Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทที่ 10 จริยธรรมคอมพิวเตอร์

บทที่ 10 จริยธรรมคอมพิวเตอร์

Published by porntida.j, 2020-06-27 07:06:41

Description: PPT-10 Unit 10

Search

Read the Text Version

ส่อื การเรยี นรู้ รายวชิ า คอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศเพื่องานอาชพี เขา้ สู่บทเรียน

ความหมายของจรยิ ธรรม จรยิ ธรรมในการใช้คอมพิวเตอร์ หมายถึง หลกั ศีลธรรมจรรยาท่กี าหนด ขน้ึ เพอ่ื ใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละสารสนเทศ ในทางปฏิบตั ิ แล้วการระบวุ า่ การกระทาสิง่ ใดผิดจรยิ ธรรมนน้ั เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์จะมีประโยชน์มากมายคอมพวิ เตอรก์ ็อาจจะ เป็นภยั ไดเ้ ช่นกนั หากผู้ใชไ้ มร่ ะมัดระวงั หรอื นาไปใช้ในทางทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง ดงั นั้น ใน การการใชง้ านคอมพิวเตอร์รว่ มกนั ในสงั คมกฎหมายท่ีใชเ้ ปน็ แนวทางในการ ปฏิบตั ิ เพอ่ื ใหเ้ กิดจริยธรรม ในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศ การกระทาทย่ี อมรับ กันโดยทว่ั ไปว่าเป็นการกระทาทผ่ี ดิ จรยิ ธรรม เช่น - การใช้คอมพิวเตอรท์ าร้ายผู้อ่นื ใหเ้ กดิ ความเสียหาย - การใช้คอมพวิ เตอร์ในการขโมยขอ้ มลู - การเข้าถงึ ขอ้ มูลหรอื คอมพวิ เตอร์ของผอู้ ืน่ โดยไม่ได้รบั อนญุ าต - การละเมดิ ลิขสทิ ธิ์

ประเภทของจรยิ ธรรม 1. จรยิ ธรรมภายนอก เป็นจริยธรรมที่บุคคลแสดงออกทางพฤติกรรม ภายนอกท่ปี รากฏใหเ้ หน็ อยา่ งชดั เจน เช่น ความรับผิดชอบ ความเป็นระเบียบ เรียบรอ้ ย ความมวี ินยั

ประเภทของจรยิ ธรรม 2. จรยิ ธรรมภายใน เปน็ จริยธรรมที่เก่ียวข้องกับความรสู้ กึ นกึ คดิ หรอื ทัศนคติของบคุ คลตามสภาพของจติ ใจและสภาวะแวดลอ้ ม เชน่ ความซอ่ื สตั ย์ ความยุตธิ รรม ความเมตตากรุณา

บทบาทและหนา้ ที่ของนักคอมพวิ เตอร์ นักคอมพิวเตอร์ คือ ผู้มีความรู้และเช่ียวชาญในด้านวิทยาการ คอมพวิ เตอร์ และนาความร้ทู ีไ่ ด้ศกึ ษาอบรมมาเป็นอย่างดีมาใช้ประโยชน์ในการ ดาเนนิ อาชพี ตลอดจนพฒั นาความรู้ของตนเองใหก้ า้ วหน้าอยเู่ สมอๆ

บทบาทและหนา้ ท่ขี องนักคอมพวิ เตอร์ บทบาท หมายถึง พฤติกรรมหรือการกระทาท่ีบุคคลแสดงออกตาม ตาแหน่งหน้าที่ที่ตนได้รับ การแสดงออกน้ันย่อมผูกพันกับความรับผิดชอบของ ผูด้ ารงตาแหนง่ กบั ความคาดหวงั ของผอู้ ื่นท่ีมีส่วนเก่ยี วขอ้ งกบั ตาแหนง่ นัน้

บทบาทและหน้าที่ของนกั คอมพิวเตอร์ หนา้ ทีข่ องนกั คอมพวิ เตอร์ หมายถึง กิจทน่ี กั คอมพวิ เตอร์ พึงกระทาโดยอาศัยหลกั คุณธรรม จริยธรรมกฎหมาย หรือข้อตกลงตา่ งๆ กไ็ ด้

จรยิ ธรรมในการประกอบอาชีพคอมพวิ เตอร์ - ทาเพอ่ื สงั คม และบุคคล - ไม่ทารา้ ยผู้อนื่ - ยตุ ธรรมและไม่ทาการใดๆ ที่เปน็ การกดี กนั - ซอ่ื สตั ย์ และเป็นทไี่ ว้วางใจ - การเกบ็ รักษาความลบั

บญั ญัติ 10 ประการผขู้ องใช้คอมพวิ เตอร์ - ไม่ใชค้ อมพิวเตอร์ทาร้ายหรอื ละเมดิ ผอู้ นื่ - ไม่รบกวนการทางานของผู้อ่นื - ไม่สอดแนมหรอื แกไ้ ขเปิดดูในแฟ้มของผ้อู ่ืน - ไม่ใช้คอมพวิ เตอร์เพอ่ื การโจรกรรมข้อมูลขา่ วสาร - ไม่ใชค้ อมพวิ เตอรส์ ร้างหลักฐานท่ีเป็นเท็จ - ไม่คัดลอกโปรแกรมผอู้ ่นื ทมี่ ลี ขิ สทิ ธิ์ - ไม่ละเมิดการใช้ทรพั ยากรคอมพิวเตอรโ์ ดยที่ตนเองไมม่ สี ทิ ธ์ิ - ไม่นาเอาผลงานของผู้อืน่ มาเปน็ ของตน - ต้องคานึงถึงสง่ิ ท่จี ะเกิดขึ้นกบั สงั คมอนั ตดิ ตามมาจากการกระทา - ตอ้ งใชค้ อมพวิ เตอร์โดยเคารพกฎระเบยี บ กตกิ ามารยาท

มารยาทในการใชร้ ะบบเครอื ขา่ ยและอินเทอรเ์ นต็ 1 • ไม่ควรสง่ จดหมายขา่ วลอื หรอื จดหมายลูกโซ่ 2 • ไมค่ วรตั้งช่ือ URL โดยใชอ้ ักษรหลายขนาดปะปนกนั • ไมใ่ ส่รปู ทมี่ ีขนาดใหญ่ในเว็บเพจเพราะจะทาให้ผใู้ ช้งานเสียเวลาการ 3 เรียกดู • เมอ่ื ต้องการลิงก์เว็บเพจท่สี ร้างไปยงั เว็บเพจของผอู้ น่ื ควรแจ้งให้ 4 เจ้าของเว็บเพจทราบดว้ ยทกุ ครงั้ • ไมค่ วรเผยแพรข่ อ้ ความหรอื รปู ภาพทเ่ี ขา้ ข่ายลกั ษณะอนาจารลงใน 5 เว็บไซต์

ความเป็นสว่ นตวั (Information Privacy) ความเป็นส่วนตวั ของขอ้ มูลและสารสนเทศ โดยท่ัวไปหมายถึง สทิ ธิที่จะ อยตู่ ามลาพงั และเปน็ สิทธิทเี่ จา้ ของสามารถท่ีจะควบคมุ ขอ้ มูลของตนเองในการ เปดิ เผยให้กับผูอ้ ื่น สิทธนิ ้ีใชไ้ ด้ครอบคลุมท้งั ปจั เจกบุคคล กลมุ่ บุคคล และองคก์ าร ต่างๆปัจจบุ ันมีประเด็นเก่ียวกับความเปน็ สว่ นตัวทเี่ ปน็ ขอ้ หน้าสงั เกตดงั น้ี 1.การเขา้ ไปดขู อ้ ความในจดหมายอิเล็กทรอนกิ ส์และการบันทกึ ขอ้ มลู ใน เครอื่ งคอมพวิ เตอร์ รวมทัง้ การบันทึก-แลกเปล่ียนขอ้ มลู ท่ีบุคคลเขา้ ไปใช้บริการ เว็บไซตแ์ ละกล่มุ ข่าวสาร

ความเปน็ สว่ นตวั (Information Privacy) 2.การใช้เทคโนโลยใี นการตดิ ตามความเคลอ่ื นไหวหรอื พฤตกิ รรมของบคุ คล เชน่ บริษทั ใช้คอมพิวเตอร์ในการตรวจจับหรือเฝา้ ดูการปฏบิ ัติงาน/การใชบ้ รกิ ารของ พนกั งานถงึ แม้ว่าจะเป็นการติดตามการทางานเพื่อการพัฒนา คณุ ภาพการใช้บริการแต่กจิ กรรมหลายอย่างของพนกั งาน ซงึ่ การกระทาเชน่ นถ้ี อื เปน็ การผดิ จริยธรรม 3.การใช้ข้อมูลของลกู ค้าจากแหล่งต่างๆ เพอ่ื ผลประโยชนใ์ นการขยายตลาด

ความเปน็ สว่ นตัว (Information Privacy) 4.การรวบรวมหมายเลขโทรศพั ท์ ทีอ่ ยูอ่ ีเมล์ หมายเลขบัตรเครดิต และ ข้อมูลสว่ นตวั อน่ื ๆ เพื่อนาไปสร้างฐานข้อมูลประวตั ิลูกคา้ ขน้ึ มาใหม่ แลว้ นาไปขาย ให้กับบรษิ ทั อื่น ดงั นั้น เพ่ือเป็นการป้องกันการละเมิดสิทธิความเป็นส่วนตัวของ ข้อมลู และสารสนเทศ จึงควรจะต้องระวังการใหข้ ้อมลู โดยเฉพาะการใช้ อินเตอรเ์ นต็ ท่ีมีการใช้โปรโมชน่ั หรือระบุใหม้ ีการลงทะเบยี นกอ่ นเข้าใช้บรกิ าร เชน่ ข้อมลู บัตรเครดิต และท่อี ย่อู เี มล์

ความถูกตอ้ ง (Information Accuracy) ในการจดั ทาขอ้ มูลและสารสนเทศใหม้ ีความถูกตอ้ งและน่าเชื่อถือน้นั ขอ้ มูลควรไดร้ ับการตรวจสอบความถูกตอ้ งก่อนท่ีจะนาเขา้ ฐานขอ้ มูล รวมถึงการ ปรับปรุงขอ้ มูลใหม้ ีความทนั สมยั อยเู่ สมอ นอกจากน้ี ควรใหส้ ิทธิแก่บุคคลในการเขา้ ไปตรวจสอบความถกู ตอ้ งของขอ้ มูลของตนเองได้ เช่น ผสู้ อนสามารถดูคะแนนของ นกั ศึกษาในความรับผิดชอบ หรือท่ีสอนเพื่อตรวจสอบวา่ คะแนนท่ีป้อนไม่ถูกแกไ้ ข เปล่ียนแปลง

ความถูกตอ้ ง (Information Accuracy) ในการใช้คอมพวิ เตอรเ์ พ่อื การรวบรวม จัดเกบ็ และเรยี กใชข้ ้อมลู น้นั คณุ ลกั ษณะที่สาคัญประการหน่งึ คือ ความน่าเชือ่ ถือไดข้ องข้อมลู ทั้งน้ี ข้อมูลจะมี ความน่าเช่อื ถือมากน้อยเพียงใดย่อมขนึ้ อย่กู ับความถูกต้องในการบนั ทึกขอ้ มูลด้วย ประเด็นดา้ นจริยธรรมทเ่ี กีย่ วข้องกบั ความถูกตอ้ งของข้อมูล โดยทั่วไปจะพิจารณา ว่าใครจะเปน็ ผู้รับผดิ ชอบตอ่ ความถกู ตอ้ งของข้อมูลทีจ่ ัดเกบ็ และเผยแพร่ เช่น ใน กรณีทอ่ี งคก์ ารใหล้ ูกคา้ ลงทะเบยี นด้วยตนเอง หรือกรณขี องขอ้ มูลท่เี ผยแพร่ผา่ น ทางเว็บไซต์ อกี ประเด็นหนงึ่ คือ จะทราบไดอ้ ย่างไรวา่ ขอ้ ผดิ พลาดทเ่ี กดิ ข้ึนนัน้ ไมไ่ ดเ้ กดิ จากความจงใจ และผใู้ ดจะเปน็ ผูร้ บั ผดิ ชอบหากเกิดข้อผดิ พลาด

ความเปน็ เจา้ ของ (Information Property) สิทธิความเป็นเจ้าของ หมายถงึ กรรมสิทธ์ิในการถอื ครองทรพั ย์สนิ ซ่งึ อาจ เป็นทรพั ย์สินทว่ั ไปทจ่ี บั ตอ้ งได้ เชน่ คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรพั ยส์ ินทาง ปญั ญา (ความคดิ ) ท่จี บั ตอ้ งไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ แต่สามารถ ถา่ ยทอดและบันทึกลงในสือ่ ตา่ งๆ ได้ เช่น สง่ิ พิมพ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น ในสังคมของเทคโนโลยีสารสนเทศ มกั จะกลา่ วถึงการละเมดิ ลิขสทิ ธิ์ ซอฟตแ์ วร์ เมื่อทา่ นซอ้ื โปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ี่มกี ารจดลิขสทิ ธิ์ นั่นหมายความว่า ท่านไดจ้ ่ายค่าลขิ สิทธ์ใิ นการใช้ซอฟต์แวร์น้นั สาหรับทา่ นเองหลงั จากทที่ า่ นเปิดกลอ่ ง หรือบรรจุภณั ฑแ์ ล้ว หมายถึงว่าทา่ นไดย้ อมรับข้อตกลงเก่ียวกบั ลขิ สิทธ์ิในการใช้ สนิ ค้านนั้

ความเปน็ เจ้าของ (Information Property) ลิขสทิ ธ์ิในการใชจ้ ะแตกต่างกันไปในแต่ละสนิ คา้ และบริษทั บางโปรแกรม คอมพวิ เตอรจ์ ะอนุญาตให้ตดิ ตงั้ ได้เพียงครงั้ เดียว หรือไมอ่ นญุ าตให้ใชก้ บั คอมพิวเตอร์ เครอ่ื งอืน่ ๆ ถงึ แม้ว่าคอมพวิ เตอร์เครือ่ งน้ันๆ ทา่ นเป็นเจา้ ของ และไมม่ ีผอู้ ื่นใช้กต็ าม ในขณะท่บี างบริษัทอนุญาตใหใ้ ช้โปรแกรมน้ันไดห้ ลายๆ เครื่อง ตราบใดทท่ี า่ นยังเป็น บุคคลท่ีมสี ิทธใิ นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ท่ซี ้อื มา การคัดลอกโปรแกรมคอมพิวเตอร์ใหก้ บั เพอ่ื น เป็นการกระทาท่จี ะตอ้ งพิจารณาให้รอบคอบก่อนวา่ โปรแกรมท่จี ะทาการคัดลอก นั้น เป็นโปรแกรมคอมพิวเตอรท์ ี่ท่านมีสทิ ธ์ในระดับใด

การเข้าถงึ ข้อมลู (Data Accessibility) ปจั จบุ ันการเขา้ ใช้งานโปรแกรม หรอื ระบบคอมพิวเตอร์มักจะมกี าร กาหนดสทิ ธิตามระดบั ของผ้ใู ชง้ าน ทง้ั นี้ เพื่อเปน็ การป้องกนั การเข้าไปดาเนินการ ตา่ งๆ กับข้อมูลของผใู้ ชท้ ี่ไม่มีสว่ นเก่ียวข้อง และเป็นการรกั ษาความลับของข้อมูล ตัวอย่างสิทธิในการใช้งานระบบ เชน่ การบนั ทึก การแก้ไข/ปรับปรุง และการลบ เปน็ ตน้ ดงั นน้ั ในการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร์จงึ ได้มีการออกแบบระบบรกั ษา ความปลอดภยั ในการเข้าถึงของผู้ใช้ และการเขา้ ถึงข้อมลู ของผูอ้ ืน่ โดยไมไ่ ด้รบั ความยนิ ยอมนั้น กถ็ อื เป็นการผดิ จริยธรรมเชน่ เดยี วกบั การละเมิดขอ้ มูลสว่ นตัว ในการใช้งานคอมพิวเตอร์และเครอื ข่ายร่วมกนั ให้เปน็ ระเบยี บ หากผใู้ ชร้ ่วมใจกัน ปฏิบัติตามระเบยี บและข้อบงั คับของแต่ละหนว่ ยงานอยา่ งเคร่งครดั แล้ว การผิด จริยธรรมตามประเดน็ ดงั ท่กี ล่าวมาขา้ งตน้ ก็คงจะไม่เกดิ ขึ้น

จริยธรรมและคณุ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศร่วมกนั ผู้ใช้อนิ เทอร์เน็ตมเี ปน็ จานวนมากและเพมิ่ ขน้ึ ทุกวัน การใช้งานระบบ เครอื ข่ายที่ออนไลน์และส่งขา่ วสารถงึ กันยอ่ มมีผู้ทมี่ ีความประพฤตไิ มด่ ีปะปนและ สร้างปญั หาใหก้ บั ผใู้ ชอ้ ื่นอยู่เสมอ หลายเครือขา่ ยจึงได้ออกกฎเกณฑ์การใชง้ าน ภายในเครอื ข่าย เพอื่ ใหส้ มาชิกในเครอื ข่ายของตนยดึ ถอื ปฏบิ ตั ิตามกฎเกณฑ์และ ไดร้ ับประโยชน์สงู สดุ ดังนั้นผใู้ ช้อนิ เทอร์เนต็ ทกุ คนท่ีเป็นสมาชกิ เครอื ข่ายจะตอ้ งเขา้ ใจกฎเกณฑ์ ข้อบงั คับของเครอื ขา่ ยนั้นมีความรับผดิ ชอบตอ่ ตนเองและผรู้ ว่ มใช้บริการคนอนื่ และ จะต้องรับผิดชอบตอ่ การกระทาของตนเองท่ีเขา้ ไปขอใช้บรกิ ารตา่ งๆ บนเครอื ข่าย บนระบบคอมพิวเตอร์

จริยธรรมและคณุ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกนั เครือขา่ ยคอมพิวเตอรท์ ่ีผใู้ ชอ้ นิ เทอรเ์ นต็ เรยี กเข้ามิได้เปน็ เพียงเครอื ข่าย ขององค์กรทผ่ี ูใ้ ช้สังกดั แตเ่ ปน็ การเชอ่ื มโยงของเครอื ข่ายต่างๆ เข้าหากนั หลายพัน หลายหม่นื เครือขา่ ยมขี ้อมูลข่าวสารอยู่ระหว่างเครอื ขา่ ยเป็นจานวนมาก การส่ง ขา่ วสารในเครือขา่ ยนั้นอาจทาใหข้ า่ วสารกระจายเดนิ ทางไปยงั เครือข่ายอ่นื ๆ อกี เป็นจานวนมากหรอื แมแ้ ต่การส่งไปรษณยี ์อิเลก็ ทรอนกิ ส์ฉบับหน่ึงก็อาจจะตอ้ งเดนิ ทางผ่านเครือข่ายอีกหลายเครือขา่ ยกว่าจะถึงปลายทาง ดังน้ันผู้ใช้บรกิ ารต้องให้ ความสาคัญและตระหนักถึงปัญหาปรมิ าณข้อมูลขา่ วสารทีว่ ่ิงอยู่บนเครอื ข่าย

จรยิ ธรรมและคณุ ธรรมในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกัน การใชง้ านอย่างสร้างสรรคแ์ ละเกิดประโยชน์จะทาใหส้ ังคมอนิ เทอรเ์ น็ต นา่ ใช้และเป็นประโยชนร์ ่วมกนั อยา่ งดี กิจกรรมบางอยา่ งท่ไี มค่ วรปฏิบตั ิจะต้อง หลกี เลี่ยงเช่นการส่งกระจายข่าวไปเป็นจานวนมากบนเครอื ข่าย การสง่ เอกสาร จดหมายลกู โซ่ ฯลฯ ส่งิ เหล่านีจ้ ะเป็นผลเสียโดยรวมต่อผใู้ ช้และไม่เกดิ ประโยชนใ์ ด ๆ ต่อสงั คมอินเทอรเ์ นต็ เพอ่ื ใหก้ ารอยู่ร่วมกันในสังคมอินเทอร์เนต็ สงบสุข Arlene H.Rinaldi แห่ง มหาวทิ ยาลัย ฟอรร์ ิดาแอตแลนติก จึงรวบรวมกฎกติกามารยาทและวางเปน็ จรรยาบรรณอนิ เทอร์เนต็ หรอื ที่เรยี กวา่ Netiquette

จรรยาบรรณสาหรบั ผใู้ ช้ไปรษณียอ์ เิ ล็กทรอนกิ ส์(E-mail) ผใู้ ชอ้ ินเทอร์เนต็ ทุกคนมีเมล์บอ็ กซห์ รอื อเี มล์แอดเดรสทใ่ี ชอ้ ้างอิงในการ รบั สง่ จดหมาย ความรับผดิ ชอบตอ่ การใช้งานอีเมลใ์ นระบบจึงเปน็ เร่ืองท่ีทกุ คนต้อง ใหค้ วามสาคัญ เพราะจดหมายมกี ารรับสง่ โดยระบบ ซ่งึ หากมจี ดหมายค้างในระบบ จานวนมากจะทาใหพ้ ้ืนที่ บฟั เฟอรข์ องจดหมายในระบบหมด จะเปน็ ผลใหร้ ะบบไม่ สามารถรับส่งจดหมายต่อไปได้ หลายต่อหลายครัง้ ระบบปฏเิ สธการรับส่งจดหมาย เพราะไฟลร์ ะบบเต็ม ดงั นน้ั จึงควรมีความรบั ผิดชอบในการดแู ลตจู้ ดหมาย (mail box) ของตนเองดงั น้ี

จรรยาบรรณสาหรับผใู้ ชไ้ ปรษณีย์อเิ ลก็ ทรอนิกส์(E-mail) 1. ตรวจสอบจดหมายทกุ วันและจะตอ้ งจากดั จานวนไฟล์และขอ้ มูลใน ตู้จดหมายของตนใหเ้ ลือกภายในโควต้า ท่ีกาหนด 2. ลบขอ้ ความหรอื จดหมายทีไ่ มต่ ้องการแล้วออกจากดิสต์เพ่อื ลดปริมาณ การใชด้ ิสก็ให้จานวนจดหมายที่อยใู่ นตูจ้ ดหมาย (mail box) มีจานวนนอ้ ยทส่ี ดุ 3. ให้ทาการโอนยา้ ยจดหมายจากระบบไปไวย้ ังพซี ีหรือฮาร์ดดสิ กข์ อง ตนเองเพอ่ื ใชอ้ ้างองิ ในภายหลัง

จรรยาบรรณสาหรับผสู้ นทนา(Chat) บนเครือข่ายอนิ เทอร์เนต็ มีคาส่ังใหใ้ ช้ในการโตต้ อบกันอย่างออนไลน์ หลายคาสง่ั เช่น write, talk หรือมีการสนทนา เปน็ กล่มุ เช่น IRC เป็นต้น ใน การเรยี กหาหรือเปดิ การสนทนาตลอดจนการสนทนาจะต้องมีมารยาทท่ีสาคัญ ไดแ้ ก่ 1. ควรเรยี กสนทนาจากผู้ทเี่ รารู้จักและตอ้ งการสนทนาด้วย หรือมี เรอ่ื งสาคญั ทจ่ี ะตดิ ต่อดว้ ย ควรระลึกเสมอว่าการขัดจังหวะผอู้ ื่นที่กาลังทางาน อย่อู าจสรา้ งปญั หาให้ได้

จรรยาบรรณสาหรบั ผู้สนทนา(Chat) 2. ก่อนการเรยี กคูส่ นทนาควรสอบสถานะการใช้งานของคู่สนทนาท่ี ต้องการเรียกเพราะการเรียกแตล่ ะครัง้ จะมีขอ้ ความไปปรากฏบนจอภาพของฝา่ ยถูก เรยี กซง่ึ กส็ รา้ งปญั หาการทางานได้ เชน่ ขณะกาลงั ทางานคา้ ง ftp ซ่ึงไม่สามารถ หยดุ ได้ 3. หลงั จากเรียกไปชวั่ ขณะคทู่ ถี่ ูกเรียกไม่ตอบกลับ แสดงว่าคู่สนทนาอาจ ติดงานสาคัญ ขอให้หยดุ การเรยี กเพราะขอ้ ความทเ่ี รยี กไปปรากฏบนจออยา่ ง แนน่ อนแล้ว 4. ควรให้วาจาสภุ าพ และใหเ้ กียรติซึ่งกันและกัน การแทรกอารมณ์ขัน ควรกระทากับคนทรี่ ู้จักคุน้ เคยแลว้ เท่านั้น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook