Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรียนรู้สุภาษิต

เรียนรู้สุภาษิต

Published by Aunlee Ch, 2021-08-20 10:54:05

Description: เรียนรู้สุภาษิต

Search

Read the Text Version

แผนการจัดการเรยี นร้ทู ่ี ๑ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวชิ า ท ๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนมธั ยมวัดหนองแขม ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรียนรสู้ ุภาษติ เรอ่ื ง การตคี วามคายาก เวลา ๑ ช่ัวโมง ผู้สอน นางสาวธรี พร บุตราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ชว้ี ัด มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรแู้ ละความคิดเพ่ือนาไปใชต้ ัดสนิ ใจ แกป้ ัญหาในการดาเนิน ชีวติ และมนี สิ ยั รักการอา่ น ตัวชวี้ ดั ม.๑/๕ ตีความคายากในเอกสารวชิ าการโดยพิจารณาจากบรบิ ท ๒. สาระสาคัญ การอา่ นตคี วาม เปน็ การอา่ นท่ีจะต้องทาความเข้าใจกับความหมายแฝง ทเ่ี ป็นแก่นของเรอ่ื งทีแ่ ท้จริงที่ ผู้เขียนต้องการจะสื่อ เน่ืองจากบางครั้งผู้เขียนไม่ได้ต้องการสื่อความหมายตรงตามถ้อยคาที่เขียน แต่ยังแฝง ความคิดที่ลึกซ้ึงด้วยศิลปะการเขียนที่ใช้สญั ลักษณ์หรือถ้อยคาเปรยี บเทียบเพื่อให้ผู้อ่านใช้ปัญญาคิดวิเคราะห์ เน้อื ความนัน้ ๆ ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ (K) นักเรียนสามารถความหมายคายากในเอกสารโดยพิจารณาบริบทได้ ๓.๒ งานทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๑. นักเรียนสามารถจาแนกคายากได้ ๒. นกั เรียนสามารถเขียนความหมายคายากจากพจนานกุ รมได้และคายากจากบรบิ ทได้ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะอันพงึ่ ประสงค์ (A) ๑. มมี ารยาทในการอ่าน ๒. มคี วามมุ่งมนั่ ในการทางาน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ ด้านความรู้ (Knowledge) ความหมายคายากในเอกสารโดยพิจารณาบริบท

๔.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (Process) ๑. จาแนกคายากได้ ๒. เขียนความหมายคายากจากพจนานุกรมไดแ้ ละคายากจากบรบิ ทได้ ๔.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude)  รักชาติ ศาสน์ กษตั รยิ ์  ซ่อื สัตย์ สุจรติ  มวี ินัย  ใฝ่เรียนรู้  อยู่อยา่ งพอเพียง  มุง่ มัน่ ในการทางาน  รักความเป็นไทย  มจี ติ สาธารณะ ๔.๔ ด้านสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการส่ือสาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๕ ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผเู้ รียนตามหลักสูตรมาตรฐานสากล  เปน็ เลศิ วิชาการ  สือ่ สารสองภาษา  ลา้ หนา้ ทางความคดิ  ผลติ งานอยา่ งสรา้ งสรรค์  รว่ มกันรับผิดชอบต่อสงั คมโลก ๔.๖ บรู ณาการตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑. หลักความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลกั ความมเี หตุผล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลกั ภมู ิคมุ้ กัน : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เง่ือนไขความรู้ : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ: ในแต่ละดา้ นไม่จาเป็นตอ้ งมคี รบทกุ ข้อในทุกแผนการจดั การเรยี นรู้ ) ๕. ชน้ิ งาน/ภาระงาน นักเรยี นรวบรวมบทความทางวชิ าการทีน่ ่าสนใจ มาคนละ ๒-๓ บทความ ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๖.๑ กระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบปกติ ขั้นนา ครูยกตัวอยา่ งข้อความท่ีมีคายากในบรบิ ท ดังน้ี “คลืน่ ทีม่ ากระทบ ไม่หยุดหย่อน พอลกู แรกกระแทกฝ่ังยังไม่ทนั ซ่า คลืน่ ลกู ทีส่ องกต็ ามมา ยังไม่ทันจะได้ปรบั

ทันจะไดป้ รับตัวเตรยี มใจกม็ ีคล่นื ลกู ใหม่ถาโถม วนเวยี นซ้าแล้วซา้ เลา่ หาจดุ จบไม่ได้ ทาไมนะชีวิตชีวติ ตอนน้ี จงึ ไดม้ ีแตป่ ญั หา”และใหน้ ักเรียนร่วมวิเคราะห์คาศัพทท์ ต่ี ้องใช้บรบิ ท และอธิบายความหมายของคาศพั ท์ ข้นั สอน ๑. นกั เรียนเข้ากลุ่ม ครแู จกบทความเอกสารทาง วชิ าการเรอื่ ง ชอ้ นปลาในบ่อเพื่อน ให้นกั เรยี นหาคา ยาก และบอกความหมายตามบริบทและตามพจนานุกรม ๒. ตวั แทนแต่ละกล่มุ นาเสนอผลงานการตีความคายาก ขั้นสรปุ ครแู ละนักเรียนร่วมกันสรปุ ลกั ษณะการอา่ นตคี วามคายากทใี่ ชบ้ ริบทเพ่อื ใหน้ ักเรียนนาใช้ในการอ่าน ๖.๒ กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบออนไลน์ ๑. นกั เรียนศกึ ษาเรือ่ ง การอ่านตีความคายาก จากการสอนสด (live) ของครผู ่านช่องทาง line Meeting ๒. นักเรียนศกึ ษาบทความเอกสารทางวชิ าการ เรอ่ื ง ช้อนปลาในบอ่ เพ่อื น จาก google classroom พรอ้ มทัง้ หาคายากและบอกความหมายตามบริบทและตามพจนานกุ รม ๓. นักเรียนส่งใบงานเรื่อง การตีความคายาก โดยการอัพโหลดรูปภาพใบงานที่ตนเองทาเสร็จแล้วส่ง ใน line ห้องของตนเอง ซึ่งครจู ะสร้างอลั บัม้ ไวช้ ื่อว่า “การอา่ นตีความคายาก” ๗. ส่อื /วสั ดุอปุ กรณ/์ แหล่งเรียนรู้ ๑. ใบงานเรอ่ื ง การอ่านตีความคายาก ๒. บทความทางวชิ าการ เรือ่ ง ชอ้ นปลาในบอ่ เพอ่ื น ๓. สอ่ื ประกอบการสอน เรอ่ื ง การอา่ นตีความคายาก ๘. การวดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้ ๘.๑ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๘.๑.๑ ดา้ นความรู้ เกณฑก์ ารพิจารณาโดยใช้เครื่องมอื วดั และประเมินผล มีดงั นี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา ๙-๑๐/ดีมาก นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรงุ นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ผล

๘.๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ เกณฑ์การพิจารณาโดยใช้เครอ่ื งมือวัดและประเมินผล มดี งั น้ี คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดีมาก นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์การประเมนิ ผล ๘.๑.๓ ด้านคุณลักษณะ เกณฑ์การพจิ ารณาโดยใชเ้ ครื่องมือวัดและประเมนิ ผล มดี งั น้ี คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา ๙-๑๐/ดมี าก นกั เรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรุง นักเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ผล ๘.๒ การประเมนิ ผล ผลการเรยี นรู้/ คะแนน วธิ ีวัดผล-ประเมนิ ผล เครื่องมือวดั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ตรวจใบงาน สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมินผลงาน ๑. จาแนกคายากได้ นกั เรยี น ๒. เขียนความหมายคา แบบประเมนิ พฤติกรรม ยากจากพจนานุกรมได้ และคายากจากบริบทได้ ๓. มีมารยาทในการอ่าน ๔. มคี วามมงุ่ ม่ันในการ ทางาน รวม ๑๐ เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล คุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรอื ที่มอบหมาย ได้ตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ของ นางสาวธีรพร บุตราช แลว้ มคี วามเหน็ ดงั น้ี ๑. เปน็ แผนจดั การเรียนรทู้ ่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง ๒. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ได้นาเอากระบวนการเรียนรู้  ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั มาใช้ในการสอนได้เหมาะสม  ยังไมเ่ น้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรพัฒนาปรบั ปรุง ๓. เป็นแผนการจดั การเรียนรู้  นาไปใชไ้ ดจ้ รงิ  ควรปรับปรุงกอ่ นนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอนื่ ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................... ............... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศพ์ ทุ ธา) รองผู้อานวยการกล่มุ บรหิ ารวชิ าการ

รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ บนั ทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ รายวชิ าภาษาไทย ๑. ผลการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ .............. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. .............................................................................. .............. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ .............. ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................... ............................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................... ............................................... .................................................................................... ............................................................................ .............. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชื่อ............................................ผูส้ อน (นางสาวธีรพร บตุ ราช) ครู

แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๒ รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนมัธยมวดั หนองแขม ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๒ เรียนรูส้ ภุ าษิต เรือ่ ง สานวน สภุ าษิต คาพังเพย เวลา ๒ ชั่วโมง ผสู้ อน นางสาวธรี พร บุตราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้วี ัด มาตรฐาน ท ๔.๑ เขา้ ใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภมู ิปัญญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ปน็ สมบัติของชาติ ตัวช้วี ัด ม.๑/๖ จาแนกและใช้สานวนท่เี ปน็ คาพังเพยและสุภาษติ ๒. สาระสาคญั สุภาษิต และคาพังเพยนั้น จดั เป็น “สานวน” ด้วยกนั ทัง้ คู่ เพราะมคี วามหมายในเชิงเปรียบเทียบและ เป็นถ้อยคา ท่ีใช้สืบเนื่องกันมานาน สุภาษิต เป็นถ้อยคาท่ีมักใช้คาสั้น ๆ กะทัดรัดแต่มีความหมายลึกซึ้ง มี สัมผัสคล้องจอง ส่วนใหญ่สุภาษิตที่ใช้ในสังคมไทยมักมีท่ีมาจากคาสอนทางพุทธศาสนา หรืออาจนามาจาก ธรรมชาติ และสงิ่ ตา่ ง ๆ รอบตวั คาพงั เพย เป็นถอ้ ยคาท่ใี ห้ข้อคิด โดยกลา่ วถึงพฤติกรรมหรือธรรมชาติรอบตัว สว่ นมากมักเปน็ ถอ้ ยคาทีเ่ ปน็ ข้อสรุปการกระทาหรือพฤติกรรมท่ัวไป อาจมที ม่ี าจากนิทาน ตานาน วรรณคดี ๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ (K) นกั เรยี นสามารถบอกความหมายของสานวนที่เปน็ สภุ าษติ และคาพงั เพยได้ ๓.๒ งานทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. นกั เรยี นสามารถจาแนกความแตกต่างของสานวนที่เป็นสุภาษติ และคาพงั เพยได้ ๒. นกั เรียนสามารถใช้สานวนทเ่ี ปน็ สภุ าษิตและคาพังเพยได้ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพ่ึงประสงค์ (A) มคี วามมงุ่ มั่นในการทางาน

๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ ด้านความรู้ (Knowledge) ความหมายสานวนทเี่ ปน็ สภุ าษิตและคาพังเพย ๔.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process) ๑. จาแนกความแตกต่างของสานวนท่เี ปน็ สุภาษติ และคาพังเพยได้ ๒. ใช้สานวนท่ีเป็นสภุ าษติ และคาพังเพย ๔.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Attitude)  รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซอื่ สตั ย์ สุจริต  มวี นิ ัย  ใฝเ่ รียนรู้  อยู่อย่างพอเพยี ง  มุ่งมั่นในการทางาน  รักความเป็นไทย  มจี ิตสาธารณะ ๔.๔ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน  ความสามารถในการสื่อสาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๕ ดา้ นคุณลักษณะของผเู้ รยี นตามหลกั สตู รมาตรฐานสากล  เปน็ เลศิ วิชาการ  ส่อื สารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  ร่วมกันรับผดิ ชอบตอ่ สังคมโลก ๔.๖ บูรณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ๑. หลักความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลักความมเี หตุผล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลักภมู ิคุ้มกัน : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เง่อื นไขความรู้ : ………………………………………………………………………………….......... ๕. เงื่อนไขคุณธรรม : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ ในแตล่ ะด้านไม่จาเป็นต้องมคี รบทกุ ข้อในทุกแผนการจดั การเรยี นร้)ู ๕. ชนิ้ งาน/ภาระงาน ๑. ศกึ ษาคน้ ควา้ เรอื่ งสานวนสภุ าษิตและคาพงั เพย ๒. รวบรวมสานวนและความหมาย ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๖.๑ กระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบปกติ (ช่ัวโมงท่ี ๑)

ขั้นนา ๑. ครูนกั เรยี นทายภาพสานวนไทยและบอกความหมายสานวน “อย่าเห็นกงจกั รควา่ เป็นดอกบัว” “ตานา้ พริกละลายแมน่ ้า” ๒. ครูให้นกั เรยี นวเิ คราะหล์ ักษณะความหมายสานวนวา่ มคี วามเหมอื นและตา่ งกันหรือไม่อย่างไร “อย่าเหน็ กงจักรคว่าเปน็ ดอกบัว” “ตานา้ พริกละลายแมน่ ้า” ข้นั สอน ๑. ครใู หน้ ักเรยี นแบ่งกลมุ่ ศกึ ษาความหมายของสานวน สภุ าษิต คาพังเพยจากใบความรเู้ ร่ือง สานวน สภุ าษิต คาพังเพย ๒. นักเรียนทาแผนภาพความคิด จาแนกความเหมือนความแตกต่างของสานวน สุภาษิต และคา พังเพย ๓. ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอแผนภาพความคดิ จาแนกสานวน สภุ าษิต และคาพังเพย ๔. ครูให้นักเรียนไปค้นคว้าสุภาษิต และคาพังเพยจากสานวนในสื่อต่าง ๆ เพื่อนามาใช้ในการเรียน ชั่วโมงถดั ไป ขน้ั สรปุ ครแู ละนักเรยี นร่วมกันสรปุ ลักษณะท่ีเหมือนและแตกต่างกันระหวา่ งสานวน สภุ าษิต คาพงั เพย ๖.๒ กระบวนการจัดการเรียนร้แู บบออนไลน์ (ช่ัวโมงท่ี ๑) ๑. นกั เรียนศกึ ษาเร่อื ง สานวน สุภาษติ และคาพงั เพย จากการสอนสด (live) ของครูผา่ นช่องทาง line Meeting ๒. นกั เรียนศกึ ษาใบความรู้ เรื่อง สุภาษิตและคาพังเพย จาก google classroom ๓. นักเรียนสืบคน้ สานวนสุภาษติ และคาพงั เพยจากแหลง่ การเรยี นรู้สารสนเทศ ๖.๓ กระบวนการจัดการเรยี นรู้แบบปกติ (ชั่วโมงท่ี ๒) ข้นั นา ๑. ครูให้นักเรียนเล่นเกมต่อคาสานวนไทยและครูซักถามนักเรียนความหมายของสานวนสุภาษิต คา พงั เพย ๒. นักเรียนยกตวั อย่างสานวนไทยพรอ้ มสถานการณ์ทน่ี ักเรียนเคยนาสานวนมาใช้

ขนั้ สอน ๑. แบ่งนักเรียนออกเปน็ กลุ่ม ครแู จกใบงาน เรอ่ื ง สานวน สุภาษิต คาพงั เพย ๒. นักเรยี นระดมความคิดวิเคราะห์ และสงั เคราะหเ์ รื่อง สานวน สุภาษิต คาพังเพย และช่วยกนั ทาใบ งาน เร่ือง สานวน สภุ าษติ คาพังเพย ๓. ครูใหต้ ัวแทนกลมุ่ นาผลงานหนา้ ชน้ั เรียน ๔. ครแู ละนกั เรียนร่วมแสดงความคิดเหน็ สรปุ ให้ข้อเสนอแนะการนาเสนอผลงาน ๕. นักเรยี นทาแบบทดสอบ เร่อื ง สานวน สภุ าษิต คาพังเพย ๖. ครูและนาให้นักเรียนรวบรวมสานวนและความหมายจากหนังสือเรียนหรือแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพือ่ นนาไปประยุกตใ์ ช้เปน็ คตสิ อนใจในการดาเนินชีวติ ขั้นสรปุ นกั เรยี นและครูชว่ ยกันสรปุ ความรูแ้ ละคุณคา่ ของสานวน สุภาษติ และคาพังเพย ๖.๔ กระบวนการจดั การเรยี นรู้แบบออนไลน์ (ชั่วโมงที่ ๒) ๑. นักเรยี นศกึ ษาเร่อื ง สานวนสภุ าษิตและคาพงั เพย จากการสอนสด (live) ของครผู ่านชอ่ งทาง line Meeting ๒. นกั เรียนศึกษาใบความรู้ เรื่อง สานวน สภุ าษิต คาพงั เพย จาก google classroom ๓. นกั เรยี นทาใบงาน เรอื่ ง สานวน สภุ าษิต คาพงั เพย ๔. นักเรยี นทาแบบทดสอบ เร่ือง สานวน สภุ าษิต คาพังเพย ผา่ น google form ๕. นักเรียนส่งงานเร่ือง สานวน สุภาษิต คาพังเพย ที่ได้จากการค้นหาในแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ โดย การอัปโหลดรูปภาพผลงานที่ตนเองทาเสร็จแล้วส่งใน line ห้องของตนเอง ซ่ึงครูจะสร้างอัลบ้ัมไว้ช่ือว่า “สานวน สภุ าษิต คาพงั เพย” ๗. ส่ือ/วัสดุอุปกรณ/์ แหลง่ เรียนรู้ ๑. ภาพสานวนไทย ๒. ใบความรู้ เรื่อง สานวน สุภาษติ คาพงั เพย ๓. สือ่ ประกอบการสอน เรื่อง สานวน สภุ าษติ คาพงั เพย ๔. เกมตอ่ สานวน ๕. ใบงาน เรื่อง สานวน สภุ าษิต และคาพงั เพย ๖. แบบทดสอบ เร่ือง สานวน สุภาษิต และคาพังเพย ๘. การวัดผลและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ ๘.๑ จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๘.๑.๑ ด้านความรู้ เกณฑ์การพจิ ารณาโดยใช้เครือ่ งมอื วัดและประเมนิ ผล มดี ังนี้

คะแนน/คุณภาพ เกณฑก์ ารพจิ ารณา ๙-๑๐/ดมี าก นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรงุ นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ผล ๘.๑.๒ ดา้ นทักษะกระบวนการ เกณฑ์การพิจารณาโดยใช้เครื่องมือวัดและประเมนิ ผล มดี งั น้ี คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา ๙-๑๐/ดมี าก นักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรุง นักเรยี นไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมินผล ๘.๑.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะ เกณฑก์ ารพจิ ารณาโดยใชเ้ คร่ืองมือวดั และประเมินผล มดี ังนี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา ๙-๑๐/ดีมาก นกั เรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรงุ นักเรยี นไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ผล

๘.๒ การประเมินผล ผลการเรียนร/ู้ คะแนน วิธวี ดั ผล-ประเมนิ ผล เครื่องมือวดั จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ ตรวจใบงาน สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมินผลงาน ๑. บอกความหมายของ นักเรียน ส า น ว น ที่ เ ป็ น สุ ภ า ษิ ต แบบสงั เกตพฤติกรรม และคาพงั เพย ๒. จาแนกความแตกต่าง ของสานวนที่เปน็ สภุ าษติ และคาพังเพย ๓. ใช้สานวนที่เปน็ สภุ าษิตและคาพังเพยได้ ๓. มคี วามมงุ่ มั่นในการ ทางาน รวม ๑๐ เกณฑ์การวดั ผลและประเมินผล คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ขอ้ เสนอแนะของหวั หนา้ สถานศึกษาหรอื ที่มอบหมาย ไดต้ รวจแผนการจดั การเรยี นรูข้ อง นางสาวธรี พร บุตราช แลว้ มีความเห็นดังน้ี ๑. เปน็ แผนจัดการเรียนรู้ที่  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ ๒. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้นาเอากระบวนการเรยี นรู้  ทเ่ี นน้ ผเู้ รียนเปน็ สาคญั มาใช้ในการสอนไดเ้ หมาะสม  ยังไมเ่ น้นผเู้ รียนเปน็ สาคญั ควรพัฒนาปรบั ปรงุ ๓. เปน็ แผนการจดั การเรยี นรู้  นาไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรุงกอ่ นนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ .................................................................................................................................... .......................................... .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงช่ือ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศ์พุทธา) รองผู้อานวยการกลุ่มบรหิ ารวิชาการ

รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ บนั ทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ รายวชิ าภาษาไทย ๑. ผลการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๒. ปัญหา/อปุ สรรค ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................... ................... ................................................................................................................ .............................................................. ๓. ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ............................................ผู้สอน (นางสาวธรี พร บุตราช) ครู

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๓ รายวิชาภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวัดหนองแขม ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ เรียนรู้สภุ าษติ เรอื่ ง สภุ าษติ พระร่วง เวลา ๒ ชว่ั โมง ผู้สอน นางสาวธรี พร บตุ ราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นรู้/ตวั ช้ีวัด มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคดิ เหน็ วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ ง เหน็ คุณคา่ และ นามาประยุกต์ใชใ้ นชีวติ จรงิ ตวั ชว้ี ดั ม.๑/๑ สรุปเนอื้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน ม.๑/๒ วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรมท่ีอา่ นพร้อมเหตผุ ลประกอบตวั ชว้ี ดั ม.๑/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมท่อี ่าน ม.๑/๔ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่านเพ่อื ประยุกต์ใช้ในชีวติ จรงิ ม.๑/๓ อธิบายคณุ คา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมท่ีอ่าน ๒. สาระสาคญั การสรุปเน้อื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมตามรปู แบบหลกั การ วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ (K) ๑. นกั เรยี นสามารถการสรุปเนือ้ หาวรรณคดแี ละวรรณกรรมได้ ๒. นักเรยี นสามารถการวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมได้ ๓.๒ งานทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๑. นักเรียนสามารถวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม เรือ่ ง สุภาษติ พระรว่ งได้ ๒. นักเรียนสามารถสรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรม เรื่อง สภุ าษิตพระรว่ งได้ ๓. นักเรยี นมีความรู้ความเข้าใจคณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่าน ๔. นักเรียนสามารถสรุปความร้แู ละข้อคดิ จากการอา่ นไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ได้

๓.๓ ดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึ่งประสงค์ (A) ๑. มีความม่งุ มน่ั ในการทางาน ๒. มคี วามกระตือรอื ร้นใฝ่เรียนรู้ ๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ ด้านความรู้ (Knowledge) ๑. เนอ้ื หาวรรณคดแี ละวรรณกรรม ๒. วเิ คราะห์วรรณคดแี ละวรรณกรรม ๔.๒ ดา้ นทักษะ/กระบวนการ (Process) ๑. วิเคราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม เรือ่ ง สภุ าษิตพระร่วง ๒. สรุปเนือ้ หาวรรณคดีและวรรณกรรม เรอ่ื ง สุภาษติ พระร่วง ๓. คุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมที่อา่ น ๔. ข้อคิดจากการอ่านไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตจรงิ ๔.๓ ด้านคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude)  รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ  มีวนิ ัย  ใฝเ่ รียนรู้  อยอู่ ย่างพอเพียง  ม่งุ มน่ั ในการทางาน  รกั ความเป็นไทย  มจี ิตสาธารณะ ๔.๔ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผูเ้ รียน  ความสามารถในการสือ่ สาร  ความสามารถในการคดิ  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวติ  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๔.๕ ดา้ นคุณลักษณะของผเู้ รียนตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล  เป็นเลิศวชิ าการ  สอื่ สารสองภาษา  ล้าหนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  ร่วมกันรบั ผิดชอบต่อสงั คมโลก ๔.๖ บรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑. หลกั ความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลักความมเี หตผุ ล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลกั ภูมิคุ้มกัน : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เงอ่ื นไขความรู้ : …………………………………………………………………………………..........

๕. เงอ่ื นไขคุณธรรม : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ ในแตล่ ะดา้ นไม่จาเปน็ ต้องมคี รบทุกข้อในทุกแผนการจดั การเรยี นรู้) ๕. ช้นิ งาน/ภาระงาน ๑. ศึกษาและค้นควา้ ความหมายของสุภาษติ ท่ปี รากฏในเรื่องสุภาษิตพระรว่ ง ๒. เขยี นขอ้ คิด/คติประจาใจ ๖. กระบวนการจัดการเรียนรู้ ๖.๑ กระบวนการจดั การเรียนรู้แบบปกติ (ชว่ั โมงท่ี ๑) ขน้ั นา ๑. ครใู หน้ ักเรียนเลน่ เกมต่อคาสานวนไทย และครูซกั ถามนกั เรยี นความหมายของสานวน สุภาษิต คาพังเพย ๒. นกั เรยี นยกตวั อย่างสานวนไทยพร้อม สถานการณ์ท่ีนกั เรยี นเคย ขัน้ สอน ๑. แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่มศึกษาวรรณคดี เรื่อง สุภาษิตพระร่วง จากหนังสือแบบเรียนภาษาไทย พร้อมทง้ั สรปุ ประเดน็ จดั ทาเปน็ แผนภาพความคดิ ดงั น้ี ๑) ความเป็นมาของเรื่อง/ประเภทของวรรณคดี ๒) ประวัติผู้แต่ง ๓) ลักษณะคาประพนั ธ์ ๔) ลกั ษณะของเน้อื เรอ่ื ง ๒. นกั เรยี นแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานการศึกษาตามประเด็นทีร่ ับผิดชอบ ครซู กั ถามนักเรียน พรอ้ มให้ คาเสนอแนะเพิม่ เตมิ และชมเชยผลงานของนักเรยี น ๓. นกั เรยี นทาใบงานเรื่อง สภุ าษิตพระรว่ ง ครตู รวจใบงานนักเรยี น ๔. ครเู สนอแนะให้นกั เรียนศกึ ษาและค้นคว้าความหมายของสุภาษติ ทีป่ รากฏในเรื่องสุภาษติ พระรว่ ง ขนั้ สรปุ นกั เรยี นครรู ่วมกันสรปุ เนอื้ หาและบันทกึ ลงในสมดุ งานของตนเอง ๖.๒ กระบวนการจดั การเรยี นรู้แบบออนไลน์ (ช่ัวโมงท่ี ๑) ๑. นกั เรียนศึกษาเร่อื ง สุภาษิตพระร่วง จากการสอนสด (live) ของครผู ่านชอ่ งทาง line Meeting ๒. นักเรียนศึกษาใบความรเู้ รอ่ื ง สุภาษิตพระรว่ ง จาก google classroom ๓. นกั เรียนคน้ หาสุภาษติ ทป่ี รากฏในหนงั สอื เรียน และทาใบงานเรือ่ ง สภุ าษติ พระรว่ ง ท่ีอยใู่ นเอกสาร การสอน

๔. นักเรียนส่งงานเรื่อง สุภาษิตพระร่วง โดยการอัปโหลดรูปภาพใบงานท่ีตนเองทาเสร็จแล้วส่งใน line ห้องของตนเอง ซ่งึ ครูจะสร้างอลั บมั้ ไว้ชอ่ื วา่ “สุภาษติ พระร่วง” ๖.๓ กระบวนการจัดการเรียนร้แู บบปกติ (ช่ัวโมงที่ ๒) ขั้นนา ครูยกตัวอย่างสุภาษิตในเรื่องสุภาษิตพระร่วง ให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์เนอ้ื หาสุภาษิตว่ามีลักษณะ ใด (ขอ้ ห้าม คา้ สั่ง ข้อแนะนา) เชน่ ครบู าสอนอย่าโกรธ อยา่ ดถู ูกคนจร หงิ่ หอ้ ยอย่าแขง่ ไฟ อย่ารักถ้ากวา่ เรือน ขนั้ สอน ๑. แบ่งนกั เรยี นออกเป็นกลมุ่ ศกึ ษาสุภาษิตพระร่วง ดังนี้ ๑) สุภาษิตพระรว่ งแสดงให้เห็นลักษณะเดน่ ของภาษาไทยอยา่ งไร ๒) คาสอนในสุภาษติ มคี วามทนั สมยั หรอื ไม่ อยา่ งไร ๓) สุภาษิตมีบทบาทตอ่ วถิ กี ารดารงชีวิตในสงั คมอยา่ งไร ๒. นักเรียนแตล่ ะกลุ่มวิเคราะหเ์ น้ือหาจากวรรณคดีเรื่อง สุภาษิตพระรว่ ง พรอ้ มยกตัวอยา่ งเหตุการณ์ ทเ่ี กดิ ข้ึนในชีวิตประจาวันท่นี ักเรียนสามารถนาคาสอนเหลา่ นน้ั ไปปรับใชไ้ ด้ ๓. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานการศึกษาตามประเด็นที่รับผิดชอบ ครูซักถามนักเรียนพร้อมให้ ข้อเสนอ แนะเพิ่มเตมิ และชมเชยผลงานของนักเรียน ๔. นักเรียนทาใบงานเรอื่ ง สุภาษิตพระรว่ ง ๕. ครูให้นักเรียนเขียนข้อคิดหรือคติประจาใจที่นักเรียนยึดเป็นหลักในการปฏิบัติตนลงในสมุด และ ตกแตง่ ให้สวยงาม ขัน้ สรปุ ครแู ละนกั เรียนสรุปขอ้ คดิ ทไ่ี ดจ้ ากเร่อื งสภุ าษิตพระร่วง ๖.๔ กระบวนการจดั การเรียนรแู้ บบออนไลน์ (ช่ัวโมงที่ ๒) ๑. นักเรียนศกึ ษาเรือ่ ง สภุ าษติ พระร่วง จากการสอนสด (live) ของครูผา่ นช่องทาง line Meeting ๒. นักเรียนศึกษาใบความรู้ เร่อื ง สุภาษติ พระร่วง จาก google classroom ๓. ครูสุ่มช่ือนักเรียน ด้วยการให้นักเรียนเปิดไมค์และเปิดกล้องพูดคุยโดยการยกตัวอย่างเหตุการณ์ท่ี เกดิ ขนึ้ ในชวี ิตประจาวนั ทีน่ กั เรียนสามารถนาคาสอนจากเรือ่ ง สุภาษิตพระร่วง ไปปรับใชไ้ ด้ ๔. นกั เรียนทาใบงานเรือ่ ง สภุ าษิตพระร่วง แลว้ เฉลยรว่ มกัน

๕. นักเรียนเขียนข้อคิดหรือคติประจาใจที่นักเรียนยึดเป็นหลักในการปฏบิ ัตติ นลงในสมุด และตกแต่ง ใหส้ วยงาม ๖. นักเรียนส่งงานโดยการอัปโหลดรูปภาพงานที่ตนเองทาเสร็จแล้วส่งใน line ห้องของตนเอง ซ่ึงครู จะสร้างอัลบมั้ ไว้ชื่อวา่ “ขอ้ คดิ หรอื คตปิ ระจาใจจากเร่ือง สภุ าษติ พระรว่ ง” ๗. สือ่ /วสั ดุอปุ กรณ์/แหล่งเรียนรู้ ๑. หนังสือวรรณคดวี ิจกั ษณ์ ม. ๑ ๒. ใบงานเร่ือง สุภาษิตพระร่วง ๓. ใบความรู้ เรอ่ื ง สุภาษติ พระรว่ ง ๓. สื่อประกอบการสอน เรื่อง สภุ าษิตพระร่วง ๘. การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ ๘.๑ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๘.๑.๑ ด้านความรู้ เกณฑก์ ารพจิ ารณาโดยใช้เคร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล มีดงั นี้ คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา ๙-๑๐/ดีมาก นกั เรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรงุ นกั เรยี นไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๘.๑.๒ ด้านทักษะกระบวนการ เกณฑ์การพิจารณาโดยใชเ้ ครอ่ื งมือวัดและประเมนิ ผล มดี ังนี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดมี าก นักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรุง นักเรียนไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ผล ๘.๑.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะ เกณฑ์การพิจารณาโดยใชเ้ คร่ืองมือวัดและประเมนิ ผล มดี งั นี้ คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดมี าก นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรงุ นกั เรียนไมผ่ า่ นเกณฑ์การประเมนิ ผล

๘.๒ การประเมนิ ผล ผลการเรยี นร/ู้ คะแนน วิธีวดั ผล-ประเมนิ ผล เครอ่ื งมือวัด จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ตรวจใบงาน สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมนิ ผลงาน ๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดี นกั เรียน และวรรณกรรมได้ แบบสงั เกตพฤติกรรม ๒. วิเคราะหว์ รรณคดี และวรรณกรรมได้ ๓. วเิ คราะหว์ รรณคดี และวรรณกรรมเรื่อง สภุ าษิตพระร่วงได้ ๔. สรปุ เน้ือหาวรรณคดี และวรรณกรรมเร่ือง สุภาษติ พระรว่ งได้ ๕. นกั เรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจคณุ คา่ ของ วรรณคดแี ละ วรรณกรรมที่อา่ น ๖. นักเรยี นสามารถสรุป ความร้แู ละขอ้ คดิ จาก การอ่านไปประยกุ ต์ใชใ้ น ชวี ิตจรงิ ได้ ๗. มีความมงุ่ มั่นในการ ทางาน ๘. มีความกระตือรอื รน้ ใฝเ่ รยี นรู้ รวม ๑๐ เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมินผล คุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ข้อเสนอแนะของหวั หนา้ สถานศกึ ษาหรือที่มอบหมาย ไดต้ รวจแผนการจดั การเรียนรู้ของ นางสาวธรี พร บุตราช แลว้ มีความเหน็ ดังน้ี ๑. เป็นแผนจดั การเรยี นรทู้ ี่  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรุง ๒. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ไดน้ าเอากระบวนการเรยี นรู้  ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคญั มาใช้ในการสอนได้เหมาะสม  ยังไม่เน้นผู้เรยี นเปน็ สาคญั ควรพัฒนาปรบั ปรุง ๓. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้  นาไปใช้ไดจ้ ริง  ควรปรับปรุงก่อนนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอ่ื ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศ์พทุ ธา) รองผู้อานวยการกลุ่มบริหารวชิ าการ

รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ บันทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๑ รายวิชาภาษาไทย ๑. ผลการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ..................................................................................................................................................................... ......... .......................................................................................................................... .................................................... ๒. ปญั หา/อุปสรรค ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... ............................................................................................. ................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแกไ้ ข ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ............................................................................................................................ .................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................................................ .................. ลงชือ่ ............................................ผู้สอน (นางสาวธรี พร บุตราช) ครู

แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๔ รายวิชาภาษาไทย รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวดั หนองแขม ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ ภาคเรยี นท่ี ๑ หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒ เรียนร้สู ุภาษิต เร่อื ง สภุ าษติ พระร่วง (คุณคา่ ดา้ นเนอ้ื หา) เวลา ๑ ช่วั โมง ผู้สอน นางสาวธรี พร บุตราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นรู/้ ตัวชวี้ ดั มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่าและ นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตจรงิ ตัวชี้วัด ม.๑/๓ อธิบายคณุ ค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมทอ่ี า่ น ม.๑/๔ สรปุ ความรแู้ ละข้อคิดจากการอ่านเพ่อื ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง ๒. สาระสาคัญ การสรุปเน้ือหาวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะหว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมตามรปู แบบหลักการ วเิ คราะห์วรรณคดีและวรรณกรรม ๓. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ด้านความรู้ (K) ๑. นักเรยี นสามารถวเิ คราะห์คณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมได้ ๒. นักเรียนสามารถสรปุ ความรูแ้ ละข้อคดิ จากการอา่ นไปประยุกต์ใชใ้ นชีวิตจริงได้ ๓.๒ งานทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. นักเรียนสามารถอธิบายคณุ คา่ ด้านเน้ือหาในวรรณคดีเร่อื งสภุ าษติ พระรว่ งได้ ๒. นกั เรยี นสามารถวเิ คราะห์คุณคา่ ด้านเนอื้ หาในบทประพนั ธ์เร่ืองสุภาษิตพระร่วงได้ ๓. นกั เรียนสามารถสรุปความรแู้ ละขอ้ คดิ จากการอ่านเพื่อประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จรงิ ได้ ๓.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) ๑. มีความกระตือรือรน้ ในการทางาน ๒. มีความมุง่ มน่ั ในการทางาน

๔. สาระการเรียนรู้ ๔.๑ ด้านความรู้ (Knowledge) ๑. คณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ๒. ขอ้ คดิ จากการอ่านไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ๔.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (Process) ๑. อธบิ ายคุณคา่ ดา้ นเน้ือหาในวรรณคดเี รอ่ื งสภุ าษติ พระรว่ งได้ ๒. วิเคราะหค์ ณุ ค่าด้านเนอ้ื หาในบทประพนั ธเ์ รอื่ งสุภาษติ พระรว่ งได้ ๓. สรปุ ความร้แู ละข้อคิดจากการอ่านเพื่อประยุกตใ์ ช้ในชีวิตจริงได้ ๔.๓ ดา้ นคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attitude)  รักชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ  มีวินัย  ใฝ่เรียนรู้  อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง  มงุ่ ม่ันในการทางาน  รักความเป็นไทย  มีจติ สาธารณะ ๔.๔ ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการสอื่ สาร  ความสามารถในการคิด  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๔.๕ ดา้ นคณุ ลกั ษณะของผูเ้ รยี นตามหลักสูตรมาตรฐานสากล  เป็นเลศิ วชิ าการ  สื่อสารสองภาษา  ลา้ หนา้ ทางความคดิ  ผลิตงานอย่างสรา้ งสรรค์  ร่วมกันรับผดิ ชอบตอ่ สงั คมโลก ๔.๖ บูรณาการตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๑. หลักความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลกั ความมเี หตุผล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลักภูมคิ มุ้ กนั : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เง่อื นไขความรู้ : ………………………………………………………………………………….......... ๕. เงือ่ นไขคุณธรรม : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ ในแต่ละด้านไม่จาเปน็ ต้องมีครบทุกข้อในทุกแผนการจดั การเรียนรู้) ๕. ชิ้นงาน/ภาระงาน ค้นคว้าและรวบรวมบทประพนั ธท์ น่ี กั เรียนชอบ

๖. กระบวนการจัดการเรยี นรู้ ๖.๑ กระบวนการจัดการเรียนรูแ้ บบปกติ ข้นั นา ๑. ครยู กตวั อยา่ งคาประพนั ธ์ “จะพดู จาปราศรัยกับใครน้ัน อยา่ ตะคน้ั ตะคอกใหเ้ คอื งหู ไมค่ วรพูดอื้ออึงข้นึ มงึ กู คนจะหลูล่ ่วงลามไม่ขามใจ (สุภาษติ สอนหญิง : สนุ ทรภู)่ ๒. ครูถามนักเรียนว่าคาประพันธ์ข้างต้นมีคุณค่าดา้ นเนื้อหาในประเด็นใดบา้ ง (คุณค่าด้านเน้ือหาหรือ คณุ ค่าด้านสังคม เชน่ การปฏบิ ตั ติ นในสงั คม การใช้ชวี ติ ดว้ ยความไม่ประมาท เปน็ ต้น) ขัน้ สอน ๑. นักเรียนแบง่ กลมุ่ ออกเป็น ๖ กลุ่มศึกษาคุณคา่ ดา้ นเนอ้ื หาในสภุ าษิตพระร่วง ๑) มศี ลี ธรรม มีความเมตตา กตัญญูรคู้ ณุ ๒) ต้ังอยู่ในความไม่ประมาท ร้จู กั ประมาณตน ๓) ขอ้ คดิ ในการทางาน ๔) สอนมารยาทในการเข้าสงั คม ๕) การดาเนนิ ชีวิตในครอบครัว ๖) เห็นความสาคัญของการศึกษาและวเิ คราะห์คุณคา่ ดา้ นเน้ือหาในประเด็นตา่ ง ๆ พรอ้ มทา ใบงาน เรอ่ื ง คณุ คา่ ดา้ นเนื้อหา ๒. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาเสนอผลงานการศกึ ษาตามประเด็นทร่ี บั ผดิ ชอบ ครซู ักถามนักเรียน พร้อมให้ ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เตมิ และชมเชยผลงานของนักเรียน ๓. นักเรียนทาแบบทดสอบเรื่อง สภุ าษติ พระร่วง ๔. ครูแนะนานักเรียนเลือกคาประพนั ธท์ น่ี ักเรยี นชอบพร้อมอธบิ ายเหตผุ ลว่าชอบเพราะอะไร ข้ันสรปุ ครูและนกั เรียนสรุปคณุ ค่าด้านเน้ือหาท่ีไดจ้ ากเร่ือง สภุ าษิตพระร่วง ๖.๒ กระบวนการจัดการเรยี นรูแ้ บบออนไลน์ ๑. นกั เรียนศึกษาเรอ่ื ง คุณค่าด้านเนอื้ หาจากสุภาษติ พระรว่ ง จากการสอนสด (live) ของครูผ่าน ชอ่ งทาง line Meeting ๒. นกั เรียนศึกษาใบความรู้ เร่อื ง คณุ ค่าด้านเนือ้ หาจากสภุ าษติ พระร่วง จาก google classroom ๓. นักเรยี นทาใบงานเรื่อง คณุ คา่ ดา้ นเนอ้ื หาจากสุภาษติ พระรว่ ง แล้วเฉลยรว่ มกนั ๔. นักเรยี นทาแบบทดสอบเร่อื ง คณุ ค่าดา้ นเนอื้ หาจากสุภาษติ พระรว่ ง จาก google form

๕. นักเรียนที่ทุกคนเลือกคาประพันธ์ท่ีนักเรียนเห็นว่ามีคุณค่าด้านเน้ือหา พร้อมอธิบายเหตุผลลงใน สมดุ ของตนเอง ๖. นักเรียนส่งงานโดยการอัปโหลดรูปภาพงานท่ีตนเองทาเสร็จแล้วส่งใน line ห้องของตนเอง ซึ่งครู จะสรา้ งอัลบ้ัมไวช้ อ่ื ว่า “คุณคา่ ดา้ นเน้อื หาจากเรอ่ื ง สภุ าษิตพระร่วง” ๗. สื่อ/วัสดุอปุ กรณ์/แหล่งเรียนรู้ ๑. หนงั สือวรรณคดีวจิ ักษณ์ ม. ๑ ๒. ใบงานเรื่อง คุณค่าด้านเนื้อหาจากสภุ าษิตพระรว่ ง ๓. คาประพนั ธท์ ่เี ปน็ วรรคทอง ๔. แบบทดสอบ เรื่อง คุณค่าด้านเนือ้ จากสภุ าษิตพระร่วง ๕. สอื่ ประกอบการสอน เร่ือง คุณคา่ ด้านเน้ือจากสภุ าษิตพระร่วง ๘. การวัดผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๘.๑ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๘.๑.๑ ดา้ นความรู้ เกณฑ์การพจิ ารณาโดยใช้เครอื่ งมอื วดั และประเมินผล มดี งั นี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพจิ ารณา ๙-๑๐/ดมี าก นกั เรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรุง นักเรยี นไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ผล ๘.๑.๒ ดา้ นทักษะกระบวนการ เกณฑ์การพิจารณาโดยใชเ้ ครื่องมือวดั และประเมินผล มีดงั น้ี คะแนน/คุณภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา ๙-๑๐/ดีมาก นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นกั เรยี นไมผ่ ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๘.๑.๓ ดา้ นคุณลกั ษณะ เกณฑก์ ารพิจารณาโดยใชเ้ ครื่องมือวดั และประเมินผล มีดังนี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดีมาก นักเรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรงุ นักเรยี นไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๘.๒ การประเมินผล ผลการเรียนร/ู้ คะแนน วิธีวดั ผล-ประเมนิ ผล เครอื่ งมอื วัด จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ตรวจใบงาน แบบประเมนิ ผลงาน นกั เรียน ๑. สรุปความร้แู ละข้อคิด สงั เกตพฤตกิ รรม แบบสงั เกตพฤติกรรม จ า ก ก า ร อ่ า น ไ ป ประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ิตได้ ๒. วเิ คราะหค์ ุณคา่ ของ วรรณคดีและ วรรณกรรมได้ ๓. อธิบายคุณค่าด้าน เนื้อหาวรรณคดเี รื่อง สภุ าษิตพระร่วงได้ ๔. วิเคราะหค์ ุณคา่ ด้าน เนื้อหาในวรรณคดีเรอ่ื ง สภุ าษิตพระร่วงได้ ๕. สรปุ ความรแู้ ละ ขอ้ คิดจากการอา่ นเพื่อ ประยุกตใ์ ชใ้ นชีวิตจรงิ ได้ ๖. มีมารยาทในการอ่าน ๗. มีความมุ่งมั่นในการ ทางาน รวม ๑๐ เกณฑ์การวดั ผลและประเมนิ ผล คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรับปรุง คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรอื ที่มอบหมาย ไดต้ รวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางสาวธีรพร บุตราช แลว้ มคี วามเห็นดงั นี้ ๑. เป็นแผนจดั การเรียนรทู้ ่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ ๒. การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้นาเอากระบวนการเรยี นรู้  ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญมาใชใ้ นการสอนไดเ้ หมาะสม  ยังไมเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ควรพัฒนาปรบั ปรุง ๓. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้  นาไปใชไ้ ดจ้ ริง  ควรปรับปรุงกอ่ นนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชื่อ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศ์พุทธา) รองผอู้ านวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๒ บันทกึ หลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี ๑ รายวชิ าภาษาไทย ๑. ผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ๒. ปญั หา/อุปสรรค .................................................................................................................... .......................................................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................................................................................... .......................... ......................................................................................................... ..................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ......................................................................................................................................... ..................................... ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่ือ............................................ผู้สอน (นางสาวธรี พร บตุ ราช) ครู

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๕ รายวชิ าภาษาไทย รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย โรงเรยี นมธั ยมวัดหนองแขม ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปีที่ ๑ ภาคเรียนที่ ๑ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ ๒ เรียนรู้สุภาษิต เรื่อง สภุ าษติ พระรว่ ง (คุณค่าด้านวรรณศิลป์) เวลา ๑ ช่วั โมง ผสู้ อน นางสาวธรี พร บุตราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตวั ช้ีวดั มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วจิ ารณว์ รรณคดีและวรรณกรรมไทยอยา่ งเห็นคุณคา่ และ นามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ จรงิ ตวั ช้วี ดั ม.๑/๓ อธบิ ายคุณค่าของวรรณคดีและวรรณกรรมทอ่ี ่าน ม.๑/๔ สรปุ ความรู้และขอ้ คิดจากการอา่ นเพื่อประยกุ ตใ์ ช้ในชีวติ จริง ๒. สาระสาคัญ การสรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์วรรณคดีและวรรณกรรมตามรูปแบบหลักการ วเิ คราะหว์ รรณคดีและวรรณกรรม ๓. จดุ ประสงค์การเรียนรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ (K) ๑. นกั เรียนสามารถวเิ คราะห์คุณคา่ ของวรรณคดแี ละวรรณกรรมได้ ๒. นกั เรียนสามารถสรุปความรแู้ ละข้อคิดจากการอา่ นไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตจริงได้ ๓.๒ งานทกั ษะ/กระบวนการ (P) ๑. นักเรยี นสามารถอธบิ ายคุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ในวรรณคดีเรอื่ งสุภาษติ พระร่วงได้ ๒. นกั เรียนสามารถวิเคราะห์คณุ ค่าด้านวรรณศิลปว์ รรณคดเี ร่อื งสุภาษติ พระรว่ งได้ ๓.๓ ดา้ นคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ (A) มีความมุง่ ม่ันในการทางาน ๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ ดา้ นความรู้ (Knowledge) ๑. วเิ คราะหค์ ณุ ค่าของวรรณคดีและวรรณกรรม ๒. สรุปความรู้และขอ้ คิดจากการอา่ นไปประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ติ จริง

๔.๒ ดา้ นทกั ษะ/กระบวนการ (Process) ๑. อธบิ ายคณุ ค่าดา้ นวรรณศิลปใ์ นวรรณคดีเร่ืองสภุ าษิตพระร่วงได้ ๒. วิเคราะห์คณุ คา่ ด้านวรรณศิลปว์ รรณคดเี ร่ืองสุภาษติ พระร่วงได้ ๔.๓ ดา้ นคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ (Attitude)  รกั ชาติ ศาสน์ กษัตรยิ ์  ซื่อสัตย์ สุจริต  มวี นิ ยั  ใฝเ่ รียนรู้  อยู่อย่างพอเพยี ง  มงุ่ ม่นั ในการทางาน  รกั ความเป็นไทย  มีจติ สาธารณะ ๔.๔ ดา้ นสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน  ความสามารถในการส่อื สาร  ความสามารถในการคิด  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชวี ติ  ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ๔.๕ ดา้ นคุณลกั ษณะของผูเ้ รยี นตามหลกั สูตรมาตรฐานสากล  เป็นเลศิ วชิ าการ  สื่อสารสองภาษา  ลา้ หน้าทางความคิด  ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์  ร่วมกันรบั ผดิ ชอบต่อสังคมโลก ๔.๖ บรู ณาการตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑. หลักความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลักความมเี หตผุ ล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลักภูมคิ ุ้มกัน : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เง่ือนไขความรู้ : ………………………………………………………………………………….......... ๕. เง่อื นไขคุณธรรม : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ ในแต่ละดา้ นไม่จาเปน็ ตอ้ งมคี รบทุกข้อในทุกแผนการจดั การเรยี นร)ู้ ๕. ชิ้นงาน/ภาระงาน ค้นคว้าบทประพนั ธท์ ช่ี อบ ๖. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ๖.๑ กระบวนการจัดการเรียนรแู้ บบปกติ ข้นั นา ๑. ครูยกตัวอย่างวรรคทอง (วรรคทอง คือ คาประพันธ์ท่ีมีการเรียงร้อยคาท่ีไพเราะ อีกทั้งให้พลัง ความรสู้ กึ ทชี่ ดั เจนและมคี ณุ ค่าต่อจิตใจ มีคตสิ อนใจ)

“ถึงบางพดู พดู ดีเป็นศรศี กั ดิ์ มีคนรักรสถอ้ ยอร่อยจิต แมน้ พดู ช่วั ตวั ตายทาลายมติ ร จะชอบผิดในมนุษยเ์ พราะพูดจา” (นริ าศภูเขาทอง : สนุ ทรภ่)ู ๒. ครูถามนักเรียนว่าคาประพันธ์ข้างต้นมีคุณค่าด้านวรรณศิลป์ในประเด็นใดบ้าง (วรรณศิลป์ คือ ศลิ ปะในการแตง่ เช่น สมั ผัสพยัญชนะ/สระ การเล่นคา) ข้ันสอน ๑. นักเรียนแบง่ กล่มุ ออกเป็น ๕ กลุ่ม ศกึ ษาคุณคา่ ดา้ นวรรณศลิ ปใ์ นสุภาษิตพระรว่ ง ๑) คาสัมผสั พยญั ชนะ ๒) คาสมั ผสั สระ ๓) การซ้าคา ๔) การใช้คานอ้ ยแต่กินความมาก ๕) ใชค้ าศัพท์คาเดียว ๒. นกั เรียนแตล่ ะกลุม่ วเิ คราะหค์ ณุ คา่ ดา้ นวรรณศลิ ป์ในประเดน็ ต่าง ๆ พร้อมยกตวั อย่างประกอบ ๓. นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ นาเสนอผลงานการศึกษาตามประเด็นทร่ี บั ผิดชอบ ครูซกั ถามนักเรียน พรอ้ มให้ ขอ้ เสนอแนะเพ่มิ เติม และชมเชยผลงานของนกั เรยี น ๔. นกั เรยี นทาใบงาน เร่อื ง คณุ ค่าด้านวรรณศลิ ป์ ครูและนกั เรียนรว่ มกันเฉลยใบงาน ๕. ครแู นะนานกั เรยี นเลอื กคาประพันธท์ ่นี ักเรยี นเห็นวา่ มีความไพเราะ พร้อมอธิบายเหตผุ ลวา่ ไพเราะ อยา่ งไร ขน้ั สรปุ ครูและนักเรียนสรปุ คุณค่าด้านวรรณศลิ ป์ท่ไี ด้จากเรอื่ ง สุภาษิตพระรว่ ง ๖.๒ กระบวนการจดั การเรยี นร้แู บบออนไลน์ ๑. นกั เรียนศึกษาเรือ่ ง คณุ ค่าดา้ นวรรณศลิ ป์ จากการสอนสด (live) ของครผู า่ นชอ่ งทาง line Meeting ๒. นักเรยี นศกึ ษาใบความรู้ เร่อื ง คุณค่าด้านวรรณศิลป์ จาก google classroom ๓. ครูสุม่ ช่อื นกั เรยี น ด้วยการใหน้ กั เรียนเปดิ ไมคแ์ ละเปิดกล้องพดู คุยโดยการยกตวั อย่างคาประพันธ์ท่ี นกั เรียนเหน็ ว่ามคี วามไพเราะ พร้อมอธิบายเหตุผลวา่ ไพเราะอยา่ งไร ผา่ น line meeting ๔. นักเรยี นทาใบงานเรื่อง คุณค่าด้านวรรณศิลป์ เฉลยร่วมกัน ๕. นักเรียนทุกคนค้นคว้าคาประพันธ์ที่นักเรียนเห็นว่ามีความไพเราะจากแหล่งการเรียนรู้สารสนเทศ ตา่ ง ๆ พรอ้ มอธบิ ายเหตผุ ลว่าไพเราะอย่างไรลงในสมดุ ของตนเอง

๖. นักเรียนส่งงานโดยการอัปโหลดรูปภาพงานที่ตนเองทาเสร็จแล้วส่งใน line ห้องของตนเอง ซึ่งครู จะสร้างอัลบ้มั ไวช้ อ่ื ว่า “คณุ ค่าดา้ นวรรณศิลป์” ๗. ส่ือ/วัสดุอุปกรณ/์ แหลง่ เรียนรู้ ๑. หนังสอื วรรณคดวี จิ กั ษณ์ ม. ๑ ๒. ใบงานเร่อื ง คณุ คา่ ด้านวรรณศลิ ป์ ๓. ใบความรู้ เรือ่ ง คุณคา่ ด้านวรรณศิลป์ ๔. คาประพนั ธ์ทีเ่ ปน็ วรรคทอง ๕. ส่อื ประกอบการสอน เรื่อง คณุ ค่าดา้ นวรรณศิลป์ ๘. การวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ ๘.๑ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๘.๑.๑ ดา้ นความรู้ เกณฑก์ ารพิจารณาโดยใช้เครอ่ื งมือวดั และประเมินผล มดี งั น้ี คะแนน/คุณภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดมี าก นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรงุ นักเรยี นไม่ผ่านเกณฑก์ ารประเมนิ ผล ๘.๑.๒ ดา้ นทักษะกระบวนการ เกณฑ์การพิจารณาโดยใชเ้ คร่อื งมือวดั และประเมนิ ผล มีดังนี้ คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา ๙-๑๐/ดีมาก นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรับปรุง นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ผล ๘.๑.๓ ดา้ นคุณลกั ษณะ เกณฑก์ ารพิจารณาโดยใชเ้ คร่ืองมือวดั และประเมินผล ดังน้ี คะแนน/คุณภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา ๙-๑๐/ดมี าก นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นักเรียนไมผ่ า่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๘.๒ การประเมินผล ผลการเรียนร้/ู คะแนน วิธีวดั ผล-ประเมนิ ผล เครือ่ งมือวดั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ตรวจใบงาน สังเกตพฤติกรรม แบบประเมินผลงาน ๑. สรุปเนื้อหาวรรณคดี นกั เรยี น และวรรณกรรมได้ แบบสงั เกตพฤติกรรม ๒. วิเคราะหว์ รรณคดี และวรรณกรรมได้ ๓. วิเคราะห์คุณค่าด้าน วรรณศลิ ป์วรรณคดเี รือ่ ง สุภาษิตพระรว่ งได้ ๔. อธบิ ายคุณคา่ ดา้ น วรรณศิลปใ์ นวรรณคดี เรือ่ ง สุภาษิตพระรว่ งได้ ๕. มคี วามมุง่ มน่ั ในการ ทางาน รวม ๑๐ เกณฑก์ ารวดั ผลและประเมินผล คณุ ภาพ ดีมาก ดี พอใช้ ปรบั ปรุง คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศกึ ษาหรอื ท่ีมอบหมาย ไดต้ รวจแผนการจดั การเรยี นรขู้ อง นางสาวธีรพร บุตราช แลว้ มีความเหน็ ดังนี้ ๑. เป็นแผนจดั การเรยี นรทู้ ี่  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ ๒. การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ได้นาเอากระบวนการเรียนรู้  ทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ สาคัญมาใชใ้ นการสอนไดเ้ หมาะสม  ยังไม่เน้นผเู้ รียนเป็นสาคญั ควรพัฒนาปรบั ปรุง ๓. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้  นาไปใช้ได้จรงิ  ควรปรับปรงุ กอ่ นนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศพ์ ทุ ธา) รองผู้อานวยการกลมุ่ บริหารวชิ าการ

รหสั วิชา ท ๒๑๑๐๒ บนั ทึกหลังการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ รายวชิ าภาษาไทย ๑. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ............................................................................................................................. ................................................. .......................................................................................................................................................... .................... ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ............................................................................................ ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๒. ปญั หา/อปุ สรรค .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ....................................................................................................................................................................... ....... ........................................................................................................................... ................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ๓. ขอ้ เสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................... ............................................... .................................................................................... .......................................................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่ือ............................................ผู้สอน (นางสาวธรี พร บตุ ราช) ครู

แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๖ รายวชิ าภาษาไทย รหัสวิชา ท ๒๑๑๐๑ กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นมัธยมวดั หนองแขม ระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๑ ภาคเรยี นที่ ๑ หน่วยการเรียนร้ทู ่ี ๒ เรยี นรสู้ ภุ าษิต เรอื่ ง การเขียนเรยี งความ เวลา ๒ ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวธีรพร บตุ ราช *********************************************************************************************** ๑. มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตวั ชว้ี ัด มาตรฐาน ท ๒.๑ ใชก้ ระบวนการเขียนเขียนส่อื สาร เขยี นเรยี งความ ยอ่ ความ และเขียนเรื่องราวในรปู แบบ ตา่ ง ๆ เขียนรายงานข้อมลู สารสนเทศ และรายงานการศึกษาค้นควา้ อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ตวั ชีว้ ดั ม.๑/๔ เขยี นเรียงความ ม.๑/๙ มีมารยาทในการเขียน ๒. สาระสาคญั การเขียนเรยี งความ หมายถึง การนามาแต่งเรอ่ื งเพ่ือใชเ้ ปน็ ขอ้ เขียนที่แสดงความคดิ ความรู้ความรสู้ กึ และความคดิ เห็น และขอ้ เสนอแนะตา่ ง ๆ ของผเู้ ขยี นถา่ ยทอดสู่ผฟู้ งั ๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๓.๑ ดา้ นความรู้ (K) ๑. นกั เรียนรแู้ ละเขา้ ใจเร่ืองหลกั การเขียนเรียงความ ๒. นกั เรยี นรแู้ ละเข้าใจเร่ืององค์ประกอบการเขยี นเรียงความ ๓.๒ งานทักษะ/กระบวนการ (P) ๑. นักเรียนสามารถวเิ คราะห์หลกั การเขียนเรียงความได้ ๒. นกั เรียนสามารถเขยี นเรยี งความเชิงพรรณนาได้ ๓. นกั เรยี นสามารถอธิบายองคป์ ระกอบการเขียนเรียงความได้ ๓.๓ ดา้ นคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ๑. มีความกระตือรือร้นในการทางาน ๒. มีความมงุ่ มั่นในการทางาน ๓. มมี ารยาทในการเขยี น

๔. สาระการเรยี นรู้ ๔.๑ ดา้ นความรู้ (Knowledge) ๑. หลกั การเขียนเรียงความ ๒. องค์ประกอบการเขียนเรียงความ ๔.๒ ด้านทักษะ/กระบวนการ (Process) ๑. วิเคราะห์หลักการเขียนเรยี งความได้ ๒. เขยี นเรียงความเชงิ พรรณนาได้ ๓. อธบิ ายองคป์ ระกอบการเขียนเรยี งความได้ ๔.๓ ด้านคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ (Attitude)  รกั ชาติ ศาสน์ กษตั ริย์  ซ่ือสัตย์ สุจรติ  มวี ินยั  ใฝ่เรยี นรู้  อย่อู ยา่ งพอเพยี ง  มุ่งมั่นในการทางาน  รักความเปน็ ไทย  มีจิตสาธารณะ ๔.๔ ด้านสมรรถนะสาคญั ของผเู้ รียน  ความสามารถในการสือ่ สาร  ความสามารถในการคิด  ความสามารถในการแก้ปัญหา  ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต  ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ๔.๕ ด้านคณุ ลกั ษณะของผเู้ รยี นตามหลักสตู รมาตรฐานสากล  เปน็ เลิศวชิ าการ  สื่อสารสองภาษา  ลา้ หนา้ ทางความคิด  ผลิตงานอยา่ งสร้างสรรค์  รว่ มกนั รับผิดชอบตอ่ สงั คมโลก ๔.๖ บรู ณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๑. หลักความพอประมาณ: ……………………………………………………………………………................ ๒. หลักความมเี หตผุ ล : ………………………………………………………………………………….......... ๓. หลกั ภมู ิคุ้มกนั : ………………………………………………………………………………….......... ๔. เงอื่ นไขความรู้ : ………………………………………………………………………………….......... ๕. เงอ่ื นไขคุณธรรม : ………………………………………………………………………………….......... (หมายเหตุ ในแต่ละดา้ นไม่จาเปน็ ตอ้ งมีครบทุกข้อในทุกแผนการจดั การเรียนรู้) ๕. ช้ินงาน/ภาระงาน ๑. ศกึ ษาลักษณะแนวทางการเขียนเรียงความ

๒. เขียนเรยี งความ ๖. กระบวนการจดั การเรียนรู้ ๖.๑ กระบวนการจดั การเรยี นรแู้ บบกติ (ช่ัวโมงที่ ๑) ข้ันนา ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับการเขียนเรียงความวา่ นักเรียนเคยเขียนเรียงความเพ่ือส่งเข้าประกวด หรอื ไม่ รปู แบบการเขียนเรยี งความมคี วามแตกต่างกบั การเขยี นอนื่ ๆ อย่างไร ขั้นสอน ๑. ครูแจกตวั อย่างเรียงความเรื่อง “นอ้ ยหน่าไม่ น้อยค่า” ใหก้ ับนกั เรียนทุกคน ๒. ครใู หน้ ักเรยี นศึกษาเรยี งความเรื่อง“น้อยหน่า ไมน่ อ้ ยค่า” และใหน้ ักเรียนวเิ คราะหส์ ่วนประกอบ เรียงความ เริม่ จากส่วนนา ส่วนเนอื้ เร่อื ง ส่วนสรุป ๓. ครูใหน้ ักเรยี นบอกสว่ นนา ส่วนเน้ือเรอื่ ง สว่ นสรปุ ของเรียงความเร่ือง “น้อยหนา่ ไมน่ อ้ ยคา่ ” ๔. ครูอธบิ ายเกย่ี วกบั ส่วนประกอบของเรยี งความเพิ่มเติม เพือ่ เป็นแนวทางในการเขยี นเรียงความของ นกั เรียน ๕. แบ่งนกั เรยี นออกเป็นกลุ่มศึกษาใบความรเู้ รอ่ื ง การเขียนเรยี งความ ดงั นี้ ๑. วิธกี ารขึ้นคานา ๒. วิธกี ารเรยี บเรียงเนอ้ื เรอื่ ง ๓. วิธกี ารสรปุ ๖. ตวั แทนกลมุ่ นาเสนอหนา้ ชน้ั เรยี น ครใู ห้คาแนะนาเพิ่มเติม ขนั้ สรปุ นักเรียนและครชู ่วยกนั สรปุ สาระการเรยี นรู้ เรือ่ ง การเขียนเรยี งความ ๖.๒ กระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบออนไลน์ (ช่ัวโมงท่ี ๑) ๑. นกั เรียนศกึ ษา เร่อื ง การเขียนเรยี งความ จากการสอนสด (live) ของครูผา่ นช่องทาง line Meeting ๒. นกั เรียนศกึ ษาตัวอย่างการเขียนเรียงความ เร่อื ง “น้อยหนา่ ไมน่ ้อยคา่ ” จาก google classroom ๓. นักเรียนใบความรู้ เร่อื ง การเขียนเรียงความ ๔. นักเรียนจดบันทึกความรู้เกี่ยวกับการเขียนเรียงความเพ่ิมเติมจากการฟังครูอธิบาย เพ่ือเป็น แนวทางในการเขียนเรียงความของนักเรียน ๕. นักเรียนส่งงานโดยการอัปโหลดรูปภาพการจดบันทึกความรู้แล้วส่งใน line ห้องของตนเอง ซึ่งครู จะสร้างอลั บ้ัมไวช้ อ่ื วา่ “สรุปเนอ้ื หา เร่อื ง การเขยี นเรียงความ”

๖.๓ กระบวนการจัดการเรยี นรแู้ บบปกติ (ช่ัวโมงท่ี ๒) ขน้ั นา ครูสนทนากับนักเรียนเร่ืองการเขียนเรียงความแล้วให้นักเรียนบอกองค์ประกอบของการเขียน เรียงความ ดังน้ี คานา เนอ้ื เรอื่ ง สรปุ เพอื่ เตรยี มความพร้อมในการเขยี นเรียงความ ขน้ั สอน ๑. ให้นักเรียนช่วยกันระดมความคิดว่าเรียงความที่ดีควรมีองค์ประกอบใดบ้าง จึงจะสมบูรณ์แบบ (หัวขอ้ เรอื่ ง คานา เนอื้ หาสาระ บทสรุป) ๒. ให้นักเรียนช่วยกันเสนอความคิดว่าหากต้องการให้งานเขียนเรียงความของเราเป็นงานเขียนที่ดี ควรจะมีขนั้ ตอนกระบวนการใดบา้ ง ๑) ขน้ั กาหนดหัวขอ้ ๒) ขน้ั กาหนดขอบเขตของเร่อื ง ๓) ขน้ั หาขอ้ มลู เพิ่มเตมิ ๔) ขนั้ วางโครงเรอื่ ง ๕) ขน้ั ลงมือเขียน ๖) ขั้นตรวจทาน ครคู อยแนะนา ๓. ใหน้ กั เรยี นรา่ งหัวข้อ/โครงเรื่องของเรียงความท่ตี นเองสนใจ ๔. ใหน้ กั เรียนส่งหวั ขอ้ โครงเรอื่ งตอ่ ครู ครูเสนอแนะ ๕. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเพ่ือจะนามาเขียนเรียงความ ตามหัวข้อ/โครงเร่ือง ที่ตนเองร่างไว้ จาก หนงั สอื หรืออนิ เทอรเ์ น็ต พร้อมทงั้ บอกแหล่งข้อมูลอา้ งอิงดว้ ย ๖. นกั เรยี นเขยี นเรยี งความ แลว้ ร่วมกนั ตรวจสอบความถกู ต้อง ๗. นกั เรียนทาแบบทดสอบเรื่อง การเขยี นเรยี งความ ขน้ั สรปุ นักเรียนและครูร่วมกันสรุปหลักการเขียนเรียงความตลอดจนแนวทางการนาการเขียนเรียงความไป ปรับใช้ในชีวติ ประจาวัน ๖.๔ กระบวนการจดั การเรยี นรู้แบบออนไลน์ (ชัว่ โมงท่ี ๒) ๑. นกั เรียนและครูร่วมกนั ทบทวนความรู้เรื่อง การเขยี นเรียงความ ผ่านการจัดการเรียนการสอนแบบ สด (live) ด้วยโปรแกรม line meeting ๒. นกั เรยี นสืบค้นขอ้ มูลเพ่ือจะนามาเขียนเรยี งความ ตามหัวข้อ/โครงเร่อื ง ทีต่ นเองรา่ งไว้ จากหนังสอื หรืออนิ เทอรเ์ นต็ พร้อมท้ังบอกแหล่งขอ้ มลู อา้ งองิ ด้วย

๓. นักเรียนเขียนเรียงความ แล้วส่งงานโดยการอัปโหลดรูปภาพงานของตนเองลงในอัลบ้ัมกลุ่ม line หอ้ งของตนเอง โดยครูจะตง้ั ชอื่ อัลบ้มั ไวว้ า่ “การเขยี นเรียงความ” ๔. นักเรียนทาแบบทดสอบ เรือ่ ง การเขียนเรยี งความ ผา่ น google form ๗. สอ่ื /วสั ดุอุปกรณ/์ แหล่งเรียนรู้ ๑. ใบความรู้ เร่อื ง การเขียนเรียงความ ๒. ตวั อยา่ งการเขียนเรียงความ เรอื่ ง “น้อยหนา่ ไมน่ ้อยค่า” ๓. ส่อื ประกอบการสอน เร่ือง การเขยี นเรียงความ ๔. ใบงาน เรอื่ ง การเขยี นเรียงความ ๕. แบบทดสอบ เรื่อง การเขียนเรียงความ ๘. การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้ ๘.๑ จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๘.๑.๑ ด้านความรู้ เกณฑ์การพจิ ารณาโดยใช้เครื่องมอื วัดและประเมินผล มดี งั นี้ คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา ๙-๑๐/ดมี าก นกั เรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรยี นผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นกั เรยี นไม่ผ่านเกณฑ์การประเมินผล ๘.๑.๒ ดา้ นทกั ษะกระบวนการ เกณฑ์การพิจารณาโดยใช้เคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล มดี ังนี้ คะแนน/คณุ ภาพ เกณฑ์การพิจารณา ๙-๑๐/ดีมาก นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นักเรยี นผ่านเกณฑ์การประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรงุ นักเรียนไมผ่ ่านเกณฑ์การประเมนิ ผล ๘.๑.๓ ดา้ นคณุ ลักษณะ เกณฑก์ ารพิจารณาโดยใช้เคร่ืองมือวดั และประเมนิ ผล มดี ังนี้ คะแนน/คุณภาพ เกณฑก์ ารพิจารณา ๙-๑๐/ดีมาก นักเรียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๙๐ ๗-๘/ดี นกั เรยี นผา่ นเกณฑ์การประเมินมากกวา่ ร้อยละ ๗๐-๘๐ ๕-๖/พอใช้ นกั เรียนผ่านเกณฑก์ ารประเมินมากกว่าร้อยละ ๕๐-๖๐ ๑-๔/ปรบั ปรุง นกั เรียนไม่ผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ผล

๘.๒ การประเมนิ ผล ผลการเรยี นร/ู้ คะแนน วิธีวดั ผล-ประเมนิ ผล เครอ่ื งมือวัด จุดประสงค์การเรยี นรู้ ตรวจใบงาน แบบประเมนิ ผลงาน นกั เรียน ๑. รู้และเข้าใจ เรื่ อง สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม หลักการเขยี นเรียงความ ๒. รแู้ ละเข้าใจ องค์ประกอบการเขียน เรียงความ ๓. วิเคราะหห์ ลักการ เขยี นเรียงความได้ ๔. นักเรียนสามา รถ วิเคราะห์หลักการเขียน เรียงความได้ ๕. นกั เรียนสามารถ เขยี นเรียงความเชิง พรรณนาได้ ๖. นักเรียนสามา รถ อธิบายองค์ประกอบการ เขยี นเรียงความได้ ๗. มีความกระตือรือรน้ ในการทางาน ๘. มีความมุ่งมั่นในการ ทางาน ๙. มมี ารยาทในการ เขียน รวม ๑๐ เกณฑก์ ารวัดผลและประเมินผล คณุ ภาพ ดมี าก ดี พอใช้ ปรบั ปรงุ คะแนน ๑-๔ ๙-๑๐ ๗-๘ ๕-๖

ขอ้ เสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรอื ท่ีมอบหมาย ไดต้ รวจแผนการจัดการเรยี นรขู้ อง นางสาวธีรพร บุตราช แลว้ มีความเห็นดังนี้ ๑. เป็นแผนจดั การเรียนรทู้ ่ี  ดมี าก  ดี  พอใช้  ควรปรับปรงุ ๒. การจัดกิจกรรมการเรยี นร้ไู ด้นาเอากระบวนการเรียนรู้  ทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ สาคัญมาใชใ้ นการสอนไดเ้ หมาะสม  ยังไมเ่ น้นผู้เรียนเป็นสาคญั ควรพัฒนาปรบั ปรงุ ๓. เปน็ แผนการจดั การเรียนรู้  นาไปใชไ้ ดจ้ ริง  ควรปรับปรุงกอ่ นนาไปใช้ ๔. ขอ้ เสนอแนะอน่ื ๆ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. ลงชอื่ ......................................................... (นางสาวนภาพร วงศ์พุทธา) รองผอู้ านวยการกลุม่ บรหิ ารวชิ าการ

รหสั วชิ า ท ๒๑๑๐๒ บนั ทึกหลังการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๑ รายวิชาภาษาไทย ๑. ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๒. ปัญหา/อุปสรรค ................................................................................................................................................................... ........... ........................................................................................................................ ...................................................... ............................................................................................................................. ................................................. ........................................................................................................................................................ ...................... ............................................................................................................ .................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ๓. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชอ่ื ............................................ผ้สู อน (นางสาวธรี พร บุตราช) ครู


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook