิ ลอ็ คใน) 3.1.9 คมี ปากนกแกว (Pincers) เปนคีมทม่ี ีสวนปลายเปนรูปวงรีคลายปากนกแกวซึ่งมีคม ตัดใชส าํ หรับตดั ลวดหรอื ถอนตะปูขนาดเลก็ ดงั ภาพท่ี 1.25 ภาพท่ี 1.25 คมี ปากนกแกว 3.1.10 คีมล็อค (Vise Grip Wrench or Locked Grip Pliers) ทําดวยโลหะท่ีมีดามสอง ดามและมีปากสั้นๆ อยูอีกดานหน่ึงมีสกรูท่ีผิวขึ้นลายกันล่ืนท่ีปลายของดามขางหนึ่งและท่ีขาอีกดานหน่ึงมี กระเด่ือง ซึ่งมลี ักษณะคลายดามที่สอดอยูในดามอีกชั้นหน่ึง คีมล็อคมีจุดหมุนสามจุดพรอมท้ังแกนโลหะตอ ระหวางดามทั้งสองและยังมีสปริงท่ีสามารถมองเห็นไดระหวางดามท้ังสองคีมล็อคชนิดท่ีปรับไดจะชวยเพ่ิม แรงจับของการจบั ท่ีมลี กั ษณะคบี ดวยน้วิ หวั แมมือและน้ิวช้ี การปรบั ท่สี กรูทม่ี ลี ายจะเปน การปรบั ความกวาง ของปาก ทําใหเกิดแรงจับไดเพ่ิมมากข้ึนเมื่อนําไปจับชิ้นงาน และเม่ือบีบท่ีกระเด่ืองก็จะเปนการปลอยคีม ออกจากช้นิ งานทจี่ บั คมี ลอ็ คมีหมุดเปน จดุ หมนุ สามตัวเพื่อชวยแปลงการเคล่ือนชวงยาวของดามใหเปนการ เคลื่อนที่ชวงส้ันๆ ของปากคีม ทําใหเพ่ิมแรงบีบไดมากขึ้น นิยมใชจับชิ้นงานใหแนนเพื่อดึง ขัน คลาย บิด หรอื ดดั เปน ตน ดังภาพท่ี 1.26

15 สกรปู รับความกวางของปาก ปากคีม หมุดยึด สปรงิ กระเดื่องปลดลอ็ ค ภาพที่ 1.26 คีมล็อคและสว นประกอบ การใชงานใหเลือกคีมล็อคที่มีลักษณะของปากและความกวางท่ีเหมาะสมกับงานท่ีตองใช โดยหมุนสกรูปรับปากคีมล็อคใหสามารถจับเขากับงานไดในทิศทางตามเข็มนาฬิกา พรอมกับวางตําแหนง ของคีมใหเหมาะสมกับตําแหนงท่ีจะจับงาน จากนั้นบีบดามของคีมล็อคทั้งสองเขาหากันจนกระทั่งปากของ คมี ล็อคตัวเอง และเม่อื ตอ งการถอดคีมออกใหก ดกระเดอ่ื งเขาไปหาดา มของคีมล็อค 3.1.11 คีมลอ็ คงานโลหะแผน (Vise grip C-Clamp Pliers) คีมล็อคชนิดนี้ทําหนาท่ีคลาย คีมล็อคแตปากออกแบบใหมีระยะคอลึกเพ่ือใหสามารถจับงานเขาไปในขอบงานไดลึกมากยิ่งขึ้น คีมล็อค โลหะแผนบางชนิดออกแบบใหแผนเสริมท่ีปากใหมีความกวางมากขึ้น เหมาะสําหรับจับยึดโลหะแผน โดยเฉพาะ ดงั ภาพที่ 1.27 (ก) คมี ล็อคโลหะแผน ทมี่ ีระยะคอลึก (ข) คมี ล็อคสําหรับจับยดึ โลหะแผน ภาพที่ 1.27 คมี ลอ็ คงานโลหะแผน 3.2 วิธีการใชแ ละการบาํ รุงรกั ษาคีม 3.2.1 ตรวจสอบความสมบูรณของคีมใหม สี ภาพความพรอ มกอ นนําไปใชงาน 3.2.2 อยา ใชคีมเพื่อขันหรือคลายนอตและสกรู 3.2.3 คีมปากจ้ิงจกเหมาะสําหรับจับช้ินงานขนาดเล็กหรือชิ้นงานอยูในท่ีแคบดังน้ันขณะ จบั ช้นิ งานจึงไมควรออกแรงบีบคีมแนนเกนิ ไปเพราะจะทําใหปากคมี ชาํ รดุ ได

16 3.2.4 คีมล็อคออกแบบมาสําหรับจับชิ้นงานทรงกระบอกปากของคีมชนิดนี้ดานหนึ่งปรับ ขยายไดเพ่ือใหเหมาะกับช้ินงานที่จะจับยึดดังน้ันจึงไมควรใชคีมชนิดนี้จับช้ินงานที่ไมตองการใหผิวเปนรอย และอยา ใชแ ทนประแจ 3.2.5 คีมหุบหรือถางแหวนสปริงล็อคออกแบบใหพอเหมาะสําหรับการบีบ เพื่อปองกันมิ ใหแหวนสปริงหบุ ลงหรือล็อคถา งออกมากเกนิ ไป ดังน้ันควรเลือกใหขนาดท่ีมีความเหมาะสมกับแหวนสปริง ล็อค 3.2.6 เมื่อเลิกใชงานใหทําความสะอาดและหยอดน้ํามันที่จุดหมุดเปนคร้ังคราวเพื่อ ปองกันสนิมแลวเก็บใน ช้ันวางหรือท่ีเก็บโดยเฉพาะ เพื่อความเปนระเบียบเรียบรอยและไมควรเก็บคีมรวม กับเคร่อื งมอื อน่ื 4. ไขควง (Screw Drivers) ไขควงเปนเครื่องมือท่ีใชสําหรับการขัน5สกรู5ใหแนนหรือคลายสกรูออก โดยลักษณะของหัวสกรูจะ เปน รองแบน เปน รูปดาว ดงั ตัวอยา งในภาพที่ 1.28 ภาพที่ 1.28 ตัวอยา งของหวั สกรทู ใ่ี ชก บั ไขควง ไขควงสวนใหญมีดามเปนพลาสติกและมีแทงโลหะยื่นออกมา ท่ีปลายของแทงโลหะจะมีการขึ้นรูป ทม่ี ีรูปรางแตกตางกนั เพอ่ื ใหใชไดกบั สกรชู นดิ ตาง ๆ เชน รปู แบน รูปกากบาทหรือรูปดาวหรือปากแฉก เพ่ือ ใชขนั หรอื คลายหัวสกรูแบบตางๆ ที่ตัวดามของไขควงจะมีรองและมุมเพื่อใหจับไดถนัดและมั่นคง ในการใช ไขควงจะตอ งเลอื กปลายไขควงใหถูกตองกับชนิดของหัวสกรู โดยวางสกรูลงตรงจุดท่ีกําหนดแลวจรดไขควง ลงทห่ี วั สกรู จากนนั้ กดแลวหมุนดา มไขควง ถา หมุนไปในทิศทางหนงึ่ จะเปนการขันสกรู ถา หมนุ ไปในอกี ทาง หนึ่งจะเปนการคลาย ไขควงบางชนิดอาจจะหมุนดวยมอเตอร5ก็ได โดยไขควงทํางานโดยการสงแรงบิด (torque) จากการหมนุ ไปทปี่ ลายไขควงทําใหสกรหู มุนตามเกลียวเขาหรือออกจากวัสดอุ ่ืน ไขควงเปนเคร่ืองมือสําหรับขันและคลายสกรู ขนาดและรูปทรงของไขควงถูกออกแบบใหเปนไป ตามลักษณะการใชงาน สําหรับไขควงท่ีใชในงานหนักของชางกลโรงงานจะออกแบบใหกานใบเปนรูป สี่เหล่ยี มจัตุรสั เพอ่ื ใหใชป ระแจ หรอื คมี จบั ขนั เพอื่ เพิ่มแรงในการบิดตัวของ ไขควง ใหมากกวาเดิมไดไขควง ประกอบดวย สวนประกอบหลกั 3 สวนคือ ดา มไขควง (Handle) กานไขควง (Blade or Ferule) และปาก ไขควง (Tip) ดังภาพท่ี 1.29

17 ดา มไขควง กานไขควง ปลายไขควง ภาพที่ 1.29 สว นประกอบของไขควง 4.1 ชนดิ ของไขควง ชนิดของไขควงท่ีนยิ มใชในงานชา งกลโรงงานแบงออกเปนหลายชนดิ ดังนี้ 4.1.1 ไขควงปากแบน (Flat Screw Driver) ปากไขควงจะมีลกั ษณะแบนลาดเอยี งไปยัง ปลายสุดของไขควงทกุ แบบสาํ หรับขนั หรอื คายสกรหู รือตะปคู วงชนดิ ตาง ๆ ดงั ภาพที่ 1.30 ภาพที่ 1.30 ไขควงปากแบน 4.1.2 ไขควงปากแฉก (Cross-Reset Head Screw Driver) ไขควงชนิดนี้สวนที่ปลายของ ไขควงปากแฉกหรือลักษณะปากจีบจะผาหัวเปนส่ีแฉกเวลาบิดจะตองใชแรงกดที่ดามมากกวาไขควง ธรรมดาเพ่อื ไมใหเ หล่ียมของไขควงหลดุ จากรอ ง ดงั ภาพที่ 1.31 ภาพที่ 1.31 ไขควงปากแฉก 4.1.3 ไขควงหวั คลัตช (Clutch-Head Screw Driver) เปน ไขควงทม่ี ีใชเฉพาะกับตะปูควง หรือสกรูสาํ หรบั งานโลหะแผน และงานการตกแตงท่ีตองการความประณีตสวยงาม ปลายของไขควงจะสวม พอ ดกี ับหวั สกรู ดงั ภาพที่ 1.32 ภาพท่ี 1.32 ไขควงหวั คลตั ช

18 4.1.4 ไขควงออฟเสท (Offset Screw Driver) ไขควงออฟเสทใชงานที่อยูในที่แคบ ๆ ยากที่จะใชไขควงธรรมดาเขาไปขันไดสามารถขันสกรูไดอยางรวดเร็ว แตตองระวังเพราะไขควงหลุดจาก รองสกรไู ดงายทําใหห ัวสกรเู สยี ดงั ภาพท่ี 1.33 ภาพที่ 1.33 ไขควงออฟเสท 4.2 วธิ กี ารใชแ ละการบาํ รงุ รกั ษาไขควง 4.2.1 กอนใชงานควรตรวจสอบไขควงใหอยูในสภาพท่ีสมบูรณ เชน ปลายไขควงไมมีรอย เยนิ กา นไขควงตรงไมคดงอ ดามจบั ไมแตกรา ว และกานไขควงยึดแนน กบั ดา มจบั เปนตน 4.2.2 ถาปลายไขควงมรี อยเยนิ ควรปรบั แตง ดวยตะไบใหอ ยูใ นสภาพสมบรู ณกอ นนําไปใช 4.2.3 อยาใชไขควงที่มีขนาดของปลายเล็กหรือโตกวาขนาดของรองท่ีหัวสกรู เพราะจะทํา ใหร องที่หวั สกรูเสียหายได 4.2.4 เลือกใชปลายไขควงใหถูกกับประเภทของหัวสกรู เชน ไขควงปากแบนสําหรับสกรู หวั ผา และไขควงหัวแฉกสําหรบั สกรูหัวแฉก เปน ตน 4.2.5 อยาใชไขควงงัด ตอกหรือใชงานแทนสกัด เพราะจะทําใหปลายไขควงเยินหรือกาน คดงอได 4.2.6 อยาใชแรงกดหรือผลักไขควงมากเกินไปในขณะขันหรือคลายสกรูเพราะอาจทําให ปลายไขควงหลุดออกจากรองที่หวั สกรูและทิ่มแทงมือของผปู ฏิบัติงานได 4.2.7 ขณะขันยึดสกรูหามใชมือจับช้ินงาน เพราะปลายไขควงอาจหลุดออกจากรองท่ีหัว สกรูและทม่ิ แทงมอื ของผูปฏบิ ัตงิ านได 4.2.8 อยา พกพาไขควงไวในกระเปา เส้ือหรือกระเปากางเกง เพราะอาจถูกปลายไขควงท่ิม แทงผูปฏิบัตงิ านได 4.2.9 เม่ือเลิกใชงานใหทําความสะอาดไขควงและจัดเก็บรักษาในช้ันวางหรือกลองเก็บ โดยเฉพาะ และไมควรเก็บไขควงรวมกับเครอ่ื งมืออ่ืน 5. ประแจ (Wrench) ประแจเปน เคร่ืองมือขนาดเลก็ ทใ่ี ชส ําหรบั ขันสกร5ูใหแนน หรอื คลายสกรูออก โดยสกรทู ีใ่ ชประแจใน การขนั น้นั เปน สกรูในงานเคร่อื งกลหรือสกรูท่ีสามารถรบั แรงกระทําไดส ูง ตัวอยางดังภาพที่ 1.34

19 สกรูหวั หกเหลย่ี ม (Hexagon Head Screw) สกรูหัวฝง (Hexagon Socket Head Screw) ภาพที่ 1.34 ตัวอยา งของหวั สกรทู ่ใี ชกับประแจ ในการใชงานจะตองเลือกประแจท่ีมีขนาดพอดีกับหัวนอตที่จะขันหรือคลาย โดยหมุนตามเข็ม นาฬิกาเปนการขันยึดและหมุนทวนเข็มนาฬิกาเปนการคลาย และในบางคร้ังอาจตองใชประแจสองตัวโดย ตวั หน่งึ สําหรบั นอตตวั ผูและอีกตวั สาํ หรับนอตตัวเมยี 5.1 ชนิดของประแจ ประแจถูกออกแบบใหมีหลายลักษณะ ข้ึนอยูกับความตองการในการใชงาน ประแจ โดยทวั่ ไปแบง ออกไดเปนหลายชนิด ดงั นี้ 5.1.1 ประแจปากตาย (Open Ended Wrenches) ประแจชนิดนี้สวนปลายมีลักษณะ เปน รูปตวั ยู ทีน่ ยิ มใชใ นชา งกลโรงงานมสี องแบบ คือ ประแจปากตายดา นเดยี วและประแจปากตายสองดาน โดยประแจสองดานนิยมใชงานมากกวาเน่ืองจากสามารถเลือกใชปากประแจไดท้ังสองขนาด โดยมีให เลอื กใชท ้ังแบบดา มตรง (Straight wrenches) และแบบดามเยอื้ ง (Offset Wrenches) ดงั ภาพท่ี 1.35 (ก) ประแจปากตายดา นเดยี ว (ดามตรง) (ข) ประแจปากตายสองดา น (ดามตรง) (ค) ประแจปากตายสองดา น (ดามเยอื้ ง) ภาพท่ี 1.35 ประแจปากตายปากเดยี วและประแจปากตายปากคู

20 5.1.2 ประแจแหวน (Box Wrench) ประแจชนิดนี้ท่ีปลายมีลักษณะเปนรูปวงแหวนมีมุม ของรูปสิบสองเหลี่ยมอยูดานใน ลําตัวจะงอขึ้นเล็กนอย ใชถอดประกอบบริเวณท่ีแคบๆ สวนดามของ ประแจจะออกแบบใหแนวเย้ืองกับระนาบของปากประแจ 15 องศาเพื่อสะดวกและปลอดภัยในการใชงาน ดังภาพที่ 1.36 ภาพที่ 1.36 ประแจแหวน 5.1.3 ประแจปากผสม (Combination Wrench) ประแจชนิดน้ี มีลักษณะเปนทอนเหล็ก แบนท่ีมีปลายดานหน่ึงเปนรูปตัวยู สวนปลายอีกดานหน่ึงเปนรูปวงแหวน ซึ่งมีขนาดเดียวกันเพ่ือความ สะดวกในการเลอื กใชงานในลกั ษณะตา งๆ ประแจปากผสมสวนใหญนิยมใชเ ปน ชุด ดังภาพที่ 1.37 ภาพที่ 1.37 ประแจปากผสม 5.1.4 ประแจบล็อก (Socket Wrench) ประแจชนิดนี้มีรูปรางลักษณะเปนทรงกระบอก เปนรูปวงแหวนมีมุมของรูปส่ีเหล่ียมหรือหกเหล่ียมหรือสิบสองเหลี่ยมอยูดานใน และมีดามตอใชงานหลาย แบบเชน ตัวที แบบกรอกแกรกและแบบออนตัวได ใชในการถอดประกอบในท่ีคับแคบ ประแจบล็อคสวน ใหญม จี าํ หนายเปน ชดุ ดังภาพท่ี 1.38 ภาพท่ี 1.38 ประแจบลอ็ ค

21 5.1.5 ประแจหกเหลี่ยมหรือประแจแอล (Hexagon Wrench or Allen Wrench) ประแจชนิดน้ีมีรูปรางลักษณะเปนแทงโลหะท่ีมีการดัดงอเปนรูปตัวแอล (L) ลําตัวมีหนาตัดขวางเปนรูปหก เหลี่ยมบางคร้ังเรียกวา “ประแจแอล” ใชสําหรับขันและคลายสกรูหัวฝง (Hexagon Socket Head Screw) ที่ใชก บั เครอ่ื งจักรกล การใชป ระแจหกเหล่ยี มจะตองเลอื กขนาดใหเดียวกบั หกเหลย่ี ม (ทีอ่ ยดู านใน) ที่ขนาดพอดีกับหัวสกรู (หามใชขนาดท่ีใกลเคียง) โดยสอดปลายดานสั้นของประแจลงในหัวสกรู แลวขัน หรือคลายตามทตี่ อ งการ (ตามเขม็ นาฬกิ าเปนการขนั หรอื ทวนเขม็ นาฬกิ าเปนการคลาย) และเมื่อสกรูหลวม ใหเ ปลี่ยนเปน ใชด านยาว เพ่ือชวยใหสามารถหมุนไดเ รว็ ขึน้ โดยใชนิ้วมอื ชวย ดงั ภาพที่ 1.39 ภาพท่ี 1.39 ประแจหกเหลย่ี มหรอื ประแจแอล 5.1.6 ประแจตะขอ (Hook Spanner Wrench) ประแจชนิดนี้เปนประแจพิเศษที่มากับ เคร่ืองมือกลโดยเฉพาะ เชน ใชล็อคแกนเพลาของเคร่ืองกัดในการถอด-ประกอบแกนเพลาจับมีด ประแจ ตะขอแบงออกเปนสองชนิด คือ แบบขอเก่ียว (Pin spanner Wrench) และแบบตัวยู (Face spanner Wrench) ดงั ภาพท่ี 1.40-1.41 ภาพท่ี 1.40 ประแจตะขอแบบขอเก่ียว ภาพท่ี 1.41 ประแจตะขอแบบตัวยู

22 5.1.7 ประแจเล่ือน (Adjustable Open Wrench) ประแจชนิดนี้เปนประแจท่ีสามารถ ปรับขนาดของปากได โดยมีปากดานหน่ึง (ดานปากตาย)ยึดแนนกับดามจับหรือลําตัวและปากอีกขางหน่ึง เล่ือนเขาออกได เพื่อใหสามารถใชกับหัวนอตตัวผูหรือตัวเมียขนาดตางๆ ประแจเล่ือนมีหลายขนาดให เลือกใชงานในการขันจะตองระมัดระวังเพราะอาจทําใหหัวนอตเยินและเสียหายได ไมควรใชประแจเล่ือน แทนการใชป ระแจปากตายและควรใชเทา ท่ีจาํ เปน เทาน้ัน ดังภาพท่ี 1.42 ปากตาย ดามจับ เกลยี วปรบั ระยะเล่ือนของ ปากเล่ือน ภาพที่ 1.42 ประแจเลือ่ น 5.1.8 ประแจจับทอ (Pipe Wrench) ประแจชนิดน้ีมีรูปรางลักษณะเปนทอนเหล็กที่มี ปากรูปตัวเจ (J)ที่ปลายดานหน่ึง สวนดานยาวหรือหางของตัวเจจะสอดผานชองอยูบนดานหนึ่งของขา ประแจ ซ่ึงมีนอตตัวเมียกลมข้ึนลายหรือนอตปรับระยะอยูดานใน เมื่อหมุนนอตตัวเมียก็จะทําใหปากรูปตัว เจเลอ่ื นเขา-ออก ในการใชป ระแจเลอื่ นขนั ทอจะตองเลือกขนาดของปากประแจใหใหญกวาทอเล็กนอยและ นิยมใชประแจสองตัว ประแจตัวแรกใชจับทอใหนิ่งโดยใชมือขันนอตปรับระยะใหแนนที่สุดเทาท่ีจะทําได จากนั้นใชประแจตัวท่ีสองขันขอตอใหแนน เม่ือขอตอแนนแลวใหขันประแจตัวแรกในทิศทางตรงกันขาม (ทิศตามเขม็ นาฬิกา) โดยออกแรงเทากัน ดังภาพท่ี 1.43 นอตปรับระยะ ดามจบั ปากตาย ปากเล่อื น ภาพท่ี 1.43 ประแจจับทอ

23 5.2 วธิ กี ารใชและการบาํ รุงรักษาประแจ 5.2.1 เลอื กใชป ระแจทมี่ ีขนาดของปากทีม่ ีขนาดตรงกับขนาดของหัวสกรูและนอต 5.2.2 เลอื กใชป ระแจทมี่ ีความยาวของดามท่ีเหมาะสมกับการใชงาน 5.2.3 ไมใชป ระแจท่ปี ากของประแจชาํ รดุ เชน สึกหรอหรอื มีรอยรา ว เปน ตน 5.2.4 เมื่อสวมใสประแจเขากับหัวนอตหรือหัวสกรูแลวปากของประแจตองแนนพอดีกับ หวั สกรูหรอื หัวนอต 5.2.5 การจบั ประแจสาํ หรบั ผูถ นดั มอื ขวาใหใ ชมอื ขวาจบั ปลายประแจ สว นมือซา ยหาท่ียดึ ใหม นั่ คงและรางกายตอ งอยูในสภาพม่นั คงและสมดลุ 5.2.6 การขันประแจไมวาจะเปนขันใหแนนหรือคลายตองใชวิธีดึงเขาหาตัวเสมอและ เตรยี มพรอมสําหรับปากประแจหลุดขณะขันดว ย 5.2.7 ควรเลือกใหประแจชนิดปากตาย (ประแจปากตายหรือประแจแหวน) กอน ยกเวน ในกรณที ี่ไมม ปี ระแจเหลา นจี้ งึ ใชป ระแจเล่ือนแทน เพราะปากของประแจเล่ือนอาจทาํ ใหห ัวสกรแู ละหัวนอต เสียหายได 5.2.8 การใชประแจเลื่อนหรือประแจจับทอจะตองใหปากดานท่ีเลื่อนไดอยูติดกับ ผูปฏิบัตงิ านเสมอ 5.2.9 การใชประแจเลื่อนหรือประแจชนิดปากปรับไดจะตองปรับปากประแจใหแนนกับ หวั นอตกอน แลวจึงออกแรงขนั 5.2.10 กอ นใชง านจะทาํ ความสะอาดปากและดามของประแจใหแหงและปราศจากน้ํามัน หรอื จาระบี 5.2.11 การขันสกรูหรือนอตที่อยูในท่ีแคบหรือลึกใหใชประแจบล็อค เพราะปากของ ประแจบลอ็ คจะมคี วามยาวมากกวา ประแจท่ัวไป ทาํ ใหส ามารถสอดเขา ไปในรทู ี่คบั แคบได 5.2.12 ขณะขนั ประแจตองใหดามจับอยูระนาบเดยี วกับหวั สกรูหรอื หวั นอต 5.2.13 เม่ือเลิกใชงานใหทําความสะอาดและจัดเก็บในสถานท่ีจัดเก็บโดยเฉพาะ เชน จดั เก็บไวใ นกลอ งหรอื ใชว ิธแี ขวนไวก ับแผงไมซงึ่ แหงและปราศจากนํา้ มันหรือจาระบี 6. สกดั (Cold Chisel) เปนเคร่ืองมือสําหรับตัดหรือเฉือนชนิดหนึ่งท่ีมีคมตัดคลายล่ิม นิยมนํามาใชงานกันอยางแพรหลาย ในการตัดเฉือนเอาเนื้อวัสดุแยกออกจากกัน โดยใชแรงตอกตรงท่ีหัวสกัดซึ่งตองนํามาใชรวมกันกับคอน ปกตินิยมใชสกัดในการตัดเศษโลหะสวนที่เกินบนผิวโลหะ ใชตัดนอตหรือสลักเกลียวท่ีถอดไมออก ตัดรอย เชื่อมสวนเกิน ตัดแผนโลหะและใชเซาะรอง สกัดทํามาจากเหล็กกลาช้ันดี มีความแข็งแรงมากและเหนียว มากกวา เหลก็ ท่วั ๆไป มขี นาดความยาวประมาณ 4-8 นว้ิ ดังภาพท่ี 1.44

24 หัวของสกดั คมตดั ของสกัด ลําตัวของสกดั ภาพท่ี 1.44 แสดงสวนตา งๆ ของสกดั 6.1 ชนดิ ของสกดั สกัดทใี่ ชงานกันอยูในปจจุบัน มีหลายชนดิ โดยทั่วไปจะแบงชนดิ ของสกัดตามลักษณะของ ปากของสกัดได 4 แบบ คือ สกัดปากแบน สกัดปากจ้ิงจก สกัดปลายตัดรูปเพชร และสกัดปากจิ้งจกปลาย โคง โดยมรี ายละเอยี ดดงั นี้ 6.1.1 สกัดปากแบน (Flat Cold Chisel) สกัดชนิดนี้มีปากตัดแบนและกวางนิยมนํามาใช ในงานชางอุตสาหกรรมมากท่ีสุด โดยเฉพาะงานตัดพื้นผิวงานท่ีผิวราบ เชน งานตัดโลหะแผน งานตัดรอย เชอื่ มงานตดั หัวหมุดย้าํ และงานตกแตงผวิ ช้ินงานหลอ เปน ตน ดงั ภาพที่ 1.45 ภาพที่ 1.45 สกดั ปากแบน 6.1.2 สกัดปากจิ้งจก (Cape Chisel) สกัดชนิดนี้มีหนาคมตัดแคบและมีมุมลิ่มโตกวาชนิด ปากแบนสวนมากนิยมใชเ ซาะรองเหล่ยี ม เชน รองลิ่ม เปนตน ดังภาพท่ี 1.46 ภาพที่ 1.46 สกัดปากจง้ิ จก

25 6.1.3 สกัดปลายตัดรูปเพชร (Diamond Point Chisel) สกัดชนิดน้ีมีคมตัดเปนรูป สเ่ี หล่ยี มขนมเปย กปนู ใชเ ซาะผิวงานใหเปนรองตวั วีหรอื รอ งสีเ่ หล่ียม ดงั ภาพท่ี 1.47 ภาพที่ 1.47 สกดั ปลายตดั รูปเพชร 6.1.4 สกัดปลายมน (Round Nose Chisel) สกัดชนิดนี้มีสวนปลายหรือคมตัดโคงมน เหมาะสําหรับงานเซาะรองโคง ดงั ภาพท่ี 1.48 ภาพที่ 1.48 สกัดปลายมน 6.2 การใชแ ละการบาํ รุงรักษาสกัด 6.2.1 การจบั สกดั ควรจบั ดวยมือดา นที่ไมถ นดั ทบ่ี รเิ วณสวนลาํ ตัวใหม่ันคงและแนน กระชับ โดยทํามมุ เอียงกบั แนวระดับประมาณ 30 องศา 6.2.2 ขณะใชค อนตอกท่หี วั สกัด สายตามองทป่ี ลายคมตดั สกดั 6.2.3 การออกแรงตอกหัวสกดั จะตอ งลงตาํ แหนง แนวแกนของลําตวั ของสกัด 6.2.4 ระวังทิศทางการกระเดน็ ของเศษวัสดไุ มใหเกดิ อันตรายกับเพอ่ื นรว มงาน 6.2.5 ขณะปฏิบตั งิ านสกดั ตองสวมแวน นริ ภัยปองกันเศษโลหะกระเด็นเขา ตา 6.2.6 เม่ือใชงานไประยะเวลาหนึ่ง หัวสกัดอาจเกิดรอยเยินหรือบานออกคลายดอกเห็ด ดังนน้ั กอนใชงานตองทาํ การเจยี ระไนแตงหวั ใหเรยี บกอนนําไปใชง าน 6.2.7 เม่ือเลิกใชงานใหทําความสะอาดแลวเก็บเขาท่ีใหเรียบรอยในช้ันวางหรือ ท่ีเก็บ โดยเฉพาะเพื่อความเปนระเบยี บเรียบรอ ยและควรแยกสกดั ออกจากเคร่อื งมอื ชนดิ อ่ืน 7. ตะไบ (File) ตะไบเปนเครื่องมือท่ีใชในตัดเฉือนผิวของวัสดุออกในลักษณะการถากหรือขูดเพื่อลดขนาดของ ชิ้นงานหรือปรับแตงชิ้นงานใหเรียบรอยตามความตองการ ตะไบมีลักษณะเปนแทงเหล็กแบน สวนใหญทํา จากเหล็กกลาคารบอนสูง (High Carbon Steel) โดยมีดามอยูท่ีปลายดานหน่ึงและมีรองถ่ีหรือฟนอยูบน ผวิ หนา ท้งั สองดาน ถาถอดดา มออกจะเหน็ วามีหางที่มีปลายแหลมหรอื หาง

7.1 สว นประกอบของตะไบ 26 หาง ตะไบประกอบดว ยสวนตางๆ ทีส่ ําคญั 5 สว น ดงั ภาพท่ี 1.49 โคน ผิวหนา ปลาย ขอบ (ก) สวนประกอบของตะไบ ตะไบ ดามจับ (ข) การประกอบตะไบเขา กับดามจับ ภาพที่ 1.49 ตะไบและสวนประกอบของตะไบ จากภาพท่ี 1.49 สวนประกอบของตะไบประกอบดวยสวนประกอบ 6 สวน โดยมี รายละเอียดดังนี้ 7.1.1 ก้ันตะไบหรือหางตะไบ (Tang) มีลักษณะเปนปลายแหลม มีหนาท่ีสวมเขากับดาม ของตะไบ 7.1.2 โคนตะไบ (Heel) เปนสวนท่ีสัญลักษณ ย่ีหอ และแหลงที่ผลิตของตะไบ อยูสวน ปลายดานลา งของผิวหนาตะไบติดกับกน้ั ตะไบ ท่ีบรเิ วณโคนตะไบจะไมม ฟี น อยู 7.1.3 ผิวหนาตะใบ (Face) เปนพ้ืนผิวที่ถูกข้ึนรูปใหมีคมตัดเรียงเปนแถวซอนกันไปตลอด ความยาวของหนา ตะไบ 7.1.4 ขอบหรอื สนั ตะใบ (Edge) เปน ความหนาของตะไบ โดยขอบของตะไบมี 2 ชนดิ คือ 7.1.4.1 ขอบขางเรียบ ใชสาํ หรบั ตะไบงานท่ีไมต องการใหข อบขางของตะไบตัด เฉอื นกนิ เน้ืองานขณะปฏบิ ตั ิงานตะไบ

27 7.1.4.2 ขอบขางมีคม โดยจะมลี ักษณะเปนฟน หยาบๆ ใชส าํ หรับขูดผวิ งาน เพ่อื ขดู สนิมหรือส่ิงสกปรกทผี่ ิวหนา งานกอนลงมอื ปฏิบตั งิ าน 7.1.5 ปลายตะใบ (Point) เปน สวนทีอ่ ยปู ลายสดุ ของตะไบ สําหรับใชมอื ขา งหนึง่ ที่ไมถนัด ประคลองหรือออกแรงกด เพอ่ื ใหคมตะใบกนิ เนอ้ื งานมาก-นอ ย ตามความตอ งการ 7.1.6 ดา มตะใบ (Handle) เปน สว นที่สวมอยกู บั หางตะใบ ใชส ําหรบั มอื จับประคอง ดาม ตะใบอาจผลติ มาจากไมหรอื พลาสติก ในการปฏิบัตงิ านดามตะใบทีด่ ีควรมลี ักษณะกลมมน ทาํ ใหส ามารถ ปฏบิ ัติงานไดนานโดยไมรสู ึกเจบ็ มือ 7.2 ความยาวของตะไบ ความยาวของตะใบจะวัดจากปลายของตะใบถึงโคนตะใบ โดยตะไบที่มีใชงานทั่วไปในชาง กลโรงงานมีความยาวหลายขนาดใหเลือก ทั้งหนวยมิลลิเมตรและหนวยน้ิว เชน 100 มิลลิเมตร (4 น้ิว), 150 มิลลิเมตร (6 นิ้ว), 175 มิลลิเมตร (7 น้ิว) 200 มิลลิเมตร (8 นิ้ว), 225 มิลลิเมตร (9 นิ้ว) และ 255 มลิ ลเิ มตร (10 นวิ้ ) เปนตน ดังภาพท่ี 1.50 ภาพที่ 1.50 ตะไบขนาดตางๆ 7.3 คมตดั ของตะไบ คมตัดของตะไบทีน่ ิยมใชในงานโดยทวั่ ไป แบงออกเปน 4 ลักษณะ ดงั นี้ 7.3.1 ลักษณะคมตดั เด่ยี ว (Single Cut File) คมตัดของตะไบจะเรียงแนวเดียวทํามุม 65- 85 องศากับขอบตะไบคมตัดชนิดนี้จะตัดเฉือนเนื้องานไดทีละนอย เหมาะสําหรับงานปรับผิวคร้ังสุดทาย หรอื งานตะไบวสั ดุออน เชน อะลูมิเนียมและทองแดง เปน ตน ดังภาพท่ี 1.51 ภาพที่ 1.51 ลักษณะคมตัดเด่ียว

28 7.3.2 ลักษณะคมตัดคู (Double Cut File) คมตดั มสี องแนวตัดขวางซ่งึ กันและกนั โดยคม ตะไบแนวแรกทํามุมประมาณ 70-80 องศากับขอบตะไบสวนฟนตะไบอีกแนวหน่ึงทํามุมประมาณ 40-45 องศากับขอบตะไบตะไบคมตัดคูสามารถตัดเฉือนเนื้องานไดรวดเร็วกวาตะไบลายตัดเดี่ยว แตใหความเรียบ ของผิวงานนอยกวา ดงั นัน้ เหมาะสําหรบั ตะไบลดขนาดชิ้นงานหรอื งานตะไบหยาบ เปนตน ดงั ภาพที่ 1.52 ภาพที่ 1.52 ลกั ษณะคมตัดคู 7.3.3 ลักษณะคมตัดโคง (Curved Cut File) คมตัดมีลักษณะเปนแถวโคงตัดขวางกับ ผิวหนาของตะไบและมีรองไวเพ่ือหักเศษวัสดุ ทําใหชวยปองกันการอุดตันของเศษวัสดุไดดี เหมาะสําหรับ ตะไบลดขนาดวสั ดุออ น เชน พลาสตกิ เปน ตน ดงั ภาพที่ 1.53 ภาพที่ 1.53 ลกั ษณะคมตดั โคง 7.3.4 ลักษณะคมตัดหยาบ (Rasp Cut File) คมตัดมีลักษณะเปนฟนยอดแหลมคลายฟน ของเคร่ืองมือชางไมท่ีใชตกแตงงานไมที่เรียกวา “บุง” คมตัดของตะใบลักษณะนี้จะใชกับวัสดุที่มีเน้ือออน เชน อลูมเิ นยี ม เปน ตน ดังภาพที่ 1.54 ภาพที่ 1.54 ลกั ษณะคมตัดหยาบ นอกจากลักษณะฟนของตะใบจะแบงเปน 4 ลักษณะแลว ยังสามารถแบงลักษณะความ หยาบละเอียดหรือระยะหางระหวางแถวของฟนตะใบไดอีก 6 แบบ คือ หยาบมาก (Rough) หยาบ (Coarse) หยาบปานกลาง (Bastard) ละเอียดปานกลาง (Second cut) ละเอียด (Smooth) และละเอียด มาก (Dead Smooth) ตวั อยางแสดงดังภาพท่ี 1.55

29 ละเอียด ละเอยี ดปานกลาง หยาบปานกลาง ภาพท่ี 1.55 ตัวอยา งลกั ษณะความหยาบละเอียดของฟนตะใบ 7.4 ชนิดของตะไบ ตะไบแบงตามรปู หนาตัดออกและลักษณะการใชงานไดเปนหลายชนิด โดยแตละชนิดจะมี ทั้งคมตดั เด่ยี ว คมตดั คแู ละคมตัดโคง มีฟน ละเอยี ด ฟนละเอียดมาก ฟนหยาบและฟนหยาบมาก ดังนี้ 7.4.1 ตะไบแบน (Flat File) ตะไบชนิดนี้มีหนาตัดเปนรูปสี่เหลี่ยมผืนผา ผิวหนาราบท้ัง สองดา นใชในการตะไบปรบั ผิวงานหนากวา งหรือตะไบลดขนาด นยิ มใชกบั งานท่ัวๆ ไป ดงั ภาพท่ี 1.56 รูปหนาตัด ภาพท่ี 1.56 ตะไบแบน 7.4.2 ตะไบสี่เหล่ียม (Square File) ตะไบชนิดนี้มีท้ังแบบเรียวและแบบขนานคมตัดสวน ใหญเปนแบบคมตัดคูใชในการตะไบปรับผิวมุมฉาก นอกจากน้ียังใชในการตะใบขยายขนาดรอง หรือรู ชนิ้ งานท่เี ปน ส่เี หลย่ี มจัตรุ สั หรอื ส่ีเหลี่ยมฝนผา ดงั ภาพที่ 1.57

30 รูปหนาตดั ภาพที่ 1.57 ตะไบส่ีเหลยี่ ม 7.4.3 ตะไบสามเหลี่ยม (Three Square File) ตะไบชนิดนี้ใชในการตะไบปรับผิวงาน ที่ เปนรอ งเหลี่ยมทม่ี มี ุมนอยกวา 90 องศา ดังภาพท่ี 1.58 รปู หนา ตัด ภาพที่ 1.58 ตะไบสามเหล่ียม 7.4.4 ตะไบกลม (Round file) มีช่ือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา ตะใบหางหนู (Rat Tail File) ตะไบชนิดนี้มีความเรียวจากหางไปยังปลายตะไบใชในงานตะไบปรับผิวงานท่ีเปนสวนโคง รองโคง และ ขยายขนาดรกู ลม ดังภาพที่ 1.59

31 รูปหนา ตัด ภาพท่ี 1.59 ตะไบกลม 7.4.5 ตะไบคร่ึงวงกลม (Half Round File) หรือเรียกอีกช่ือหนึ่งวา ตะใบทองปลิง ตะไบ ชนดิ น้ีมลี ักษณะเรยี วจากหางไปยงั ปลายตะไบ ผิวหนา ดานหนึ่งเรยี บใชในการตะไบปรับผิวงานเรียบ สว นผิว อีกดานหน่งึ เปน ผิวโคง ใชสาํ หรบั ปรับผวิ งานที่เปน โคง ดงั ภาพท่ี 1.60 รูปหนา ตัด ภาพที่ 1.60 ตะไบครงึ่ วงกลม 7.5 วธิ กี ารใชแ ละการบาํ รุงรกั ษาตะไบ 7.5.1 ตรวจสอบความสมบูรณข องตะไบกอ นการใชง าน 7.5.2 อยาใชตะไบท่ีไมประกอบดามจับหรือไมมีดาม เพราะอาจทําใหสวนปลายของหาง ตะไบทม่ิ แทงอุง มอื ขณะตะไบได 7.5.3 เลือกใชตะไบใหเ หมาะสมกับลักษณะการใชงาน 7.5.4 ขณะใชง านจะมีเศษผงโลหะบนช้ินงานติดอยใู นรองฟนของตะไบ ดังน้ันควรใชแปรง ขัดเศษผงโลหะออก เพ่ือปอ งกันไมใหผิวหนา งานเปนรอยขูดขีด 7.5.6 อยา ใชต ะไบแทนคอน 7.5.7 ขณะใชง านควรระมดั ระวังไมใ หตะไบหลน กระแทกพ้นื เพราะจะทําใหแ ตกหัก 7.5.8 อยา ใชนํ้ามนั หลอ ล่นื ทาบนผิวของตะไบ เพราะจะทาํ ใหค มของตะไบล่ืน

32 7.5.9 เมอ่ื เลกิ ใชง านใหทําความสะอาดฟนตะไบโดยใชแปรงขัด แลวเก็บเขาท่ีใหเรียบรอย ในช้นั วางหรอื ทีเ่ ก็บโดยเฉพาะ เพ่ือความเปนระเบยี บเรยี บรอ ยและควรแยกตะไบออกจากเครอ่ื งมอื ชนิดอนื่ 8. เล่อื ยตดั เหล็ก (Hacksaw) เล่ือยมือตัดเหล็กมีรูปรางลักษณะเปนโครงโลหะที่มีความยาวประมาณ 45 เซนติเมตร และความ กวางประมาณ 13 เซนติเมตร โครงเลื่อยมีดามจับที่มีรูปรางลักษณะคลายกลับดามปน สวนใบเล่ือยมีขนาด เล็ก บาง และมีการเจาะรูสองดานท่ีสวนปลายของใบเลื่อย ใชสําหรับประกอบติดต้ังใบเลื่อยเขากับโครง เล่ือย ซึ่งใชเกลียวหางปลาขันหรือคลายใบเลื่อยออกจากโครงเลื่อย สําหรับสวนที่ยึดใบเลื่อยนี้สามารถหมุน ไดเพื่อใหใบเล่ือยวางต้ังฉากกับโครงเลื่อยได ในการเลือกใชใบเล่ือยตองเลือกใบเล่ือยท่ีมีระยะระหวางฟน หรือระยะพิตช (Pitch) ใหเหมาะสมกับวัสดุช้ินงานท่ีนํามาเล่ือย และตองทําการปรับใบเล่ือยใหตรึงพอดี เพอ่ื ชวยใหการออกแรงเลอื่ ยไดโ ดยไมทําใหใบเลอ่ื ยหกั 8.1 สว นประกอบของเลอ่ื ยตัดเหล็ก เลื่อยตัดเหล็กที่นิยมใชในโรงฝกงานแบงออกเปนสองชนิด คือ เลื่อยตัดเหล็กแบบโครง เล่ือยปรับไดและเล่ือยตัดเหล็กแบบโครงเลอื่ ยคงที่ โดยมสี วนประกอบท่สี ําคญั ดังภาพที่ 1.61-1.62 โครงเล่อื ยแบบปรบั ได ดามจบั ใบเล่อื ย สกรแู ละนอตปรับตึงใบเลื่อย ภาพท่ี 1.61 เลือ่ ยตัดเหลก็ แบบโครงเลอ่ื ยปรับไดแ ละสวนประกอบ โครงเลือ่ ยแบบคงท่ี ดา มจบั สกรแู ละนอตปรับตึงใบเลอ่ื ย ใบเล่ือย ภาพท่ี 1.62 เล่อื ยตัดเหล็กแบบโครงเลอ่ื ยคงทแี่ ละสวนประกอบ

33 8.2 การใชและการบํารุงรกั ษาเลอ่ื ยตดั เหลก็ 8.2.1 ตรวจสอบสวนประกอบเล่ือยตัดเหล็กใหมีความพรอมกอนใชงาน เชน ความ สมบูรณของโครงเลอ่ื ยและฟนของใบเลื่อยมีความสมบูรณหรือไมเ ปน ตน 8.2.2 เลือกใบเล่ือยท่ีมีระยะพิตชถูกตองเหมาะสมกับความหนาและชนิดของวัสดุชิ้นงาน และตองใหฟนเลื่อยวางบนหนาตัดชิ้นงานท่ีจะเลื่อยไมนอยกวา 3-4 ฟน เพราะถาความหนาของช้ินงานไม พอ อาจทาํ ใหฟน เลอ่ื ยสะดดุ และหกั ได 8.2.3 ประกอบใบเลอ่ื ยเขากับโครงเลื่อยใหถกู ตองและขันใบเลื่อยใหต งึ พอดี 8.2.4 จับยึดช้ินงานเล่ือยใหม่ันคงแข็งแรงและถูกตองเหมาะสมกับรูปทรงของชิ้นงานเพื่อ ปองกันไมใหแ นวเลอื่ ยเอียงและใบเลือ่ ยหกั 8.2.5 ยืนเล่ือยโดยวางตําแหนงของเทาซายและเทาขวาใหถูกตอง คือ วางเทาใหยืนหาง จากปากกาจับช้ินงานพอประมาณ ตําแหนงเทาซายและเทาขวาหางกันประมาณ 30-40 เซนติเมตร ปลาย เทาขวาอยูในแนวทาํ มุม 60 องศากบั แนวเลือ่ ยสวนปลายเทา ซา ยวางอยูใตงานและใตปากกาจับชิน้ งาน 8.2.6 การจับโครงเลื่อย ใชมือขางที่ถนัดจับดามจับและมืออีกขางจับสวนปลายของโครง เล่ือยเพื่อประคองใหใบเลื่อยเคล่ือนที่ไป-กลับใหตรงและเคล่ือนใบเล่ือยจะตองใหเปนจังหวะไมกระแทกกับ ชิน้ งาน 8.2.7 การเริ่มตนการเล่ือย ใหตั้งฟนเลื่อยทํามุมกับผิวหนาของชิ้นงานประมาณ 10 องศา และเรมิ่ ตน เคลอื่ นทีใ่ บเล่ือยไปขา งหนา เบาๆและชา ๆอยางสมา่ํ เสมอ 8.2.8 การเร่ิมตนการเล่ือยใบเล่ือยอาจลื่นไถลออกจากตําแหนงท่ีตองการเลื่อย ซ่ึงจะทํา ใหการเล่ือยไมตรงตามตําแหนงที่ตองการ วิธีการแกไขอาจทําไดโดยใชนิ้วหัวแมมือวางจิกตามแนวท่ีขีดทํา เคร่ืองหมายไวแลววางใบเลอื่ ยจรดตามแนวทข่ี ดี เสน รา งไว โดยใหใ บเลอ่ื ยตง้ั ฉากกับชิน้ งานและตรงตามแนว ท่ีตองการเล่ือยจากน้ันคอยๆเคล่ือนใบเล่ือยชาๆพรอมออกแรงเล่ือยกดเบาๆเพ่ือประคองใบเลื่อยใหตั้งฉาก แลวเคล่ือนใบเล่ือยจนไดรองเลื่อยลึกพอที่จะทําใหใบเลื่อยไมล่ืนไถลแลวจึงยกหัวแมมือออกเพ่ือเลื่อยงาน ตอ ไป 8.2.9 ขณะเล่ือยควรชักโครงเลื่อยในการเลื่อยตลอดความยาวของใบเลื่อย เพ่ือใหคมของ ใบเล่อื ยสึกหรอเทากัน 8.2.10 การเล่ือยช้ินงานท่ีเปนแผนโลหะบาง ควรหาแผนไมรองเพื่อเพิ่มความหนาและลด เสยี งดังขณะทาํ การเล่ือย 8.2.11 การเล่ือยชิ้นงานตามแนวยาว ใหปรับใบเล่ือยต้ังฉากกับโครงเล่ือย เพ่ือไมให ชนิ้ งานยันโครงเล่อื ย เม่ือสุดระยะการเลอื่ ยชิ้นงานตามแนวยาวแลว ใหปรับใบเลื่อยตั้งฉากกบั โครงเล่ือยเพื่อ ไมใหช้นิ งานยันโครงเลื่อย 8.2.12 เมื่อเล่ือยจนกระท่ังชิ้นงานใกลจะขาดออกจากกัน ใหลดความเร็วการชักใบเลื่อย และแรงกดใบเลือ่ ยลงอยา งชาๆ 8.2.13 ขณะชักโครงเล่ือยกลับหามใชแรงกดใบเล่ือย แตออกแรงดึงกลับเบาๆ โดยไมตอง ยกโครงเล่ือยข้ึน 8.2.14 ขณะเลือ่ ยอยาออกแรงกระแทกหรอื บดิ โครงเลอื่ ยเพราะอาจทาํ ใหใ บเล่อื ยหักได 8.2.15 เมื่อเลิกใชงานใหคลายสกรูและนอตหางปลาออกเล็กนอย เพื่อคลายความตึงของ ใบเลอ่ื ยใหอยูในสภาพปกติ

34 8.2.16 เมื่อเลิกใชงานใหทําความสะอาดแลวหยอดน้ํามันท่ีสกรูและนอตหางปลาเพื่อ ปองกันสนิม แลวเก็บเขาท่ีใหเรียบรอยในชั้นวางหรือที่เก็บโดยเฉพาะ เพ่ือความเปนระเบียบเรียบรอยและ แยกเลื่อยตดั เหล็กออกจากเคร่อื งมอื ชนดิ อื่น 9. เครอ่ื งมอื ทาํ เกลียว (Tap and Die) การทําเกลียวดวยมือ แบงออกเปนสองชนิด คือ การทําเกลียวในและการทําเกลียวนอก โดย เคร่ืองมือท่ีใชในการทําเกลียวในเรียกวา “ตาป” (Tap) ซ่ึงมีรูปรางคลายสลักเกลียวหมุนลงในรูเจาะที่ เตรียมไวเพื่อตัดเน้ืองานออกและเม่ือหมุนตาปออกจากเน้ืองานจะไดเกลียวภายในรูเจาะนั้น สวนการทํา เกลียวนอกจะใชเครื่องมือที่เรียกวา “ดาย” (Die) ซ่ึงมีรูปรางเปนวงกลม มีรูเจาะและคมตัดอยูภายในหมุน ตัดลงในเนื้องาน รูปทรงกระบอกใหเปนเกลียว และเมื่อหมุนดายออกจากเน้ืองานก็จะเปนเกลียวท่ีมี รปู รางคลา ยสลักเกลยี ว ดังภาพท่ี 1.63 (ก) ดอกทําเกลยี วนอก (ข) ดอกทาํ เกลียวใน ภาพท่ี 1.63 เครอื่ งมือทําเกลียวในและเกลยี วนอก 9.1 ดอกทําเกลยี วใน (Tap) ดอกทาํ เกลียวในหรือเรยี กวา “ตา ป” มที ้ังระบบเมตรกิ และนว้ิ โดยดายหนึ่งชุดมีจํานวน สามดอก ซงึ่ แตล ะดอกมหี นา ท่ดี งั น้ี 9.1.1 ดอกเรียว (Taper Tap) หรือดอกตัดนํา เปนดอกแรกท่ีใชในการหมุนตัด ลําตัวมี รูปรางเรียวที่สวนปลายประมาณ 4 องศา โดยความยาวเรียวประมาณ 8-10 ฟนของเกลียวหรือขึ้นอยูกับ ระยะพิตชของเกลียวซ่ึงการทําเรียวท่ีปลายของดอกทําเกลียวนี้ก็เพ่ือใหงายในการตัดเกลียวรอบแรกและ ชวยประคองใหด อกทาํ เกลยี วหมนุ ลงตรงแนวแกนของรูเจาะ คมตัดของดอกเรียวนี้จะตัดรองเกลียวไดความ ลกึ ประมาณรอยละ 55 ของความลึกเกลียวทั้งหมด 9.1.2 ดอกตาม (Plug Tap) หรือดอกตัดกลาง ลาํ ตัวมีรูปรา งเรียวประมาณ 10 องศา โดย ความยาวเรียวประมาณ 3-4 ฟน ใชทําเกลียวตอจากดอกเรียว คมตัดของดอกตามน้ีจะตัดรองเกลียวได ความลกึ เพิ่มขึน้ อกี ประมาณรอยละ 30 ของความลกึ เกลียวท้ังหมด 9.1.3 ดอกสุดทาย (Bottoming Tap) หรือดอกตัดสําเร็จ สวนปลายดอกสุดทายทําการ ลบมุมประมาณ 20 องศา เพื่อใหทําเกลียวไดความลึกมากที่สุดและทําใหเกลียวแหลมคม คมตัดของดอก สดุ ทายนีจ้ ะตดั รอ งเกลยี วไดความลกึ ประมาณรอยละ 15 ของความลึกเกลยี วทัง้ หมด

35 (ก) ดอกเรยี ว (Taper Tap) (ข) ดอกตาม (Plug Tap) (ค) ดอกสดุ ทาย (Bottom Tap) ภาพที่ 1.64 เคร่อื งมือทาํ เกลียวใน ในการทําเกลียวในจะใชดามจับดอกทําเกลียว (Wrench Tap) เพื่อใหมีแรงในการจับยึด และหมุนดอกทําเกลียวในขณะทําเกลียว ดามจับที่มีใชงานอยางแพรหลายแบงออกเปนสองชนิด คือ ดาม จับแบบปากเลื่อน ใชจับดอกทําเกลียวท่ีมีขนาดปานกลางถึงขนาดใหญ โดยมีหลายขนาดใหเลือกใชไดแก เบอร 1 เบอร 2 และเบอร 3 ฯลฯและดามจับแบบตัวทีใชสําหรับจับดอกทําเกลียวขนาดเล็กและใชแรงใน การหมนุ ตัดนอ ย (ก) ดามจับดอกทาํ เกลียวในแบบปากเลอ่ื น (ข) ดามจบั ดอกทาํ เกลยี วในแบบตวั ที ภาพที่ 1.65 ดามจบั ดอกทําเกลยี วใน 9.2 ดอกทาํ เกลยี วนอก (Die) เคร่ืองมือทําเกลียวนอกหรือเรียกวา “ดาย” มีทั้งระบบเมตริกและน้ิวดายแบงออกไดเปน สองชนดิ คือดายชนดิ ตายตวั (Solid Type) และดายชนิดปรบั ได (Adjustable Type) ดงั ภาพที่ 1.66

36 สกรปู รับระยะ (ก) ดายชนิดตายตวั (ข) ดายชนิดปรบั ได ภาพที่ 1.66 ดอกทําเกลยี วนอก ในการทําเกลียวนอกจะใชดามจับดอกทําเกลียวนอก (Die Handle) เพื่อใหมีแรงในการจับยึดและ หมนุ ดายในขณะทําเกลยี ว ดังภาพที่ 1.67 ภาพท่ี 1.67 ดามจับดาย 9.3 การใชและบาํ รงุ รกั ษาดอกทําเกลียวใน 9.3.1 ตรวจสอบความสมบูรณข องดอกทําเกลียวในกอ นใชงาน เชน ฟนดอกทําเกลียวไมมี รอยรา วหรือแตกหกั 9.3.2 รูเจาะท่ีจะทําเกลียวใน ตองไดขนาดที่ถูกตอง เพราะถารูเจาะมีขนาดเล็กเกินไปจะ ทําใหการหมุนดอกทําเกลียวใน ตองออกแรงมาก การคายเศษทําไดลําบากและอาจทําใหหักในรูเจาะได และถา เจาะรูใหญเกนิ ไปจะทาํ ใหไ ดย อดเกลยี วสน้ั ไมแ หลมคมและจบั ยึดไดไมแนน เปน ตน 9.3.3 เรียงลําดับการใชดอกทําเกลียวใหถูกตองโดยเริ่มตนจากดอกเรียวหรือดอกตัดนํา เปน ดอกแรก จากนนั้ ใชดอกตามหรือดอกตดั กลางและดอกสดุ ทายหรือดอกตดั สําเร็จตามลาํ ดับ 9.3.4 ตรวจสอบความฉากของแนวดอกทําเกลียวกบั ช้ินงานอยา งสมาํ่ เสมอ 9.3.5 การออกแรงกดและหมนุ ดา มจับดอกทาํ เกลยี วในตองหมนุ ใหถ กู วิธอี ยางสมํา่ เสมอ 9.3.6 ทําการหยอดนา้ํ มนั หลอล่นื ขณะทาํ เกลียวในบอ ยๆ 9.3.7 ในขณะทาํ เกลยี วในตองหมุนดอกทําเกลียวในกลับเพ่อื คายเศษบอ ยๆ 9.3.8 เม่ือเลิกใชงานใหทําความสะอาดดอกทําเกลียวใน โดยใชแปรงปดเศษโลหะท่ี ตดิ ตามรอ งฟน เกลียว แลว จดั เกบ็ เขากลองหรือทจ่ี ัดเกบ็ ใหเ รยี บรอ ย และแยกออกจากเครอ่ื งมือชนิดอ่นื

37 9.4 การใชแ ละบํารงุ รกั ษาดอกทําเกลียวนอก 9.4.1 ตรวจสอบความสมบูรณของดอกทาํ เกลียวนอกกอ นใชงาน เชน ฟนดอกทาํ เกลียว ไมม ีรอยราวหรือแตกหกั 9.4.2 ขนาดของเพลาหรือสลักที่จะนํามาทําการดาย จะตองไดขนาดที่ถูกตอง เพราะถามี ขนาดโตเกินไปจะทําใหการทําเกลียวยาก และอาจเปนสาเหตุใหดอกทําเกลียวนอกแตกได และถาขนาด ของเพลาเล็กเกนิ ไปจะทําใหยอดเกลยี วส้นั ยอดเกลยี วไมแหลม และจบั ยึดไดไ มแนน เปนตน 9.4.3 การเร่ิมตนทําเกลียวนอก ตองใหดอกทําเกลียวนอกขยายกวางสุด แลวจึงคอยๆ ปรบั ใหแ คบลงเพอื่ ใหยอดเกลียวแหลมคม 9.4.4 ตรวจสอบแนวการเคล่ือนที่ตัดของดอกทําเกลียวนอก โดยใหเคล่ือนท่ีต้ังฉากกับ แนวแกนของชิ้นงาน และอยาใหเ อียงไปดานใดดา นหนึง่ 9.4.5 ออกแรงกดและหมุนดา มทาํ เกลยี วนอกสม่าํ เสมอและเทา กันทัง้ สองดาน 9.4.6 หยอดนาํ้ มันหลอลืน่ ขณะทําเกลยี วนอก 9.4.7 ขณะทําเกลียวนอกใหหมุนดอกทําเกลียวกลับบอยๆ เพ่ือคายเศษและปรับยอด เกลียวใหเรียบ 9.4.8 เมื่อเลิกใชงานใหทําความสะอาดดอกทําเกลียวนอกโดยใชแปรงปดเศษโลหะที่ ตดิ ตามรอ งฟน เกลยี ว แลวจัดเก็บเขากลอ งหรอื ที่จัดเก็บใหเ รยี บรอ ย และแยกออกจากเครื่องมอื ชนิดอ่นื 10. เหล็กนําศูนย (Center Punch) เหล็กนําศูนย มีลักษณะเปนแทงเหล็กกลมหรือรูปหกเหล่ียม มีปลายดานหนึ่งที่เรียวเล็กลงใช สาํ หรับตอกใหเ กิดรอยบมุ เล็กๆ ลงบนช้นิ งานเพ่ือใชแสดงตําแหนง ขนาดหรอื เพ่อื เรม่ิ ตน เจาะ 10.1 สว นประกอบของเหล็กนําศนู ย เหลก็ นาํ ศูนย มีสว นประกอบที่สําคญั ดังภาพที่ 1.68 หัว กานตรง ปลาย กานเรยี ว ภาพที่ 1.68 เหล็กนาํ ศนู ยแ ละสวนประกอบ

38 10.2 การใชแ ละบาํ รุงรักษาเหลก็ นําศูนย 10.2.1 ตรวจสอบความสมบูรณของเหล็กนําศูนยกอนนําไปใชงาน เชน ปลายมีลักษณะ เปน กรวยแหลมไดม มุ ที่ถกู ตองและสวนหวั ไมมีรอยเยินหรือบานคลายดอกเห็ด เปนตน 10.2.2 ถาหัวของเหล็กนําศูนยเยินหรือบานออกเปนดอกเห็ด ควรเจียระไนใหอยูในสภาพ สมบรู ณกอนการใชง าน 10.2.3 จับยึดชิ้นงานใหแนน และมนั่ คง 10.2.4 จับประคองเหลก็ นําศนู ยดวยมือขา งท่ีไมถ นัด 10.2.5 จรดปลายเหล็กนําศูนยลงบนตําแหนงที่ตองการขณะเดียวกันใหวางหรือพักอุงมือ นิว้ กอยลงบนแผนงาน 10.2.6 จบั เหลก็ นําศนู ยใ หต ้ังฉากกับชิ้นงานโดยคอยๆต้งั ลําตวั เหลก็ นําศนู ยขึน้ 10.2.7 ใชคอนตอกลงบนหัวเหล็กนําศูนยเบาๆ กอน เพราะถาตอกผิดพลาดไมตรง ตาํ แหนง จะสามารถแกไ ขได 10.2.8 เม่ือไดรอยตอกตรงตําแหนงที่ตองการแลวใหนําปลายเหล็กตอกนําศูนยวางลงไป ในตําแหนงเดิม แลวจึงตอกใหแรงอีกคร้ังหนึ่งการตอกเหล็กนําศูนยจะตองใหแนวกระแทกของคอนอยูใน แนวเดียวกันกับทิศทางของเหล็กนําศูนยและขณะทําการตอกนั้น สายตาจะตองจองมองไปท่ีจุดปลายของ เหลก็ นาํ ศูนย 10.2.9 เม่ือเลิกใชงานใหทําความสะอาดและชโลมนํ้ามันเพ่ือปองกันสนิม แลวจัดเก็บเขา กลอ งหรือที่จัดเก็บใหเรียบรอ ย และแยกออกจากเคร่อื งมือชนิดอื่น 11. กรรไกรตัดโลหะแผน (Snip) กรรไกรตัดโลหะแผน สวนมากใชเปนเครื่องมือในการตัดโลหะแผนบาง (Sheet Metal) เทาน้ันการตัดแผน โลหะดว ยกรรไกรจะสะดวก งาย และประหยัดกวาการตัดดวยสกัด ความสามารถของกรรไกรขึ้นอยูกับการ ออกแบบกรรไกร ความหนา และความแข็งแกรงของโลหะแผนที่จะนํามาตัด กรรไกรมีหลายชนิด ซ่ึง ผูปฏิบัติงานดานโลหะแผนตองพิจารณาเลือกใชใหถูกตอง และเหมาะสมกับลักษณะงาน การตัดน้ันมี0 2 แบบใหญ ๆ คือ0 ตัดตรง0 ตดั โคง0 (ตัดโคงซา ย และตดั โคง ขวา) 11.1 สว นประกอบของกรรไกรตดั โลหะแผน กรรไกรตดั โลหะแผนมหี ลายชนดิ ดวยกัน แตม สี ว นประกอบทีส่ ําคัญเหมอื นๆ กนั ดังภาพ ที่ 1.69

39 ดามจบั ใบตดั ภาพที่ 1.69 กรรไกรตัดโลหะแผน มสี วนประกอบ 11.2 ชนดิ ของกรรไกรตดั โลหะแผน กรรไกรตดั โลหะแผนแบงตามลกั ษณะการใชง านไดหลายชนดิ ดงั น้ี 11.2.1 กรร21 ไกรแฮ็คบิล (Hawk Bill Snips) ใบตัดมีลักษณะโคงเรียว และเล็ก ใชในการ ตัดโคงเทานั้น เหมาะสําหรับตัดโคงภายใน และโคงภายนอกของวงกลมที่มีขนาดเล็ก และแคบ สามารถตัด เหลก็ แผนไดห นาถงึ เบอร 18 นบั ต้ังแตก รรไกรแบบอะเวียชนั (Avation) เขา มาใชใ นงานโลหะแผน สามารถ ทาํ งานไดดีกวากรรไกรแฮ็คบิล ปจ จบุ นั จงึ ไมค อ ยเห็นโรงงานอุตสาหกรรมทว่ั ไป ดังภาพที่ 1.70 ภาพที่ 1.70 21กรรไกรแฮค็ บลิ 11.2.2 กรรไกรตัดตรง (Straight Snip) เปนกรรไกรชนิดที่มีการตัดขวางของคมตัดเปน แนวเสนตรงตลอดใชสาํ หรับงานตัดโลหะตามแนวเสน ตรงเทานนั้ ดงั ภาพที่ 1.71 ภาพที่ 1.71 กรรไกรตัดตรง

40 11.2.3 กรรไกรตดั โคง (Circular Snips) ใบตัดของกรรไกรจะมีลักษณะโคงเล็กนอย (โคง นอยกวา กรรไกรแฮค็ บิล) ใชตัดงานโคง หรือวงกลมท่ีมีขนาดโตกวาการตัดดวยกรรไกรแฮ็คบิล สามารถตัด ไดทั้งโคงซา ย และโคงขวา สามารถตดั โลหะแผน ไดห นาถงึ เบอร 22 ดงั ภาพท่ี 1.72 ภาพท่ี 1.72 กรรไกรตัดโคง 11.2.4 กรรไกรบูลด็อก0 (Bulldog Snip) เปนกรรไกรผสม (Compound Snip) ชนิด หนึ่ง สามารถตัดไดท้ังเสนตรงและเสนโคง ดามจะยาวมากเม่ือเปรียบเทียบกับใบตัด ตัดทําดวยเหล็กกลา คารบอนอยางดี0 แขนท่ียาวจะชวยในการผอนแรง ดังนั้นดวยใบตัดซ่ึงเปนคมตัดที่แข็งแรง และแขนที่ยาว จึง ทําใหกรรไกรบูลด็อกสามารใชตัดโลหะแผนท่ีมีความแข็ง และความหนาไดดี สามารถตัดโลหะแผนได หนาถึงเบอร0 16 ดังภาพท่ี 1.73 ภาพที่ 1.73 กรรไกรบลู ดอ็ ก 11.2.5 กรรไกรอะเวียชนั (Aviation Snips) กรรไกรชนดิ นป้ี จจบุ นั นิยมใชกันมากเน่ืองจาก มีนํ้าหนักเบา ขนาดเล็กกะทัดรัด มีความสามารถตัดงานไดหนาเทากับกรรไกรขนาดใหญได กรรไกรชนิดนี้ ไดร ับการออกแบบมาเปนอยา งดี มีการเพ่มิ จดุ หมนุ และแขน เพ่อื ชวยในการผอนแรง น่ันคือมีจุดหมุน0 2 จุด มีความยาวลอดลําตัวเพีย21ง 8 นิ้ว เทานั้น แตสามารถตัดแผนเหล็กไดถึงเบอ21ร 18 กรรไกรชนิดน้ีแบง ประเภทของการตัดไวชัดเจน มี0 3 แบบ คือ0 ชนิดตัดตรง0 (Straight Cutting ) สังเกตไดจากดาม บรษิ ัทผูผลิตจะกําหนดไวเปนสเี หลือง ชนิดตัดโคง ซา ย (Left Curve Cutting ) ดามจะมีสีแดง และ21ชนิดตัด โคง ขวา0 (Right Curve Cutting ) ดา มจะมสี ีเขยี ว ดังภาพที่ 1.74

41 (ก) กรรไกรตัดตรง (ข) กรรไกรตดั โคง ซา ย (ค) กรรไกรตัดโคง ขวา ภาพที่ 1.74 กรรไกรอะเวยี ชนั 11.2.6 กรรไกรประกอบแขนผอนแรง (Compound Lever Snip) กรรไกรตัดตรงชนิดน้ี โครสรางมีความแข็งแรงสูง แขนกดตัดดานบนจะทําเปนจุดหุนตอดวยแขนขนาดสั้น แขนตอสั้นและจุด หมุนนี้จะชวยในการผอนรงกดตัดไดดี สามารถกดตัดงานที่มีความหนามาก ๆ ไดใบตัดจะประกอบยึดดวย สกรู สามารถถอดเปลยี่ น หรือนํามาลบั ใหค มไดบ ริเวณปลายแขนดา นลา งจะมีลักษณะงอ เพ่ือท่ีจะปกลงบน รูของโตะ เพื่อใชในการกดตัด เน่ืองจากระยะหางของนิ้วไมกวางเพียงพอ จึงไมสามารถใชมือบีบตัดได สาม รถตัดแผน เหลก็ ไดหนาถึงเบอร0 13 ดงั ภาพที่ 1.75 ภาพท่ี 1.75 กรรไกรประกอบแขนผอนแรง 11.2.7 กรรไกรคมตัดค0ู (Double Cutting Snip) กรรไกรชนิดนี้เปนกรรไกรตัดตรงชนิด หนึ่งดานบนจะมีคมตัด0 2 คมตัดคูขนานกันอยูขณะทําการตัดคมตดใบลางจะสอดเขาไปในคมตัดคูบนนั้น กรรไกรชนิดน้ีสวนมากจะใชในการตัดตรงทอกลม เพราะคมตัด0 2 คมตัดดานบนจะชวยประคองทอไดเปน อยางดขี ณะกดตัด ทาํ ใหร อยตัดของทอไมบิด หรือยนยู ดังภาพท่ี 1.76

42 ภาพท่ี 1.76 กรรไกรคมตัดคู 11.2.8 กรรไกรโยก (Lever Shear) เหล็กแผน ทม่ี ีความหนามาก ต้ังแต0 2 มม. ขึ้นไปเปน การยากที่จะตัดกรรไกรมอื เม่ือเปน เชนนเี้ ครื่องมอื ที่จะชว ยในการตัดไดคอื กรรไกรโยก ดงั ภาพท่ี 1.77 ภาพที่ 1.77 กรรไกรโยก 11.2.9 กรรไกรไฟฟา0 (Electric Sheet Metal Shear) เปนกรรไกรท่ใี ชไ ฟฟาเปนพลังงาน ชวยใหมอเตอรทํางาน และมอเตอรจะไปขับใหคมตัดทํางานในลักษณะข้ึนลงสามารถตัดแผนโลหะใน ระยะทางยาวไดดี ในขณะทีก่ รรไกรชนดิ ธรรมดาไมสามารถกระทําได ดงั ภาพท่ี 1.78 ภาพท่ี 1.78 กรรไกรไฟฟา

43 11.3 การใชและบาํ รุงรักษากรรไกรตัดโลหะแผน 11.3.1 ตรวจสอบสภาพความพรอมกรรไกรใหกอนนําไปใช เชน มีใบตัดคม ไมมีรอยราว หรือแตกหกั มดี า มจบั ที่สมบรู ณ มน่ั คงแขง็ แรง หามใชกรรไกรที่มีสภาพไมส มบรู ณห รอื ชาํ รุดเปน ตน 11.3.2 เลอื กใชชนิดของกรรไกรใหถ ูกตอ ง เหมาะสมตามลกั ษณะของงาน เชน การตดั ตรง การตัดโคงซายและการตดั โคง ขวา เปนตน 11.3.3 ไมใ ชกรรไกรตดั แผน งานท่ีมีความหนาเกนิ ขนาดท่ีกรรไกรนัน้ สามารถตัดได 11.3.4 เม่ือเลิกใชงานใหทําความสะอาดกรรไกรและชโลมน้ํามันเพ่ือปองกันสนิม แลว จดั เก็บเขากลองหรอื ท่ีจดั เก็บใหเรียบรอ ยโดยแยกออกจากเครื่องมอื ชนิดอ่ืน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook