Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สร้างสรรค์บทกวี

สร้างสรรค์บทกวี

Published by Aunlee Ch, 2021-08-21 12:07:36

Description: สร้างสรรค์บทกวี

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๑ รายวิชาภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๑ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวัดหนองแขม ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ สรา้ งสรรคบ์ ทกวี เรือ่ ง อ่านออกเสียงร้อยกรอง เวลา ๑ ชั่วโมง ผสู้ อน นางสาวธรี พร บตุ ราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวช้ีวดั มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอา่ นสร้างความร้แู ละความคดิ เพอ่ื นาไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ญั หาในการดาเนิน ชวี ิตและมีนิสยั รักการอา่ น ตวั ช้วี ัด ม.๑/๑ อ่านออกเสยี งบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกับเรื่องท่อี า่ นกับเรือ่ งที่อ่าน ม.๑/๙ มมี ารยาทในการอ่าน ๒. สาระสาคญั การอ่านออกเสียงบทร้อยกรองและทานองเสนาะเป็นการส่งสารด้วยการอ่าน ซึ่งผู้อ่านต้องมีความรู้ เรื่องลักษณะคาประพันธ์ จังหวะการอ่าน ทานองการอ่านและการใส่อารมณ์ นอกจากนี้ ยังต้องฝึกฝนอย่าง ต่อเนอื่ งจึงจะสามารถอา่ นไดไ้ พเราะน่าฟงั ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ (K) อธิบายความหมาย หลักการอ่านออกเสยี งรอ้ ยกรอง ๓.๒ งานทกั ษะ/กระบวนการ (P) อา่ นออกเสยี งรอ้ ยกรองได้อย่างถูกตอ้ ง ๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มมี ารยาทในการอ่าน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ ดา้ นความรู้ (Knowledge) ๑. ความหมายการอ่านออกเสียงรอ้ ยกรอง ๒. หลกั การอ่านออกเสยี งไดร้ ้อยกรอง ๔.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (Process) อ่านออกเสียงร้อยกรองได้อย่างถกู ต้อง

๔.๓ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Attitude)  รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  ซือ่ สัตย์ สุจรติ  มีวินัย  ใฝ่เรยี นรู้  อยอู่ ย่างพอเพยี ง  มุง่ ม่ันในการทางาน  รกั ความเปน็ ไทย  มีจิตสาธารณะ ๔.๔ ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรยี น  ความสามารถในการสอ่ื สาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๔.๕ ดา้ นคุณลักษณะของผู้เรียนตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล  เปน็ เลศิ วิชาการ  สอื่ สารสองภาษา  ลา้ หน้าทางความคดิ  ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  ร่วมกันรบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก ๔.๖ บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑. หลกั ความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลกั ความมีเหตผุ ล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลกั ภูมคิ ้มุ กัน : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เงื่อนไขความรู้ : ………………………………………………………………………………….......... ๕. เงือ่ นไขคุณธรรม : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ ในแต่ละดา้ นไม่จาเปน็ ต้องมคี รบทุกข้อในทุกแผนการจดั การเรยี นรู)้ ๕. ชนิ้ งาน/ภาระงาน - ๖. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ๖.๑ กระบวนการจดั การเรียนร้แู บบปกติ ขั้นนา ๑. นกั เรียนฟงั คลิปเสียงการอา่ นออกเสยี งรอ้ ยแกว้ จากเรือ่ ง กาพย์พระไชยสรุ ยิ า ๒. นักเรยี นร่วมกันตอบคาถามว่าคลปิ เสยี งที่ได้ฟงั เป็นบทกรองประเภทใด ข้นั สอน ๑. นักเรยี นศกึ ษาใบความรู้และสือ่ ประกอบการสอน เร่อื ง การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยกรอง ๒. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ ๔-๕ คน แล้วช่วยกันฝึกอ่านออกเสียงร้อยกรอง โดยผลัดกันอ่าน ทลี ะคน แลว้ ใหเ้ พือ่ นช่วยกันแนะนา ตชิ ม ตรวจสอบความถูกต้อง

๓. นกั เรียนบางกลุม่ ออกมาอา่ นออกเสยี งร้อยกรองหน้าชน้ั เรียนโดยวิธีการสุ่มของครู ๔. ครอู ธิบายและให้คาแนะนาในการแกไ้ ขปรบั ปรงุ แกน่ กั เรยี นกล่มุ ที่มีข้อบกพร่องในการอา่ น ขน้ั สรปุ นักเรยี นและครรู ่วมกนั สรุปความรู้ทไี่ ด้รบั ๖.๒ กระบวนการจดั การเรียนรู้แบบออนไลน์ ๑. นักเรียนฟังคลิปเสียงการอ่านออกเสียงร้อยแก้ว จากเร่ือง กาพย์พระไชยสุริยา จาก google classroom ๒. นักเรียนร่วมกันตอบคาถามว่าคลิปเสียงท่ีได้ฟังเป็นบทร้อยกรองประเภทใด ผ่านการจัดการเรียน การสอนแบบสด (live) ด้วยโปรแกรม line meeting ๓. นักเรียนศึกษาใบความรู้และสื่อประกอบการสอน เรื่อง การอ่านออกเสียงร้อยกรอง จาก google classroom ๔. นักเรียน ๑-๒ คน ฝึกอ่านออกเสียงร้อยแก้วโดยวิธีการสุ่มของครู แล้วให้เพื่อนและครูช่วยกัน แนะนา ติชม ตรวจสอบความถกู ต้อง ๕. ครอู ธิบายและใหค้ าแนะนาในการแกไ้ ขปรบั ปรงุ แก่นักเรยี น ๖. นักเรียนและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ที่ไดร้ ับจากการเรยี นเรื่อง การอา่ นออกเสยี งรอ้ ยกรอง ๗. สอื่ /วสั ดุอุปกรณ/์ แหล่งเรียนรู้ ๗.๑ สอ่ื การเรยี นรู้ ๑. หนงั สอื เรียนภาษาไทยชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๑ ๒. สอ่ื ประกอบการสอน เร่ือง การอ่านออกเสยี งร้อยกรอง ๓. ใบความร้เู รื่อง หลกั การอ่านออกเสยี งบทร้อยกรอง ๔. ใบงานเร่อื ง การอา่ นออกเสยี งร้อยกรอง ๗.๒ แหล่งการเรยี นรู้ ๑. ห้องสมุด ๒. อินเทอรเ์ น็ต

๘. การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๘.๑ จุดประสงค์การเรียนรู้ ๘.๑.๑ ด้านความรู้ เกณฑก์ ารพจิ ารณาโดยใชเ้ ครอ่ื งมือวดั และประเมินผล มีดังนี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา ๙-๑๐/ดีมาก นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นักเรียนไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๘.๑.๒ ด้านทกั ษะกระบวนการ เกณฑ์การพจิ ารณาโดยใชเ้ ครื่องมือวัดและประเมนิ ผล มีดงั น้ี คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดมี าก นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นักเรยี นไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินผล ๘.๑.๓ ด้านคณุ ลักษณะ เกณฑก์ ารพิจารณาโดยใชเ้ คร่ืองมือวดั และประเมินผล มดี ังนี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๙-๑๐/ดมี าก นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรงุ นักเรียนไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๘.๒ การประเมนิ ผล ผลการเรียนรู้/ คะแนน วธิ ีวัดผล-ประเมนิ ผล เครอ่ื งมอื วดั จุดประสงค์การเรยี นรู้ ตรวจใบงาน สังเกตพฤติกรรม แบบประเมนิ ผลงาน ๑. อธบิ ายหลกั การอ่าน นักเรยี น แบบสงั เกตพฤติกรรม ออกเสียงรอ้ ยกรอง ๒. อา่ นออกเสยี งร้อย กรองได้อย่างถูกต้อง ๓. มีมารยาทในการอา่ น รวม ๑๐ เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรอื ที่มอบหมาย ไดต้ รวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางสาวธีรพร บุตราช แลว้ มคี วามเห็นดงั นี้ ๑. เป็นแผนจดั การเรียนรทู้ ่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ ๒. การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้นาเอากระบวนการเรยี นรู้  ทเ่ี นน้ ผ้เู รยี นเปน็ สาคัญมาใชใ้ นการสอนไดเ้ หมาะสม  ยังไมเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสาคญั ควรพัฒนาปรบั ปรุง ๓. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้  นาไปใชไ้ ดจ้ ริง  ควรปรับปรุงกอ่ นนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศ์พุทธา) รองผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๑ บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ รายวิชาภาษาไทย ๑. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ...................................................................................................................................................................... ........ ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................... ................... ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอื่ ............................................ผู้สอน (นางสาวธรี พร บุตราช) ครู

แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๒ รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวัดหนองแขม ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรียนที่ ๑ หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๕ สร้างสรรค์บทกวี เรื่อง การแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ยานี ๑๑ เวลา ๒ ช่วั โมง ผู้สอน นางสาวธีรพร บุตราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวช้วี ดั มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลักภาษาไทย การเปล่ยี นแปลงของภาษา และพลงั ของภาษา ภูมิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัตขิ องชาติ ตัวชวี้ ดั ม.๑/๕ แตง่ บทรอ้ ยกรอง ๒. สาระสาคญั กาพย์ยานี ๑๑ หนึ่งบทมี ๒ บาท บาทละ ๑๑ คา บาทหนึ่งแบ่งเป็น ๒ วรรค วรรคหน้า ๕ คา วรรค หลัง ๖ คา บทหน่งึ จงึ มี ๔ วรรค มบี งั คบั สัมผัสระหว่างวรรค (สมั ผัสนอก) เฉพาะระหวา่ งวรรคที่ ๑ กับวรรคท่ี ๒ กับวรรคที่ ๓ การท่ีสามารถแต่งกาพย์ยานีได้จะช่วยให้นักเรียนสามารถเข้าใจและซาบซึ้งในคุณค่าของ กาพย์ยานี ๑๑ จากเร่ืองคาเพราะเสนาะทานองได้มากขนึ้ อีกทง้ั สามารถแต่งกาพย์ในเร่ืองอื่น ๆ ด้วยตนเองได้ ๓. จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ (K) อธิบายลักษณะคาประพนั ธ์กาพย์ยานี ๑๑ ไดถ้ ูกต้อง ๓.๒ งานทกั ษะ/กระบวนการ (P) แต่งกาพย์ยานี ๑๑ ตามหัวข้อที่กาหนดได้ถูกต้องตามฉันทลักษณ์ไพเราะและส่ือความหมาย ได้ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) เหน็ คุณคา่ ของการแต่งคาประพนั ธข์ องไทย ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ ดา้ นความรู้ (Knowledge) ลักษณะคาประพันธ์กาพย์ยานี ๑๑

๔.๒ ด้านทกั ษะ/กระบวนการ (Process) แต่งกาพย์ยานี ๑๑ ๔.๓ ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (Attitude)  รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  ซอื่ สตั ย์ สุจริต  มีวินยั  ใฝ่เรยี นรู้  อยอู่ ยา่ งพอเพยี ง  มุ่งมัน่ ในการทางาน  รักความเปน็ ไทย  มีจิตสาธารณะ ๔.๔ ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน  ความสามารถในการสอื่ สาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแกป้ ัญหา  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๕ ดา้ นคุณลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล  เป็นเลิศวิชาการ  สื่อสารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  รว่ มกันรบั ผิดชอบตอ่ สังคมโลก ๔.๖ บรู ณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑. หลักความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลกั ความมีเหตุผล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลกั ภูมิค้มุ กัน : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เงื่อนไขความรู้ : ………………………………………………………………………………….......... ๕. เงอื่ นไขคุณธรรม : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ ในแตล่ ะด้านไม่จาเป็นต้องมีครบทกุ ข้อในทุกแผนการจดั การเรียนรู้) ๕. ชน้ิ งาน/ภาระงาน ๑. นักเรียนทาใบงาน เร่อื ง กาพยย์ านี ๑๑ ๒. นักเรียนแตง่ กาพยย์ านี ๑๑ ๖. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ๖.๑ กระบวนการจดั การเรยี นรู้แบบปกติ (ช่วั โมงที่ ๑) ข้ันนา ๑. ครูสมุ่ นกั เรียน ๒ คนมาเรยี งแถบประโยคจากสื่อประกอบการสอนใหถ้ ูกตอ้ ง ดงั นี้ สิบเอด็ บอกความนยั หนึ่งบาทไซร้ของพยางค์ วรรคหน้าอยา่ เลอื นราง จานวนหา้ พาจดจา

หกพยางค์ในวรรคหลัง ตามแบบต้ังเจา้ ลองทา สัมผสั ตามชีน้ า โยงเสน้ หมายให้เจา้ ดู สดุ ทา้ ยของวรรคหนง่ึ สัมผสั ตรงึ สามนะหนู หกหา้ โยงเปน็ คู่ เรง่ เรียนรู้สร้างผลงาน ๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าคาประพันธ์ข้างต้นเป็นคาประพันธ์ชนิดใด มีความไพเราะจากอะไร มี สมั ผสั หรือคาคลอ้ งจองหรือไม่ ขน้ั สอน ๑. นักเรียนศึกษาใบความรู้เร่ือง การแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ โดยมีครูอธิบายเพ่ิมเติม จากสื่อ ประกอบการสอนเร่อื ง การแตง่ คาประพันธป์ ระเภทกาพย์ ๒. นกั เรยี นทาใบงาน เร่อื ง กาพย์ยานี ๑๑ ๓. นกั เรียนและครรู ว่ มกันเฉลยใบงาน เรือ่ ง กาพยย์ านี ๑๑ ขั้นสรุป นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปความรู้ท่ีไดร้ ับ ๖.๒ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ (ช่วั โมงท่ี ๑) ๑. นักเรียน ๒ คน ท่ีได้มาจากการสุ่มของครู เรียงแถบประโยคให้ถูกต้อง ผ่านโปรแกรม line meeting ๒. นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่าคาประพันธ์ข้างต้นเป็นคาประพันธ์ชนิดใด มีความไพเราะจากอะไร มี สมั ผสั หรือคาคลอ้ งจองหรอื ไม่ ๓. นักเรียนศึกษาใบความรู้เร่ือง การแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ จาก google classroom โดยมี ครูอธิบายเพ่ิมเติมจากสอื่ ประกอบการสอนเร่อื ง การแต่งคาประพันธ์ประเภทกาพย์ ๔. นักเรยี นทาใบงาน เรื่อง กาพยย์ านี ๑๑ ๕. นักเรียนและครูรว่ มกันเฉลยใบงาน เรอ่ื ง กาพยย์ านี ๑๑ ๖. นักเรียนและครรู ่วมกันสรปุ ความรู้ท่ไี ดร้ บั จากการเรียนเร่อื ง กาพย์ยานี ๑๑ ๖.๓ กระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบปกติ (ช่ัวโมงที่ ๒) ข้นั นา นักเรียนทบทวนเรื่อง การแตง่ กาพยย์ านี ๑๑ ทีไ่ ด้เรียนไปเมือ่ คาบเรียนที่แล้ว ขั้นสอน ๑. นกั เรียนแบง่ กลมุ่ ๔ กล่มุ กล่มุ ละเท่า ๆ กัน ๒. นักเรยี นทากจิ กรรม “แตง่ ให้ได้ง่ายนิดเดียว” โดยครูแต่งกาพย์ในหัวข้อ เพ่ือนในหอ้ งเรียน โดยครู ยกวรรคแรกคือวรรคสดับให้จากนั้นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทาการแต่งคาประพันธ์ต่อทีละกลุ่มหน้าชั้นเรียน จนครบ ๔ บท

๓. นักเรียนร่วมกนั นาอภิปรายคาประพันธท์ ีไ่ ด้ว่ามคี วามเหมาะสมและถกู ตอ้ งตามฉนั ทลักษณ์หรอื ไม่ ๔. นักเรียนทากิจกรรม “นักกวีผู้เก่งกาจ” โดยให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทาการแต่งคาประพันธ์ลง กระดาษปรู๊ฟตามหวั ขอ้ ท่ีจับสลากได้ ดงั นี้ - เกมที่ช่ืนชอบ - ดารานกั รอ้ งทชี่ ่ือชอบ - อาชพี ในอนาคต - อาหารทีโ่ ปรดปราน ๕. นักเรียนออกมานาเสนอหนา้ ชัน้ เรยี น โดยใหเ้ พ่ือนในหอ้ งและครูร่วมกันอภิปรายเพ่มิ เตมิ ขัน้ สรุป นกั เรียนและครรู ่วมกนั สรุปความร้ทู ี่ได้รับ ๖.๔ กระบวนการจดั การเรยี นรแู้ บบออนไลน์ (ช่ัวโมงที่ ๒) ๑. นักเรียนทบทวนเรื่อง การแต่งกาพย์ยานี ๑๑ ท่ีได้เรียนไปเมื่อคาบเรียนที่แล้ว ผ่านโปรแกรม line meeting ๒. นักเรียนทากิจกรรม “แต่งให้ได้ง่ายนิดเดียว” ซ่ึงครูแต่งกาพย์ในหัวข้อ เพ่ือนในห้องเรียน โดยครู ยกวรรคแรก คือ วรรคสดบั ให้จากน้ัน ครจู ะให้นักเรยี นทกุ คนรว่ มกันแต่งคาประพนั ธ์ต่อจนครบ ๔ บท ๓. นักเรียนแต่งกาพย์ยานี ๑๑ ตามหัวข้อที่ได้รับมอบหมาย จากนั้นอัปโหลดผลงานลงใน line ห้อง ของตนเอง โดยครจู ะตง้ั ชือ่ อลั บมั้ ไวว้ า่ “การแตง่ กาพย์ยานี ๑๑” ๗. ส่อื /วัสดอุ ปุ กรณ์/แหล่งเรยี นรู้ ๗.๑ สื่อการเรยี นรู้ ๑. ใบความรเู้ รอื่ ง การแต่งคาประพนั ธ์ประเภทกาพย์ ๒. ส่ือประกอบการสอน เรื่อง การแตง่ คาประพันธป์ ระเภทกาพย์ ๓. ใบงาน เรอ่ื ง กาพยย์ านี ๑๑ ๔. กิจกรรม “กวีผเู้ กง่ กาจ” ๗.๒ แหล่งการเรยี นรู้ ๑. หอ้ งสมุด ๒. อนิ เทอร์เนต็

๘. การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๘.๑ จุดประสงค์การเรียนรู้ ๘.๑.๑ ด้านความรู้ เกณฑก์ ารพจิ ารณาโดยใชเ้ ครอ่ื งมือวดั และประเมินผล มีดังนี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา ๙-๑๐/ดีมาก นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นักเรียนไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๘.๑.๒ ด้านทกั ษะกระบวนการ เกณฑ์การพจิ ารณาโดยใชเ้ ครื่องมือวัดและประเมนิ ผล มีดงั น้ี คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดมี าก นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นักเรยี นไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมินผล ๘.๑.๓ ด้านคณุ ลักษณะ เกณฑก์ ารพิจารณาโดยใชเ้ คร่ืองมือวดั และประเมินผล มดี ังนี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๙-๑๐/ดมี าก นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรงุ นักเรียนไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๘.๒ การประเมินผล ผลการเรียนร้/ู คะแนน วธิ วี ัดผล-ประเมนิ ผล เคร่อื งมอื วดั จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ ตรวจใบงาน แบบประเมินผลงาน ๑. อธบิ ายลักษณะคา ตรวจผลงาน นักเรยี น ประพันธ์กาพย์ยานี ๑๑ ไดถ้ ูกต้อง ๒. แต่งกาพยย์ านี ๑๑ ตามหัวข้อทก่ี าหนดได้ ถูกต้องตามฉนั ทลักษณ์ ไพเราะและสอ่ื ความหมายได้ ๓. เหน็ คุณค่าของการ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม แตง่ คาประพนั ธ์ ๑๐ ของไทย รวม เกณฑก์ ารวัดผลและประเมนิ ผล คุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรอื ท่ีมอบหมาย ไดต้ รวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง นางสาวธีรพร บุตราช แลว้ มคี วามเหน็ ดังนี้ ๑. เป็นแผนจดั การเรยี นรทู้ ี่  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ ๒. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้  ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญมาใชใ้ นการสอนไดเ้ หมาะสม  ยังไม่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรพฒั นาปรับปรงุ ๓. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้  นาไปใช้ได้จรงิ  ควรปรับปรงุ กอ่ นนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศพ์ ทุ ธา) รองผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

รหัสวชิ า ท๒๑๑๐๒ บนั ทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑ รายวิชาภาษาไทย ๑. ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ .................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... ๒. ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................ .................. ................................................................................................................ .............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................ .............................. ..................................................................................................... ......................................................................... ลงชอ่ื ............................................ผ้สู อน (นางสาวธรี พร บตุ ราช) ครู

แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๓ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรียนมัธยมวัดหนองแขม ระดับชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๕ สรา้ งสรรคบ์ ทกวี เรอื่ ง สรุปเนอื้ หาวรรณคดี เร่อื ง กาพย์พระไชยสุรยิ า เวลา ๓ ชั่วโมง ผสู้ อน นางสาวธรี พร บุตราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ช้ีวัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใชก้ ระบวนการอ่านสร้างความรแู้ ละความคิดเพอ่ื นาไปใช้ตัดสนิ ใจ แก้ไขปญั หาในการ ดาเนินชวี ิตและมนี สิ ยั รักการอา่ น ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่าและ นามาประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ จรงิ ตัวชวี้ ัด ท ๑.๑ ม.๑/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแกว้ และบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกับเร่ืองท่ีอา่ น ท ๑.๑ ม.๑/๔ ระบแุ ละอธิบายคาเปรยี บเทียบ และคาท่มี หี ลายความหมายในบริบทตา่ ง ๆ จากการ อา่ น ท ๕.๑ ม.๑/๑ สรปุ เน้อื หาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น ท ๕.๑ ม.๑/๒ วิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรม ท่อี ่านพรอ้ มยกเหตุผลประกอบ ท ๕.๑ ม.๑/๓ อธิบายคุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี ่าน ท ๕.๑ ม.๑/๔ สรุปความรู้และข้อคดิ เหน็ จากการอา่ นเพื่อประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ จริง ๒. สาระสาคัญ กาพย์พระไชยสุริยา เป็นผลงานประพันธ์ของสุนทรภู่ แต่งขึ้นในสมัยรัชกาลท่ี ๓ เพื่อใช้สาหรับเป็น แบบเรียนเร่ืองตัวสะกด อย่างไรก็ตาม เน้ือหาของวรรณคดีเร่ืองนี้ สะท้อนให้เห็นคุณค่าในด้านสังคมและ การเมือง กล่าวคือ เสนอภาพการล่มสลายของเมือง อันเน่ืองมาจากการประพฤติทุจริตของผู้มีอานาจ เหตุการณ์ในเมืองสาวัตถีจึงเป็นอุทาหรณ์ให้แก่ประชาชนทุกคนท่ีจะต้องร่วมใจและปฏิบัติตนตามหลัก คณุ ธรรม จรยิ ธรรม เพือ่ สรา้ งความสงบและสันติ ๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ (K)

อธิบายเนือ้ หาวรรณคดี เรือ่ ง กาพย์พระไชยสรุ ยิ า ๓.๒ งานทกั ษะ/กระบวนการ (P) สรปุ เน้ือหาวรรณคดี เรือ่ ง กาพย์พระไชยสรุ ิยา ๓.๓ ด้านคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) เห็นคณุ คา่ ของวรรณคดีไทย ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ ดา้ นความรู้ (Knowledge) เน้อื หาวรรณคดี เรื่อง กาพยพ์ ระไชยสุริยา ๔.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (Process) สรุปเน้ือหาวรรณคดี เรือ่ ง กาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า ๔.๓ ด้านคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude)  รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  ซือ่ สัตย์ สุจริต  มวี นิ ัย  ใฝเ่ รียนรู้  อย่อู ยา่ งพอเพียง  มุ่งมนั่ ในการทางาน  รกั ความเปน็ ไทย  มจี ิตสาธารณะ ๔.๔ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผ้เู รียน  ความสามารถในการสื่อสาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๔.๕ ด้านคณุ ลักษณะของผูเ้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล  เปน็ เลศิ วชิ าการ  ส่ือสารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคดิ  ผลติ งานอย่างสรา้ งสรรค์  ร่วมกนั รบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก ๔.๖ บูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑. หลักความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลกั ความมเี หตผุ ล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลักภมู คิ ุ้มกัน : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เงื่อนไขความรู้ : ………………………………………………………………………………….......... ๕. เง่อื นไขคุณธรรม : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ ในแต่ละด้านไม่จาเปน็ ตอ้ งมคี รบทกุ ข้อในทุกแผนการจดั การเรยี นรู้) ๕. ชิ้นงาน/ภาระงาน

แผนภาพความคิดเร่ือง กาพย์พระไชยสรุ ิยา ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๖.๑ กระบวนการจดั การเรยี นรแู้ บบปกติ (ชั่วโมงที่ ๑) ขั้นนา ๑. นกั เรียนร่วมกนั อภิปรายคาถามที่ครถู ามว่า “ในสมัยก่อนคนเรียนหนงั สือที่ไหน และเรยี นได้ อยา่ งไร หนังสือเลม่ แรกที่ใช้เรียนในสมัยก่อนช่ือวา่ อะไร” ๒. ครนู าเข้าสบู่ ทเรียนโดยการอธบิ ายว่า “ในสมัยก่อนการเรยี นหนังสือมีแค่ใน วดั บ้าน และ ราชวงั เทา่ นัน้ และในสมยั นน้ั มกี ารแตง่ หนังสอื มาสอนมากมาย แต่มหี นงึ่ เรอ่ื งทแี่ ต่เป็นวรรณคดีควบค่ไู ปกับการสอน หนงั สือ คอื เร่ือง กาพย์พระไชยสรุ ยิ า” ขั้นสอน ๑. นักเรยี นแบ่งกล่มุ เปน็ ๔ กลุ่ม กลมุ่ ล่ะเท่า ๆ กนั ๒. นกั เรียนทากิจกรรม “ฐานความรู้กบั เร่ืองน่าร้ใู นกาพย์พระไชย” โดยให้นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ ศึกษา ขอ้ มูลในฐานของตนเองและทาการสรปุ ลงสมดุ จากน้นั ทาการวนฐานจนครบท้งั ๔ ฐาน โดยใช้เวลาฐานละ ๑๐ นาที ฐานที่ ๑ ศกึ ษาประวัติผูแ้ ตง่ (สุนทรภ่)ู ฐานที่ ๒ ศกึ ษาจดุ ประสงค์ในการแตง่ และชว่ งเวลาในการแตง่ ฐานที่ ๓ ศกึ ษาลกั ษณะคาประพนั ธ์ ฐานท่ี ๔ ศึกษาเนื้อเรอ่ื งย่อของกาพย์พระไชยสุริยา ๓. ครูสุ่มนักเรยี นออกมาอธิบายเรื่องท่ีได้ศึกษาในแตล่ ะฐานประกอบส่อื ประกอบการสอน เร่อื ง กาพย์พระไชยสรุ ิยา ข้นั สรุป ๑. นักเรียนและครูรว่ มกันสรุปความรูเ้ รอ่ื ง กาพย์พระไชยสุริยา ๒. ครูมอบหมายงานใหน้ ักเรียนสรปุ ความรู้เป็นแผนภาพความคิด และนามาสง่ ในช่ัวโมงถดั ไป ๖.๒ กระบวนการจัดการเรยี นรู้แบบออนไลน์ (ชว่ั โมงท่ี ๑) ๑. นักเรียนร่วมกันอภปิ รายคาถามที่ครถู ามว่า “ในสมัยก่อนคนเรยี นหนังสือท่ีไหน และเรียนได้อย่างไร หนังสอื เล่มแรกทใี่ ชเ้ รยี นในสมยั กอ่ นชือ่ วา่ อะไร” ผา่ นการสอนสด (live) ของครทู างช่องทาง line meeting ๒. ครกู ล่าวเช่ือมโยงเขา้ สบู่ ทเรยี นวา่ “สมยั กอ่ นการเรียนหนังสอื มีแคใ่ น วัด บ้าน และ ราชวงั เท่าน้ัน และในสมัยนนั้ มีการแต่งหนงั สือมาสอนมากมาย แตม่ ีหน่ึงเร่ืองที่แต่เปน็ วรรณคดีควบคไู่ ปกับการสอนหนงั สือ คอื เรื่อง กาพย์พระไชยสรุ ิยา” ๓. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เร่ือง กาพย์พระไชยสุริยา จาก google classroom โดยมีครูอธิบาย เพ่มิ เติม

๔. นักเรียนสรุปความรู้เป็นแผนภาพความคิด เรื่อง กาพย์พระไชยสุริยา จากนั้นส่งงานใน line ของ ตนเอง โดยครูจะต้ังชื่ออัลบัม้ วา่ “แผนภาพคามคดิ เรอื่ ง กาพย์พระไชยสรุ ยิ า” ๖.๓ กระบวนการจดั การเรยี นรู้แบบปกติ (ชั่วโมงที่ ๒) ข้ันนา นกั เรียนทบทวนความรเู้ บอื้ งตน้ เก่ียวกับกาพย์พระไชยสรุ ยิ าท่เี คยไดเ้ รียนในชวั่ โมงทแี่ ล้ว ขน้ั สอน นกั เรยี นและครรู ่วมกนั ถอดคาประพนั ธจ์ ากเรื่อง กาย์พระไชยสุริยา ขัน้ สรปุ นกั เรยี นและครูสรปุ เนือ้ เรือ่ งกาพยพ์ ระไชยสรุ ยิ า ๖.๔ กระบวนการจดั การเรยี นรู้แบบออนไลน์ (ชวั่ โมงที่ ๒) ๑. นักเรียนศึกษาวิดิทัศน์การเล่าเร่ืองย่อและการถอดคาประพันธ์เรื่อง กาพย์พระไชยสริยา ของครู จาก google classroom ๒. นกั เรียนจดบนั ทกึ การถอดคาประพนั ธล์ งสมดุ หรือในหนงั สอื เรยี นของตนเอง ๖.๕ กระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบปกติ (ช่ัวโมงท่ี ๓) ขั้นนา นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเรื่อง กาพย์พระไชยสุริยา แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ ลกั ษณะเดน่ ของเรอ่ื ง ขั้นสอน ๑. นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับคุณค่าด้านเนื้อหาจากวรรณคดีเรื่อง กาพย์พระ ไชยสรุ ิยา วา่ ในเนอ้ื หาทง้ั หมดมีความโดดเดน่ หรือมีความสาคัญอยา่ งไรบา้ ง ๒. นักเรยี นทาแบบฝึกหดั การวิเคราะห์เนื้อหาวรรณคดีเร่ือง กาพย์พระไชยสุริยา โดยวิเคราะห์ว่าด้าน เนื้อหาว่าวรรณคดีเร่ือง กาพย์พระไชยสุริยา มีความโดดเด่นในด้านใด องค์ประกอบต่างๆ มีความสาคัญ อยา่ งไร ๓. นกั เรียนสง่ งานจากน้ันร่วมกนั เฉลยแบบฝึกหัดวเิ คราะหค์ ุณค่าด้านเนื้อหาวรรณคดีเรื่อง กาพย์พระ ไชยสุรยิ า ขนั้ สรุป นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้ที่ได้จากวิเคราะห์คุณค่าด้านเน้ือหาจากวรรณคดีเรื่องกาพย์พระ ไชยสรุ ยิ า โดยรว่ มกันแสดงความคดิ เหน็ ๖.๖ กระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ (ชั่วโมงท่ี ๓) ๑. นักเรียนและครูร่วมกันทบทวนเร่ือง กาพย์พระไชยสุริยา แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับ ลกั ษณะเดน่ ของเรอ่ื ง ผ่าน line meeting

๒. นักเรียนและครูร่วมกันแสดงความคิดเห็นเก่ียวกับคุณค่าด้านเนื้อหาจากวรรณคดีเรื่อง กาพย์พระ ไชยสุรยิ าว่า ในเน้ือหาท้ังหมดมีความโดดเดน่ หรือมีความสาคัญอยา่ งไรบา้ ง ๓. นกั เรียนทาแบบฝกึ หัดการวเิ คราะห์เนื้อหาวรรณคดีเร่ือง กาพย์พระไชยสุรยิ า โดยวเิ คราะห์ว่าด้าน เน้ือหาว่าวรรณคดีเรื่อง กาพย์พระไชยสุริยา มีความโดดเด่นในด้านใด องค์ประกอบต่างๆ มีความสาคัญ อยา่ งไร ๔. นักเรียนส่งงานแบบฝึกหัดวิเคราะห์คุณค่าด้านเนื้อหาวรรณคดีเร่ือง กาพย์พระไชยสุริยา ด้วยการ ถ่ายภาพงาน แล้วส่งใน line ห้อง โดยครูจะต้ังช่ืออัลบั้มว่า “แบบฝึกหัดวิเคราะห์คุณค่าด้านเน้ือหาวรรณคดี เรือ่ ง กาพย์พระไชยสุริยา” ๗. สื่อ/วัสดอุ ุปกรณ์/แหล่งเรยี นรู้ ๗.๑ สื่อการเรียนรู้ ๑. หนังสือเรียนวรรณคดวี จิ กั ษ์ ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ ๒. สื่อประกอบการสอน เรื่อง กาพย์พระไชยสรุ ยิ า ๓. ใบความรูเ้ รือ่ ง กาพย์พระไชยสุริยา ๔. แบบฝกึ หัดการวเิ คราะห์เน้ือหาวรรณคดีเร่ือง กาพย์พระไชยสุรยิ า ๗.๒ แหลง่ การเรยี นรู้ ๑. ห้องสมดุ ๒. อนิ เทอรเ์ น็ต ๘. การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๘.๑ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๘.๑.๑ ด้านความรู้ เกณฑ์การพจิ ารณาโดยใชเ้ คร่อื งมอื วดั และประเมินผล มดี งั น้ี คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดมี าก นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นักเรยี นไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๘.๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ เกณฑ์การพิจารณาโดยใชเ้ คร่ืองมือวดั และประเมินผล มีดงั นี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา ๙-๑๐/ดีมาก นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรงุ นักเรยี นไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมินผล

๘.๑.๓ ด้านคุณลักษณะ เกณฑก์ ารพิจารณาโดยใชเ้ ครื่องมือวัดและประเมินผล มีดังนี้ คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา ๙-๑๐/ดีมาก นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรงุ นกั เรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมินผล ๘.๒ การประเมินผล ผลการเรียนรู/้ คะแนน วธิ ีวัดผล-ประเมินผล เคร่อื งมือวดั จุดประสงค์การเรียนรู้ ถามคาถาม คาถามตรวจสอบความ ๑. อธบิ ายเนอ้ื หา เข้าใจ วรรณคดี เร่อื ง กาพย์พระไชยสรุ ยิ า ๒. สรปุ เน้ือหาวรรณคดี เรื่อง กาพยพ์ ระไชย สรุ ิยา ๓. เห็นคุณค่าของ สงั เกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม วรรณคดีไทย ๑๐ รวม เกณฑ์การวดั ผลและประเมินผล คุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรอื ที่มอบหมาย ไดต้ รวจแผนการจดั การเรียนรขู้ อง นางสาวธีรพร บุตราช แลว้ มีความเห็นดงั น้ี ๑. เป็นแผนจัดการเรยี นรูท้ ่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ ๒. การจัดกิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้นาเอากระบวนการเรียนรู้  ทเ่ี นน้ ผู้เรยี นเปน็ สาคัญมาใช้ในการสอนไดเ้ หมาะสม  ยังไมเ่ น้นผู้เรียนเปน็ สาคัญ ควรพัฒนาปรบั ปรุง ๓. เป็นแผนการจดั การเรยี นรู้  นาไปใช้ไดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ................................................................................................................................................ .............................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ..................................................................................................................................... ......................................... ลงช่อื ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศพ์ ทุ ธา) รองผู้อานวยการกลมุ่ บรหิ ารวชิ าการ

รหัสวชิ า ท๒๑๑๐๒ บนั ทกึ หลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ รายวิชาภาษาไทย ๑. ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๒. ปญั หา/อุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................... ................... ................................................................................................................ .............................................................. ๓. ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ............................................ผู้สอน (นางสาวธรี พร บตุ ราช) ครู

แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๔ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองแขม ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๕ สรา้ งสรรคบ์ ทกวี เรอ่ื ง การเลา่ เรอื่ งย่อจากเร่ืองทีฟ่ ังและดจู ากหนงั สอื นอกเวลา เวลา ๒ ชั่วโมง ผสู้ อน นางสาวธีรพร บตุ ราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงั และดูอย่างมวี ิจารณญาณ และพูดแสดงความรู้ ความคดิ และ ความรสู้ ึกในโอกาสตา่ ง ๆ อย่างมวี ิจารณญาณและสรา้ งสรรค ตัวชว้ี ัด ม.๑/๒ เลา่ เร่ืองย่อจากเรือ่ งทีฟ่ ังและดู ๒. สาระสาคัญ การเลา่ เรื่องย่อ เป็นการสรุปและถา่ ยทอดเร่ืองราว สาระความรู้จากแหลง่ ต่าง ๆ โดยย่อ เพ่ือใหผ้ ู้ฟงั เกดิ ความรู้ ความเข้าใจรวดเร็วและงา่ ยข้นึ ๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ (K) อธิบายหลกั การเล่าเร่ืองย่อจากเรือ่ งทฟ่ี ังและดู ๓.๒ งานทักษะ/กระบวนการ (P) เล่าเรอ่ื งยอ่ จากเรือ่ งทฟ่ี ังและดู ๓.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ (A) มีมารยาทในการฟัง ดู และพูด ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ ดา้ นความรู้ (Knowledge) หลกั การเล่าเร่ืองย่อ ๔.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (Process) เลา่ เร่อื งยอ่ จากเรื่องท่ีฟังและดู ๔.๓ ด้านคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Attitude)

 รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซอ่ื สัตย์ สุจริต  มวี ินยั  ใฝเ่ รียนรู้  อยอู่ ย่างพอเพยี ง  มุ่งม่ันในการทางาน  รกั ความเป็นไทย  มีจติ สาธารณะ ๔.๔ ดา้ นสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รยี น  ความสามารถในการสือ่ สาร  ความสามารถในการคิด  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๔.๕ ดา้ นคุณลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล  เปน็ เลิศวิชาการ  สื่อสารสองภาษา  ล้าหน้าทางความคดิ  ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์  รว่ มกันรบั ผิดชอบตอ่ สงั คมโลก ๔.๖ บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑. หลักความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลกั ความมเี หตุผล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลักภูมคิ ุ้มกัน : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เงื่อนไขความรู้ : ………………………………………………………………………………….......... ๕. เง่อื นไขคุณธรรม : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ ในแต่ละดา้ นไม่จาเป็นต้องมคี รบทุกข้อในทุกแผนการจัดการเรยี นรู้) ๕. ช้นิ งาน/ภาระงาน เลา่ เร่อื งย่อจากเรอื่ งทฟ่ี ังและดู ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๖.๑ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบปกติ (ชวั่ โมงที่ ๑) ข้นั นา ๑. นกั เรียนชมวิดิทัศน์ เร่อื ง “ลองดู (We can try) หนังส้นั สร้างแรงบันดาลใจ โครงการสานรกั ” ๒. ครูและนักเรียนสนทนาเกย่ี วกับสง่ิ ทไ่ี ด้ชมวดิ ิทศั น์วา่ นกั เรยี นมคี วามเขา้ ใจมากน้อยเพียงใด เขา้ ใจ วา่ อยา่ งไร โดยการส่งตวั แทนนักเรยี นออกมาเลา่ เร่ืองยอ่ จากเรื่องที่ไดช้ มเม่ือสักครู่ ข้ันสอน ๑. นักเรยี นศึกษาหลกั การเล่าเร่ืองยอ่ จาก สื่อประกอบการสอน โดยมีครูอธิบายเพม่ิ เติม ๒. ครูให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดเกี่ยวกับมารยาทในการพูด ส่ิงที่ควรปฏิบัติ และไม่ควรปฏิบัติ เพ่ือเป็นพื้นฐานในการพูดประเภทตา่ งๆ

ขน้ั สรุป ๑. นกั เรยี นและครรู ่วมกันสรปุ ความร้ทู ี่ไดร้ บั จากการศึกษาเรอื่ ง หลักการเลา่ เร่ืองย่อ แลว้ จดบันทึก ๒. นักเรียนกลับไปดูวิดิทัศน์สั้น ๆ เร่ืองใดก็ได้ที่มีสาระ แล้วออกมาเล่าเรื่องย่อให้เพ่ือน ๆ ฟังใน ช่วั โมงถัดไป ๖.๒ กระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ (ช่วั โมงท่ี ๑) ๑. นักเรียนชมวดิ ิทศั น์ เรอื่ ง “ลองดู (We can try) หนงั สัน้ สร้างแรงบันดาลใจ โครงการสานรกั ” จาก google classroom ๒. ครูและนักเรยี นสนทนาเก่ยี วกบั สง่ิ ท่ไี ด้ชมวิดทิ ศั น์ว่า นักเรียนมคี วามเข้าใจมากนอ้ ยเพียงใด เขา้ ใจ ว่าอย่างไร โดยการสุ่มนักเรยี นมาเล่าเรือ่ งยอ่ จากเรื่องท่ไี ด้ชมเม่ือสกั ครู่ผา่ นโปรแกรม line meeting ๓. นักเรยี นศกึ ษาหลกั การเล่าเร่ืองย่อ จากสอื่ ประกอบการสอนและใบความรู้ โดยมีครอู ธิบายเพิม่ เตมิ ๔. นักเรยี นสง่ งานการพดู เลา่ เรอ่ื งของตนเองใน line ห้อง โดยครจู ะตั้งชอ่ื อัลบั้มว่า “การเล่าเรอื่ งย่อ” ๖.๓ กระบวนการจดั การเรียนรู้แบบปกติ (ช่ัวโมงท่ี ๒) ขั้นนา นกั เรยี นทบทวนความรู้เบื้องตน้ เกย่ี วกับหลักการเล่าเรื่องยอ่ ขน้ั สอน นักเรยี นท่ีเหลือออกมาเล่าเรื่องย่อของตนเองใหเ้ พอื่ น ๆ ฟัง จนครบทุกคน ข้ันสรปุ นักเรียนและครูสรุปเนอื้ เรอ่ื ง การเลา่ เรือ่ งยอ่ จากเรอื่ งที่ฟังและดู ๖.๔. กระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ (ชั่วโมงท่ี ๒) นกั เรียนส่งงานการจดบันทกึ ความรแู้ ละการพูดเลา่ เร่ืองของตนเองใน line ห้อง โดยครจู ะตั้งชอื่ อัลบั้ม ว่า “การเลา่ เรอื่ งย่อ” ๗. สอ่ื /วสั ดุอุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ ๗.๑ สอื่ การเรียนรู้ ๑. ใบความร้เู รอื่ ง หลักการเล่าเรือ่ งย่อจากเรื่องที่ฟงั และดู ๒. สอื่ ประกอบการสอน เรื่อง การเลา่ เรอ่ื งย่อจากเรื่องที่ฟังและดู ๓. วดิ ิทศั น์ เรื่อง “ลองดู (We can try) หนังสนั้ สร้างแรงบันดาลใจ โครงการสานรัก” ๗.๒ แหลง่ การเรียนรู้ ๑. หอ้ งสมดุ ๒. อินเทอรเ์ นต็

๘. การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๘.๑ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๘.๑.๑ ด้านความรู้ เกณฑก์ ารพจิ ารณาโดยใชเ้ ครอื่ งมอื วัดและประเมนิ ผล มีดังน้ี คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดีมาก นักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรุง นักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ผล ๘.๑.๒ ด้านทกั ษะกระบวนการ เกณฑ์การพจิ ารณาโดยใชเ้ ครอื่ งมือวดั และประเมนิ ผล มดี งั น้ี คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๙-๑๐/ดมี าก นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรุง นกั เรยี นไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๘.๑.๓ ด้านคุณลกั ษณะ เกณฑก์ ารพจิ ารณาโดยใชเ้ คร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล มีดงั นี้ คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๙-๑๐/ดีมาก นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรุง นกั เรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล

๘.๒ การประเมนิ ผล ผลการเรียนรู/้ คะแนน วิธวี ัดผล-ประเมินผล เครือ่ งมอื วดั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การฝึกปฏบิ ตั ิ แบบประเมินการฝกึ ๑. อธิบายหลกั การเลา่ ปฏบิ ตั ิ เรอ่ื งย่อจากเร่ืองท่ีฟัง และดู ๒. เลา่ เรือ่ งยอ่ จากเร่ือง ท่ีฟังและดู ๓. มีมารยาทในการฟัง สงั เกตพฤติกรรม แบบสงั เกตพฤติกรรม การดู และการพูด ๑๐ รวม เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมินผล คณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรงุ คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรอื ท่ีมอบหมาย ไดต้ รวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางสาวธีรพร บุตราช แลว้ มคี วามเห็นดงั นี้ ๑. เป็นแผนจดั การเรียนรทู้ ่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ ๒. การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้นาเอากระบวนการเรยี นรู้  ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญมาใชใ้ นการสอนไดเ้ หมาะสม  ยังไมเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ควรพัฒนาปรบั ปรุง ๓. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้  นาไปใชไ้ ดจ้ ริง  ควรปรับปรุงกอ่ นนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศ์พุทธา) รองผูอ้ านวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

รหัสวชิ า ท๒๑๑๐๒ บันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๑ รายวชิ าภาษาไทย ๑. ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................. ................................ .................................................................................................. ............................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................. ............................................ ....................................................................................... ....................................................................................... ๒. ปญั หา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๓. ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................ .................. ................................................................................................................ .............................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................ .............................. ..................................................................................................... ......................................................................... ลงชื่อ............................................ผสู้ อน (นางสาวธรี พร บตุ ราช) ครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook