Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาของสำนักงาน-กศน.-ประจำปี-พ.ศ.2565

แนวทางการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาของสำนักงาน-กศน.-ประจำปี-พ.ศ.2565

Published by mans251472, 2022-01-19 19:06:24

Description: แนวทางการดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาของสำนักงาน-กศน.-ประจำปี-พ.ศ.2565

Search

Read the Text Version

แนวทางการดาเนินงานขบั เคลื่อนโครงการจิตอาสา ของสานกั งาน กศน. ประจาปี พ.ศ. 2565 กลมุ่ บริหารงานบุคคลและนติ กิ าร สานกั งาน กศน. สานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

คานา ตามมติคณะรัฐมนตรี คร้ังที่ 1/2563 เม่ือวันที่ 21 มกราคม 2563 ณ ห้องประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวทิ ยาลยั นราธิวาสราชนครินทร์ จงั หวดั นราธิวาส ข้อท่ี 12 เร่ือง สรุปผลการปฏิบัติราชการของคณะรัฐมนตรี ในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน 3.4 เสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนบนพ้ืนฐานสังคมพหุวัฒนธรรม 2) การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพื่อสร้างโอกาสและลดความเหล่ือมล้าของส้านักงาน ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปัตตานี ข้อสั่งการให้ส้านักงานส่งเสริมการศึกษา นอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ดา้ เนนิ การ (1) สนับสนุนให้ครูและบุคลากรเข้ารับการอบรมจิตอาสา 904 กอรปกับสถาบันพระมหากษัตริย์เป็นเสาหลักให้กับชาติบ้านเมืองมาตั้งแต่สมัยโบราณ จวบจนรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์จึงเป็นสัญลักษณ์ของการด้ารงอยู่ของชาติไทย มายาวนานกว่า 700 ปี และเปน็ สถาบันทางสงั คมทีเ่ ข้มแขง็ ยืนยง ทา้ ให้ประเทศไทยสามารถรักษาความเป็นไทภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ตราบจนปัจจบุ นั ส้านักงาน กศน. จึงหวังเป็นอย่างยิ่งว่า การด้าเนินงานขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. จะสามารถน้าไปขับเคล่ือนการก้าหนดยุทธศาสตร์ แผนงาน กลยุทธ์ มาตรการในการจัดกิจกรรมให้ข้าราชการครู บุคลากร เจ้าหน้าท่ีในสังกัดส้านักงาน กศน. ได้อย่างมีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ท้าให้ผู้เข้ารับการอบรม มีความรู้ ความเข้าใจมีจิตสาธารณะท่ีพร้อมเป็นอาสาสมัครในการบ้าเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม และเกิดความรักชาติ เกิดความสามัคคี ร่วมกันปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ และสามารถขยายผลโครงการสู่ประชาชน ในพ้ืนท่ี ซึง่ จะเป็นรากฐานท่ีเหนยี วแนน่ ในการพฒั นาประเทศชาตใิ ห้มีความเจรญิ ม่ันคงสืบไป (นายสรุ ศกั ด์ิ อนิ ศรีไกร) เลขาธกิ าร กศน.

สารบัญ หนา้ 1 บทที่ 1 โครงการจติ อาสาของสานกั งาน กศน. 1 1. ความเป็นมา 4 2. วตั ถุประสงค์ 4 3. ผูร้ ับผิดชอบ 4 4. กิจกรรมทต่ี ้องด้าเนนิ การ 5 5. กรอบในการด้าเนนิ งานโครงการจติ อาสาของสา้ นกั งาน กศน. 5 6. ระยะเวลาด้าเนนิ การ 5 7. สถานที่ด้าเนนิ การ/พน้ื ท่ีด้าเนินการ 5 8. งบประมาณ 5 9. ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ 7 9 บทที่ 2 ภารกจิ และหนา้ ท่ีของหน่วยงาน/สถานศกึ ษาในสังกดั สานกั งาน กศน. 11 1. สา้ นกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย (ส้านกั งาน กศน.) 13 2. สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนือ่ งสริ นิ ธร 15 3. สถาบนั พัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั (สถาบนั กศน. ภาค) 4. กลุ่มส้านักงานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั จังหวัด 16 (กลมุ่ สา้ นกั งาน กศน.จังหวัด) 5. ส้านกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวดั / 18 กรงุ เทพมหานคร (สา้ นักงาน กศน.จงั หวดั /กรุงเทพมหานคร) 19 6. ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อา้ เภอ/เขต (กศน.อา้ เภอ/เขต) 22 7. สถาบนั การศกึ ษาทางไกล 23 35 บทท่ี 3 การดาเนนิ งานโครงการจติ อาสาของสานกั งาน กศน. 35 1. กจิ กรรมอบรมหลักสูตรจติ อาสาของสา้ นักงาน กศน. 37 2. กิจกรรมขยายผลโครงการจิตอาสาของสา้ นักงาน กศน. 4๒ 2.1 กจิ กรรมท่ี 1 การประกวดชุมชนจติ อาสา 4๕ 2.2 กจิ กรรมท่ี 2 การแข่งขนั ขบั ร้องบทเพลงพระราชนพิ นธ์ใน ร.๙ ๔๙ 2.3 กจิ กรรมท่ี 3 การประกวดการจัดทา้ โครงงานจิตอาสาต้นแบบ ๕๒ 2.4 กจิ กรรมท่ี 4 การคัดเลือกผปู้ ฏิบัตงิ านทท่ี า้ คุณประโยชนด์ า้ นจิตอาสา ๓. กจิ กรรมจิตอาสาพัฒนาระดบั ภาค บทที่ 4 การสรุปรายงานผลการดาเนนิ โครงการจิตอาสาของสานกั งาน กศน. และ การเขียนผลการถอดบทเรียน

สารบัญ (ตอ่ ) ภาคผนวก หน้า 1. โครงการหลักสูตรจิตอาสาของสา้ นักงาน กศน. ๖๒ 2. กา้ หนดการอบรมพัฒนาตามโครงการอบรมหลกั สูตรจติ อาสาของส้านักงาน กศน. 6๕ 3. บญั ชีรายชอ่ื ผูผ้ า่ นการอบรมจติ อาสา ๙๐๔ \"หลักสตู รพื้นฐาน\" และ “หลกั สูตรหลัก 6๖ ประจา้ ” ๗๐ 4. แบบประเมินโครงการอบรมหลักสูตรจติ อาสาของส้านักงาน กศน. ๗๒ 5. ตวั อยา่ งวุฒิบัตร/เกยี รตบิ ตั ร 7๕ 6. แบบข้อมูลและทะเบยี นประวตั ิชมุ ชนจิตอาสา 7๖ 7. แบบประเมินชุมขนจิตอาสา 7๘ 8. โครงการแข่งขนั ขับรอ้ งบทเพลงพระราชนิพนธ์ใน ร.๙ ๗๙ 9. ใบสมัคร การแข่งขันขบั ร้องบทเพลงพระราชนพิ นธ์ใน ร.๙ ๘๐ 10. แบบประเมนิ การขับรอ้ งบทเพลงพระราชนพิ นธ์ใน ร.๙ ๘๑ 11. การประกวดการจัดท้าโครงงานจิตอาสาตน้ แบบ 8๓ 12. เอกสารผลงานเสนอชอื่ เข้ารบั การคัดเลอื กผู้ปฏิบัติงานทท่ี ้าคุณประโยชนด์ ้านจิตอาสา 8๙ คณะผจู้ ัดทา

1 บทท่ี 1 โครงการจิตอาสาของสานักงาน กศน. 1. ความเป็นมา สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นเสาหลักให้กับชาติบ้านเมืองมาต้ังแต่สมัยโบราณ จวบจนรัชสมัย ของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์จึงเป็นสัญลักษณ์ของการด้ารงอยู่ของชาติไทย มายาวนานกว่า 700 ปี และเป็นสถาบนั ทางสังคมที่เขม้ แขง็ ยืนยง ท้าให้ประเทศไทยสามารถรักษาความเปน็ ไท ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ตราบจนปัจจุบนั ธ ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทย และดา้ รงอยูภ่ ายใต้ทศพิธราชธรรม ทรงเป็นผู้น้าการพัฒนา ประเทศในทุกด้าน อันได้แก่ การปกครองประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศ พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงน้อมน้าพระราชด้าริของในหลวง รัชกาลที่ 9 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง มาเผยแพรใ่ ห้ประชาชนได้เรียนร้แู ละนา้ ไปปรบั ใช้ ท้าให้ประเทศไทยเป็นประเทศที่พัฒนาไปสู่ความ “ม่ันคง มั่งค่ัง ย่งั ยืน” จนกอ่ ให้เกดิ เปน็ พลังทสี่ า้ คญั ย่งิ ในการผลกั ดันให้ประเทศไทยยืนหยัดอยู่ในสังคมแห่งอารยประเทศได้อย่าง สง่างาม ประชาชนสามารถน้าความรู้ที่ได้ไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ตลอดจนใช้ชีวิตอยู่บนพื้นฐาน ของความเป็นไทยและพอเพียง มีความรักความศรัทธาในสถาบันพระมหากษัตริย์ มีจิตใจที่ตั้งมั่นอยู่ในการ ช่วยเหลือผูอ้ ่นื เปน็ ทีพ่ ึ่งของสังคม ส่งผลให้ประเทศชาตเิ กดิ สนั ติสขุ อย่างแท้จรงิ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรสี นิ ทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงมีพระราช ปณิธานในการบ้าเพ็ญประโยชน์พื้นท่ีชุมชนโดยรอบพระราชวังดุสิตเป็นการท้าความดีด้วยหัวใจ โดยหน่วยงาน ทหารมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ หน่วยทหารรักษาพระองค์ ข้าราชบริพารในพระองค์ฯ ร่วมกับ ประชาชนจิตอาสา “เราทา้ ความ ดี ดว้ ยหวั ใจ” ซ่ึงเป็นจดุ เริม่ ต้นของโครงการจิตอาสาพระราชทาน และพระองค์ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้หน่วยราชการในพระองค์ 904 ร่วมกันจัดโครงการจิตอาสา พระราชทานตามแนวพระราชดา้ ริ เพอ่ื เป็นการเฉลิมพระเกียรติ และแสดงความส้านึกในพระมหากรุณาธิคุณของ พระบาทสมเด็จพระมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และสมเด็จพระบรมราชชนนีพันปีหลวง ที่ทรงประกอบพระราชกรณียกิจนานัปการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน ทั้งนี้เพื่อให้ประชาชนมีความสมัครสมาน สามัคคี มีความสุขและประเทศชาติมีความมั่นคงอย่างย่ังยืน จึงท้าให้เกิดจิตอาสาที่มีจิตแห่งการท้าความดีงามท้ัง ปวงแก่เพื่อนมนุษย์โดยเต็มใจสมัครใจอ่ิมใจ ซาบซ้ึงใจ ปีติสุข ท่ีพร้อมจะเสียสละเวลา แรงกาย แรงสติปัญญา เพ่ือสาธารณประโยชน์ในการท้ากิจกรรมหรือสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น โดยไม่หวังผลตอบแทน และมีความสุข ท่ีได้ช่วยเหลือผู้อ่ืน เป็นจิตที่ไม่นิ่งดูดาย เมื่อพบเห็นปัญหาหรือความทุกข์ยากท่ีเกิดขึ้นกับผู้คน เป็นจิตที่มีความสุข เมื่อได้ทา้ ความดแี ละเห็นน้าตาเปลี่ยนแปลงเปน็ รอยย้ิม เปน็ จิตทเ่ี ปีย่ มด้วย “บุญ” คอื ความสงบเยือกเย็น และพลัง แหง่ ความดงี าม ปัจจุบนั จติ อาสาตามพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระเจา้ อยหู่ ัว รชั กาลท่ี 10 แบ่งเป็น 3 ประเภท ดังนี้ 1) จิตอาสาพัฒนา : กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานท่ีมีวัตถุปะสงค์พัฒนาท้องถิ่นของแต่ละชุมชน ให้มีคุณภาพชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดีข้ึน ไม่ว่าจะเป็นกิจกรรมบ้าเพ็ญสาธารณประโยชน์ การอนุรักษ์ธรรมชาติ

2 และสิ่งแวดล้อม การอ้านวยความสะดวก และความปลอดภัยในการด้ารงชีวิตประจ้าวัน การประกอบอาชีพ รวมทัง้ การสาธารณสุข ฯลฯ 2) จิตอาสาภัยพิบัติ : กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อเฝูา ตรวจ เตือน และเตรียมการ รองรับภัยพิบัติท้ังท่ีเกิดจากธรรมชาติ และท่ีเกิดจากสาเหตุอ่ืน ๆ ท่ีส่งผลกระทบต่อประชาชนในพื้นท่ีโดยรวม และการเข้าช่วยเหลือบรรเทาความเดือดร้อนของประชาชนจากภัยพิบัติดังกล่าว เช่น อุทกภัย วาตภัย อัคคีภัย เปน็ ตน้ และ 3) จิตอาสาเฉพาะกิจ : กิจกรรมจิตอาสาพระราชทานที่มีวัตถุประสงค์ให้ปฏิบัติในงานพระราชพิธี หรือการรับเสด็จ ในโอกาสต่าง ๆ เป็นการใช้ก้าลังพลจิตอาสาร่วมปฏิบัติกับส่วนราชการท่ีเกี่ยวข้องในการช่วยเหลือ หรอื อา้ นวยความสะดวกแก่ประชาชนที่มาร่วมงานรวมทั้งการเตรียมการ การเตรียมสถานที่ และการฟ้ืนฟูสถานท่ี ภายหลังการปฏิบัติในพระราชพิธี และการเสด็จฯ ให้เป็นไปด้วยความเรียบร้อย รวมถึงการน้อมน้าพระราชด้าริ ของพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชฯ บรมนารถบพิตร หรือในหลวงรัชกาลท่ี 9 เป็นแนวทาง ในการด้าเนินชีวิตโดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้สามารถด้ารงชีวิตอย่างยั่งยืนภายใต้กระแส โลกาภิวัฒน์และความเปล่ียนแปลงต่าง ๆ การวางรากฐานการด้าเนินชีวิตจึงจ้าเป็นอย่างยิ่งท่ีต้องปลูกฝังให้เกิด ขนึ้ กับทกุ คนในสังคมไทยโดยเฉพาะอย่างย่ิงเยาวชนทจี่ ะเปน็ อนาคตของชาติ สบื เน่ืองจากพระราโชบายของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 นั้น ส้านักงาน กศน.ได้น้อมน้ามา เป็นแนวทางเพ่ือให้ผู้ที่ได้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีจิตสาธารณะท่ีพร้อมอาสาสมัครในการบ้าเพ็ญ ประโยชน์ต่อส่วนรวม และร่วมกันปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ สร้างความรักความสามัคคีของ ประชาชน และขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริในพ้ืนที่ อันจะส่งผลให้บุคลากรในสังกัดมีความรัก ชาติ เกิดความรักความสามัคคี เป็นรากฐานที่เหนียวแน่นในการพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญมั่นคง เพราะถือว่าบุคลากรเป็นทรัพยากรท่ีมีคุณค่า และมีความส้าคัญอย่างย่ิงต่อการปฏิบัติงานทุกประเภท ดังนั้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์จึงถูกก้าหนดให้เป็นนโยบายท่ีมีความส้าคัญและจัดเป็นยุทธศาสตร์ในการพัฒนา ประเทศ ดังจะเห็นได้จากยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี ยุทธศาสตร์ที่ 1 ด้านความม่ันคง ที่ก้าหนดไว้เพ่ือบริหาร จัดการสภาวะแวดล้อมของประเทศให้มีความม่ันคง ปลอดภัย และมีความสงบเรียบร้อยในทุกระดับและทุกมิติ และยทุ ธศาสตร์ที่ 3 ดา้ นการพฒั นาและเสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ ท่ีก้าหนดให้การปฎิรูปกระบวนการ เรียนรู้ท่ีตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี 21 (การเปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ให้เป็นครูยุคใหม่) และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 (พ.ศ. 2560-2565) ท่ีก้าหนดว่าต้องให้ความส้าคัญกับ การวางรากฐานการพัฒนาคนให้มีความสมบูรณ์ ควบคู่กับการพัฒนาคนไทยในทุกช่วงวัยให้เป็นคนดี มีสุขภาวะ ที่ดี มีคุณธรรมจริยธรรม มีระเบียบวินัย มีจิตส้านึกท่ีดีต่อสังคมส่วนรวม มีทักษะความรู้ และความสามารถ ปรับตัวเท่าทนั กบั การเปล่ียนแปลงรอบตวั ทรี่ วดเรว็ ประกอบกับกระแสการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ และอิทธิพลต่าง ๆ มีผลต่อการด้าเนินงานขององค์การ ประกอบกับมติคณะรัฐมนตรี ครั้งที่ 1/2563 เม่ือวันท่ี 21 มกราคม 2563 ณ หอ้ งประชุมเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ จังหวัดนราธิวาส ข้อท่ี 12 เรื่อง สรุปผลการปฏิบัติราชการของคณะรัฐมนตรีในพ้ืนท่ีกลุ่มจังหวัดภาคใต้ชายแดน 3.4 เสริมสร้างความเข้มแข็ง ให้กับชุมชนบนพื้นฐานสังคมพหุวัฒนธรรม 2) การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยเพ่ือสร้าง โอกาสและลดความเหลอ่ื มลา้ ของส้านักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดปัตตานี ข้อสั่งการให้ส้านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ด้าเนินการ (1) สนับสนุนให้ครู

3 และบุคลากรเข้ารับการอบรมจิตอาสา 904 และการจัดกิจกรรมท่ีส่งผลให้เกิดความรักชาติ เกิดความรัก ความสามัคคี เป็นรากฐานท่ีเหนียวแน่นในการพัฒนาประเทศชาติให้มีความเจริญมั่นคง สอดคล้องกับนโยบาย และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการประจ้าปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ท่ีก้าหนดด้าน การพัฒนาการศึกษา เพ่ือความมั่นคง 1) พัฒนาคุณภาพการศึกษาในพ้ืนที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยน้อมน้ายุทธศาสตร์พระราชทาน “เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา” เป็นหลักในการด้าเนินการ 2) เฝูาระวังภัยทุกรูปแบบท่ีเกิดข้ึนกับนักศึกษา ครู และสถานศกึ ษา โดยเฉพาะภยั จากยาเสพตดิ อาชญากรรมทางไซเบอร์ การคา้ มนุษย์ 3) ส่งเสริมให้ใช้ภาษาท้องถ่ิน รว่ มกบั ภาษาไทย เป็นสอ่ื จัดการเรียนการสอนในพืน้ ทที่ ใ่ี ชภ้ าษาอยา่ งหลากหลาย เพือ่ วางรากฐานให้นักศึกษามีพัฒนาการ ด้านการคิดวิเคราะห์ รวมท้ังมีทักษะการสื่อสารและใช้ภาษาท่ีสามในการต่อยอดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และ 4) ปลูกฝังนักศึกษาให้มีหลักคิดที่ถูกต้องด้านคุณธรรม จริยธรรม และเป็นผู้มีความพอเพียง มีวินัย มคี วามสุจรติ มีจิตอาสา โดยใช้กระบวนการลูกเสือและยุวกาชาด และเพ่ือให้การด้าเนินการของส้านักงาน กศน. สอดรับกับนโยบายและหลักการในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และน้าไปสู่การปฏิบัติให้เกิดเป็นรูปธรรมให้ได้นั้น ส้านักงาน กศน.จ้าเป็นต้องลงทุนเพ่ือพัฒนาบุคลากรให้มีทักษะ ความรู้ ความสามารถ และทัศนคติที่ดี ต่อการท้างานให้สอดรับกับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม และปัจจัยอ่ืน ๆ เพ่ือเตรียมความพร้อม ด้านทรัพยากรมนุษย์ให้สามารถน้าศักยภาพของแต่ละบุคคลมาใช้ และสร้างให้แต่ละบุคคลเกิดทัศนคติที่ดี ต่อสถาบันของชาติและองค์กร ตลอดจนเกิดความตระหนักในคุณค่าของตนเองและเพื่อนร่วมงาน เพ่ือน้าไปสู่ การพัฒนาเยาวชนไทย บุคลากรผู้ท้าหน้าท่ีครูในยุคปัจจุบันจึงควรเป็นผู้อ้านวยการการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียน เด็ก และเยาวชนมีความรู้ท่ีเท่าทันต่อการเปล่ียนแปลง มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ และแสวงหาความรู้ที่ถูกต้อง เหมาะสม และเหมาะควรในการกระท้า ส้าหรับผู้อ้านวยการเรียนรู้ในที่นี้จ้าเป็นต้องส่งเสริมให้ความรู้เ รื่อง บุญคุณของพระมหากษัตริย์ การปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ และสถาบันส้าคัญของชาติ และความปรองดองสมานฉันท์ มีความเข้าใจร่วมกัน เกิดความสมัครสมานสามัคคีเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน และยึดมั่น ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข และน้าความรู้ดังกล่าวมาถ่ายทอดให้ผู้เรียน ในสังกัดส้านักงาน กศน. รวมทั้งประชาชนท่ัวไปให้ได้รับกระบวนการเรียนรู้ และด้ารงตนเป็นเยาวชนท่ีดี มีจิตสาธารณะพร้อมท่ีจะบ้าเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนรวม และร่วมกันปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยส้านกั งาน กศน. ไดจ้ ัดส่งบุคลากรในสังกัดเขา้ รับการอบรมจติ อาสา 904 “หลักสูตรพื้นฐาน” และ “หลักสูตร หลักประจ้า” ณ โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน มีผู้ผ่านการอบรมภายในสังกัดส้านักงาน กศน. จ้านวน 67 คน (ข้อมูลรุ่นที่ 1 – 4 ท้ัง “หลักสูตรพ้ืนฐาน” และ “หลักสูตรหลักประจ้า”) เพื่อเป็นจิตอาสาตัวอย่าง เป็นก้าลัง เป็นแกนนา้ เป็นรากแกว้ ท่ีจะเป็นเบ้า เป็นแม่พิมพ์ที่จะน้าความรู้ ความเข้าใจ ค้าว่าจิตอาสาไปขยายผลในการ พัฒนาบคุ ลากรภายในสังกดั สา้ นักงาน กศน. รวมถงึ ประชาชน ผู้เรยี น ใหเ้ กดิ การสร้างอุดมการณ์ สร้างจิตส้านึก สร้างระเบียบวินัย สามารถเป็นผู้น้าส้าคัญในการประสานความร่วมมือ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับ ประชาชนในพนื้ ท่ี และนา้ ความรทู้ ี่ได้รบั ไปช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับความเดือดร้อนจากสถานการณ์วิกฤติ และภัยพิบัติ ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ ดังน้ันเพอื่ ใหก้ ารดา้ เนินงานโครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดผล อย่างเป็นรูปธรรม จึงได้ก้าหนดแนวทางในการด้าเนินงานโครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. ข้ึนเพื่อให้เกิด การรับรู้ เข้าใจ และสามารถน้าไปปฏิบัติงานเป็นไปในทิศทางเดียวกันท่ัวทั้งหน่วยงานในสังกัดส้านักงาน กศน. และเพอ่ื ให้บรรลเุ ปูาหมายของโครงการฯ

4 2. วัตถปุ ระสงค์ เพื่อให้หน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัดส้านักงาน กศน. ใช้เป็นแนวทางในการด้าเนินงานขับเคลื่อน โครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. ข้ึนเพื่อให้เกิดการรับรู้ เข้าใจ และสามารถน้าไปปฏิบัติงานเป็นไป ในทศิ ทางเดยี วกนั ทวั่ ทงั้ หนว่ ยงานในสังกัดส้านกั งาน กศน. และเพือ่ ให้บรรลุเปาู หมายของโครงการฯ 3. ผูร้ บั ผดิ ชอบ ผรู้ ับผิดชอบโครงการจิตอาสาของสา้ นักงาน กศน. ประกอบดว้ ย 3.1 สา้ นักงาน กศน. (กลมุ่ /ศูนย์สว่ นกลาง) 3.2 สถาบัน กศน. ภาค 3.3 กลุ่มสา้ นกั งาน กศน.จงั หวัด 3.4 ส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรงุ เทพมหานคร 3.5 สถาบนั การศกึ ษาและพัฒนาตอ่ เน่ืองสริ นิ ธร 3.6 สถาบันการศึกษาทางไกล 4. กิจกรรมทต่ี อ้ งดาเนินการ โครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. ประกอบดว้ ยโครงการและกิจกรรมย่อย ๆ ดังนี้ 4.1 กจิ กรรมอบรมหลกั สูตรจติ อาสาของส้านักงาน กศน. 4.2 กจิ กรรมขยายผลโครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. ประกอบดว้ ย 4.2.1 กจิ กรรมที่ 1 การประกวดชมุ ชนจติ อาสา 4.2.2 กจิ กรรมท่ี 2 การแขง่ ขนั ขบั ร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ใน ร.๙ 4.2.3 กิจกรรมที่ 3 การประกวดการจดั ทา้ โครงงานจิตอาสาต้นแบบ 4.2.4 กิจกรรมท่ี 4 การคัดเลือกผ้ปู ฏิบัตงิ านท่ีท้าคุณประโยชนด์ ้านจติ อาสา

5 5. กรอบในการดาเนินงานโครงการจติ อาสาของสานักงาน กศน. 6. ระยะเวลาดาเนินการ ปงี บประมาณ พ.ศ. 2565 7. สถานทด่ี าเนนิ การ/พนื้ ทด่ี าเนนิ การ 77 จงั หวัด/กรุงเทพมหานคร ครอบคลุมทว่ั ประเทศ รวมถึง สถาบนั กศน.ภาค สถาบันการศึกษาและ พัฒนาต่อเนื่องสิรินธรและสถาบันการศึกษาทางไกล 8. งบประมาณ ใช้งบประมาณรายจ่ายประจ้าปี พ.ศ. 2565 แผนงานยุทธศาสตร์เพื่อสนับสนุนด้านการพัฒนาและ เสริมสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ โครงการขับเคล่ือนการพัฒนาการศึกษาที่ย่ังยืน กิจกรรมพัฒนาบุคลากร ส้านักงาน กศน. งบรายจ่ายอ่นื รายการคา่ ใชจ้ ่ายโครงการหลกั สตู รจิตอาสา 904 9. ประโยชน์ทจ่ี ะไดร้ ับ 9.1 สานักงาน กศน. ส้านักงาน กศน. มีบุคลากรที่เป็นจิตอาสาต้นแบบ เป็นตัวอย่าง เป็นก้าลัง และเป็นแกนน้าใน การพัฒนาบุคลากรภายในสังกัดส้านักงาน กศน. ในการสร้างอุดมการณ์ สร้างจิตส้านึก สร้างระเบียบวินัย สามารถเป็นผู้น้าส้าคัญในการประสานความร่วมมือ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับประชาชนในพ้ืนที่ และน้าความรู้ท่ีได้รับไปช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับความเดือดร้อนจากสถานการณ์วิกฤติ และภัยพิบัติได้อย่างมี

6 ประสิทธิภาพ และมีความพร้อมในการการจัดการมีส่วนร่วมกิจกรรมจิตอาสาในการเผชิญสถานการณ์วิกฤติต่างๆ เช่น อุทกภัย วาตภัยฯ 9.2 สานกั งาน กศน.จงั หวดั /กรุงเทพมหานคร ส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานครมีเครือข่ายในการประสานความร่วมมือในการจัดกิจกรรม อาสาในพ้ืนที่ และได้รับความร่วมมือในการสนับสนุนทรัพยากรในการด้าเนินงาน รวมถึงหน่วยงานได้พัฒนา บุคลากรให้มีคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย เกิดความรัก สามัคคี ในหน่วยงานมากย่ิงขึ้น และสามารถน้า หลักแนวคิดมาใชใ้ นการปฏิบัติงานได้ 9.3 ชมุ ชน ชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจในเรื่องจิตอาสา รู้จักการปฏิบัติหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง และรู้จักการเสียสละประโยชน์ส่วนตนเพื่อประโยชน์ส่วนรวม เกิดการสร้างความสามัคคีในชุมชน และได้รับ การช่วยเหลือหากได้รับความเดือดร้อนจากสถานการณ์วิกฤต รวมถึงการสร้างการรับรู้เก่ียวกับจิตอาสาให้กับ ชุมชน และการใช้ชีวิตอย่างการพ่ึงพาตนเองและยึดหลักของความพอเพียงตามพระราชด้าริในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวฯ (รัชกาลที่ 9) 9.4 ประชาชนและผูเ้ รียนทกุ กลุ่มวยั ประชาชนและผู้เรียนทุกกลุ่มวัยมีความรู้ความเข้าใจหลักการประชาธิปไตยและร่วมกันสร้างสรรค์สังคม ให้เกิดความรู้ รัก สามัคคี เกิดจิตสาธารณะ พร้อมท่ีจะเป็นอาสาสมัครและบ้าเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่อส่วนรวม ตลอดเวลา มีคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย มีจิตส้านึกรับผิดชอบต่อสังคม ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ มีความภาคภูมใิ จในความเป็นไทย และประวัตศิ าสตรช์ าติไทย และเกิดความตระหนัก พร้อมที่จะ รว่ มปกปูองเชดิ ชสู ถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ อีกท้ังกิจกรรมดังกล่าวยังส่งเสริมให้ประชาชนและผู้เรียนทุกกลุ่ม วัยสามารถให้ความช่วยเหลือหรือปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยให้เกิดความปลอดภัยในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง น้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และแนวการด้ารงชีวิตในทางสายกลางไปใช้ในชีวิตประจ้าวัน และ สามารถแก้ปญั หาและปรับเปล่ียนพฤติกรรม ความคิด การแกไ้ ขปญั หาตามกระบวนการคดิ เปน็ แก้ปญั หาเปน็

7 บทที่ 2 ภารกจิ และหน้าที่ของหน่วยงาน/สถานศึกษาในสังกัดสานักงาน กศน. ส้านักงาน กศน. ได้น้อมน้าพระราโชบายของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลท่ี 10 มาเป็นแนวทาง เพ่ือให้ผู้ท่ีได้รับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจ มีจิตสาธารณะที่พร้อมอาสาสมัครในการบ้าเพ็ญประโยชน์ ต่อส่วนรวม และร่วมกันปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ สร้างความรักความสามัคคีของประชาชน และขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริในพ้ืนที่ อันจะส่งผลให้บุคลากรในสังกัดมีความรักชาติ เกิดความรัก ความสามัคคเี ป็นรากฐานท่เี หนยี วแน่นในการพฒั นาประเทศชาตใิ ห้มีความเจริญมน่ั คง ส้านักงาน กศน. จึงได้น้านโยบาย สู่การปฏบิ ัติผา่ นการด้าเนินงานโครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. โดยกา้ หนดการดา้ เนินงาน ดงั น้ี 1. กจิ กรรมอบรมหลกั สูตรจิตอาสาของสา้ นกั งาน กศน. 2. กจิ กรรมขยายผลโครงการจติ อาสาของส้านักงาน กศน. ประกอบดว้ ย 2.1 กิจกรรมที่ 1 การประกวดชุมชนจิตอาสา 2.2 กจิ กรรมท่ี 2 การแขง่ ขนั ขับรอ้ งบทเพลงพระราชนพิ นธ์ใน ร.๙ 2.3 กิจกรรมที่ 3 การประกวดการจดั ทา้ โครงงานจิตอาสา 2.4 กิจกรรมท่ี 4 การคดั เลือกผปู้ ฏบิ ัตงิ านท่ที า้ คณุ ประโยชน์ด้านจิตอาสา และเพอื่ ใหก้ ารดา้ เนินการขับเคล่ือนโครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. ให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ของโครงการ อย่างมีประสิทธิภาพ ท้ังในด้านปริมาณและคุณภาพ เพ่ือให้หน่วยงานและสถานศึกษาในสังกัดส้านักงาน กศน. รว่ มด้าเนินงานอย่างเป็นรูปธรรม จ้าเป็นต้องก้าหนดภารกิจและหน้าที่ความรับผิดชอบของหน่วยงานทั้งในระดับ ส่วนกลาง และส่วนภูมิภาคให้ชัดเจน โดยแต่ละฝุายจะต้องด้าเนินงานและประสานงานกันจัดกิจกรรม ตลอดจน มกี ารนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล เพื่อพฒั นาปรับปรงุ การดา้ เนินงานให้มปี ระสทิ ธภิ าพ เกิดผลเป็นรูปธรรมและ สอดคล้องกับนโยบาย แนวทางการด้าเนินงานขับเคลื่อนโครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. ให้เป็นไปตาม ภารกจิ หน้าที่ทกี่ ้าหนด ดงั น้ี

8 การดาเนินงานขบั เคล่ือนโครงการจิตอาสาของสานักงาน กศน. มีขั้นตอนรายละเอียดการปฏบิ ตั ิงาน ดงั น้ี สานกั งาน กศน. สถาบันสิรนิ ธร สถาบัน กศน.ภาค/กลุ่มสานักงาน กศน. สานกั งาน กศน.จังหวัด จังหวดั /สถาบนั การศึกษาทางไกล นโยบาย ยทุ ธศาสตร์การ รบั นโยบายจากผบู้ รหิ าร ขบั เคล่ือนการด้าเนนิ งาน เพอื่ เปน็ แนวทางในการ รับนโยบายจากผู้บรหิ ารเพือ่ เป็น รับนโยบายจากผบู้ ริหารเพือ่ วางแผนยุทธศาสตร์ แนวทางในการวางแผนยทุ ธศาสตร์ เปน็ แนวทางในการวางแผน จดั สรรงบประมาณ ยทุ ธศาสตร์ สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ ส่งเสรมิ สนับสนุน ดแู ล ส่งเสรมิ สนับสนุน ก้ากับดูแล ชแ้ี จงนโยบายในการ เปูาหมาย . ด้าเนนิ การจดั กจิ กรรม ขับเคลอ่ื นนโยบายสู่ ขับเคล่ือนนโยบายสู่การปฏิบตั ิ ขบั เคลือ่ นสู่การปฏิบัติ 130 คน การปฏบิ ัติ นเิ ทศ ติดตาม สง่ เสรมิ สนบั สนนุ การดา้ เนนิ งาน สง่ เสรมิ สนบั สนนุ กา้ กับ ขยายผลสู่ จัดเริม่ ต้นกจิ กรรม พฒั นาส่ือในการส่งเสรมิ การเรยี นรู้ ดแู ล ขบั เคล่ือนนโยบายสู่ ชุมชน/กล่มุ ประสานงาน kick off การอบรม คน/ผเู้ รยี น จดั เวทแี สดงผลงานระดบั การปฏิบตั ิ จัดเวทแี สดงผลงาน สง่ เสริม สนบั สนนุ การ สถาบนั กศน.ภาค/กลมุ่ ถอดบทเรียน ระดบั ประเทศ ด้าเนินงานพฒั นาส่ือใน ส้านักงาน กศน.จังหวดั สง่ เสรมิ สนับสนนุ อา้ นวย การสง่ เสริมการเรียนรู้ การประกวดชมุ ชนจติ อาสา ความสะดวกด้านทรพั ยากร (๒๕-๒๖ กรกฎาคม ๖๕) และระบบการรายงานผล การแขง่ ขันขับร้องบทเพลง จัดอบรมโครงการหลกั สตู ร คัดเลือกผปู้ ฏบิ ตั ิงานทท่ี ้า พระราชนพิ นธ์ใน ร.๙ จติ อาสาของสา้ นกั งาน กศน. คุณประโยชน์ดา้ นจติ อาสา การประกวดการจดั ทา้ จดั เวทีแสดงผลงานระดับ ติดตามและประเมนิ ผล โครงงานจิตอาสาตน้ แบบ ส้านักงาน กศน.จังหวดั การคัดเลอื กผปู้ ฏบิ ตั ิงานท่ีทา้ *การประกวดจิตอาสาชุมชน คณุ ประโยชนด์ ้านจิตอาสา การแข่งขนั ขบั ร้องบทเพลง กา้ กบั ตดิ ตามและประเมนิ ผล พระราชนิพนธ์ ใน ร.๙ การประกวดการจดั ทา้ โครงงานจติ อาสาต้นแบบ การคัดเลือกผูป้ ฏิบัติงานท่ที า้ คณุ ประโยชน์ดา้ นจติ อาสา ก้ากบั ตดิ ตามและประเมนิ ผล ระยะเวลาดา้ เนินการถึง ระยะเวลาดา้ เนนิ การถงึ ระยะเวลาดา้ เนินการถึง ระยะเวลาดา้ เนนิ การถงึ 31 ม.ี ค.๖๕ สิน้ เดอื นก.ย.๖๕ ๓๑ พ.ค.๖๕ ๒๙ เม.ย.๖๕ หมายเหตุ * สถาบันการศึกษาทางไกลไมต่ ้องดา้ เนินการ

9 1. ภารกิจและหน้าที่ของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สานกั งาน กศน.) ส้านักงาน กศน. ได้ด้าเนินการวางกรอบงานให้มีการจัดกิจกรรมอบรมหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน. จ้านวน 10,000 คน ให้กับผู้บริหาร ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงาน ราชการ บคุ ลากร และผ้เู รียนสังกดั สา้ นักงาน กศน.จงั หวัด/กรงุ เทพมหานคร เพ่ือให้บุคลากรและผู้เรียนในสังกัด ส้านักงาน กศน. เป็นจิตอาสาตัวอย่าง เป็นก้าลัง เป็นแกนน้า เป็นรากแก้วท่ีจะเป็นเบ้า เป็นแม่พิมพ์ที่จะน้า ความรู้ ความเข้าใจ ค้าว่าจิตอาสาไปขยายผลในการพัฒนาบุคลากรภายในสังกัดส้านักงาน กศน. รวมถึง ประชาชน ผู้เรียน ให้เกิดการสร้างอุดมการณ์ สร้างจิตส้านึก สร้างระเบียบวินัย สามารถเป็นผู้น้าส้าคัญใน การประสานความร่วมมือ แก้ไขปญั หาความเดอื ดร้อนใหก้ บั ประชาชนในพ้ืนท่ี และน้าความรู้ที่ได้รับไปช่วยเหลือ ผู้ท่ีได้รับความเดือดร้อนจากสถานการณ์วิกฤติ และภัยพิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ก้าหนดแนวทางใน การด้าเนินงาน ดงั น้ี 1.1 ก้าหนดนโยบายการด้าเนินการ ตลอดทั้งการติดตามประเมินผล เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพของ โครงการใหม้ กี ารด้าเนินงานที่มปี ระสทิ ธภิ าพ มีความเขม้ แขง็ ต่อเนอื่ ง และยั่งยนื 1.2 จัดสรรงบประมาณให้หน่วยงานในสังกัดส้านักงาน กศน. สถาบัน กศน.ภาค กลุ่มส้านักงาน กศน.จังหวัด ส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร สถาบันการศึกษาทางไกล และสถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเน่ืองสิรินธร เพื่อด้าเนินการจดั กิจกรรมตามท่ีไดก้ ้าหนด 1.3 ส่งเสรมิ และสนับสนุนใหส้ ถานศึกษาในสงั กัดส้านกั งาน กศน. จัดกจิ กรรมตามทไ่ี ดก้ า้ หนด

10

11 1.4 นิเทศ ติดตามและประเมินผลการด้าเนินงาน ส้านักงาน กศน. ร่วมกับศูนย์เทคโนโลยีทางการศึกษา (ETV) และหน่วยงานส่วนกลางลงพื้นท่ีเพื่อติดตามผลการด้าเนินงานใน 5 ภูมิภาค ได้แก่ ภาคเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ ภาคละ 2 ครั้ง (ก่อนการอบรมและการขยายผล) รวม 10 คร้ัง เพื่อเผยแพร่ประชาสมั พนั ธผ์ ลการดา้ เนินงาน หรอื พจิ ารณาตามความเหมาะสม 1.5 ประสานงานกับหน่วยงานตา่ ง ๆ ที่เกยี่ วขอ้ งเพ่อื เชอื่ มโยงกับพน้ื ท่ี 1.6 จดั เวทีแสดงผลงานระดบั ประเทศ 1.7 ส้านักงาน กศน. สรุปรายงานผลการด้าเนินงานโครงการมาวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือสรุปเป็นรูปเล่ม เสนอต่อผู้บรหิ าร 2. ภารกจิ และหนา้ ทข่ี องสถาบันการศกึ ษาและพฒั นาต่อเนื่องสิรินธร 2.1 สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ดูแล การขับเคล่อื นนโยบายสูก่ ารปฏบิ ัติใหเ้ กดิ เป็นรปู ธรรม 2.2 ด้าเนินการจัดกิจกรรม Kick off การอบรมโครงการหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน. พร้อมกันทั่ว ประเทศ ณ สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเนื่องสิรินธร ในวันที่ 15 มกราคม 2565 และเร่ิมการอบรมหลักสูตรจิต อาสาของส้านักงาน กศน. ท่ัวประเทศในวันท่ี 15-16 มกราคม 2565 กลุ่มเปูาหมายเป็น ผู้บริหาร ข้าราชการ พลเรือน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ บุคลากรและผู้เรียนในสังกัด โดยปฏิบัติตาม แนวทางท่สี า้ นกั งาน กศน. ในด้านเน้อื หาหลักสตู ร และจ้านวนช่ัวโมงในการอบรม 2.3 ประสานความร่วมมอื เพือ่ สร้างภาคเี ครอื ขา่ ยให้เข้ามามสี ว่ นรว่ มในการจัดกจิ กรรม

12 หมายเหตุ : 1) วิทยากรจิตอาสา ควรพิจารณา 1.1) ต้องเป็นผู้ที่ผ่านการอบรมจิตอาสา 904 และควรพิจารณาจากหน่วยงานในสังกัด สา้ นกั งาน กศน. 1.2) สามารถประสานความรว่ มมอื หรอื ขอสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานอ่ืนได้ตามความเหมาะสม 2) วิทยากรในหัวข้อเร่ืองการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและการช่วยชีวิตข้ันพ้ืนฐาน (CPR) ควรเป็น วิทยากรจากสา้ นกั อนามัยกรงุ เทพมหานคร เจา้ หน้าทก่ี ระทรวงสาธารณสขุ ฯลฯ 3) ส้านักงาน กศน. เป็นผู้จัดท้าแบบประเมินความคิดเห็นของผู้จัดการอบรม ผู้เข้ารับการอบรม และผู้ที่เก่ียวข้องท่ีมีต่อโครงการหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน. เพ่ือทราบบริบทปัญหาและอุปสรรค โดยแบบประเมินแบ่งเน้อื หาเปน็ 3 ตอน ดังนี้ 3.1) ข้อมลู ทวั่ ไป ได้แก่ เพศ สถานภาพ อายุ ระดบั การศกึ ษา และสงั กดั 3.2) ความคิดเห็นเก่ียวกับหลักสูตรในด้านต่าง ๆ ได้แก่ 1) ด้านบริบทของหลักสูตร 2) ด้าน ปัจจัยน้าเข้า : คุณสมบัติของวิทยากร 3) ด้านกระบวนการ : ทรัพยากรด้าเนินการ และ 4) ด้านกระบวนการ : การจดั กิจกรรมและการวดั และประเมินผล 3.3) ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ 1) ด้านความคาดหวัง “ก่อน” เข้ารับ การฝึกอบรม 2) ด้านผลทีไ่ ด้รบั “หลงั ” เขา้ รบั การฝกึ อบรม และ 3) ด้านการบริหารจัดการโครงการ เพอื่ ประเมินผลการด้าเนินงาน โดยจะน้าผลการประเมนิ ดงั กล่าวมาวิเคราะห์ข้อมลู ดว้ ยวธิ กี ารทางสถติ ิ 2.4 ส่งเสริม สนับสนุนการด้าเนินงานพัฒนาส่ือในการส่งเสริมการเรียนรู้ และระบบการรายงานผลใน ภาพรวมของส้านักงาน กศน. 2.5 ประชาสัมพันธ์การคัดเลอื กผู้ปฏิบตั งิ านท่ีท้าคณุ ประโยชนด์ ้านจิตอาสาให้บคุ ลากรตามท่สี ้านักงาน กศน. ก้าหนด และจัดสง่ ไปทส่ี า้ นกั งาน กศน. (สว่ นกลาง) ทราบเพื่อดา้ เนนิ การประกวด/คัดเลือกต่อไป 2.6 ติดตามและประเมินผลการด้าเนินงาน 2.7 รายงานค่าใช้จ่าย ผลการดาเนินงานส่งไปยังระบบรายงานของสถาบันการศึกษาและพัฒนา ตอ่ เน่ืองสริ นิ ธร และสรุปรายงานผลการดาเนินงาน (รปู เลม่ ) ส่งสานักงาน กศน. (ส่วนกลาง) รับทราบผล เพ่ือ พฒั นากระบวนการดาเนนิ งานใหเ้ ขม้ แขง็ ต่อเน่อื ง และยงั่ ยนื ภายในวนั ที่ ๓๐ เมษายน 256๕

13 3. ภารกิจและหน้าท่ีของสถาบันพัฒนาการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (สถาบัน กศน. ภาค) 3.1 ผู้บริหารสถานศึกษา มีภาระหน้าท่ีในการน้านโยบายสู่การปฏิบัติ จัดประชุมช้ีแจง แต่งตั้ง คณะท้างานผู้รับผิดชอบ มอบนโยบาย จัดท้าแผนปฏิบัติงาน จัดกิจกรรมการประกวด ติดตามประเมินผล สรุปรายงานเสนอตามล้าดบั พร้อมทัง้ เสนอแนะปัญหาและอุปสรรค เพ่ือน้าไปสกู่ ารแก้ไขโครงการ 3.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาและอบรมบุคลากร โดยให้สถาบัน กศน. ภาคด้าเนินการจัด กิจกรรมอบรมหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน. แห่งละ 50 คน กลุ่มเปูาหมายเป็น ผู้บริหาร ข้าราชการ พลเรือน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ บุคลากรและผู้เรียนในสังกัด โดยปฏิบัติตาม แนวทางทส่ี ้านกั งาน กศน. ในด้านเนอ้ื หาหลกั สตู ร และจ้านวนชว่ั โมงในการอบรม 3.3 ประสานความร่วมมอื เพื่อสรา้ งภาคีเครือข่ายให้เขา้ มามีส่วนร่วมในการจดั กิจกรรม หมายเหตุ : 1) วิทยากรจิตอาสา ควรพิจารณา 1.1) ต้องเป็นผู้ท่ีผ่านการอบรมจิตอาสา 904 และควรพิจารณาจากหน่วยงานในสังกัด สา้ นักงาน กศน. 1.2) สามารถประสานความรว่ มมือหรือขอสนบั สนุนจากหนว่ ยงานอื่นไดต้ ามความเหมาะสม 2) วิทยากรในหัวข้อเร่ืองการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพ้ืนฐาน (CPR) ควรเป็น วิทยากรจากส้านกั อนามยั กรุงเทพมหานคร เจา้ หน้าทีก่ ระทรวงสาธารณสขุ ฯลฯ 3) ส้านักงาน กศน. เป็นผู้จัดท้าแบบประเมินความคิดเห็นของผู้จัดการอบรม ผู้เข้ารับการอบรม และผู้ที่เก่ียวข้องท่ีมีต่อโครงการหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน. เพื่อทราบบริบทปัญหาและอุปสรรค โดยแบบประเมนิ แบง่ เนอ้ื หาเปน็ 3 ตอน ดงั นี้

14 3.1) ข้อมูลทัว่ ไป ได้แก่ เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศกึ ษา และสงั กดั 3.2) ความคิดเห็นเก่ียวกับหลักสูตรในด้านต่าง ๆ ได้แก่ 1) ด้านบริบทของหลักสูตร 2) ด้าน ปัจจัยน้าเข้า : คุณสมบัติของวิทยากร 3) ด้านกระบวนการ : ทรัพยากรด้าเนินการ และ 4) ด้านกระบวนการ : การจัดกจิ กรรมและการวัดและประเมนิ ผล 3.3) ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ 1) ด้านความคาดหวัง “ก่อน” เข้ารับ การฝกึ อบรม 2) ด้านผลที่ได้รบั “หลัง” เขา้ รบั การฝึกอบรม และ 3) ด้านการบรหิ ารจัดการโครงการ เพือ่ ประเมนิ ผลการด้าเนินงาน โดยจะนา้ ผลการประเมนิ ดังกลา่ วมาวเิ คราะหข์ อ้ มูลด้วยวิธกี ารทางสถิติ 3.4 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ดแู ล ขบั เคลอื่ นนโยบายสู่การปฏบิ ตั ิใหเ้ กดิ เป็นรูปธรรม 3.5 สง่ เสรมิ และสนับสนนุ การดา้ เนินงานพฒั นาสื่อในการส่งเสริมการเรยี นรู้ 3.6 ด้าเนินการจัดเวทแี สดงผลงานระดับสถาบนั กศน.ภาค โดยพจิ ารณาคัดเลอื ก ๓.๖.๑ การประกวดชุมชนจิตอาสา ๓.๖.๒ การแขง่ ขันขบั ร้องเพลงพระราชนิพนธ์ใน ร.๙ ๓.๖.๓ การประกวดการจัดทา้ โครงงานจติ อาสาต้นแบบ ๓.๖.๔ การคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา (ประชาสัมพันธ์การคัดเลือก ผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสาให้บุคลากร) ตามที่ส้านักงาน กศน. ก้าหนด และจัดส่งไปที่ส้านักงาน กศน. (สว่ นกลาง) ทราบเพ่อื ด้าเนนิ การประกวด/คดั เลือกตอ่ ไป 3.7 ติดตามและประเมินผลการด้าเนนิ งาน และรายงานผลการคดั เลือกพร้อมเอกสารรายละเอียดผู้ผ่าน การคัดเลือกทุกประเภทไปยังส้านักงาน กศน.(ส่วนกลาง) ภายในวันท่ี 31 พฤษภาคม 256 ๕ เพื่อให้ส้านกั งาน กศน. (ส่วนกลาง) ด้าเนินการประกวด/คดั เลือกต่อไป 3.8 รายงานคา่ ใชจ้ า่ ย ผลการดาเนินงานสง่ ไปยังระบบรายงานของสถาบันการศกึ ษาและพฒั นาตอ่ เนือ่ ง สิรินธร และสรุปรายงานผลการดาเนินงาน (รูปเล่ม) ส่งสานักงาน กศน. (ส่วนกลาง) รับทราบผล เพื่อพัฒนา กระบวนการดาเนินงานให้เขม้ แข็ง ตอ่ เนอื่ ง และยง่ั ยนื ภายในวนั ท่ี ๓๑ พฤษภาคม 256๕ หมายเหตุ 1) เมื่อได้รับการจัดสรรงบประมาณและมีการด้าเนินการแล้ว ให้หน่วยงานคืนเงินที่เหลือจ่าย พรอ้ มรายงานคา่ ใชจ้ า่ ยกลับมาที่ส้านักงาน กศน. (สว่ นกลาง) ภายในวนั ท่ี 31 พฤษภาคม 256๕ 2) การแสดงผลงานระดับประเทศ ส้านักงาน กศน. ได้ก้าหนดใหด้ า้ เนินการจัดส่งทมี ดงั น้ี 2.1) จิตอาสาชุมชน จา้ นวน 1 ทมี (ไม่เกิน 10 คน) 2.2) การแข่งขันขบั ร้องเพลงทมี ทีไ่ ด้รับรางวลั ชนะเลศิ ระดับภาค จา้ นวน ๔ ทมี - ระดับประถมศกึ ษา จา้ นวน 1 ทมี - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จ้านวน 1 ทมี - ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. จ้านวน 1 ทีม - ประเภทนักศึกษาผูพ้ กิ าร จา้ นวน ๑ ทีม 2.3) การประกวดการจดั ทา้ โครงงานจิตอาสาต้นแบบ (ตวั แทนไมเ่ กนิ 2 คน) จา้ นวน 3 ทมี - ระดบั ประถมศกึ ษา จา้ นวน 1 ทมี - ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น จา้ นวน 1 ทมี

15 - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. จา้ นวน 1 ทีม 2.๔) เจ้าหน้าท่ี ท่ีได้รับมอบหมายของสถาบัน กศน. ภาค จ้านวนไม่เกิน 5 คน และส้านักงาน กศน.จังหวดั /กทม. จา้ นวนไมเ่ กนิ 5 คน 4. ภารกิจและหน้าท่ีของกลุ่มสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด (กล่มุ สานักงาน กศน.จงั หวดั ) 4.1 ส่งเสรมิ สนับสนนุ ก้ากับดแู ล ขับเคลือ่ นนโยบายสกู่ ารปฏิบัติให้เกิดเป็นรปู ธรรม 4.2 ส่งเสริมและสนบั สนนุ การด้าเนนิ งานพฒั นาส่ือในการสง่ เสริมการเรียนรู้ 4.3 ด้าเนินการจัดเวทแี สดงผลงานระดับกลมุ่ ส้านักงาน กศน.จงั หวัด โดยพิจารณาคัดเลอื ก ๔.๓.๑ การประกวดชุมชนจติ อาสา ๔.๓.๒ การแขง่ ขันขับรอ้ งเพลงพระราชนิพนธ์ในร.๙ ๔.๓.๓ การประกวดการจัดทา้ โครงงานจติ อาสาตน้ แบบ ๔.๓.๔ การคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา (ประชาสัมพันธ์การคัดเลือก ผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสาให้บุคลากร) ตามท่ีส้านักงาน กศน. ก้าหนด และจัดส่งไปท่ีส้านักงาน กศน. (สว่ นกลาง) ทราบเพื่อดา้ เนินการประกวด/คัดเลือกต่อไป ๔.๔ ก้ากับ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการดา้ เนนิ งาน และรายงานผลการคดั ลือกพร้อมเอกสารรายละเอียด ผู้ผ่านการคัดเลือกทุกประเภทไปยังสถาบัน กศน. ภาค ภายในวันท่ี 30 เมษายน ๒๕๖๕ เพื่อให้สถาบัน กศน. ภาคด้าเนนิ การประกวด/คัดเลือกตอ่ ไป

16 ๔.๕ รายงานคา่ ใช้จ่าย ผลการดาเนินงานสง่ ไปยงั ระบบรายงานของสถาบนั การศึกษาและพัฒนาตอ่ เนื่อง สริ ินธร และสรุปรายงานผลการดาเนินงาน (รูปเล่ม) ส่งสานักงาน กศน. (ส่วนกลาง) รับทราบผล เพื่อพัฒนา กระบวนการดาเนนิ งานให้เข้มแขง็ ต่อเนอ่ื ง และยงั่ ยนื ภายในวนั ที่ ๓๐ เมษายน 256๕ หมายเหตุ เม่ือได้รับการจัดสรรงบประมาณและมีการด้าเนินการแล้ว ให้หน่วยงานคืนเงินท่ีเหลือจ่าย พรอ้ มรายงานคา่ ใช้จา่ ยกลับมาทีส่ ้านักงาน กศน. (สว่ นกลาง) ภายในวันที่ ๓๐ เมษายน 256๕ 5. ภารกิจและหน้าที่ของสานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด/ กรงุ เทพมหานคร (สานกั งาน กศน.จังหวดั /กรุงเทพมหานคร) 5.1 ชี้แจงนโยบายที่ต้องด้าเนินการต่อข้าราชการ บุคลากร และเจ้าหน้าท่ี เพื่อสร้างความเข้าใจ ในการขบั เคลอ่ื นนโยบายสกู่ ารปฏิบัติ 5.2 สง่ เสรมิ สนับสนนุ ก้ากับดูแลการขับเคลอื่ นนโยบายสูก่ ารปฏบิ ตั ิให้เกิดเปน็ รูปธรรม 5.3 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ อ้านวยความสะดวกด้านงบประมาณ ดา้ นวิชาการ ส่อื การเรียนรู้ และทรัพยากร ฯลฯ 5.4 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาและอบรมบุคลากร โดยให้ส้านักงาน กศน.จังหวัด/ กรุงเทพมหานครด้าเนินการจัดกิจกรรมอบรมหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน. แห่งละ 130 คน กลุ่มเปูาหมายเป็น ผู้บริหาร ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ บคุ ลากร และผเู้ รยี นในสงั กัดสา้ นกั งาน กศน.จงั หวดั /กรุงเทพมหานคร โดยปฏิบัติตามแนวทางที่ส้านักงาน กศน. ในดา้ นเนื้อหาหลักสตู ร และจา้ นวนชั่วโมงในการอบรม 5.5 ประสานความรว่ มมอื เพ่อื สร้างภาคเี ครอื ข่ายให้เข้ามามีส่วนร่วมในการจดั กจิ กรรม

17 หมายเหตุ : 1) วทิ ยากรจิตอาสา ควรพจิ ารณา 1.1) ต้องเป็นผู้ท่ีผ่านการอบรมจิตอาสา 904 และควรพิจารณาจากหน่วยงานในสังกัด ส้านกั งาน กศน. 1.2) สามารถประสานความรว่ มมือหรอื ขอสนบั สนนุ จากหน่วยงานอน่ื ไดต้ ามความเหมาะสม 2) วิทยากรในหัวข้อเรื่องการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและการช่วยชีวิตข้ันพื้นฐาน (CPR) ควรเป็น วิทยากรจากส้านกั อนามยั กรุงเทพมหานคร เจา้ หนา้ ทก่ี ระทรวงสาธารณสุข ฯลฯ 3) ส้านักงาน กศน. เป็นผู้จัดท้าแบบประเมินความคิดเห็นของผู้จัดการอบรม ผู้เข้ารับการอบรม และผู้ที่เกี่ยวข้องที่มีต่อโครงการหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน. เพ่ือทราบบริบทปัญหาและอุปสรรค โดยแบบประเมนิ แบ่งเนื้อหาเป็น 3 ตอน ดงั น้ี 3.1) ขอ้ มูลทว่ั ไป ได้แก่ เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา และสงั กดั 3.2) ความคิดเห็นเก่ียวกับหลักสูตรในด้านต่าง ๆ ได้แก่ 1) ด้านบริบทของหลักสูตร 2) ด้าน ปัจจัยน้าเข้า : คุณสมบัติของวิทยากร 3) ด้านกระบวนการ : ทรัพยากรด้าเนินการ และ 4) ด้านกระบวนการ : การจดั กิจกรรมและการวัดและประเมนิ ผล 3.3) ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ 1) ด้านความคาดหวัง “ก่อน” เข้ารับ การฝึกอบรม 2) ดา้ นผลท่ีไดร้ ับ “หลงั ” เขา้ รับการฝกึ อบรม และ 3) ด้านการบรหิ ารจดั การโครงการ เพือ่ ประเมินผลการดา้ เนนิ งาน โดยจะน้าผลการประเมนิ ดงั กล่าวมาวิเคราะห์ขอ้ มลู ดว้ ยวิธกี ารทางสถติ ิ 5.6 เมื่อด้าเนินการจัดการอบรมเสร็จส้ินแล้ว ส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานครต้องส่งเสริม ให้สถานศึกษาด้าเนินการขยายผลการด้าเนินงานให้เกิดเป็นรูปธรรม (โดยผู้เข้ารับการอบรมต้องมีส่วนใน การด้าเนินกิจกรรมเป็นหลัก) ในการจัดกิจกรรมจิตอาสาในรูปแบบต่าง ๆ และให้ด้าเนินกิจกรรม 4 กิจกรรม ได้แก่ ๑) การประกวดชุมชนจิตอาสา ๒) การแข่งขันขับร้องเพลงพระราชนิพนธ์ในร.๙ ๓) การประกวดการจัดท้า โครงงานจิตอาสาตน้ แบบ และ ๔) การคดั เลือกผปู้ ฏิบตั ิงานทท่ี ้าคณุ ประโยชนด์ า้ นจิตอาสา 5.7. ส้านกั งาน กศน.จังหวดั /กรุงเทพมหานคร ด้าเนินการจดั เวทแี สดงผลงานระดบั จังหวดั โดยพิจารณาคดั เลอื ก ๕.๗.๑ การประกวดชมุ ชนจิตอาสา ๕.๗.๒ การแขง่ ขนั ขับร้องเพลงพระราชนิพนธใ์ นร.๙ ๕.๗.๓ การประกวดการจัดทา้ โครงงานจติ อาสาตน้ แบบ ๕.๗.๔ การคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา (ประชาสัมพันธ์การคัดเลือก ผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสาให้บุคลากร) ตามท่ีส้านักงาน กศน. ก้าหนด และจัดส่งไปท่ีส้านักงาน กศน. (ส่วนกลาง) ทราบเพอ่ื ด้าเนินการประกวด/คดั เลอื กต่อไป 5.8 ส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร ก้ากับ ติดตามและประเมินผลการด้าเนินงาน และรายงานผลการคัดเลือกพร้อมเอกสารรายละเอียดผู้ผ่านการคัดเลือกทุกประเภทไปยังกลุ่มส้านักงาน กศน. จงั หวัดภายในวันท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕ เพ่อื ให้กลุ่มส้านกั งาน กศน.จังหวดั ด้าเนนิ การประกวด/คัดเลอื กต่อไป

18 5.9 รายงานค่าใชจ้ า่ ย ผลการดาเนนิ งานส่งไปยังระบบรายงานของสถาบนั การศกึ ษาและพัฒนาต่อเน่อื ง สิรนิ ธร และสรุปรายงานผลการดาเนินงาน (รูปเล่ม) ส่งสานักงาน กศน. (ส่วนกลาง) รับทราบผล เพ่ือพัฒนา กระบวนการดาเนนิ งานใหเ้ ข้มแขง็ ตอ่ เนอื่ ง และยงั่ ยืน ภายในวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๖๕ หมายเหตุ เมื่อได้รับการจัดสรรงบประมาณและมีการด้าเนินการแล้ว ให้หน่วยงานคืนเงินที่เหลือจ่าย พรอ้ มรายงานค่าใชจ้ ่ายกลับมาทีส่ ้านักงาน กศน. (ส่วนกลาง) ภายในวันท่ี ๓๑ มนี าคม ๒๕๖๕ 6. ภารกจิ และหน้าทีข่ องศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อาเภอ/เขต (กศน.อาเภอ/เขต) ด้าเนินการโดยคณะผู้บริหาร ครู ผู้เรียนและผู้ที่มีหน้าท่ีรับผิดชอบในการขับเคลื่อนการด้าเนินโครงการ ดงั น้ี 6.1 ผู้บริหารสถานศึกษา มีภาระหน้าที่ในการน้านโยบายสู่การปฏิบัติ จัดประชุมช้ีแจง แต่งต้ัง คณะท้างานผู้รับผิดชอบ มอบนโยบาย จัดท้าแผนปฏิบัติงาน จัดกิจกรรมการประกวด ติดตามประเมินผล สรุปรายงานเสนอตามลา้ ดับ พร้อมทง้ั เสนอแนะปญั หาและอุปสรรค เพื่อน้าไปสู่การแก้ไขโครงการ 6.2 สถานศึกษาและครู (ผู้ผ่านการอบรมโครงการหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน.) มีภารกิจหน้าที่ในการขับเคลื่อนกิจกรรมให้ความรู้แก่ชุมชนและผู้เรียนทุกกลุ่มวัย โดยประชาสัมพันธ์และชี้แจง แนวทางการคัดสรรกิจกรรมการประกวด 6.3 พิจารณาคดั เลอื ก 6.3.1 กลุ่มการจดั ตงั้ งานจิตอาสาชมุ ชน 6.3.2 ทมี ที่สมคั รเขา้ ร่วมการแขง่ ขนั ขับรอ้ งเพลงพระราชนิพนธ์ 6.3.3 ทีมที่สมคั รเข้าร่วมการประกวดการจัดทา้ โครงการจิตอาสาต้นแบบ

19 6.3.4 การคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา (ประชาสัมพันธ์การคัดเลือก ผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสาให้บุคลากร) ตามท่ีส้านักงาน กศน. ก้าหนด และจัดส่งไปที่ส้านักงาน กศน. (สว่ นกลาง) ทราบเพ่อื ด้าเนินการประกวด/คัดเลือกต่อไป 6.4 ผผู้ ่านการอบรมกิจกรรมอบรมหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน.หรือครูประสานกลุ่มเปูาหมาย เตรียมความพร้อมในการคัดสรร ตามก้าหนดการที่กศน.อ้าเภอ/เขตแจ้ง โดยผู้ผ่านกิจกรรมอบรมโครงการ หลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน.หรือครู ท้าหน้าที่เป็นพ่ีเล้ียงในการส่งเสริม สนับสนุน และให้ค้าปรึกษาใน การเขา้ รับการคัดสรร 6.5 กศน.อา้ เภอ/เขต ดา้ เนนิ การตามท้าหน้าท่ี 6.6 ประสานกลุ่มเปูาหมาย ประกอบด้วย หมู่บ้าน กลุ่ม องค์กรชุมชน จัดท้าปูายแสดงไว้ที่หมู่บ้าน/ชุมชน ที่ท้าการชุมชนจิตอาสาดีเด่น ตามความเหมาะสม เพื่อสร้างความภาคภูมิใจและประชาสัมพันธ์ขยายผลการสร้าง ความเขม้ แขง็ ใหช้ ุมชน 6.7 ให้ชุมชนจิตอาสาดีเด่นที่ได้รับการคัดสรร ด้าเนินการถอดบทเรียนและส่งผลการถอดบทเรียนให้ ส้านกั งาน กศน.จงั หวัด/กรงุ เทพมหานคร ด้าเนินการต่อไป 7. ภารกิจและหนา้ ทีข่ องสถาบันการศึกษาทางไกล ด้าเนินการโดยคณะผู้บริหาร ครู ผู้เรียนและผู้ท่ีมีหน้าที่รับผิดชอบในการขับเคลื่อนการด้าเนินโครงการ ดงั น้ี

20 7.1 ผู้บริหารสถานศึกษา มีภาระหน้าท่ีในการน้านโยบายสู่การปฏิบัติ จัดประชุมช้ีแจง แต่งตั้ง คณะท้างานผู้รับผิดชอบ มอบนโยบาย จัดท้าแผนปฏิบัติงาน จัดกิจกรรมการประกวด ติดตามประเมินผล สรุปรายงานเสนอตามลา้ ดบั พรอ้ มทัง้ เสนอแนะปัญหาและอปุ สรรค เพ่อื นา้ ไปสกู่ ารแก้ไขโครงการ 7.2 ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาและอบรมบุคลากร โดยให้สถาบัน กศน. ภาคด้าเนินการจัด กิจกรรมอบรมหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน. แห่งละ 50 คน กลุ่มเปูาหมายเป็น ผู้บริหาร ข้าราชการ พลเรือน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ บุคลากรและผู้เรียนในสังกัด โดยปฏิบัติตาม แนวทางทสี่ า้ นกั งาน กศน. ในด้านเน้อื หาหลักสตู ร และจา้ นวนชัว่ โมงในการอบรม 7.3 ประสานความร่วมมือ เพ่ือสรา้ งภาคเี ครือขา่ ยให้เข้ามามสี ่วนร่วมในการจัดกิจกรรม หมายเหตุ : 1) วิทยากรจติ อาสา ควรพิจารณา 1.1) ต้องเป็นผู้ท่ีผ่านการอบรมจิตอาสา 904 และควรพิจารณาจากหน่วยงานในสังกัด ส้านักงาน กศน. 1.2) สามารถประสานความร่วมมือหรือขอสนบั สนนุ จากหนว่ ยงานอนื่ ไดต้ ามความเหมาะสม 2) วิทยากรในหัวข้อเรื่องการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตขั้นพื้นฐาน (CPR) ควรเป็น วทิ ยากรจากสา้ นกั อนามัยกรงุ เทพมหานคร เจ้าหน้าท่ีกระทรวงสาธารณสขุ ฯลฯ 3) ส้านักงาน กศน. เป็นผู้จัดท้าแบบประเมินความคิดเห็นของผู้จัดการอบรม ผู้เข้ารับการอบรม และผู้ที่เกี่ยวข้องท่ีมีต่อโครงการหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน. เพื่อทราบบริบทปัญหาและอุปสรรค โดยแบบประเมินแบ่งเนอ้ื หาเปน็ 3 ตอน ดงั นี้ 3.1) ขอ้ มลู ทั่วไป ไดแ้ ก่ เพศ สถานภาพ อายุ ระดบั การศกึ ษา และสังกดั 3.2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรในด้านต่าง ๆ ได้แก่ 1) ด้านบริบทของหลักสูตร 2) ด้าน ปัจจัยน้าเข้า : คุณสมบัติของวิทยากร 3) ด้านกระบวนการ : ทรัพยากรด้าเนินการ และ 4) ด้านกระบวนการ : การจดั กจิ กรรมและการวดั และประเมินผล 3.3) ความคิดเห็นของผู้เข้ารับการฝึกอบรม ได้แก่ 1) ด้านความคาดหวัง “ก่อน” เข้ารับ การฝึกอบรม 2) ด้านผลทไี่ ดร้ บั “หลัง” เข้ารับการฝึกอบรม และ 3) ดา้ นการบริหารจดั การโครงการ เพือ่ ประเมินผลการดา้ เนนิ งาน โดยจะนา้ ผลการประเมนิ ดงั กลา่ วมาวเิ คราะห์ขอ้ มลู ด้วยวิธีการทางสถิติ 7.4 ส่งเสริม สนบั สนนุ ดแู ล ขับเคล่ือนนโยบายส่กู ารปฏบิ ตั ิใหเ้ กดิ เปน็ รูปธรรม 7.5 สง่ เสรมิ และสนับสนุนการด้าเนินงานพฒั นาสื่อในการส่งเสรมิ การเรียนรู้ 7.6 สถานศึกษาและครู (ผู้ผ่านการอบรมโครงการหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน.) มีภารกิจหน้าท่ีในการขับเคลื่อนกิจกรรมให้ความรู้แก่ชุมชนและผู้เรียนทุกกลุ่มวัย โดยประชาสัมพันธ์และช้ีแจง แนวทางการคัดสรรกิจกรรมการประกวด 7.7 พจิ ารณาคดั เลือก 7.7.1 การแขง่ ขันขับรอ้ งเพลงพระราชนพิ นธ์ 7.7.2 การประกวดการจดั ท้าโครงงานจติ อาสาตน้ แบบ

21 7.7.3 การคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา (ประชาสัมพันธ์การคัดเลือก ผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสาให้บุคลากร) ตามท่ีส้านักงาน กศน. ก้าหนด และจัดส่งไปท่ีส้านักงาน กศน. (สว่ นกลาง) ทราบเพื่อดา้ เนนิ การประกวด/คดั เลือกต่อไป 7.8 ผ้ผู ่านการอบรมกิจกรรมอบรมหลักสูตรจิตอาสาของส้านักงาน กศน.หรือครูประสานกลุ่มเปูาหมาย เตรียมความพรอ้ มในการคัดสรร ตามกา้ หนดการ โดยผู้ผ่านการอบรมกิจกรรมอบรมโครงการหลกั สูตรจิตอาสาของ สา้ นกั งาน กศน.หรอื ครู ท้าหน้าท่ีเป็นพ่ีเล้ยี งในการส่งเสรมิ สนบั สนุน และให้คา้ ปรกึ ษาในการเขา้ รบั การคัดสรร 7.9 ดา้ เนินการตามทา้ หนา้ ท่ี 7.10 ก้ากับ ติดตามและประเมินผลการด้าเนินงาน และรายงานผลการคัดเลือกพร้อมเอกสาร รายละเอียดผู้ผ่านการคัดเลือกทุกประเภทไปยังสถาบัน กศน.ภาค ภายในวันท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕ เพื่อให้สถาบนั กศน.ภาค ดา้ เนินการประกวด/คดั เลอื กตอ่ ไป ๗.๑๑ รายงานค่าใช้จ่าย ผลการดาเนินงานส่งไปยังระบบรายงานของสถาบันการศึกษาและพัฒนา ต่อเน่ืองสริ นิ ธร และสรุปรายงานผลการดาเนนิ งาน (รปู เล่ม) ส่งสานักงาน กศน. (ส่วนกลาง) รับทราบผล เพ่ือ พัฒนากระบวนการดาเนินงานให้เขม้ แขง็ ตอ่ เน่ือง และยั่งยนื ภายในวนั ท่ี ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕ หมายเหตุ เม่ือได้รับการจัดสรรงบประมาณและมีการด้าเนินการแล้ว ให้หน่วยงานคืนเงินท่ีเหลือจ่าย พร้อมรายงานค่าใช้จ่ายกลับมาท่สี า้ นักงาน กศน. (ส่วนกลาง) ภายในวนั ที่ ๓๐ เมษายน ๒๕๖๕

22 บทท่ี 3 การดาเนนิ งานโครงการจิตอาสาของสานักงาน กศน. ส้านักงาน กศน. ได้น้อมน้าพระราโชบายของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 ที่ทรงห่วงใย และทรง ค้านึงถึงความอยู่ดีมีสุขของประชาชนเป็นส้าคัญ พระองค์ทรงมีพระราชปณิธานแน่วแน่ท่ีจะท้าให้ประเทศชาติมั่นคง เป็นปึกแผ่น มีความรักความสามัคคี ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ท่ีดีขึ้น และแนวพระราชด้าริต่าง ๆ ในการบ้าบัด ทุกข์ บ้ารุงสุขให้ประชาชน ด้วยเหตุผลดังกล่าวจึงน้ามาเป็นแนวทางในการด้าเนินงานโครงการจิตอาสาของ ส้านักงาน กศน. และเป็นการขับเคลื่อนโครงการให้เกิดเป็นรูปธรรม ส่งผลถึงตัวประชาชนและผู้เรียนทุกกลุ่มวัย อีกท้ังเป็นการน้านโยบายสู่การปฏิบัติลงสู่พ้ืนที่และเล็งเห็นผลท่ีชัดเจน ประชาชนยังได้รับผลประโยชน์ในการด้าเนิน โครงการทัง้ ทางตรงและทางอ้อม ส้านักงาน กศน. จึงได้น้านโยบายสู่การปฏิบัติผ่านการด้าเนินงานโครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. โดยกา้ หนดการด้าเนนิ งาน ดงั น้ี 1. กจิ กรรมอบรมหลกั สูตรจิตอาสาของสา้ นกั งาน กศน. 2. กิจกรรมขยายผลโครงการจติ อาสาของสา้ นักงาน กศน. ประกอบดว้ ย 2.1 กจิ กรรมที่ 1 การประกวดชมุ ชนจติ อาสา 2.2 กิจกรรมท่ี 2 การแขง่ ขนั ขับร้องบทเพลงพระราชนพิ นธ์ใน ร.๙ 2.3 กจิ กรรมที่ 3 การประกวดการจัดทา้ โครงงานจิตอาสาต้นแบบ 2.4 กจิ กรรมท่ี 4 การคัดเลือกผู้ปฏบิ ตั ิงานท่ีท้าคุณประโยชนด์ า้ นจติ อาสา ๓. กจิ กรรมจติ อาสาพัฒนาระดบั ภาค

23 1. กิจกรรมอบรมหลักสตู รจติ อาสาของสานกั งาน กศน. 1. หลักการและเหตุผล การด้าเนินการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้เติบโตและเป็นบุคคลที่มีคุณค่าของสังคม มีคุณธรรมจริยธรรม สร้างวินัย มีจิตส้านึกรับผิดชอบต่อสังคม ยึดมั่นในสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ มีความภาคภูมิใจ ในความเป็นไทย และประวัติศาสตร์ชาติไทย โดยผ่านกระบวนการทางการศึกษาที่สถานศึกษาทุกแห่งต้อง ด้าเนินการจัดการศึกษาตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ นอกจากการจัดกิจกรรมท่ีส่งเสริมและสนับสนุน ให้ผู้เรียนได้รับกระบวนการเรียนรู้ สิ่งส้าคัญอันดับแรกคือบุคลากรทางการศึกษาต้องมีความรู้ ความเข้าใจเร่ือง ประวัติศาสตร์ชาติไทยเกิดความตระหนักรู้ถึงคุณค่า และความส้าคัญในประวัติศาสตร์แห่งการสร้างชาติบ้านเมืองด้วย สถาบันพระมหากษัตรยิ ์ การมีจติ ส้านกึ ความเปน็ พลเมอื งท่ีดี รวมถึงหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ชี้ให้เห็นถึง แนวการด้ารงชีวิตในทางสายกลาง เพื่อเป็นแบบอย่างให้กับผู้เรียน และสามารถถ่ายทอด ใช้วิธีบริหาร จัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจในประวัติความเป็นไทยที่ถูกต้อง มีความภาคภูมิใจในชาติ มีความรักชาติ เทิดทูนสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ มีจิตส้านึกและมีความภูมิใจในความเป็นไทย มีระเบียบวินัย มีจิตสาธารณะ ค้านึงถึงประโยชน์ของส่วนรวม และยึดม่ันในการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข และเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความคิด การแก้ไขปัญหาตามกระบวนการคิดเป็น แกป้ ญั หาเปน็ อนึ่ง สถานการณ์ปัจจุบันผู้เรียนมีความเสี่ยงต่ออุบัติเหตุที่ไม่สามารถคาดการณ์ไว้ล่วงหน้าได้ จึงเป็นสงิ่ จ้าเป็นอย่างย่ิงทบ่ี คุ ลากร ควรมีความรแู้ ละทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิตข้ันพื้นฐาน (CPR) สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้อย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล เพ่ือให้บุคลากรได้รับความรู้ ที่ถกู ต้องและมที กั ษะในการปฐมพยาบาลและชว่ ยชวี ิตขน้ั พ้ืนฐาน (CPR) และสามารถน้าไปใช้ประโยชน์ช่วยเหลือผู้อื่น ไดใ้ นภาวะฉุกเฉิน ๒. วัตถุประสงค์ 2.1 เพือ่ ปกปอู งและเชดิ ชสู ถาบันพระมหากษตั ริยแ์ ละสถาบันสา้ คญั ของชาติ 2.2 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความปรองดองสมานฉันท์ มีความเข้าใจร่วมกัน เกิดความสมัครสมานสามัคคี เปน็ อนั หน่ึงอนั เดียวกัน และยึดมัน่ ในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมุข 2.3 เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและ บุคคลใกล้ตวั ไดอ้ ย่างปลอดภยั ก่อนถึงโรงพยาบาล 2.4 เพ่อื ใหผ้ ู้เขา้ รบั การอบรมมีจิตสาธารณะท่ีพร้อมอาสาสมัครในการบ้าเพ็ญประโยชนต์ ่อสว่ นรวม 3. เป้าหมาย 3.๑ เปา้ หมายเชงิ ปริมาณ ผู้เข้ารับการอบรมเป็นบุคลากรในสังกัดส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร จ้านวน ๑๐,๐๐๐ คน ประกอบด้วย ผู้บริหาร ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ

24 บุคลากร และผู้เรียนในสังกัดส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษาและ พฒั นาต่อเนอื่ งสิรนิ ธร และสถาบันการศกึ ษาทางไกล 3.๒ เป้าหมายเชิงคุณภาพ 1) ผู้เข้ารับการอบรมในสังกัดส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร มีความตระหนักในการร่วมกัน แสดงพลังปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ และมีความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับพระราชกรณียกิจ โครงการ พระราชดา้ ริ และหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั ฯ 2) ผู้เข้ารับการอบรมในสังกัดส้านักงาน กศน. มีความรัก ความสามัคคี ปรองดอง สมานฉันท์ และยึดม่ันใน การปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข 3) ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบื้องต้น สามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ ตัวไดอ้ ย่างปลอดภัยก่อนถึงโรงพยาบาล 4) ผูเ้ ขา้ รบั การอบรมมจี ิตสาธารณะทพ่ี รอ้ มอาสาสมัครในการบ้าเพ็ญประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม ๔. ตวั ชวี้ ัดความสาเรจ็ ๔.๑ เชงิ ปริมาณ มีผู้เข้ารับการอบรม (ผู้บริหาร ข้าราชการพลเรือน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา พนักงานราชการ บุคลากร และผู้เรียนในสังกัดส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษาและ พัฒนาตอ่ เนือ่ งสริ ินธร และสถาบนั การศึกษาทางไกล) จ้านวน ๑๐,๐๐๐ คน 4.2 เชงิ คณุ ภาพ 1) ผู้เข้ารับการอบรมสามารถน้าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด้ารงชีวิตและสามารถถ่ายทอดความรู้เร่ือง ประวัตศิ าสตร์ชาตไิ ทยได้ ร้อยละ 80 2) ผู้เข้ารับการอบรม สามารถปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและ/หรือให้ความช่วยเหลือชีวิตในเบ้ืองต้นได้จริง ร้อยละ 80 3) ผู้เข้ารับการอบรมมจี ติ อาสาและพร้อมที่จะบ้าเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสาธารณชนด้วยความเต็มใจ รอ้ ยละ 80 4) ชุมชนและประชาชนให้ความร่วมมือในกิจกรรมจิตอาสาในรูปแบบต่างๆ โดยมีสมุดบันทึกความดีไว้ เป็นหลกั ฐาน 5. โครงสร้างหลักสตู ร โครงสรา้ งหลักสูตรจติ อาสาของสา้ นักงาน กศน. ได้ก้าหนดเพื่อให้บุคลากรที่เข้ารบั การอบรมมีคุณลักษณะ ของการเป็นจิตอาสาตัวอย่าง เป็นก้าลัง เป็นแกนน้า ท่ีจะน้าความรู้ ความเข้าใจ ค้าว่าจิตอาสาไปขยายผลถึง ประชาชน ผู้เรียน ให้เกิดการสร้างอุดมการณ์ สร้างจิตส้านึก สร้างระเบียบวินัย สามารถเป็นผู้น้าส้าคัญใ น การประสานความร่วมมอื แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กบั ประชาชนในพื้นที่ และน้าความรู้ท่ีได้รับไปช่วยเหลือ ผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนจากสถานการณ์วิกฤติ และภัยพิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบด้วย 4 เรื่อง (ใช้ระยะเวลาไม่นอ้ ยกว่า 12 ช่ัวโมง) ได้แก่

25 ท่ี เร่อื ง เวลา (ช่ัวโมง) 1 ประวตั ศิ าสตร์ชาติไทยและบุญคณุ ของพระมหากษตั รยิ ไ์ ทย ประกอบด้วย 5 1) สถาบนั พระมหากษตั ริยก์ ับประเทศไทย 2) ความเปน็ ชาตไิ ทย ตั้งแต่กอ่ ต้ังประเทศสยามจนถึงปัจจุบนั 3) ศาสนาพุทธ 4) ประวตั ศิ าสตร์ พระราชกรณียกิจ ของพระมหากษัตรยิ ์ สถาบนั พระมหากษัตริยก์ ับประเทศไทย 2 การสร้างความตระหนักในการร่วมกันปกป้องและเชิดชูสถาบัน 2 พระมหากษัตริย์และสถาบันสาคัญของชาติ และพิธีปฏิญาณตนปกป้องและ เชิดชูสถาบันพระมหากษตั รยิ ์ ประกอบดว้ ย 1) ศาสตร์พระราชา โครงการพระราชด้ารสิ ง่ เสริมการท่องเทีย่ วใน ท้องถน่ิ 2) พธิ ีปฏญิ าณตนปกปอู งและเชิดชูสถาบันพระมหากษตั ริย์ 3 การปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ และการช่วยชีวติ ข้นั พื้นฐาน (CPR) ประกอบดว้ ย 3 1) การปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น 2) การสาธติ การช่วยชวี ิตขนั้ พนื้ ฐาน (CPR) 4 จิตอาสาพัฒนา การบาเพ็ญประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม จานวน 2 ชว่ั โมง 2 ประกอบด้วย กจิ กรรมบา้ เพ็ญประโยชนต์ อ่ ส่วนรวม รวม 12 6. รายละเอยี ดของหลกั สตู รจิตอาสาของสานักงาน กศน. หลกั สตู รจติ อาสาของส้านักงาน กศน. ได้กา้ หนดใหม้ กี ารอบรมไมน่ ้อยกวา่ 12 ชัว่ โมง โดยมเี นื้อหาแบ่ง ออกเปน็ 4 เรอื่ ง ดังน้ี 6.1 ประวัติศาสตร์ชาตไิ ทยและบุญคุณของพระมหากษัตริยไ์ ทย จ้านวน 5 ชวั่ โมง ประกอบดว้ ย 1) สถาบนั พระมหากษัตริย์กับประเทศไทย 2) ความเปน็ ชาตไิ ทย ตั้งแต่ก่อตง้ั ประเทศสยามจนถึงปัจจุบัน 3) ศาสนาพุทธ 4) ประวตั ิศาสตร์ พระราชกรณียกิจ ของพระมหากษัตริย์ สถาบนั พระมหากษตั รยิ ก์ ับประเทศไทย 6.2 การสร้างความตระหนกั ในการรว่ มกนั ปกปอู งและเชิดชสู ถาบันพระมหากษตั รยิ แ์ ละสถาบนั สา้ คัญของ ชาติ และพธิ ปี ฏญิ าณตนปกปูองและเชิดชูสถาบนั พระมหากษัตริย์ จา้ นวน 2 ชว่ั โมง ประกอบด้วย 1) ศาสตร์พระราชา โครงการพระราชดา้ รสิ ง่ เสริมการท่องเทีย่ วในทอ้ งถิน่ 2) พธิ ีปฏิญาณตนปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ 6.3 การปฐมพยาบาลเบือ้ งต้นและการชว่ ยชวี ิตข้ันพ้ืนฐาน (CPR) จ้านวน 3 ชว่ั โมง ประกอบดว้ ย 1) การบรรเทาสาธารณภยั

26 2) การปฐมพยาบาลเบอื้ งต้น 3) การสาธติ การชว่ ยชวี ติ ขั้นพ้นื ฐาน (CPR) 6.4 จิตอาสาพัฒนา การบ้าเพญ็ ประโยชนต์ อ่ ส่วนร่วม จา้ นวน 2 ช่วั โมง ประกอบด้วย กิจกรรมบา้ เพญ็ ประโยชน์ต่อสว่ นรว่ ม 7. แนวทางการอบรม 7.1 ศกึ ษาจากวทิ ยากร หรือผทู้ รงคุณวุฒิ 7.2 แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ โดยกระบวนการกลุ่ม 7.3 เข้าร่วมกิจกรรมหลักสตู รจิตอาสาของส้านักงาน กศน. 8. กระบวนการอบรม 8.1 ก่อนเข้ารับการอบรม ผู้เข้ารับการอบรมสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองจากเอกสารคู่มือ เอกสารประกอบการเรียนรู้ บทความ สอ่ื และขอ้ มลู ดิจิทัล หรอื แหล่งเรยี นรู้ต่าง ๆ ตามเน้ือหาที่ 1 - 4 8.2 ระหว่างการอบรม ผ้เู ข้ารับการอบรมร่วมแลกเปล่ยี นเรียนรู้กับวิทยากร และผู้เข้ารบั การอบรม โดยอาจใชก้ ระบวนการกลุ่ม ในการดา้ เนนิ กิจกรรม บรรยายความรู้ ฝึกปฏิบตั ติ ามกิจกรรม 8.3 หลังการอบรม ผู้ผ่านการอบรมสามารถน้าความรู้ไปใช้ในการถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจ และเป็นจิตอาสาตัวอย่าง เป็นก้าลัง เป็นแกนน้า ไปขยายผลถึงประชาชน ผู้เรียน ให้เกิดการสร้างอุดมการณ์ สร้างจิตส้านึก สร้างระเบียบวินัย สามารถเป็นผู้น้าส้าคัญในการประสานความร่วมมือ แก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้กับ ประชาชนในพนื้ ที่ และน้าความรทู้ ี่ได้รับไปช่วยเหลือผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนจากสถานการณ์วิกฤติ และภัยพิบัติ ได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 9. สื่อและแหล่งการเรยี นรู้ 9.1 สอ่ื เทคโนโลยีและแหลง่ ขอ้ มลู ออนไลน์ 9.2 บคุ คล ผ้ทู รงคุณวฒุ ิ หรอื หน่วยงาน 10. วทิ ยากร ส้านักงาน กศน. ขอให้ส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร คัดเลือกวิทยากรและทีมวิทยากรที่มี ความเหมาะสม มีความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ และความช้านาญในการบรรยายในเนอ้ื หา เช่น วิทยากร ในหัวข้อเรื่องการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและการช่วยชีวิตข้ันพ้ืนฐาน (CPR) ควรเป็นวิทยากรจากส้านักอนามัย กรุงเทพมหานคร เจ้าหนา้ ท่กี ระทรวงสาธารณสขุ ฯลฯ ส้าหรบั วทิ ยากรจติ อาสาควรเปน็ ผู้ท่ีผ่านการอบรมจิตอาสา 904 “หลักสูตรพื้นฐาน” และ “หลักสูตรหลักประจ้า” ณ โรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน ของส้านักงาน กศน. หรือพจิ ารณาตามความเหมาะสม

27 11. ระยะเวลาในการอบรม ระยะเวลาในการอบรม จ้านวน 2 วัน (12 ชั่วโมง) 12. สถานท่ีจัดอบรม ส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษาและพัฒนาต่อเน่ืองสิรินธร และสถาบันการศึกษาทางไกลหรือหน่วยงานภายนอก 13. การประเมินผลโครงการ 13.1 รายงานผลการดา้ เนนิ กิจกรรมตามแบบรายงาน (ทั้งในระดบั พนื้ ที่ปฏบิ ตั แิ ละระดับนโยบาย) 13.2 แบบสา้ รวจความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มกจิ กรรม 13.3 ผลการทดสอบความรู้ ความเขา้ ใจท้งั ก่อนหลงั การเข้ารว่ มกิจกรรม 13.4 การติดตามผลผู้เข้าร่วมกิจกรรมอย่างต่อเน่ืองภายหลังการเข้าร่วมกิจกรรม โดยอาจพิจารณาจาก สมุดบันทกึ ความดี หรอื ภาพแสดงถึงการกระทา้ ความดีต่อสาธารณชน 14. ผลท่ีคาดวา่ จะได้รับ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจหลักการประชาธิปไตยและร่วมกันสร้างสรรค์สังคม เกิดความรู้ รัก สามัคคี เกิดความตระหนักและพร้อมท่ีจะร่วมปกปูองเชิดชูสถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ รวมถึงสามารถให้ ความช่วยเหลือหรือปฐมพยาบาลผู้ประสบภัยให้เกิดความปลอดภัยในเบื้องต้นได้อย่างถูกต้อง ส่งผลให้เกิดความพร้อม ที่จะเป็นอาสาสมัครและบ้าเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่อส่วนรวมตลอดเวลา และสามารถน้าความรู้นี้เป็นแนวทางใน การปฏบิ ตั งิ าน ตลอดจนใชช้ ีวิตอยู่บนพ้ืนฐานของความเป็นไทยและพอเพยี ง 15. ผ้รู ับผิดชอบโครงการ 15.1 สา้ นักงาน กศน. จงั หวัด/กรุงเทพมหานคร 15.2 สถาบนั พฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 15.3 สถาบันการศึกษาทางไกล 15.4 สถาบันการศกึ ษาและพัฒนาตอ่ เน่ืองสริ นิ ธร 15.5 หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง

28 รายละเอยี ดกจิ กรรมการอบรมหลักสตู รจติ อาสาของสานกั งาน กศน. 1. ประวตั ิศาสตร์ชาตไิ ทยและบุญคุณของพระมหากษัตริยไ์ ทย สาระสาคัญ สถาบันพระมหากษัตริย์ เป็นเสาหลักให้กับชาติบ้านเมืองมาต้ังแต่สมัยโบราณ จวบจนรัชสมัยของ พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 10 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระมหากษัตริย์จึงเป็นสัญลักษณ์ของการด้ารงอยู่ของชาติไทย มายาวนานกว่า 700 ปี และเป็นสถาบันทางสงั คมทเี่ ข้มแขง็ ยนื ยง ท้าให้ประเทศไทยสามารถรักษาความเปน็ ไท ภายใต้พระบรมโพธิสมภาร ตราบจนปัจจุบัน ธ ทรงเป็นศูนย์รวมจิตใจของชาวไทย และด้ารงอยู่ภายใต้ทศพิศราชธรรม ทรงเป็นผู้น้าการ พฒั นาประเทศในทกุ ดา้ น อนั ได้แก่ การปกครองประเทศ การพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และความม่ันคงของประเทศ สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงน้อมน้าพระราชด้าริของในหลวง รัชกาลท่ี 9 เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง มาเผยแพร่ให้ ประชาชนได้เรียนรู้และน้าไปปรับใช้ ท้าให้ประเทศไทยเป็นประเทศท่ีพัฒนาไปสู่ความ “ม่ันคง มั่งค่ัง ยั่งยืน” จนกอ่ ใหเ้ กิดเป็นพลังทีส่ ้าคัญยิง่ ในการผลักดันให้ประเทศไทย ยนื หยัดอยู่ในสังคมแหง่ อารยประเทศได้อย่างสงา่ งาม การเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยก่อให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็นชาติ ได้เรียนรู้ความหมาย ความเป็นมาของชาติไทย และความส้าคัญของสถาบันหลักของชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ เสรีภาพ ในการนับถือศาสนาของไทย และบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย ตั้งแต่สมัยสุโขทัย อยุธยา ธนบุรี และรตั นโกสินทร์ เรียนรู้เกย่ี วกบั พระราชประวตั ิของพระมหากษัตริย์ รวมถึงการสร้างความภูมิใจในความเป็นชาติ การรวมชาตใิ หเ้ ปน็ ปึกแผน่ ซงึ่ ประเทศไทยถือเป็นประเทศทมี่ ีประวัติศาสตร์ยาวนาน มีขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม ภาษาของตนเองและมบี ูรพมหากษตั ริย์ทมี่ พี ระปรชี าสามารถ เคยเป็นศูนย์รวมและมหาอ้านาจ ท้ังทางด้านการเมือง การปกครอง และเศรษฐกจิ ทีไ่ ม่แพช้ าตใิ ดในโลก ซ่งึ คนไทยทุกคนควรภมู ใิ จในความเป็นชาติไทยสืบต่อไป จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1. เพือ่ เรยี นรู้ความหมาย ความเปน็ มา และความสา้ คัญของสถาบนั หลักของชาติ 2. เพือ่ สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ ตระหนักเกยี่ วกับสถาบันพระมหากษตั ริย์กับประเทศไทย 3. เพ่ือน้าความรู้ท่ีได้ไปเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน ตลอดจนใช้ชีวิตอยู่บนพ้ืนฐานของความเป็นไทย และพอเพียง มีความรักความศรัทธาในสถาบันพระมหากษัตริย์ มีจิตใจท่ีตั้งมั่นอยู่ในการช่วยเหลือผู้อื่น เป็นที่พึ่ง ของสังคม สง่ ผลให้ประเทศชาติเกิดสันติสขุ อย่างแท้จรงิ ขอบขา่ ยเนื้อหา ขอบขา่ ยเน้ือหา ประกอบดว้ ย สถาบนั พระมหากษตั รยิ ์กบั ประเทศไทย , ความเป็นชาติไทย ตั้งแต่ก่อต้ัง ประเทศสยามจนถึงปัจจุบัน , ศาสนาพุทธ และประวัติศาสตร์ พระราชกรณียกิจ ของพระมหากษัตริย์ สถาบัน พระมหากษัตริย์กบั ประเทศไทย เวลาทใ่ี ช้ 5 ชั่วโมง

29 กระบวนการจัดการอบรม การนาเข้าสู่บทเรยี น แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และเร่ืองที่จะท้าความตกลงกับผู้เข้ารับการอบรมในการจัดกระบวนการ จดั การเรียนร้แู ละการวดั ผลและประเมินผล การเรียนรู้ วิทยากรบรรยายในหัวข้อเรื่อง “ประวัติศาสตร์ชาติไทยและบุญคุณของพระมหากษัตริย์ไทย” และใหผ้ เู้ ขา้ รับการอบรมจัดทา้ แผน และวางแผนในการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในชีวิตประจ้าวันที่สอดคล้อง กับหลกั คุณธรรม การสรปุ วิทยากรสรปุ และซกั ถามความเขา้ ใจ สือ่ การเรยี นรู้ 1. ส่ือเทคโนโลยแี ละแหล่งขอ้ มูลออนไลน์ 2. บุคคล ผู้ทรงคุณวฒุ ิ หรือหน่วยงาน การวดั และประเมินผล ผลจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรม และการวางแผนในการประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานในชีวิตประจ้าวัน และสังเกตพฤติกรรมการแสดงและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ความกระตอื รอื รน้ การปฏบิ ัตงิ านอย่างระมัดระวงั การมีความคิดหลากหลายในการแก้ปัญหา

30 2. การสร้างความตระหนักในการร่วมกันปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์และสถาบันสาคัญของชาติ และพิธีปฏญิ าณตนปกปอ้ งและเชิดชสู ถาบันพระมหากษัตริย์ สาระสาคญั การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และร่วมกันปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ สร้างความรัก ความสามัคคี เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องและเป็นจริงเกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์และ พระราชกรณียกิจ และสนับสนุนโครงการท้ังหลายอันเน่ืองมาจากพระราชด้าริ ส่งเสริมให้เจ้าหน้าท่ี สถานศึกษา ตลอดจนเรียนรู้เข้าใจหลักการทรงงาน (แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงตามพระราชด้ารัสของพระบาทสมเด็จ พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช) สามารถน้าหลักดังกล่าวมาประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติราชการและการพัฒนา ขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริในพื้นที่ และเสริมสร้างความเข้าใจ ปลูกฝัง ค่านิยม อุดมการณ์ใน สถาบันชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ เป็นศูนย์รวมใจและยึดเหนี่ยวจิตใจและคงอยู่คู่ชาติไทย ตลอดไป และร่วมถวายสัตย์ปฏิญาณ แสดงพลังแห่งความจงรักภักดี อันจะส่งผลให้ประชาชนมีความรักชาติ เกิดความรัก ความสามคั คี เปน็ รากฐานท่เี หนยี วแนน่ ในการพัฒนาประเทศชาตใิ ห้มีความเจริญมัน่ คง จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. เพ่อื ให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจ หลักการประชาธปิ ไตย และรว่ มกันสร้างสรรค์สังคมให้เกิดความรู้ รัก สามคั คี 2. เพื่อให้สามารถน้าความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการด้ารงชีวิตและสามารถถ่ายทอดความรู้เร่ือง ประวตั ศิ าสตรช์ าติไทยได้ 3. เพื่อให้มีความตระหนักในการร่วมกันแสดงพลังปกปูองและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ และมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับพระราชกรณียกิจโครงการพระราชด้าริ และหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยู่หวั ขอบขา่ ยเนอ้ื หา ศาสตร์พระราชา โครงการพระราชด้าริส่งเสริมการท่องเท่ียวในท้องถิ่น และพิธีปฏิญาณตนปกปูองและ เชิดชสู ถาบนั พระมหากษตั รยิ ์ เวลาทใ่ี ช้ 2 ชัว่ โมง กระบวนการจดั การอบรม การนาเขา้ สบู่ ทเรียน แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และเรื่องที่จะท้าความตกลงกับผู้เข้ารับการอบรมในการจัดกระบวนการ จัดการเรียนร้แู ละการวัดผลและประเมนิ ผล การเรยี นรู้ วิทยากรบรรยายในหัวข้อเรื่อง “การสร้างความตระหนักในการร่วมกันปกป้องและเชิดชูสถาบัน พระมหากษัตริย์และสถาบันสาคัญของชาติ และพิธีปฏิญาณตนปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์” และให้ผู้เข้ารับการอบรมจัดท้าแผน และการวางแผนในเร่ืองการน้าหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปเผยแพร่และปฏิบัติ

31 ได้ (แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง การสร้างกระบวนการมีส่วนร่วมการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสร้างภาวะผู้น้า การปรบั เปลย่ี นวิธคี ิด การสร้างจิตสา้ นึกใหมแ่ บบพงึ่ ตนเอง การเรยี นรกู้ ระแสการเปล่ียนแปลงและรูเ้ ทา่ ทัน) การสรุป วทิ ยากรสรุปและซกั ถามความเข้าใจ สือ่ การเรยี นรู้ 1. สอื่ เทคโนโลยีและแหลง่ ขอ้ มลู ออนไลน์ 2. บคุ คล ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ หรือหนว่ ยงาน การวัดและประเมนิ ผล ผลจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรม และการวางแผนในเร่ืองการน้าหลักเศรษฐกิจพอเพียงไปเผยแพร่และ ปฏิบตั ิได้ (แนวคดิ เศรษฐกจิ พอเพียง การสร้างกระบวนการมีสว่ นรว่ มการวิเคราะห์ สังเคราะห์ การสร้างภาวะผู้น้า การปรับเปล่ียนวิธีคิด การสร้างจิตส้านึกใหม่แบบพ่ึงตนเอง การเรียนรู้กระแสการเปล่ียนแปลงและรู้เท่าทัน ) และสังเกตพฤติกรรมการแสดงและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ความกระตอื รือร้น การปฏบิ ัติงานอย่างระมดั ระวงั การมีความคดิ หลากหลายในการแก้ปัญหา

32 3. การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและการช่วยชีวิตข้นั พนื้ ฐาน (CPR) สาระสาคญั ปัจจุบันสาเหตุการเสียชีวิตของประชากรในประเทศไทยโดยส่วนใหญ่เกิดจากโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ และหลอดเลือด โรคหัวใจ ความดันโลหิต และอุบัติเหตุ จมน้า ผู้ปุวยหรือผู้ท่ีได้รับบาดเจ็บเหล่านี้อาจมีอาการท่ี ผิดปกติเกิดขึ้นกับร่างกาย หรือบางรายอาจมีภาวการณ์หยุดหายใจกะทันหันถ้าปล่อยไว้นานเกิน 4 นาที แม้จะ ช่วยให้ฟ้ืนคืนชีพกลับมาได้ ก็จะเกิดสภาวะการตายของสมองอย่างถาวร ดังนั้นการได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้น อย่างทันท่วงทีและถูกต้อง และมีการส่งต่อผู้ปุวยหรือผู้บาดเจ็บต่อไปยังแพทย์หรือสถานพยาบาลอย่างเหมาะสม รวดเร็วและถูกวิธจี ะท้าให้ผปู้ วุ ยหรือผบู้ าดเจบ็ มโี อกาสรอดชีวติ และกลบั คนื มาใช้ชีวิตเป็นปกติได้ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เพ่ือให้มีความรู้และทักษะในการปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นสามารถช่วยเหลือตนเองและบุคคลใกล้ตัวได้ อยา่ งปลอดภยั กอ่ นถงึ โรงพยาบาล และขอความช่วยเหลือจากระบบบรกิ ารฉุกเฉินทางการแพทย์ ขอบขา่ ยเน้อื หา การปฐมพยาบาลเบ้อื งต้น และการสาธิตการชว่ ยชวี ิตขน้ั พ้นื ฐาน (CPR) เวลาท่ีใช้ 3 ชวั่ โมง กระบวนการจัดการอบรม การนาเขา้ สบู่ ทเรยี น แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และเรื่องท่ีจะท้าความตกลงกับผู้เข้ารับการอบรมในการจัดกระบวนการจัด การเรยี นรูแ้ ละการวัดผลและประเมนิ ผล การเรยี นรู้ วิทยากรบรรยายในหัวข้อเรื่อง “การปฐมพยาบาลเบ้ืองต้นและการช่วยชีวิตข้ันพื้นฐาน (CPR)” และให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมจดั ทา้ แผน และการวางแผนในการปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ และการชว่ ยชีวิตขัน้ พื้นฐาน การสรุป วิทยากรสรปุ และซกั ถามความเข้าใจ สือ่ การเรียนรู้ 1. สือ่ เทคโนโลยแี ละแหลง่ ข้อมูลออนไลน์ 2. บุคคล ผทู้ รงคุณวฒุ ิ หรือหน่วยงาน การวัดและประเมินผล ผลจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรม และการวางแผนในการปฐมพยาบาลเบื้องต้นและการช่วยชีวิต ขัน้ พนื้ ฐาน และสังเกตพฤติกรรมการแสดงและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ความกระตอื รอื รน้ การปฏบิ ัติงานอย่างระมดั ระวงั การมคี วามคดิ หลากหลายในการแกป้ ญั หา

33 4. จิตอาสาพฒั นา การบาเพ็ญประโยชนต์ อ่ ส่วนร่วม สาระสาคญั กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมที่ต้องส่งเสริมให้ผู้เข้ารับการอบรมสามารถพัฒนา ตนเองตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ โดยค้านึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสมอง เน้นให้ความส้าคัญท้ังความรู้ และคุณธรรมจริยธรรม จัดกิจกรรมโดยให้ผู้เข้ารับการอบรมคิดสร้างสรรค์ออกแบบ กจิ กรรมเพ่อื สาธารณประโยชน์ อย่างหลากหลายรูปแบบ เพ่ือแสดงถงึ ความรบั ผิดชอบต่อสงั คมในลกั ษณะจิตอาสา จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. เพอื่ ใหม้ คี วามรู้ คณุ ธรรม จรยิ ธรรม ตามคณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 2. เพ่ือให้มีความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์ในการจัดกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ตามความถนัด และความสนใจในลกั ษณะอาสาสมัคร 3. เพ่ือปลูกฝังและสร้างจิตส้านึกในการบ้าเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน สังคมและ ประเทศชาติ 4. เพอื่ ให้มีจิตสาธารณะและใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ 5. เพื่อให้มีความพร้อมท่ีจะเป็นอาสาสมัครและบ้าเพ็ญสาธารณประโยชน์ต่อสว่ นรวมตลอดเวลา เน้อื หาสาระการเรยี นรู้ กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์เป็นกิจกรรมท่ีส่งเสริมให้ผู้ เข้ารับการอบรมบ้าเพ็ญตนให้เป็น ประโยชน์ต่อครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติในลักษณะอาสาสมัครเพ่ือช่วยขัดเกลาจิตใจให้มี ความเมตตากรณุ า มีความเสียสละ และมจี ติ สาธารณะเพอื่ ชว่ ยสร้างสรรคส์ งั คมใหอ้ ยรู่ ว่ มกนั อย่างมีความสขุ ขอบข่ายเนอื้ หา เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมในลักษณะกิจกรรมบ้าเพ็ญประโยชน์ กิจกรรมอาสาพัฒนา หรือกิจกรรม สร้างสรรค์สังคม โดยด้าเนินการในลักษณะอาสาสมัครเพื่อแสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อ สังคม และมจี ติ สาธารณะ กิจกรรมเพ่ือสังคมและสาธารณประโยชน์มีลักษณะ ดังนี้ 1) เป็นกิจกรรมท่ีผู้ปฏิบัติกิจกรรม ปฏิบตั ดิ ้วยความสมัครใจ 2) เป็นกิจกรรมทีท่ า้ เพ่อื ผ้อู ่ืน / สังคม ในการจดั กจิ กรรมควรเนน้ กระบวนการรายงานและเผยแพรผ่ ลงานอย่างต่อเน่ือง เวลาท่ใี ช้ 2 ชว่ั โมง กระบวนการจัดการอบรม การนาเข้าสู่บทเรียน แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้และเร่ืองท่ีจะท้าความตกลงกับผู้เข้ารับการอบรมในการจัดกระบวนการจัด การเรยี นรแู้ ละการวัดผลและประเมนิ ผล

34 การเรยี นรู้ วิทยากรบรรยายในหัวข้อเรื่อง “กิจกรรมบาเพ็ญประโยชน์ต่อส่วนร่วม” และให้ผู้เข้ารับการอบรม จัดท้าแผน และการวางแผนในการท้ากิจกรรมเพ่ือสงั คมและสาธารณประโยชน์ การสรุป วทิ ยากรสรปุ และซกั ถามความเขา้ ใจ สื่อการเรยี นรู้ 1. ส่อื เทคโนโลยแี ละแหล่งข้อมลู ออนไลน์ 2. บคุ คล ผู้ทรงคณุ วุฒิ หรือหนว่ ยงาน การวดั และประเมนิ ผล ผลจากการมีส่วนร่วมในกิจกรรม และการวางแผนในการท้ากิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ และสังเกตพฤติกรรมการแสดงและรับฟังความคิดเห็นของผู้อ่ืน การให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน ความกระตือรือร้น การปฏบิ ตั งิ านอย่างระมัดระวัง การมีความคิดหลากหลายในการแกป้ ัญหา

35 2. กิจกรรมขยายผลโครงการจิตอาสาของสานักงาน กศน. การด้าเนินการขยายผลโครงการจิตอาสาของส้านักงาน กศน. กลุ่มบริหารงานบุคคลและนิติการได้ กา้ หนดบทบาทภารกจิ โดยให้ขยายผลการดา้ เนินงานจติ อาสาให้ปรากฏเปน็ รปู ธรรม และขบั เคลื่อนให้สถานศึกษา ในสังกัดส้านักงาน กศน. จ้านวน 928 แห่งทั่วประเทศ ร่วมกันจัดกิจกรรมจิตอาสาในรูปแบบต่าง ๆ และให้ ด้าเนนิ กิจกรรม 4 กิจกรรม ได้แก่ 1) การประกวดชุมชนจิตอาสา 2) การแข่งขันขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร (ร.๙) 3) การประกวดการ จดั ทา้ โครงงานจติ อาสา และ 4) การคดั เลอื กผปู้ ฏิบตั งิ านทท่ี ้าคุณประโยชนด์ ้านจติ อาสา ดังนี้ กจิ กรรมท่ี 1 การประกวดชุมชนจิตอาสา 1.1 ศึกษารายละเอียด แนวทางการคัดสรรการประกวดการขยายผลโครงการจิตอาสา ประจา้ ปี 2565 ตามที่สา้ นักงาน กศน.ก้าหนด 1.2 แต่งตง้ั คณะกรรมการ โดย สถาบัน กศน.ภาค กลุ่มส้านักงาน กศน.จังหวัด ส้านักงาน กศน.จังหวัด/กรุงเทพมหานคร กศน.อ้าเภอ/เขต ด้าเนินการสรรหาบุคคลเพื่อแต่งตั้งเป็นคณะกรรมการคัดสรรกิจกรรมการขยายผลโครงการจิตอาสา ประจ้าปี 2565 เพื่อพิจารณากลั่นกรองในแต่ละระดับ ทั้งนี้ ควรประชาสัมพันธ์ให้กศน.อ้าเภอ และกศน.ต้าบล ทราบล่วงหน้า 1.3 ประชมุ คณะกรรมการ จดั ประชุมคณะกรรมการคัดสรรกิจกรรมการประกวดการจัดกิจกรรมการขยายผลสู่ชุมชน โดยเป็น กล่มุ การจัดตง้ั งานจิตอาสาชุมชนในแต่ละระดับ เพ่ือจัดท้าแผนด้าเนินงาน ก้าหนดการตรวจเยี่ยมและหลักเกณฑ์ใน การคัดสรร ตามแนวทางที่ส้านักงาน กศน.กา้ หนด ดงั นี้ จิตอาสาชมุ ชน ให้พจิ ารณาคัดเลอื กจาก - ทา้ ได้จรงิ และขยายผล (60 คะแนน) (1) การน้าความร้มู าสง่ เสริม ขยายผลให้ชุมชนในพื้นทด่ี า้ เนนิ การ (20 คะแนน) (2) ผลการดา้ เนินงานเปน็ ทีป่ ระจักษ์ (20 คะแนน) (3) มกี จิ กรรมท่ีส่งเสรมิ ให้ประชาชนในชุมชนได้รับความรู้ ความเข้าใจ มีจิตสาธารณะท่ี พร้อมอาสาสมัครในการบ้าเพ็ญประโยชนต์ ่อสว่ นรวม ตลอดจนมกี ารขยายผลโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริ ในพืน้ ที่ ท้าให้ประชาชนในชุมชนเกิดความรักความสามัคคี (10 คะแนน) (4) มีการน้าโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด้าริมาจัดกิจกรรม เพ่ือส่งเสริมให้ชุมชนสร้าง สัมมาชีพท่ีเป็นรูปธรรมและสามารถต่อยอดได้ เช่น ยกระดับรายได้ของครัวเรือน มีกลุ่มอาชีพเพ่ิมข้ึน เป็นต้น (10 คะแนน) - งานด้านจติ อาสา (40 คะแนน)

36 ท้ังนี้ สามารถก้าหนดหลักเกณฑ์การคัดสรรเพิ่มเติมได้ตามความเหมาะสม โดยพิจารณาให้ ครอบคลมุ การด้าเนินกิจกรรมจิตอาสาดา้ นตา่ ง ๆ 1.4 แจง้ แนวทางการคดั สรร และแผนการดาเนนิ งาน กาหนดการตรวจเยยี่ ม 1.5 ประกาศผลการคัดสรรชุมชนจติ อาสาดีเด่น 1.6 ดาเนินการถอดบทเรียนชุมชนจิตอาสาระดับจังหวัด โดยให้ส้านักงาน กศน.จังหวัด จัดท้าเฉพาะประเด็นส้าคัญโดดเด่น พร้อมภาพประกอบ ตามแบบฟอร์มที่ก้าหนด ส่งให้ กลุ่มส้านักงาน กศน.จังหวัด และ กลุ่มส้านักงาน กศน.จังหวัด จัดส่งผลงานการถอดบทเรียนให้สถาบัน กศน.ภาค พร้อมรายงานผลการคัดสรร ตามแบบฟอร์มที่ก้าหนด ภายในสัปดาห์ที่ 2 ของเดือน เมื่อได้ด้าเนินการคัดสรรเรียบร้อยแล้ว สถาบัน กศน.ภาค ท้ัง 5 ภาค (ภาคเหนือ ภาคใต้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคกลาง) ด้าเนินการคัดสรรให้ เหลอื ประเภทละ 1 แห่ง ท้ังน้ี ส้านักงาน กศน. จะด้าเนินการคัดสรรระดับประเทศ และมอบโล่รางวัลประกาศเกียรติคุณ โดยรัฐมนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ ารต่อไป 1.7 การนาเสนอผลงาน ให้ชุมชนจิตอาสาดีเด่น ท่ีได้รับการคัดเลือกจากระดับภาค ภาคละ 1 ชุมชน จัดนิทรรศการ แสดงผลงาน ณ สถานทีท่ ี่สา้ นักงาน กศน. กา้ หนด เพ่ือให้คณะกรรมการพิจารณาตดั สนิ รอบระดบั ประเทศ 1.5 เกณฑ์การตดั สนิ ชมุ ชนจิตอาสาดีเด่น รอ้ ยละ 80 – 100 ไดร้ บั รางวัลชนะเลศิ พร้อมโล่รางวลั และเกยี รตบิ ัตร รอ้ ยละ 70 – 79 ไดร้ ับรางวัลรองชนะเลิศอนั ดับ 1 พร้อมโล่รางวัล และเกียรตบิ ตั ร ร้อยละ 60 – 69 ได้รับรางวัลรองชนะเลิศอนั ดบั 2 พรอ้ มโล่รางวลั และเกียรติบัตร ตา้่ กวา่ ร้อยละ 60 ได้รบั รางวลั ชมเชย เว้นแตก่ รรมการเห็นเป็นอย่างอนื่ ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถอื เป็นทีส่ นิ้ สดุ หมายเหตุ 1) ชุมชนท่ีไดร้ ับรางวลั ในการประกวดคร้งั น้ี ต้องไดค้ ะแนนไม่ตา่้ กวา่ ร้อยละ 60 และ ชมุ ชนท่ไี ด้รบั การตัดสินใหไ้ ดร้ ับรางวัลชนะเลศิ ในทุกระดับ ต้องไดค้ ะแนนไมต่ ้่ากว่าร้อยละ 90 คะแนน 2) รายละเอยี ดการพจิ ารณาชมุ ชนจิตอาสาดเี ด่น สามารถศกึ ษาเพิ่มเตมิ ไดจ้ ากภาคผนวก 1.6 สถานที่ดาเนินงาน สถานท่ีด้าเนินการให้เป็นไปตามที่กลุ่มส้านักงาน กศน. จังหวัด และสถาบัน กศน.ภาค ก้าหนด 1.7 ระยะเวลาดาเนินการ มกราคม-มนี าคม ๒๕๖๕ 1.8 งบประมาณ ส้านกั งาน กศน. จะดา้ เนินการจัดสรรงบประมาณเพื่อดา้ เนินกิจกรรมดังกล่าว

37 กิจกรรมท่ี 2 การแข่งขนั ขบั รอ้ งบทเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธเิ บศรมหาภมู ิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร (ร.๙) สา้ นักงาน กศน. เหน็ ชอบให้ด้าเนินการแขง่ ขันขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชน กาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร (ร.๙) (รายละเอียดโครงการแข่งขันขับร้องสามารถศึกษา เพมิ่ เติมไดจ้ ากภาคผนวก) โดยมเี กณฑ์การประกวดดงั นี้ 2.1 การแข่งขันขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร (ร.๙) 2.1.1 คุณสมบตั ผิ ้เู ขา้ ประกวด 1) เป็นนักศึกษาชาย/หญิง ที่ก้าลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาสังกัดส้านักงาน กศน. แบ่งเป็น ๓ ระดับและ ๑ ประเภท ได้แก่ - ระดบั ประถมศึกษา - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนต้น - ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย/ปวช. กศน. - ประเภทนักศกึ ษาผูพ้ กิ าร ท่ยี ังศกึ ษาอยใู่ นสังกดั ส้านักงาน กศน. ในทกุ ระดับ หมายเหตุ นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนและต้องเป็นนักศึกษาปัจจุบันในระดับนั้น ๆ (นักศึกษาการศึกษานอก ระบบระดับการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐานและนักศกึ ษา ปวช. ทลี่ งทะเบียนเรยี นในภาคเรียนที่ 2/64 และ 1/65) 2) ผู้สมัครต้องได้รับอนุญาตจากสถานศึกษา โดยผู้อ้านวยการสถานศึกษาเป็นผู้รับรอง การเขา้ รว่ มแข่งขนั 3) การเข้าสมัครเข้าแข่งขันขบั รอ้ งบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชน กาธิเบศรมหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราชบรมนาถบพิตร (ร.๙) ต้องมีครูท่ีผ่านการอบรมหลักสูตรจิตอาสาเป็นที่ ปรึกษาและผูค้ วบคมุ ทมี 2.1.2 วธิ ดี ้าเนินการและรายละเอียดหลักเกณฑ์การแข่งขัน 1) ส่งรายชื่อผู้เขา้ แข่งขัน 2) หลกั เกณฑก์ ารแข่งขัน - เพลงที่ใช้ประกวด คือ บทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิ เบศรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร (ร.๙) - ประกวดทีมละ 5 คน โดยมีผู้ขับร้องทีมละ 1 คน และแดนเซอร์ จ้านวน 4 คน คน (ตอ้ งเปน็ นักศกึ ษาในระดับเดยี วกันและไม่สามารถเปลยี่ นตัวบุคคลได้) - ตอ้ งนา้ แถบบันทึกเสียง/ซดี ี/เสียงดนตรี (Backing Track) ส้าหรบั ประกอบการร้อง เพลงมาเองและสามารถตัด Guide Melody ออกได้ (หากไมส่ ามารถตดั ได้กรรมการจะไม่พจิ ารณาคะแนนให)้ - จบั ฉลาก เพ่อื เรียงล้าดับกอ่ นการแขง่ ขนั 30 นาที - ส่งเนอื้ ร้องใหค้ ณะกรรมการในวันประกวด จา้ นวน 3 ชุด - แต่งกายดว้ ยชุดสภุ าพหรือชุดทเ่ี หมาะสมกบั บทเพลงที่ใช้ประกวด

38 - กรณีทีเ่ กดิ การผิดพลาด อนญุ าตใหเ้ ร่มิ ตน้ ใหม่ได้ ท้ังน้ีไม่เกินวรรคท่ี 2 ของเน้ือร้อง ท่อนท่ี 1 หากเกินจากน้ีถือว่าผิดพลาด กรรมการจะหักคะแนนตามกรณีที่ผิด ท้ังนี้ ในกรณีท่ีไม่สามารถจัด กิจกรรมการประกวดในรูปแบบ On site ได้ให้ประสานประธานกลุ่มส้านักงาน กศน.จังหวัด หรือผู้อ้านวยการ สถาบัน กศน.ภาค แลว้ แต่กรณี เป็นผพู้ จิ ารณาก้าหนดรูปแบบการจดั กจิ กรรมตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ ของแตล่ ะพ้ืนท่ี โดยใชก้ ารประกวดในรปู แบบ On line ซึ่งเป็นการแสดงสดตามหลักเกณฑก์ ารแข่งขนั ข้างตน้ 2.1.3 เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน 100 คะแนน 1) นักร้องนา้ ๖0 คะแนน - แนะนา้ ตัวและแสดงทัศนคติเกีย่ วกับเน้อื หาของบทเพลงที่ใช้ 10 คะแนน ในการประกวดและเชื่อมกับบญุ คุณของพระมหากษัตริย์ - นา้ เสยี ง ความไพเราะของเสียง 10 คะแนน - เทคนคิ การขบั ร้อง 10 คะแนน - จังหวะ ทา้ นอง ถูกต้อง 10 คะแนน - อักขระวิธถี กู ต้อง 10 คะแนน - บุคลิก ลีลา อารมณ์ 10 คะแนน 2) แดนเซอร์ 30 คะแนน - ความพรอ้ มเพรียงในทา่ ทาง ลลี าสอดคลอ้ งกบั เพลง 10 คะแนน (สวยงาม ม่ันใจ สะท้อนความเป็นชาติไทย) - ความคดิ สร้างสรรค์และรูปแบบการนา้ เสนอ 10 คะแนน - การแต่งกายเหมาะสมกับบทเพลง 10 คะแนน 3) การสมั ภาษณ์ และการตอบคา้ ถาม (ทมี ) ๑0 คะแนน หมายเหตุ ค้าถามในการสัมภาษณ์ต้องผ่านการคัดกรองจากการประชมุ ของคณะกรรมการในการตดั สนิ ในครงั้ นั้น ๆ 2.1.4 หลักฐานและการรบั สมัครแขง่ ขนั 1) ใบสมัครการประกวดตามแบบฟอร์มท่ีก้าหนด สมัครและส่งใบสมัครด้วยตนเอง ณ สา้ นกั งาน กศน.จงั หวดั 2) รปู ถา่ ยของผูเ้ ข้าประกวดทกุ คน (ภาพถา่ ยทมี ) จา้ นวน 1 รปู 3) สา้ เนาบตั รประชาชน จา้ นวน 1 ฉบับ 4) สา้ เนาบตั รประจา้ ตัวนกั ศึกษา จา้ นวน 1 ฉบับ 2.1.5 วัน เวลาและสถานท่ีประกวด ส้านักงาน กศน.จังหวัด เป็นผู้ก้าหนดวัน เวลา และสถานท่ี จัดประกวด 2.1.6 เกณฑ์การตดั สนิ ผู้เข้าประกวดที่ได้คะแนนรวมสูงสุด 5 อันดับแรกของแต่ละประเภท จะได้รับรางวัล ชนะเลิศ รองชนะเลศิ อนั ดบั ที่ 1 , 2 , 3 และ 4 ตามล้าดับ ** หมายเหตุ ผลการตัดสนิ ของคณะกรรมการถอื เป็นอันทส่ี น้ิ สุดจะอุทธรณม์ ิได้ ** 2.1.7 คณะกรรมการตัดสนิ

39 เป็นผู้ทรงคณุ วุฒิ ผู้เช่ียวชาญและมีประสบการณ์ด้านดนตรีหรือขับร้องจากหน่วยงานสังกัด ส้านักงาน กศน. และหรือหน่วยงานภายนอกตามที่คณะกรรมการด้าเนินการประกวดพิจารณาตามความ เหมาะสม โดยมีคณุ สมบัตดิ งั นี้ 1) เป็นครูท่ีท้าการสอนการขับร้อง หรือผู้ทรงคุณวุฒิเป็นท่ียอมรับในด้านดนตรีสากล ขับร้องสากล หรอื ขับร้องเพลงไทยลกู ทงุ่ 2) จ้านวนกรรมการตัดสิน 3 คน หรือ 5 คน โดยให้เลือกกรรมการ 1 คน เป็นประธานกรรมการตัดสนิ และเป็นผชู้ ขี้ าดผลการตดั สิน 3) การจัดหากรรมการตัดสินการประกวดในระดับจงั หวัด กลุ่มจังหวัดส้านักงาน กศน.จังหวัด และสถาบนั กศน.ภาค ใหอ้ ย่ใู นดุลยพนิ ิจของเจ้าภาพ 4) คณะกรรมการด้าเนินงาน จัดประชุมร่วมกับคณะกรรมการตัดสิน เพ่ือช้ีแจง วัตถปุ ระสงคก์ ารประกวดและเกณฑก์ ารตัดสิน ขอ้ ควรคานงึ - กรรมการตอ้ งไมต่ ดั สนิ ในกรณีสถานศึกษาของตนเขา้ แข่งขัน - กรรมการควรให้ขอ้ เสนอแนะเติมเต็มให้กับนักศึกษาที่เข้าแข่งขันเพ่ือน้าไปพัฒนา ทักษะของตนเอง 2.1.8 การส่งผู้มสี ทิ ธิเข้าร่วมการแข่งขนั ระดบั ประเทศ 1) ทีมที่เปน็ ตวั แทนของสา้ นกั งาน กศน.จังหวัด และกลุ่มส้านักงาน กศน. จังหวัดเข้าแข่งขัน ในระดับภาค ต้องได้รับคะแนนระดับชนะเลิศ ล้าดับท่ี 1 และทีมท่ีเป็นตัวแทนระดับภาคเข้าแข่งขันใน ระดบั ประเทศ จะตอ้ งไดร้ บั คะแนนระดับชนะเลิศ ลา้ ดบั ที่ 1 2) ในกรณีที่มผี ู้ชนะเลศิ ลา้ ดบั สงู สุดไดค้ ะแนนเท่ากันมากกว่า 3 ทีม ให้พิจารณาล้าดับที่ ตามล้าดับข้อของเกณฑ์การให้คะแนน เช่น มีผู้ที่ได้คะแนนข้อท่ี 1 เท่ากัน ให้ดูข้อท่ี 2 ผู้ที่ได้คะแนนข้อท่ี 2 มากกว่าถือเป็นผู้ชนะ แต่ถ้าข้อที่ 2 เท่ากัน ให้ดูในข้อถัดไป กรณีคะแนนเท่ากันทุกข้อให้ประธานกรรมการตัดสิน เป็นผชู้ ี้ขาด 2.1.9 สถานที่ด้าเนินการ ให้เป็นไปตามที่ส้านักงาน กศน. จังหวัด กลุ่มส้านักงาน กศน. จังหวัด และสถาบนั กศน. ภาค กา้ หนด 2.1.10 ระยะเวลาด้าเนนิ การ ด้าเนนิ การในระหวา่ งเดอื นมกราคม – พฤษภาคม ๒๕๖๕ 2.1.11 งบประมาณ ส้านักงาน กศน. จะด้าเนินการจัดสรรงบประมาณเพื่อด้าเนินการกิจกรรม ดงั กลา่ ว 2.2 การแข่งขันขับร้องบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศรมหาภูมิพล อดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร (ร.๙) ระดบั ประเทศ 2.2.1 กฎ กติกาการประกวด 1) ประเภทระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช.กศน. และประเภทนักศึกษาผู้พิการ ผู้เข้ารับการประกวดทุกคน ทุกประเภทใช้กฎ กติกา และการตัดสิน เกณฑ์เดียวกนั ดังน้ี - ผู้เขา้ รบั การแขง่ ขนั ขบั รอ้ งตอ้ งขับร้องบนเวทตี อ่ หน้าคณะกรรมการโดยไมใ่ ช้ดนตรปี ระกอบ

40 - ผู้เข้ารับการแข่งขันขับร้องสามารถแต่งกายได้อิสระ เช่น ผู้เข้ารับการประกวด สามารถแตง่ กายสุภาพ ท้งั นี้ลักษณะของการแตง่ กายดงั กล่าวต้องมคี วามเหมาะสมกับความเป็นนักศึกษาและไม่ขัด ต่อขนบธรรมเนยี มและศีลธรรมอนั ดีงามของความเป็นไทย 2) เพลงที่ใช้ประกวดเป็นบทเพลงพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิ เบศรมหาภูมิพลอดลุ ยเดชมหาราชบรมนาถบพติ ร (ร.๙) 3) ผู้เข้ารับการแข่งขันขับร้องต้องมารายงานตัวตามวัน เวลา และสถานท่ีท่ี ส้านักงาน กศน. กา้ หนด 4) จบั ฉลากเพ่ือเรียงล้าดบั กอ่ นประกวด 30 นาที 5) คณะกรรมการ คัดเลือกให้เหลือ 1 ทมี ในแตล่ ะระดับ (ระดับประถมศึกษา ระดบั มัธยมศกึ ษา ตอนตน้ ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.กศน. และประเภทนกั ศึกษาผพู้ ิการ) เพ่ือแขง่ ขันรอบชิงชนะเลศิ 2.2.2 แนวปฏิบัติสา้ หรบั ผู้ทผี่ า่ นเขา้ รอบชิงชนะเลิศ 1) ทันทีที่ทราบผลการคัดเลือก ให้ผู้ผ่านเข้ารอบชิงชนะเลิศทุกประเภทต้องมารายงานตัว ตามวนั เวลา และสถานทท่ี ่สี ้านักงาน กศน.ก้าหนด 2) จบั ฉลาก เพอ่ื เรยี งล้าดับก่อนประกวด 30 นาที 3) ผู้เข้าประกวดร้องเพลงรอบชิงชนะเลิศทุกประเภทต้องขับร้องสดบนเวทีประกวด พรอ้ มดนตรปี ระกอบต่อหน้าคณะกรรมการ 4) กรรมการผู้ตัดสนิ ส้านักงาน กศน.จะประกาศให้ทราบในวันรอบชิงชนะเลิศ 2.2.3 เกณฑ์การใหค้ ะแนน 100 คะแนน 2.2.4 กรรมการผ้ตู ัดสิน ส้านักงาน กศน.จะประกาศใหท้ ราบในวนั รอบชิงชนะเลิศ 1) นกั รอ้ งน้า ๖0 คะแนน - แนะน้าตวั และแสดงทศั นคติเก่ยี วกับเนื้อหาของบทเพลงที่ใช้ 10 คะแนน ในการประกวดและเชื่อมกบั บุญคณุ ของพระมหากษัตรยิ ์ - นา้ เสยี ง ความไพเราะของเสียง 10 คะแนน - เทคนคิ การขบั ร้อง 10 คะแนน - จังหวะ ท้านอง ถูกต้อง 10 คะแนน - อกั ขระวิธถี ูกต้อง 10 คะแนน - บคุ ลิก ลีลา อารมณ์ 10 คะแนน 2) แดนเซอร์ 30 คะแนน - ความพร้อมเพรยี งในทา่ ทาง ลลี าสอดคล้องกับเพลง 10 คะแนน (สวยงาม มั่นใจ สะทอ้ นความเป็นชาตไิ ทย) - ความคิดสรา้ งสรรค์และรูปแบบการนา้ เสนอ 10 คะแนน - การแตง่ กายเหมาะสมกับบทเพลง 10 คะแนน 3) การสมั ภาษณ์ และการตอบคา้ ถาม (ทีม) ๑0 คะแนน หมายเหตุ ค้าถามในการสัมภาษณต์ ้องผ่านการคดั กรองจากการประชุมของคณะกรรมการในการตดั สนิ ในครง้ั นั้น ๆ

41 2.2.5 เกณฑ์การตดั สนิ ผู้เข้าประกวดท่ีได้คะแนนรวมสูงสุด 5 อันดับแรกของแต่ละระดับ (ประถมศึกษา ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนต้น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.กศน.และประเภทนักศึกษาผู้พิการ) จะได้รับรางวัลชนะเลิศ รองชนะเลิศอันดับที่ 1 , 2 , 3 และ 4 ตามล้าดับ โดยกรรมการผู้ตัดสิน ส้านักงาน กศน.จะประกาศผลให้ทราบ ในวันรอบชิงชนะเลิศ ** หมายเหตุ ผลการตดั สนิ ของคณะกรรมการถอื เปน็ อันที่สน้ิ สุดจะอุทธรณม์ ิได้ **

42 กจิ กรรมท่ี 3 การประกวดการจัดทาโครงงานจิตอาสาตน้ แบบ เพ่ือให้การด้าเนินการประเมินโครงงานจิตอาสาต้นแบบ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ ดังนั้น จึงก้าหนด หลักเกณฑ์และวิธกี ารประเมนิ โครงงานจิตอาสาต้นแบบ ดังน้ี 1. คณุ สมบตั ิ นักศึกษาการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและนักศึกษา ปวช. ท่ีลงทะเบียนเรียนในภาค เรียนท่ี 2/64 และ 1/65 2. วธิ ีการ ๒.๑ คณะทา้ งานร่วมจดั ทา้ รายละเอียดโครงงานและเกณฑ์การประกวดโครงงานจิตอาสาตน้ แบบ 2.2 ด้าเนินการประชาสัมพนั ธ์การประกวดโครงงานไปยงั สถานศกึ ษาในสงั กัด ๒.๓ สถานศกึ ษารับสมัครจากนกั ศึกษาท่ีสนใจภายในระยะเวลาที่กาหนด ๒.๔ นักศึกษาส่งรายงานสรุปผลและส่งคลิปน้าเสนอผลการด้าเนินโครงงาน ความยาวคลิป 3 - 5 นาที มายังสถานศึกษา ภายในระยะเวลาที่ก้าหนด เพื่อพิจารณาโครงงานจิตอาสาต้นแบบระดับประถมศึกษา ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ และระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.กศน. ๒.๕ สถานศึกษาพิจารณาคัดเลือกโครงงานจิตอาสาต้นแบบของนักศึกษา ท้ัง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.กศน. และส่งผลงานของแต่ละ ระดบั ที่ผา่ นเกณฑป์ ระเมินระดบั ดีเด่นข้ึนไป ใหส้ ้านักงาน กศน.จงั หวัด ภายในระยะเวลาท่ีก้าหนด ๒.๖ คณะประเมินระดับจังหวัด ด้าเนินการคัดเลือกโครงงานของนักศึกษาท้ัง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.กศน. และส่งผลงานของแต่ละ ระดับทผ่ี ่านเกณฑป์ ระเมินระดับดีเดน่ ข้นึ ไป ให้กลมุ่ ศูนย์จังหวัด ภายในระยะเวลาทก่ี า้ หนด 2.7 คณะประเมินระดบั กลุ่มศูนย์จังหวัด ด้าเนนิ การคัดเลือกโครงงานของนักศึกษาทงั้ 3 ระดับ ไดแ้ ก่ ระดบั ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.กศน. และส่งผลงานของแต่ ละระดบั ทผ่ี า่ นเกณฑ์ประเมินระดบั ดีเดน่ ข้นึ ไปให้ สถาบัน กศน.ภาค ภายในระยะเวลาทก่ี ้าหนด 2.8 คณะประเมินระดับสถาบัน กศน.ภาค ด้าเนินการคัดเลือกโครงงานของนักศึกษาและลงพื้นที่ดู สภาพจริงท้ัง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ ปวช.กศน. และส่งผลงานของแต่ละระดับที่ผ่านเกณฑ์ประเมินระดับดีเด่นขึ้นไปให้ส้านักงาน กศน. ภายใน ระยะเวลาท่ีกา้ หนด 2.9 คณะประเมินระดับประเทศด้าเนินการคัดเลือกโครงงานของนักศึกษาทั้ง 3 ระดับ ได้แก่ ระดับ ประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น และระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช.กศน. โดยส้านักงาน กศน. ประกาศผลมอบรางวัล และเผยแพรผ่ ลไปยังสถานศกึ ษาและสาธารณชน 3. การจัดสง่ แผนงาน/กิจกรรม 3.1 นักศึกษาท่ีมีความสนใจเข้าร่วมการประกวดโครงงานจิตอาสาต้นแบบ จะต้องส่งใบสมัครภายใน วันท่ี ......................ตามแบบฟอรม์ ที่กา้ หนด

43 3.2 นักศึกษาท่ีผ่านการพิจารณา ต้องส่งรายงานโครงงานท่ีได้มีการด้าเนินการมาถึง ณ ส้ินสุดเดือน .................ภายในระยะเวลาที่ก้าหนดไว้ 3.3 นักศึกษาจัดท้ารายงานสรุปผลการด้าเนินงานตามแบบฟอร์มที่ก้าหนด เพ่ือให้คณะประเมินฯ พิจารณาตัดสิน 4. หลักเกณฑก์ ารพิจารณาใหค้ ะแนนและการตัดสินการประกวดโครงงานจติ อาสาต้นแบบ การประกวดโครงงานจิตอาสาต้นแบบจะพิจารณาจากโครงงาน ซ่ึงเก่ียวข้องกับการท้ากิจกรรมจิตอาสา โดยสง่ รายงานสรุปทม่ี คี วามยาวไม่เกนิ 8 หน้ากระดาษ A4 ตามแบบฟอร์มที่ก้าหนด และคลิปน้าเสนอมีความยาว ไม่เกนิ 3 – 5 นาที ซงึ่ มหี ลกั เกณฑ์การพิจารณา มาตรฐาน 5 ดา้ น ดงั น้ี 1. ดา้ นความคิดสร้างสรรค์ 15 คะแนน 2. ดา้ นความชดั เจนของแนวทางการด้าเนนิ โครงงาน 20 คะแนน 3. ด้านผลผลติ ผลลัพธแ์ ละผลกระทบ 20 คะแนน 4. ดา้ นประโยชนข์ องผู้เรียน สถานศึกษา และชมุ ชน 30 คะแนน 5. ดา้ นความชดั เจนของรายงานสรุปและคลปิ นา้ เสนอ 15 คะแนน คะแนนรวม 100 คะแนน

44 ทงั้ นี้ การใหค้ ะแนนในแตล่ ะด้านจะมีแนวทาง ดังนี้ ดา้ น แนวทางการพจิ ารณา ส่งิ ทีใ่ ช้ประกอบการ พิจารณา 1) ด้านความคิดสร้างสรรค์ เป็นโครงงาน/กิจกรรมด้านจิตอาสาจากการริเริ่ม - รายงานสรุป (15 คะแนน) สร้างสรรค์หรือผสมผสาน ประยุกต์ หรือท้าในเรื่อง - คลปิ น้าเสนอ ที่ไม่มีใครคิดมาก่อน หรือเป็นความคิดใหม่ๆจาก - ดูสภาพจรงิ การเปลีย่ นแปลง ปรบั ปรุงจากเดิมที่มีอยู่น้าไปสู่การ สร้างสรรค์เป็นนวตั กรรมที่ทรงคุณคา่ 2) ด้านความชัดเจนของแนว เป็นโครงงาน/กิจกรรมที่มีแนวทางการด้าเนินงาน มี ทางการด้าเนินโครงงาน กรอบคิด มรี ะยะเวลา และแผนงานทีช่ ัดเจน (20 คะแนน) 3. ดา้ นผลผลติ ผลลัพธ์และ เปน็ โครงงาน/กจิ กรรมทมี่ ตี วั บ่งชี้ถึงผลผลิต ผลลัพธ์ ผลกระทบ (20 คะแนน) ทส่ี ามารถวดั ผลและน้าไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้ 4. ดา้ นประโยชนข์ องผเู้ รยี น โครงงาน/กิจกรรมเป็นประโยชน์ในวงกว้างต่อ สถานศึกษา และชุมชน ผ้เู รยี น สถานศกึ ษาและชมุ ชน (30 คะแนน) 5. ด้านความชัดเจนของรายงาน มีความชัดเจนในการรายงานสรุป การน้าเสนอคลิป สรปุ และคลิปน้าเสนอ และสามารถชแี้ จงรายละเอยี ดได้ (15 คะแนน) หมายเหตุ ค้าตัดสินของคณะกรรมการโครงการจิตอาสาต้นแบบถือเป็นสิ้นสุด โดยผู้เข้าร่วมกิจกรรมไม่สามารถ โตแ้ ยง้ หรืออทุ ธรณ์ใด ๆ

45 กจิ กรรมที่ 4 การคัดเลือกผู้ปฏิบตั งิ านท่ที าคุณประโยชน์ดา้ นจิตอาสา ส้านักงาน กศน. ได้ด้าเนินคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา เพ่ือยกย่องเชิดชูเกียรติ บุคลากรที่มีผลงานดีเด่นเป็นท่ีประจักษ์ถึงความมุ่งมั่น ทุ่มเทต่อการส่งเสริม สนับสนุนการด้าเนินงานด้านจิต อาสาของหน่วยงานในสงั กัดท้ังในสว่ นกลางและสว่ นภูมิภาค ตลอดจนหนว่ ยงานภายนอก จนประสบผลสา้ เรจ็ 1. วตั ถปุ ระสงค์ 1.1 เพื่อยกย่องเชิดชูเกียรติบุคลากรในสังกัดส้านักงาน กศน. ท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสาในการ ส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนงานด้านจิตอาสา การถ่ายทอดองค์ความรู้ หรือสร้างนวัตกรรมด้านจิตอาสาที่ โดดเดน่ เปน็ ที่ประจักษ์ 1.2 เพอ่ื ส่งเสริม สนับสนุนขยายเครือข่ายบุคลากรท่ีส่งเสริม สนับสนุนการขับเคล่ือนงานด้านจิตอาสา การถ่ายทอดองคค์ วามรู้ หรือสรา้ งนวตั กรรมดา้ นจิตอาสาที่โดดเด่นเปน็ ที่ประจักษ์ 1.3 เพื่อประชาสัมพนั ธแ์ ละเผยแพรผ่ ลงานบคุ ลากรผปู้ ฏิบัติงานทีท่ า้ คุณประโยชนด์ า้ นจติ อาสา 2. นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ ผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา หมายถึง บุคลากรในสังกัดส้านักงาน กศน. ที่มีผลงาน ส่งเสริม สนับสนุนการขับเคล่ือนงานจิตอาสาในการด้าเนินงาน รวมทั้งการถ่ายทอดองค์ความรู้ หรือสร้าง นวตั กรรมดา้ นจิตอาสาท่ีโดดเดน่ เปน็ ท่ปี ระจักษ์ เป็นผู้ส่งเสริม สนับสนุน หรือมีส่วนร่วมกับชุมชน น้อมน้าหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดกิจกรรมเพ่ือช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับผลกระทบท้ังในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และการปฏิบัติงานต้องอยู่ในช่วงระยะย้อนหลังไม่เกิน 2 ปี (นบั จากปีปัจจุบนั ) จ้าแนกเป็น 2 ประเภท ดงั นี้ 1) ประเภทบุคลากรที่ผ่านหลกั สูตรจติ อาสา 904 หมายถงึ บุคลากรในสังกัดส้านักงาน กศน. ท่ีได้ผ่านการอบรมหลักสูตรจิตอาสา 904 ของโรงเรียน จิตอาสาพระราชทาน 2) ประเภทบุคลากรทั่วไป หมายถึง บุคลากรในสังกดั สา้ นกั งาน กศน. ทัว่ ไปท่ที า้ คณุ ประโยชนด์ า้ นจิตอาสา 3. คณุ สมบตั ิ มีผลงานส่งเสริม สนับสนุนการขับเคลื่อนงานด้านจิตอาสา การถ่ายทอดองค์ความรู้ หรือสร้าง นวัตกรรมดา้ นจิตอาสาท่โี ดดเด่นเป็นทป่ี ระจักษ์ เป็นผู้ส่งเสริม สนับสนุน หรือมีส่วนร่วมกับชุมชน น้อมน้าหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการจัดกิจกรรมเพื่อช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับผลกระทบทั้งในช่วงสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และการปฏิบัติงานต้องอยู่ในช่วงระยะย้อนหลังไม่เกิน 2 ปี (นบั จากปีปัจจุบนั ) 4. ขนั้ ตอนและวิธกี ารคดั เลือก ๔.๑ ส้านักงาน กศน. จัดท้าค้าสั่งกระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือแต่งตั้งคณะกรรมการอ้านวยการคัดเลือก ผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา และคณะกรรมการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ด้านจิต อาสา แต่ละประเภท จ้านวน 2 คณะ และคณะกรรมการแต่ละคณะมีอ้านาจแต่งตั้งคณะท้างานเพิ่มเติมเพ่ือ กลน่ั กรองคณุ สมบัติและผลงานของผู้ทีไ่ ด้รบั การเสนอชอื่ เปน็ ผู้ปฏบิ ตั งิ านที่ท้าคณุ ประโยชน์ด้านจติ อาสา

46 โดยคณะกรรมการต้องมคี ณุ สมบัติดงั น้ี ประเภทบคุ ลากรที่ผา่ นหลกั สูตรจติ อาสา 904 1) ตอ้ งเป็นผู้ท่ผี า่ นการอบรมหลกั สูตรจิตอาสา 904 จากโรงเรียนจิตอาสาพระราชทาน 2) ตอ้ งไม่ใช่ผ้ทู ม่ี ีส่วนได้ส่วนเสยี ในการประกวด ประเภทบุคลากรทวั่ ไป ตอ้ งเปน็ ผทู้ ผ่ี ่านการอบรมหลกั สูตรจิตอาสา 904 จากโรงเรยี นจติ อาสาพระราชทาน ๔.๒ รวบรวมแบบเสนอชื่อเข้ารับการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา ตรวจสอบ คุณสมบัติเบื้องต้นและเล่มเอกสารผลงาน พร้อมท้ังสรุปรายชื่อเสนอคณะกรรมการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานท่ีท้า คณุ ประโยชน์ดา้ นจติ อาสาแต่ละประเภท ๔.๓ จดั ประชุมคณะกรรมการคดั เลอื กผู้ปฏิบตั ิงานท่ีทา้ คุณประโยชน์ด้านจิตอาสา เพื่อพิจารณาคัดเลือก ผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา พร้อมทั้งจัดท้ารายงานประชุมเสนอคณะกรรมการอ้านวยการ คัดเลือกผู้ปฏิบตั งิ านที่ท้าคณุ ประโยชน์ด้านจิตอาสา ทั้งน้ี จานวนของผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ปฏิบัติงานท่ีทา คณุ ประโยชน์ดา้ นจติ อาสา ในแต่ละประเภทขนึ้ อยู่กบั ดลุ ยพนิ จิ ของคณะกรรมการเปน็ ผู้พิจารณา ๔.๔ จัดประชุมคณะกรรมการอ้านวยการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสาต่อ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เพื่อพจิ ารณา 1) ให้ความเห็นชอบผลการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสาของคณะกรรมการ การคัดเลือกผู้ปฏิบตั ิงานทท่ี า้ คุณประโยชน์ดา้ นจิตอาสาทเี่ ปน็ ไปตามเกณฑ์ 2) กรณีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ ให้คณะกรรมการอ้านวยการพิจารณาผู้ปฏิบัติงานที่ท้าคุณประโยชน์ ด้านจิตอาสา เพ่ิมเตมิ ตามท่เี ห็นสมควร และค้าวนิ ิจฉยั ของคณะกรรมการอา้ นวยการฯ ถือเป็นทีส่ นิ้ สุด ๔.๕ สรปุ รายช่อื ผู้ผ่านการคดั เลือกเปน็ ผู้ปฏบิ ัตงิ านทีท่ ้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา 5. การประกาศผลการคัดเลือกผู้ปฏบิ ตั ิงานทท่ี าคุณประโยชนด์ า้ นจติ อาสา 5.1 ส้านักงาน กศน. จัดท้าประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ผลการคัดเลือกผู้ปฏิบัติงานที่ท้า คุณประโยชน์ด้านจิตอาสา เสนอต่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการเพ่ือลงนามในประกาศ โดยจะประกาศ ภายในเดือนกรกฎาคม ๒๕๖๕ และแจ้งผลไปยงั หน่วยงาน และเผยแพรต่ อ่ สาธารณชนทางส่อื ต่าง ๆ 5.2 ผู้ได้รับการคัดเลือกเป็นผู้ปฏิบัติงานท่ีท้าคุณประโยชน์ด้านจิตอาสา จะได้รับเกียรติบัตรจาก รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ 6. เกณฑ์การคัดเลอื กผ้ปู ฏบิ ตั ิงานทีท่ าคณุ ประโยชนด์ ้านจติ อาสา คะแนนเต็ม 100 คะแนน โดยพจิ ารณาจาก ผลงานและหลักฐานท่ีปรากฏซ่ึงเป็นคุณประโยชน์ต่อส้านักงาน กศน. ส่งเสริม สนับสนุนการขับเคล่ือน งานจิตอาสาในการด้าเนินงาน รวมทั้งการถ่ายทอดองค์ความรู้ หรือสร้างนวัตกรรมด้านจิตอาสาท่ีโดดเด่นเป็นที่ ประจักษ์ เปน็ ผู้ส่งเสริม สนบั สนนุ หรือมีส่วนร่วมกับชุมชน น้อมน้าหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการ จัดกิจกรรมเพ่ือช่วยเหลือผู้ท่ีได้รับผลกระทบท้ังในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และการปฏิบัติงานต้องอยู่ในช่วงระยะย้อนหลังไม่เกิน 2 ปี (นับจากปีปัจจุบัน) (หลักฐาน อาทิ รูปภาพ วีดิโอ ซีดี ดีวีดี ใบประกาศเกียรติคุณและอ่ืน ๆ) และการรายงานผลการปฏิบัติงานผ่านทาง Online (Google Form) โดยมีหวั ข้อดังน้ี