Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Microsoft Word - แผนปฏิบัตการประจำปี-2565-ดงเจริญ1

Microsoft Word - แผนปฏิบัตการประจำปี-2565-ดงเจริญ1

Published by mans251472, 2022-06-20 22:19:34

Description: Microsoft Word - แผนปฏิบัตการประจำปี-2565-ดงเจริญ1

Search

Read the Text Version

๑ แผนปฏิบตั ิการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั อําเภอดงเจรญิ สงั กดั สาํ นกั งานสง( เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดพจิ ติ ร สาํ นักงานสง( เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย สํานกั งานปลดั กระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

ก บันทึกขอ- ความ ส(วนราชการ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อําเภอดงเจรญิ ที่ ศธ ๐๒๑๐.๕๑๐๒/ วันท่ี เดือนธนั วาคมพ.ศ. ๒๕๖4 เรอื่ ง ขอความเห็นชอบแผนปฏิบัตกิ ารประจําปง. บประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... เรยี น คณะกรรมการสถานศึกษา ตามท่ี ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยอําเภอดงเจริญ ได8จัดทําแผนปฏิบัติการ ประจําป. พ.ศ. ๒๕๖5 ที่สอดคล8องกับปรัชญา วิสัยทัศน พันธกิจ เป9าหมาย และกลยุทธของสถานศึกษา โดยยึดยุทธศาสตรระดับจังหวัด และนโยบายการดําเนินงานสํานักงานส<งเสริมการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอธั ยาศยั รายละเอยี ดดงั แผนปฏิบัติการประจาํ ป. พ.ศ. ๒๕๖5 เสนอมาพรอ8 มน้ี อนึ่งในการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป.งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 ได8ดําเนินการจัดประชุม คณะกรรมการสถานศึกษาร<วมกันวางแผนในการพิจารณากิจกรรมการจัดการศึกษาของสถานศึกษาให8 สอดคล8องและตรงกับความต8องการของชุมชน เพ่ือนํามาจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป.ไปแล8วน้ัน ศูนย การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอดงเจริญ จึงใคร<ขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการ สถานศกึ ษาเพื่อเสนอแผนอนุมตั ิ ต<อไป จึงเรียนมาเพอ่ื โปรดทราบ (ลงชื่อ) (นางธณิกานต เทียวประสงค) ผ8อู าํ นวยการศนู ยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอดงเจรญิ ความเหน็ ............................ เห็นชอบแผนปฎิบัติการ......................................................................................... (ลงช่อื ) ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา (นายเกรียงไกร ตง้ั วถิ ีชีวติ ) ผ8ูเห็นชอบ

ข คํานาํ แผนปฏิบัติการ กศน.อําเภอดงเจริญ จัดทําขึ้นเพื่อเปCนแนวทางในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ประจําป.งบประมาณ พ.ศ.2565โดยยึดแนวทางตามยุทธศาสตรและจุดเน8นการ ดําเนนิ งานการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ประจาํ ป. พ.ศ.2565ตลอดจนบรบิ ท ความต8องการ ของกลุ<มเป9าหมายในพ้ืนท่ี เพื่อกําหนดเปCนแนวทางในการดําเนินงาน กศน. อําเภอดงเจริญ ให8เปCนไปตาม เป9าหมายท่ีวางแผนไวอ8 ยา< งมปี ระสทิ ธภิ าพ การจัดทําแผนปฏิบัติการ กศน.อําเภอดงเจริญ เล<มนี้ สําเร็จลุล<วงด8วยดี โดยความร<วมมือและการมี ส<วนร<วมของภาคีเครือข<าย และผู8มีส<วนเกี่ยวข8องร<วมกันระดมความคิดเห็น โดยนําสภาพปFญหาและผลการ ดาํ เนินงานมาปรบั ปรุงเพอื่ เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ของ กศน. อําเภอดงเจริญ เพ่อื สนองความตอ8 งการของนกั ศึกษาและประชาชนในตาํ บลอยา< งแท8จริง คณะผู8จัดทําหวังเปCนอย<างยิ่งว<าแผนปฏิบัติการ ประจําป.งบประมาณ พ.ศ.2565จะเปCนแนวทางใน การดําเนินงานของครู กศน. และผู8ที่เกี่ยวข8อง เพ่ือให8การจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให8บรรลุตามวตั ถุประสงค และมีคุณภาพตามเป9าหมาย ตลอดจนเปCนประโยชนต<อผู8มีส<วนเกี่ยวข8อง ประชาชน ชุมชน สงั คม และประเทศชาติต<อไป กศน.อาํ เภอดงเจรญิ ธนั วาคม 2564

ค สารบัญ หน-า เรอ่ื ง การอนมุ ัติแผนปฏบิ ตั กิ าร ประจําป. พ.ศ. ๒๕๖5...............................................................................................ก คาํ นาํ …………………………………………………………………………………………………………………………………………….....ข สารบญั ……………………………..............................................................................................................................ค บทท่ี 1 ข-อมูลพน้ื ฐานของ กศน.อําเภอ.........................................................................................................4 ประวตั ขิ องสถานศกึ ษา……………………….……….…………………………………………………….………….…. 4 ทาํ เนยี บผบ8ู รหิ าร…………………………………………………………………………………………….………….….… 5 อาํ นาจและหน8าทขี่ อง กศน.อําเภอ................................................................................................5 โครงสรา8 งการดาํ เนินงานใน กศน.อาํ เภอ…………………………..…………………………………...........……6 คณะกรรมการ กศน.อําเภอ...........................................................................................................7 ขอ8 มูลบคุ ลากร กศน.อําเภอ..........................................................................................................7 แหล<งเรียนรู8ของ กศน.อาํ เภอ.......................................................................................................8 สว( นที่ 2 ขอ- มลู พื้นฐานเพื่อการวางแผน………………………..………………………………………..………………..… 13 สภาพทว่ั ไปของอําเภอ....…………………………………………………………………………………….…….…..13 ข8อมูลดา8 นประชากร……………………………………………..……………………………………………………....14 ข8อมลู ดา8 นสงั คม………………………………………………..…………………………………………………..……..14 ข8อมูลด8านเศรษฐกิจ…………………………………………..……………………………………..……………….....14 ขอ8 มูลด8านการศกึ ษา…………………………………………..……………………………………………………...….19 ส(วนที่ 3 ทิศทางการดาํ เนนิ งานของ กศน.อาํ เภอ....………………………………………………………………….…..27 ผลการวเิ คราะหสภาพแวดล8อม.....……………………………………………………………………………….....27 ทศิ ทางการดาํ เนินงานของ กศน.อําเภอ…………………..……………………….………………………………28 นโยบายและจุดเน8นการดาํ เนินงานของสาํ นักงาน กศน.ปง. บประมาณ พ.ศ.2565…….……...... 33 ส(วนที่ 4 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ.2565 ……………………………….….37 รายละเอียดแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม………………………………………….………………………………39 แผนปฏิบัติการประจําป.งบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖5 (กศน.-กผ.-๐๒)……………………………….…. 207 คณะผูจ- ัดทํา………………………………………………………………………………………..………………………………..….. 227

๔ สว( นที่ ๑ ขอ- มูลพ้ืนฐานของสถานศกึ ษา สภาพทัว่ ไปของสถานศึกษา ช่อื สถานศึกษา ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอดงเจริญ ทต่ี ัง้ สถานศึกษา วดั สาํ นกั ขนุ เณร หมทู< ่ี 1 ตําบลสํานักขุนเณร อาํ เภอดงเจรญิ จังหวัดพจิ ติ ร 66๒๑๐ โทรศัพท / โทรสาร 0 – 5665 – 7334 E-Mail : [email protected] สังกัด สาํ นกั งาน กศน. จงั หวัดพจิ ิตร สํานักงาน กศน. สํานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1. ประวตั คิ วามเปน= มาของอําเภอดงเจรญิ อาํ เภอดงเจริญ เดิมเปCนเขตการปกครองข้ึนอย<ูกับอําเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร ด8วยมีพื้นที่ห<างไกลจาก อําเภอบางมูลนาก ประชาชนไม<ได8รับความสะดวกในการติดต<องานราชการกับหน<วยงาน ฯพณฯ พลตรีสนั่น ขจร ประศาสน รองนายกรฐั มนตรีได8มีดําริท่จี ะแยกไปจัดตั้งกิ่งอําเภอขึ้นอีกแห<งหน่ึง เพ่ือเปCนศูนยราชการและแก8ไขปFญหา ความเดอื ดรอ8 นของประชาชนในตําบลทห่ี <างไกล โดยขอใหต8 งั้ ช่อื วา< “อาํ เภอดงเจริญ” พร8อมกับความร<วมมือของกํานัน ท้งั 5 ตําบลในขณะน้ัน และความร<วมใจของประชาชนในเขตพื้นที่จึงได8เกิดกิ่งอําเภอแห<งใหม<อีกแห<ง ชื่อว<า ก่ิงอําเภอ ดงเจรญิ อําเภอดงเจริญ ได8รับการยกฐานะขึ้นเปCนกิ่งอําเภอตั้งแต<วันที่ 15 กรกฎาคม 2539 ตามประกาศ กระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 26 มิถุนายน 2539 โดยแบ<งเขตการปกครองออกมาจากอําเภอบางมูล-นาก จังหวัด พิจิตร มีเขตการปกครองรวม 5 ตําบล คือ ตําบลวังงิ้วใต8 ตําบลวังงิ้ว ตําบลห8วยพุก ตําบลห8วยร<วมและตําบลสํานัก ขุนเณร สถานท่ีต้ังอาคารท่ีว<าการอําเภอ ต้ังอย<ูท่ีหมู<ท่ี 2 ตําบลวังง้ิวใต8 โดยได8รับการอนุเคราะหบริจาคที่ดินจํานวน 30 ไร< จากนายวัชรากรณ พงศจกั ราพานิช สมาชิกสภาองคการบริหารส<วนจังหวัดพิจิตร เขตอําเภอดงเจริญ ต<อมา เมื่อในวันท่ี 8 กันยายน 2550 ได8รับการยกฐานะให8เปCนอําเภอ ตามพระราชกฤษฎีกา อําเภอเฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเดจ็ พระเจ8าอยู<หัวเนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 2. ประวัติสถานศึกษาของ กศน.อําเภอดงเจริญ ตามที่กระทรวงมหาดไทย ไดป8 ระกาศจัดต้ังก่ิงอําเภอดงเจริญ เม่ือวันท่ี 26 มิถุนายน พ.ศ.2539 แบง< เขตการปกครอง แยกจากอาํ เภอบางมลู นาก จงั หวดั พจิ ติ ร พ้ืนท่ปี กครอง 5 ตาํ บล ต<อมากรมการศึกษา นอกโรงเรียน ได8ขยายพื้นที่การให8บริการทางการศึกษานอกระบบโรงเรียนแก<ประชาชน และกล<ุมเป9าหมาย ต<างๆ เพื่อให8ดําเนินการได8อย<างทั่วถึง โดยกระจายให8ครอบคลุมทุกพ้ืนที่ท่ัวประเทศ จึงเสนอขอให8 กระทรวงศึกษาธกิ ารประกาศจัดต้ัง ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนกิ่งอําเภอ โดยอาศัยอํานาจตามความ ในมาตรา 25 แห<งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2534 ประกอบกับระเบียบ กระทรวงศึกษาธกิ ารวา< ด8วยการจัดการศกึ ษาในสถานศกึ ษา สังกัดกรมการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. 2531ข8อ 6 จึงประกาศจัดต้ัง ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนก่ิงอําเภอดงเจริญ จังหวัดพิจิตร เม่ือวันท่ี 24 พฤษภาคม พ.ศ. 2540 ต<อมามพี ระราชกฤษฎีกาต้ังอําเภอ โดยยกฐานะกิ่งอําเภอขึ้นเปCนอําเภอ จํานวน 81 อําเภอ ฉะนั้น อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 8 มาตรา 22 แห<งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการกระทรวง ศึกษาธิการ พ.ศ. 2546 และมาตรา 40 แห<งพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ.2545 จึงเปล่ียนชื่อ ศูนยบริการศึกษานอกโรงเรียนกิ่งอําเภอ เปCน ศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอ ตาม ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร เรือ่ ง เปล่ยี นชือ่ สถานศึกษา ประกาศเม่ือวันท่ี 14 พฤศจิกายน 2550ต<อมา

๕ ตามพระราชบัญญัติส<งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 ได8เปลี่ยนช่ือ สถานศึกษา จากศูนยบริการการศึกษานอกโรงเรียนอําเภอ เปCน ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั อําเภอเรียกโดยยอ< วา< กศน.อาํ เภอ เมอื่ วันที่ 4 มีนาคม 2551จนถงึ ปFจจบุ ัน 3. ทําเนยี บผบู- ริหาร ตาํ แหนง( ระยะเวลาทด่ี ํารงตาํ แหน(ง ที่ ช่อื -สกลุ 9 เม.ย. 2540 - 28 ก.ค. 2540 1 น.ส.อรทัย จารภุ ัทรพาณิชย หวั หนา8 ศูนย 1 29 ก.ค. 2540 - 24 พ.ย. 2542 2 นายวบิ ูลย ตรถี ัน หวั หน8าศูนย 1 25 พ.ย. 2542 - 6 มิ.ย. 2548 3 นายอาคม มามั่ง ผู8บรหิ ารสถานศึกษา 7 มิ.ย. 2548 - 11 พ.ย. 2550 4 นายเอนก ศรีสวุ รรณ ผบู8 รหิ ารสถานศกึ ษา 12 พ.ย. 2550 - 5 ก.พ. 2554 5 นางพชั รินทร บัวสนิท ผ8บู รหิ ารสถานศกึ ษา 7 ก.ย. 2554 – 31 ต.ค. 2560 6 นางมาเลียม จันทรพรม ผบ8ู รหิ ารสถานศกึ ษา 1 พ.ย. 2560 - 31 ม.ค. 2562 7 นางสาวนภัสวรรณ อุฤทธิ์ ผูอ8 าํ นวยการ กศน.อาํ เภอทับคลอ8 ๑ ก.พ. ๒๕๖๒ - 17 พ.ย. 2563 ๘ นางพิมพวิภา พงษเดชาตระกูล รักษาการในตาํ แหน<งผู8อาํ นวยการ กศน.อําเภอดงเจริญ 18 พฤศจกิ ายน 2563 ถึงปFจจุบัน 9 นางธณิกานต เทยี วประสงค ผ8ูบรหิ ารสถานศกึ ษา ผูบ8 รหิ ารสถานศึกษา 4. อํานาจและหน-าที่ของ กศน.อาํ เภอ อํานาจและหนา8 ท่ีตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวนั ที่ 10 มนี าคม 2551 เร่ือง การกําหนดอํานาจ และหนา8 ทข่ี องสถานศึกษา ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาํ เภอมอี ํานาจและหน8าทดี่ ังน้ี 1. จดั การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั 2. สง< เสรมิ สนบั สนนุ และประสานภาคีเครอื ขา< ยเพื่อจดั การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย 3. ดาํ เนินการตามนโยบายพิเศษของรฐั บาลและงานเสรมิ สรา8 งความมน่ั คงของชาติ 4. จัด ส<งเสริม สนับสนุนและประสานงานการจัดการศึกษาตามโครงการอันเน่ืองมาจาก พระราชดําริในพืน้ ท่ี 5. จดั สง< เสรมิ สนบั สนุน พัฒนาแหลง< เรียนรแู8 ละภมู ิปญF ญาทอ8 งถ่ิน 6. วิจยั และพัฒนาคณุ ภาพหลกั สตู ร ส่ือ กระบวนการเรยี นรูแ8 ละมาตรฐานการศกึ ษานอกระบบ 7. ดําเนนิ การเทยี บโอนผลการเรียน การเทียบโอนความรแู8 ละประสบการณ 8. กํากับ ดูแล ตรวจสอบ นิเทศภายใน ติดตามประเมินผลและรายงานผลการดําเนินงาน การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 9. พฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั 10. ระดมทรพั ยากรเพ่ือใช8ในการจัดและพฒั นาการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย 11. ดาํ เนนิ การประกนั คุณภาพภายใน ใหส8 อดคลอ8 งกบั ระบบหลักเกณฑและวิธีการท่กี าํ หนด 12. ปฏบิ ัตงิ านอน่ื ๆ ตามทีไ่ ด8รับมอบหมาย

๖ 5. โครงสรา- งสถานศกึ ษา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอดงเจริญ ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันที่ 29 เมษายน 2551 เร่ืองการจัดโครงสร8างของสํานักงานส<งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยระดับ จังหวัด/กรุงเทพฯ และระดับอําเภอ มีโครงสร8างโดยแบ<งกล<ุมเปCน 3 กล<ุมงาน ดังแผนผัง ข8างลา< งนี้ ผูอํานวยการสถานศกึ ษา ----- คณะกรรมการสถานศกึ ษาฯ - กลุมงานอํานวยการ กลุมงานการศึกษานอกระบบ กลมุ งานการศกึ ษาตามอัธยาศยั - งานธุรการและงานสารบรรณ ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน งานการศึกษาต1อเนื่อง - งานการเงนิ และบญั ชี - การศึกษาเพอื่ พฒั นาอาชพี - งานงบประมาณและระดมทรพั ยากร - งานส1งเสริมการรห)ู นังสอื - การศึกษาเพอื่ พัฒนาทกั ษะชีวติ - งานพัสดุ - งานการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานนอกระบบ - การศึกษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน ฯลฯ - งานบคุ ลากร - งานพัฒนาหลักสูตร - งานเศรษฐกิจพอเพียงรปู แบบโครงการ - งานอาคารสถานที่ - งานทะเบยี นและวดั ผล เรยี นรหู) ลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง - งานแผนงานและโครงการ - งานศูนย'บริการให)คาํ ปรกึ ษาแนะแนว - งานการศึกษาตามอธั ยาศยั - งานประชาสัมพนั ธ' - งานกิจการนักศึกษา (พัฒนาแหลง1 การเรยี นรู) ภูมปิ ;ญญาท)องถ่ิน - งานสวสั ดกิ าร - งานพฒั นาส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยี ศนู ย'การเรียนชุมชน ห)องสมุดประชาชน บ)าน - งานข)อมูลสารนทเทศและการรายงาน หนังสอื ชมุ ชน ฯลฯ) - งานศูนยร' าชการใสสะอาด - งานสง1 เสรมิ สนับสนุนภาคเี ครือขา1 ย - งานควบคุมภายใน - งานกจิ การพิเศษ - งานนิเทศภายในติดตามและประเมินผล - งานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดาํ ริ - งานเลขานุการคณะกรรมการ - งานป=องกันแก)ไขป;ญหายาเสพติด สถานศกึ ษา - งานสง1 เสรมิ กิจกรรมประชาธิปไตย - งานประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา - งานสนับสนนุ นโยบาย/ภารกจิ ตอ1 เนอ่ื ง - งานกจิ การลูกเสือ และยุวกาชาด

๗ 6. ขอ- มูลคณะกรรมการสถานศกึ ษา ตําแหน(ง ที่ ชอื่ -สกลุ ประธานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน กรรมการ 1 นายเกรียงไกร ตง้ั วิถีชวี ติ กรรมการ 2 พระครสู ิริสุตโสภณ, ดร. กรรมการ 3 ด.ต.อนุวัฒน แตงใหญ< กรรมการ 4 นายทศั นยี น<ุมสกุล กรรมการ 5 นายวเิ ชียร บุปผาชาติ กรรมการ 6 นายสวดิ เกดิ คย8ุ กรรมการ 7 นายณัฐพัชร จติ รชนะ ๘ นายสมชาย ศรนี วล กรรมการและเลขานุการ ๙ นางธณกิ านต เทียวประสงค 7.ขอ- มูลข-าราชการครูและบุคลากรของสถานศกึ ษา ท่ี ชอื่ - สกุล ตําแหน<ง วุฒิการศกึ ษา พื้นทรี่ บั ผิดชอบ ศษ.ม.การบริหารการศึกษา กศน.อําเภอ ๑. นางธณิกานต เทยี วประสงค ผูบ8 ริหารสถานศกึ ษา กศ.บ.เทคโนโลยีและส่ือสารการศึกษา กศน.อาํ เภอ ๒. นายวีระยทุ ธ วลิ ยั สัย ครู วท.บ.สตั วศาสตร กศน.อําเภอ ๓. นางสาวรานี รศั มโี รจน ครูผ8ูช<วย ศศ.บ.การจดั การทั่วไป กศน.อาํ เภอ ศศ.บ.การจดั การทั่วไป กศน.อําเภอ ๔. นางสาวประพาพร แก8วปรชี า ครูอาสาสมัคร กศน. ค.บ.การศกึ ษา (การเกษตร) กศน.อาํ เภอ ศศ.บ.รัฐประศาสนศาสตร ตาํ บลสาํ นักขนุ เณร ๕. นางสาวสายใจ นนทอง ครูอาสาสมัคร กศน. บช.บ.การบญั ชี ตําบลวงั ง้วิ ใต8 ๖. นายแมน สินประเสริฐรัตน ครอู าสาสมัคร กศน. บช.บ.การบัญชี ตาํ บลหว8 ยพุก ๗. นายอทุ ยั นนทอง ครู กศน.ตาํ บล ค.บ.วทิ ยาศาสตรท่วั ไป ตาํ บลวงั งิ้ว คบ. คอมพวิ เตอรศึกษา ตําบลห8วยร<วม ๘. นางหนง่ึ ฤทัย นนทอง ครู กศน.ตาํ บล บช.บ.การบัญชี กศน.อําเภอ ๙. นางสาวทิพวรรณ บญุ อินทร ครู กศน.ตาํ บล พธ.บ.รัฐประศาสนศาสตร หอ8 งสมดุ ประชาชน ๑๐. นางสาวอภริ ดี เปยn. มพนั ธ ครู กศน.ตําบล มัธยมศึกษาตอนปลาย กศน.อําเภอ ๑๑. นางสาวกรานติมาพร เดชะผล ครู กศน.ตําบล ๑๒. นางสาวอรญา สายแวว ครูผสู8 อนคนพกิ าร ๑๓. นางสาวนฤมล อ่ัวหงวน บรรณารักษห8องสมุด 14. นางบุญยืน สดพลกรงั จ8างเหมาบรกิ าร

๘ 8. แหล(งเรยี นรู-และเครอื ข(าย ทตี่ ั้ง ผู-รบั ผดิ ชอบ อาคารสาํ นักงานประถมศกึ ษา นางหน่ึงฤทัย นนทอง ๘.๑ กศน.ตาํ บล ที่ทาํ การองคการบรหิ ารสว< นตําบลวงั งวิ้ นางสาวอภิรดี เปn.ยมพันธ ช่อื กศน.ตําบล ที่ทาํ การเทศบาลตาํ บลวงั บงค นายอทุ ัย นนทอง กศน. ตาํ บลวงั งิว้ ใต8 ทที่ าํ การองคการบรหิ ารสว< นตําบลหว8 ยพุก นางสาวทิพวรรณ บุญอินทร กศน. ตาํ บลวังงิว้ ที่ทาํ การองคการบรหิ ารส<วนตําบลห8วยรว< ม นางสาวกรานติมาพร เดชะผล กศน. ตําบลสาํ นกั ขนุ เณร กศน. ตาํ บลหว8 ยพุก กศน.ตําบลห8วยร<วม ๘.๒ แหล(งเรียนรู- แหล(งเรยี นร-ู ดา- น ทอ่ี ย(ู/เบอรโทรศัพท ผรู- ับผดิ ชอบ/ผู-ดูแล พพิ ิธภณั ฑหลวง วฒั นธรรม ภูมปิ Fญญา วดั สาํ นกั ขุนเณร หมู< ๑ ตาํ บล พระครสู ริ สิ ตุ โสภณ ดร. พ<อเขียน สาํ นักขนุ เณร อําเภอดงเจรญิ - พิพธิ ภณั ฑภมู ปิ ญF ญา จังหวัดพิจติ รเบอรโทรศัพท ๐๘๙๕๖๓๘๓๒๘ ศูนยเรียนรู8เศรษฐกจิ วถิ ชี วี ติ การเกษตร วดั สํานกั ขนุ เณร หมู< ๑ ตําบล กศน.อาํ เภอดงเจรญิ พอเพียง สํานกั ขุนเณร อําเภอดงเจริญ จงั หวัดพิจติ ร เบอรโทรศัพท ๐๕๖๖๕๗๓๓๔ แหล<งเรยี นรูเ8 ศรษฐกิจ โคก หนอง นา โมเดล หมู< ๔ ตาํ บลสาํ นักขุนเณร อาํ เภอ นายบุญธรรม วิชาโคตร พอเพียง ดงเจรญิ จังหวดั พจิ ติ ร เบอร โทรศัพท ๐๘๑-๗๒๗๒๗๐๕ กล<ุมแม<บ8านวังปลายนา การทาํ ปลาส8ม บา8 นกุดระกาํ หมู< ๔ ตาํ บลสํานัก นางกมลทิพย วชิ าโคตร ขนุ เณร อําเภอดงเจริญ จงั หวดั พจิ ิตร เบอรโทรศัพท ๐๘- ๙๕๖๘-๑๖๒๖ กลม<ุ แม<บา8 นคลองตัน การเพาะถ่ังงอก หม<ู ๖ ตาํ บลสาํ นกั ขนุ เณร อาํ เภอ นางสาวสมพร โตแปน9 ดงเจริญ จงั หวดั พิจติ ร เบอรโทรศัพท ๐๘๗-๒๐๑๘๕๓๑ การขยายพนั ธหุ น<อไม8 เกษตรกรรม บา8 นเลขที่ ๘๗ หมท<ู ี่ ๑๐ นายประยูร พวงดาํ ไผ<หวาน ตาํ บลวงั ง้ิวใต8 อําเภอดงเจรญิ จังหวัดพจิ ติ รเบอรโทรศัพท ๐๘๔๕๗๙๕๒๘๙ แหลง< เรยี นรู8โคก หนอง นา โคก หนอง นา โมเดล บา8 นเลขที่ ๑๐ หม<ูท่ี ๑๐ตําบลวัง นายวรี ะ ผ<องศรี โมเดล งิว้ ใต8 อําเภอดงเจริญ จงั หวดั พจิ ิตร โทร ๐๙๘๘๐๙๙๗๓๑ ศนู ยเรยี นรกู8 ารเพ่ิม เกษตรกรรม อาคารเอนกประสงค ม.๑ ตาํ บล นางนรารตั น อวั่ หงวน ประสิทธภิ าพการผลติ สินค8าเกษตร (ศพก.) วังง้วิ ใตอ8 ําเภอดงเจรญิ จังหวัด พิจติ รเบอรโทรศพั ท ๐๙๓๒๔๖๒๒๗๔

๙ แหล(งเรียนร-ู ด-าน ท่อี ยู(/เบอรโทรศพั ท ผร-ู บั ผิดชอบ/ผ-ูดูแล ศนู ยจัดการศัตรพู ชื ชุมชม เกษตรกรรม ตาํ บลวงั ง้วิ ใต8 อาคารเอนกประสงค ม.๔ ตําบล นายธีระศกั ดิ์ สุขอนามัย รพ.สต.วงั งิว้ ใต8 อาหาร วังงว้ิ ใตอ8 ําเภอดงเจรญิ จงั หวัด ดวงธรรม อาหาร กล<ุมขนมไทย หัตถกรรม พจิ ติ รเบอรโทรศัพท หตั ถกรรม กลุ<มนํา้ พริก เกษตรกรรม ๐๖๔๖๘๑๖๗๑๔ เกษตรกรรม กลม<ุ ผลติ ภณั ฑ ศาสนา หมู<ที่ ๘ ตําบลวังง้ิวใต8 นายสุรศักด์ิ บุญผล กะลามะพรา8 ว ศาสนา ผลติ ภณั ฑจากผักตบชวา อําเภอดงเจริญ จังหวดั พิจิตร สขุ ภาพ เกษตรทฤษฎใี หม< เศรษฐกิจพอเพยี ง เบอรโทรศัพท ๐๘๑๒๘๔๕๕๑๗ (โคก หนองนา โมเดล) โคก หนอง นา โมเดล ศาสนา หมูท< ี่ ๔ ตาํ บลวังงวิ้ ใต8 นางมาลัย เคลา8 เคลือ วดั หนองสนวน อําเภอดงเจริญ จงั หวัดพจิ ติ ร วดั หว8 ยน้าํ โจน เบอรโทรศัพท ๐๘๐๐๒๗๒๔๐๐ โรงพยาบาลสง< เสรมิ สขุ ภาพตาํ บลหว8 ยรว< ม หม<ทู ่ี ๘ ตาํ บลวงั งิ้วใต8 นางสงวน โคก หนองนา โมเดล อาํ เภอดงเจริญ จังหวัดพิจิตร เทยี มพิทักษ วัดวงั กา8 นเหลือง เบอรโทรศัพท๐๘๒๘๘๖๑๒๖๓ ๑๗ หม<ทู ่ี ๒ ตําบลหว8 ยร<วม นางสุภาพ แกว8 ชาลี อาํ เภอดงเจริญ จังหวดั พิจิตร เบอรโทรศัพท ๐๖๔๕๐๘๕๙๔๖ ๑๕๕ หมู<ที่ ๘ ตําบลห8วยร<วม นางจําเรยี ง อ<อนขาํ อาํ เภอดงเจริญ จังหวดั พจิ ิตร เบอรโทรศัพท ๐๘๗๗๓๖๔๐๓๐ หมูท< ี่ ๙ ตําบลห8วยรว< ม นางแนง< นอ8 ย ขจรกลน่ิ อาํ เภอดงเจริญ จงั หวดั พจิ ิตร เบอรโทรศัพท ๐๙๕๖๒๘๗๕๖๓ หม<ทู ่ี ๓ ตําบลห8วยรว< ม อําเภอ นายปรชี า วงษโท ดงเจริญ จงั หวัดพิจิตร เบอร โทรศพั ท ๐๘๙๕๖๗๘๘๘๕ หมทู< ่ี ๓ ตาํ บลห8วยรว< ม อําเภอ พระอธกิ ารชาํ นาญ ดงเจรญิ จังหวดั พจิ ิตร ฐานิสสโร หมท<ู ี่ ๗ วดั ห8วยนํา้ โจน ตําบล พระครูพิมล ปุญญาทร ห8วยรว< ม อําเภอดงเจรญิ จังหวัด พจิ ติ ร เบอรโทรศัพท ๐๙๔๗๘๕๔๕๐๔ หมู< ๖ ตําบลห8วยร<วม อําเภอ นางวนิ จิ ศรี กระโจมทอง ดงเจริญ จังหวัดพจิ ติ ร เบอร โทรศัพท ๐๘๗๗๒๓๔๖๙๘ บา8 นเลขที่ ๔๙หมทู< ่ี ๙ตําบลวังงวิ้ นายบุญจร นามวงษลือ อาํ เภอดงเจริญ จงั หวัดพิจิตร เบอรโทรศัพท ๐๘๓๒๑๗๒๐๐๙ ๕๖หมู< ๒ตําบลวังงิ้ว พระครูพิธานนวกรรม

๑๐ แหล(งเรยี นรู- ด-าน ทอ่ี ย(ู/เบอรโทรศพั ท ผ-รู บั ผดิ ชอบ/ผูด- ูแล อาํ เภอดงเจริญ จังหวัดพิจติ ร (ชัยสทิ ธ์ิ) เบอรโทรศัพท ๐๘๑๘๘๘๖๖๐๕ โรงพยาบาลสง< เสรมิ สขุ อนามัย หมท<ู ่ี ๒ตาํ บลวังงวิ้ นายอดเิ รก อินจันทร สุขภาพตําบลตําบลบ8านวงั กา8 นเหลือง อาํ เภอดงเจริญ จงั หวัดพิจิตร โรงพยาบาลสง< เสรมิ สุขอนามัย เบอรโทรศัพท ๐๕๖๖๑๙๙๐๖ สขุ ภาพตําบลบา8 นดงเจริญ หม<ทู ี่ ๗ตําบลวังง้วิ นายวิเชษฐ อย<เู ครอื อําเภอดงเจริญ จงั หวดั พิจติ ร เบอรโทรศัพท ๐๘๑๙๗๓๒๐๓๔ ๘.๓ ภูมิปญF ญา ความร-ู ความสามารถ ที่อย(ู ปราชญชาวบา- น/ภมู ิปญF ญา พิธีกรรมทางศาสนา พระครูสิรสิ ตุ โสภณ วัดสาํ นกั ขนุ เณร หมูท< ี่ ๑ ตําบลสํานกั ขุน นางกมลทิพย วชิ าโคตร การทาํ ปลาสม8 เณร อําเภอดงเจรญิ จงั หวัดพิจิตร ๖๖๒๑๐ นางสาวสมพร โตแป9น การเพาะถั่วงอก ๔๙หม<ู ๔ ตําบลสํานกั ขนุ เณร อาํ เภอ นางสาวมะลิวัลย พรมหนู การทํานาํ้ พริกกากหมู ดงเจรญิ จงั หวัดพิจิตร ๖๖๒๑๐ นายจ8อน หนูดํา หมู<ที่๖ตาํ บลสํานักขุนเณร อําเภอดงเจรญิ นางสงวน เทียมพทิ ักษ ช<างก<อสร8าง จงั หวัดพจิ ิตร ๖๖๒๑๐ นางมาลยั เคล8าเคลือ การทาํ อาหารแปรปู หมูท< ี่ ๔ตาํ บลสํานกั ขุนเณร อําเภอดงเจริญ นายประยรู พวงดํา จังหวดั พจิ ิตร ๖๖๒๑๐ นายพทิ ักษ บญุ แกว8 การทําขนม ๙๓หม<ูท่ี ๒ ตาํ บลสํานักขุนเณร อาํ เภอ นายสทุ น ชว< ยอรุ ะชน เกษตรผสมผสาน ดงเจรญิ จงั หวัดพิจติ ร ๖๖๒๑๐ นางพรรณี ม่ันหลํา่ การทาํ ไม8กวาด ๔๓ หม<ทู ่ี ๘ ตําบลวงั งิ้วใต8อาํ เภอดงเจรญิ นางวไิ ล สาทะ การปลูกพืชสมุนไพร จังหวัดพจิ ิตร ๖๖๒๑๐ นายร<ุง ทลู จนิ ดา การทําน้าํ พรกิ เพ่อื การค8า ๗๖/๑ หมูท< ี่ ๔ ตาํ บลวังงวิ้ ใต8อําเภอ นางสาวนติ ยา พุทธผล ดงเจริญ จังหวัดพิจติ ร ๖๖๒๑๐ การทําไข<เค็ม ๘๗ หมทู< ่ี ๑๐ ตําบลวงั ง้วิ ใต8อาํ เภอ การทําสบสู< มนุ ไพร ดงเจรญิ จังหวัดพจิ ิตร ๖๖๒๑๐ การทาํ พวงมาลัย ๕/๒หมูท< ่ี ๓ ตําบลห8วยพุก อําเภอดงเจริญ จงั หวดั พิจติ ร ๖๖๒๑๐ ๑๗๕ หม<ูท่ี ๑ ตําบลหว8 ยพุก อาํ เภอดง เจริญ จงั หวัดพจิ ติ ร ๖๖๒๑๐ ๖ หม<ูท่ี ๓ ตําบลหว8 ยพกุ อําเภอดงเจริญ จังหวดั พจิ ิตร ๖๖๒๑๐ ๓๓ หมท<ู ี่ ๓ ตาํ บลห8วยพุก อําเภอดงเจริญ จงั หวดั พจิ ติ ร ๖๖๒๑๐ ๖๑ หมทู< ่ี ๑๑ ตําบลหว8 ยพกุ อาํ เภอดง เจรญิ จงั หวดั พจิ ติ ร ๖๖๒๑๐ ๖๑ หม<ูท่ี ๑๑ ตําบลหว8 ยพุก อําเภอดง

๑๑ ปราชญชาวบา- น/ภมู ปิ Fญญา ความร-ู ความสามารถ ท่อี ยู( นายมงคล อินทรตา เจรญิ จงั หวดั พิจติ ร ๖๖๒๑๐ นายปรชี า วงษโท นางจําเรียง ออ< นขาํ เกษตรผสมผสาน ๑๑หมู<ที่ ๗ ตําบลหว8 ยรว< ม อําเภอดงเจรญิ นางสภุ าพ แก8วชาลี นายณรงค ฤทธิส์ ุทธ์ิ จงั หวัดพจิ ิตร ๖๖๒๑๐ นางอรพรรณ อินทรบาง นางแน<งนอ8 ย ขจรกลน่ิ เกษตรผสมผสาน ๕๖/๑ ม.๓ ตาํ บลหว8 ยรว< ม อาํ เภอดงเจริญ นางสาวประจวบ นามวงษลอื นายบญุ จร นามวงษลอื จังหวดั พิจติ ร ๖๖๒๑๐ นางสฐุ าพร อินตpะ นางสาวภสั สรา พรหมอยู< ดา8 นหัตถกรรม การจักสาน ๑๕๕ ม.๘ ตําบลห8วยรว< ม อาํ เภอดงเจรญิ นายดณัญ ฤทธ์เิ รืองเดช นางประไพ เตง็ ทอง ผักตบชวา จังหวัดพจิ ติ ร ๖๖๒๑๐ ดา8 นหตั ถกรรม การทําผลติ ภัณ ๑๗ หมู<ท่ี ๒ ตําบลหว8 ยร<วม อาํ เภอดงเจรญิ จากกะลามะพรา8 ว จงั หวัดพจิ ติ ร ๖๖๒๑๐ ด8านการแพทยแผนไทย ๙๘/๒ ม.๒ ตําบลทับคล8อ อําเภอทบั คล8อ ประยกุ ต จังหวัดพจิ ิตร๖๖๑๕๐ ด8านหตั ถกรรม การทําพรมเช็ด ๘๔ ม.๓ ตาํ บลหว8 ยรว< ม อาํ เภอดงเจริญ เทา8 จงั หวัดพจิ ติ ร ๖๖๒๑๐ เกษตรทฤษฎใี หม< ๙๘ม.๙ ตําบลหว8 ยรว< ม อาํ เภอดงเจรญิ จังหวดั พจิ ติ ร ๖๖๒๑๐ การเกษตรผสมผสาน ๔๙ หมท<ู ่ี๙ ตําบลวังง้ิว อาํ เภอดงเจริญ จงั หวดั พิจติ ร ๖๖๒๑๐ ด8านเศรษฐกจิ พอเพียง/การทํา ๔๙ หมท<ู ่ี๙ ตาํ บลวงั งิ้ว อําเภอดงเจรญิ โคก หนอง นา โมเดล จังหวัดพิจติ ร ๖๖๒๑๐ ด8านการทาํ ขนม/การทาํ ขนมปqFน ๖๐หมู< ๙ตําบลวงั งวิ้ อําเภอดงเจรญิ จงั หวัด ขลิบ พิจติ ร ๖๖๒๑๐ ดา8 นการทาํ ขนม /การทาํ ขนม ๑๔๗หมูท< ่ี ๙ตําบลวังง้วิ อาํ เภอดงเจริญ ไทย จังหวดั พจิ ิตร ๖๖๒๑๐ การเกษตรทฤษฏีใหม< ๑๑๓หม<ูท่ี ๗ตาํ บลวังงว้ิ อําเภอดงเจริญ จงั หวัดพจิ ติ ร๖๖๒๑๐ ดา8 นหัตถกรรม การทําพรมเช็ด ๑๑๙หมู<ท่ี ๑๑ตําบลวงั งวิ้ อําเภอดงเจรญิ เท8า จังหวัดพจิ ิตร ๖๖๒๑๐

๑๒ ๘.๓ ภาคเี ครอื ข(าย กจิ กรรมรว( มจัด ที่ตัง้ /ที่อย(ู บคุ ลากร / วชิ าการ/ สถานท่ี อําเภอดงเจริญ ช่ือ ภาคีเครอื ข(าย บคุ ลากร / วชิ าการ อําเภอดงเจริญ ทีว่ า< การอําเภอดงเจริญ บคุ ลากร / วิชาการ อําเภอดงเจริญ สํานกั งานสาธารณสขุ อําเภอดงเจรญิ บคุ ลากร / วชิ าการ อําเภอดงเจริญ สถานตี าํ รวจภธู รดงเจรญิ บคุ ลากร / วิชาการ อาํ เภอดงเจริญ โรงพยาบาลอําเภอดงเจริญ บคุ ลากร / วชิ าการ อาํ เภอดงเจริญ สํานกั งานเกษตรอําเภอดงเจริญ บุคลากร / วิชาการ / สถานท่ี ตาํ บลวงั งิ้วใต8 สํานักงานพัฒนาชมุ ชนอําเภอดงเจรญิ บคุ ลากร / วิชาการ / สถานท่ี ตําบลหว8 ยพุก องคการบริหารสว< นตําบลวงั งิว้ ใต8 บุคลากร / วิชาการ/สถานท่ี ตาํ บลวังงิ้วใต8 องคการบรหิ ารสว< นตําบลหว8 ยพุก บคุ ลากร / วิชาการ / สถานที่ ตําบลหว8 ยร<วม องคการบรหิ ารส<วนตาํ บลวงั งิว้ บุคลากร / วชิ าการ / สถานที่ ตาํ บลวงั บงค องคการบรหิ ารสว< นตําบลห8วยร<วม บุคลากร / วชิ าการ / สถานท่ี ตาํ บลสํานัก เทศบาลตาํ บลวงั บงค เทศบาลตําบลสาํ นักขุนเณร

๑๓ ส(วนที่ ๒ ข-อมลู พน้ื ฐานเพ่อื การวางแผน สภาพท่ัวไปของอําเภอดงเจรญิ อําเภอดงเจริญ ต้ังอย<ูทางทิศตะวันออกเฉียงใต8ของจังหวัดพิจิตร มีระยะทางห<างจากจังหวัด ประมาณ ๗๖ กิโลเมตร โดยเดินทางจากพิจิตรผ<านอําเภอตะพานหิน อําเภอทับคล8อ เข8าส<ูเขตอําเภอ ดงเจริญ (ห<างจากกรุงเทพมหานคร ประมาณ ๒๗๔ กิโลเมตร) มีเนื้อท่ีประมาณ ๒๔๓.๑๐ ตาราง กโิ ลเมตร หรอื ประมาณ ๑๕๑,๙๓๗ ไร< ทศิ เหนือ ติดตอ< กับ อําเภอทบั คล8อ จงั หวัดพิจติ ร ทิศใต8 ตดิ ต<อกับ อําเภอหนองบวั จงั หวดั นครสวรรค ทศิ ตะวันออกตดิ ตอ< กับ อาํ เภอชนแดน จงั หวัดเพชรบูรณ ทิศตะวนั ตก ติดต<อกับ อําเภอบางมูลนาก จังหวดั พิจิตร แผนที่อําเภอดงเจริญ X: ๑๖.๐๒๑๕๖๕ พิกัด Y: ๑๐๐.๕๓๔๕๙๑ อําเภอดงเจริญ สภาพพ้ืนท่ีส<วนใหญ<เปCนท่ีราบลุ<มมีความลาดเทจากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก เพราะด8านทิศตะวันออกติดต<อกับเขตจังหวัดเพชรบูรณซ่ึงเปCนภูเขาและพื้นท่ีสูงพื้นที่ของอําเภอดงเจริญไม<มี แม<น้ําไหลผ<านพ้ืนที่ ต8องอาศัยน้ําฝนและน้ําจากลําห8วยลําคลองท่ีไหลมาจากอําเภอชนแดน จังหวัดเพชรบูรณ พื้นทีเ่ หมาะกบั การเกษตรกรรม โดยเฉพาะการทาํ นาข8าว และปลกู พชื ไรบ< างสว< น ลักษณะภูมิอากาศแบง< ออกเปนC 3 ฤดู ดังน้ี ฤดรู 8อนเริ่มประมาณกลางเดอื นกมุ ภาพนั ธถงึ กลางเดอื นพฤษภาคมมอี ากาศร8อนอบอา8 ว ทั่วไปโดยเฉพาะในเดือนเมษายนเปนC เดือนทีม่ ีอากาศร8อนอบอา8 วมากท่ีสดุ ในรอบป. ฤดูฝน เริม่ ประมาณกลางเดอื นพฤษภาคมถงึ กลางเดือนตุลาคม ซ่งึ เปCนระยะท่ีมรสมุ ตะวันตกเฉียงใต8พัดปกคลุมประเทศไทย อากาศจะเร่ิมช<ุมช้ืนและมีฝนตกชุกต้ังแต<ประมาณกลางเดือน พฤษภาคมเปนC ต8นไปเดือนที่มฝี นตกมากทส่ี ุดคอื เดอื นสงิ หาคม ฤดหู นาวเร่ิมประมาณกลางเดือนตลุ าคมถงึ กลางเดือนกมุ ภาพันธซึง่ เปนC ช<วงทีม่ รสุม ตะวนั ออกเฉยี งเหนือพัดปกคลมุ ประเทศไทยอากาศโดยท่ัวไปจะหนาวเยน็ และแห8งเดอื นท่ีมอี ากาศหนาวที่สดุ คอื เดือนธันวาคมและมกราคม

๑๔ ข-อมูลด-านประชากร ตารางแสดงจํานวนประชากรจําแนกตามเพศและเขตพ้นื ท่ีอาํ เภอดงเจริญ ท่ี ตําบล ชาย หญิง รวม ครวั เรือน (คน) (คน) (คน) ๑. วังง้วิ ใต8 1,574 ๑,652 ๓,226 ๑,368 ๒. วังงวิ้ 1,940 ๑,974 ๓,914 ๑,386 ๓. ห8วยร<วม ๑,๕07 ๑,585 ๓,092 1,108 ๔. หว8 ยพุก ๑,838 1,699 ๓,737 ๑,354 ๕. สํานกั ขนุ เณร 2,754 ๒,792 ๕,546 ๑,977 รวม 9,674 10,004 19,678 7,049 ท่ีมา : สาํ นักทะเบยี นอําเภอดงเจรญิ และสาํ นกั งานทะเบียนท8องถน่ิ เทศบาลตําบลสํานกั ขุนเณร ข8อมูล ณ เดือนธันวาคม 2564 จากตารางจาํ นวนประชากรจําแนกตามเพศพบวา< อําเภอดงเจริญ มคี รวั เรือน จาํ นวน ๗,๐๔๙ ครัวเรือน มีประชากรรวมท้งั สิน้ 19,6๗๘ คน แยกเปนC ประชากรชาย จาํ นวน 9,๖๗๔ คน คิดเปCนรอ8 ย ละ ๔๙.๑๖และประชากรหญงิ จาํ นวน 10,๐๐๔ คน คดิ เปนC ร8อยละ๕๐.๘๔ความหนาแนน< เฉล่ยี ๘๐.๙๕ คน/ตารางกโิ ลเมตร ข-อมูลดา- นสงั คม ดา8 นสังคมและประเพณีและวัฒนธรรมของคนในชุมชน สภาพสงั คมของประชาชนสว< นใหญ<อยู<เปCน ครอบครัวมีวงศาคณาญาติปลูกบา8 นอย<ูในละแวกเดยี วกนั นับถอื บรรพบรุ ษุ มสี ัมมาคารวะตอ< ผม8ู ีอายุมากกว<า ฯลฯ ชาวบ8านส<วนใหญ<รอ8 ยละ 99.99 นับถือศาสนาพุทธ มวี ัดประจําหมูบ< 8านเปCนสถานทพ่ี ธิ ีกรรมทาง ศาสนา และศนู ยรวมจิตใจของชาวบา8 นทําให8เกดิ ประเพณแี ละวฒั นธรรมต<างที่สําคญั ดงั น้ี วัด , สาํ นักสงฆ จํานวน ๒๖ แห<ง ศาลเจา8 จํานวน ๑ แหง< งานสกั การะหลวงพ<อเขยี น เยี่ยมเยยี นดงเจรญิ งานนี้จะจดั ข้ึนประมาณวนั ที่ 19 - 21 ธนั วาคม ของ ทุก ๆ ป. เปนC ระยะเวลา 3 วนั ณ วดั สาํ นักขุนเณร ซงึ่ เปCนท่ีประดษิ ฐานรูปปqนF หลวงพ<อเขียน ธมฺมรกฺขติ โฺ ต ท่ี ประชาชนเคารพนับถือ โดยในงานมกี ารแข<งขันกีฬาต<าง ๆ การประกวดร8องเพลง การแข<งขันเต8นแอโรบิก ซึ่ง พธิ ีเปwดอยา< งเปCนทางการ โดยผู8ว<าราชการจังหวดั พจิ ติ ร นายอําเภอดงเจริญ พร8อมคณะส<วนราชการตา< ง ๆ จะ จดั ขนึ้ ในวนั ที่ 20 ธันวาคม ของทุก ๆ ป. (วนั ที่ 2 ของงานนี้) โดยมรี ้วิ ขบวนบายศรี จากท้งั หมด 5 ตําบล และ ตามดว8 ยขบวนจากหนว< ยงานราชการ สถานศกึ ษา กลมุ< ผ8สู ูงอายุ กลุม< ผ8ูพิการ กลมุ< พฒั นาบทบาทสตรี อาสาสมคั รป9องกนั ฝาx ยพลเรอื น อาสาสมัครสาธารณสขุ ประจําหมบู< า8 น ชมรมกาํ นนั ผ8ใู หญ<บ8าน เปนC ตน8 ขอ- มูลด-านเศรษฐกิจ ขอ8 มลู สถติ ิในป. 2562 ประชากรมีรายได8รวมกันประมาณ 765,884,269.-บาท เปนC รายได8 จาก การเกษตรประมาณ 421,236,348.-บาท รายไดน8 อกภาคการเกษตรประมาณ 344,647,921.- บาท คดิ เปCนรายไดเ8 ฉลี่ยประมาณ 234,341.73.-บาท/ครัวเรอื น/ปห. รือประมาณ 85,694.49.-บาท/คน/ป. ด8านการเกษตร

๑๕ อาํ เภอดงเจริญมีพืน้ ทเี่ กษตรกรรมทั้งสิ้นประมาณ 112,180 ไร< แบ<งเปนC พื้นทนี่ าข8าว ประมาณ 95,432 ไร<พืน้ ท่ีพชื ไรป< ระมาณ 7,265 ไรพ< ื้นที่ไม8ผล/ไม8ยืนต8นประมาณ 967 ไร< พ้นื ทีป่ ลูกผัก ประมาณ 115 ไร< มีเกษตรกรจาํ นวนประมาณ ๓,490 ครวั เรือนสภาพการผลติ พืชเศรษฐกจิ ที่สาํ คัญๆ แยกได8 ดงั น้ี ลําดบั พืชเศรษฐกจิ พ้นื ท่ีปลกู ผลผลติ ผลผลติ เฉลย่ี มลู ค<า (ไร<) (กก.) (กก./ไร<) (บาท) ๑. ข8าว (ฤดูฝน) 95,432 76,345,600 800 610,764,800 ๒. ขา8 วโพด (ฤดูฝน) 5,384 4,307,200 800 23,689,600 ๓. ออ8 ย 1,832 21,984,000 12,000 12,091,200 ๔. ถวั่ เขยี ว 2,752 275,200 100 6,329,600 ๕. มันสาํ ปะหลัง 147,000 3,000 49 249,900 ท่มี า : สาํ นักงานเกษตรอําเภอดงเจริญ ณ ส้ินป. ๒๕๖2 ด8านการปศสุ ตั ว จาํ นวน (ตวั ) ๑,425 สัตวที่เลีย้ ง 52 โคเนือ้ ๒,852 กระบือ ๒๐๕,๕๙๐ สกุ ร 7,369 ไกเ< นื้อ 99,718 ไก<ไข< 468 ไก<พนื้ เมือง 9,652 แพะ, แกะ เปCด ท่มี า : สาํ นักงานปศุสัตวอําเภอดงเจรญิ ณ สิ้นป.๒๕๖๒ ดา8 นการพาณิชย สถานประกอบการภาคเอกชน ได8แก< - ห8างหน8ุ สว< นจํากัด ภู<อย<ู (สถานบี ริการนํา้ มนั บางจาก ทางหลวงแผ<นดินหมายเลข 11) - บรษิ ทั ปตท. จํากดั (มหาชน) (สถานีบรกิ ารน้ํามนั ปตท. ทางหลวงแผน< ดนิ หมายเลข 11) - บริษัท เค ไมนง่ิ จํากดั (กิจการสัปทานเหมืองแรย< ปิ ซ่ัม) ด8านอตุ สาหกรรม - โรงสขี า8 ว จาํ นวน 4 แหง< - โรงงานประเภทตา< ง ๆ จํานวน 20 แห<ง

๑๖ ด8านบรกิ าร มี รสี อรททม่ี ใี บอนุญาตประกอบกิจการโรงแรม จํานวน ๒ แห<งไดแ8 กเ< ดอะภทั ร รีสอรท ตง้ั อยู<หม<ูที่ 4 ตําบลสํานกั ขุนเณร จาํ นวนห8องพัก ๑๑ห8อง และวงั บงครีสอรท ต้ังอยห<ู มูท< ่ี 5 ตําบลสํานักขุน เณร จํานวนหอ8 งพัก ๑๐ ห8อง ผลติ ภณั ฑชุมชนและท8องถน่ิ สินค8าหนงึ่ ตาํ บลหน่งึ ผลิตภัณฑ (OTOP) จาํ นวน๑๒๑ผลติ ภณั ฑ เชน< - ตาํ บลวงั ง้วิ : ผา8 ทอมัดหมี่ อาหารสัตว เสื้อถักด8วยโครเชต - ตาํ บลวงั งว้ิ ใต8 : กรอบรูปไม8สัก ทอผ8าพื้นเมือง กระยาสารทสตู รโบราณ ผลไม8กวน - ตาํ บลหว8 ยพกุ : ผลิตภัณฑจากกะลามะพรา8 ว เช<น ชาม กระเป|ากะลา โคมไฟ ดอกไม8 ประดิษฐจากผา8 แชมพผู สมดอกอัญชนั ไม8กวาด - ตําบลหว8 ยรว< ม : กระเปา| ผักตบชวา พรกิ แกงบ8านห8วยน้ําโจน ผา8 ห<มดน8 มอื ซุม8 ล8อเกวียน - ตาํ บลสาํ นักขนุ เณร : ข8าวปลายไรซเบอรรี่ ขา8 วหอมมะลิ สุ<มปลา โตะp ปนู ปqFนรปู สัตว ปลาส8ม ปลาจีน ปลาสม8 ปลาตะเพียน ขนมกระยาสารท กล8วยเบรกแตก แหล(งเรยี นรูใ- นชมุ ชนและทุนด-านงบประมาณท่ีสามารถนํามาใช-ประโยชนเพ่ือการจดั การศึกษา 1.ประเภทสถานท่ี ๑.๑ กศน.ตาํ บล ชอ่ื กศน.ตาํ บล ที่ตั้ง ผ-รู บั ผิดชอบ กศน. ตําบลวงั ง้ิวใต8 อาคารสํานักงานประถมศึกษา นางหนงึ่ ฤทัย นนทอง กศน. ตาํ บลวงั งวิ้ ทีท่ าํ การองคการบรหิ ารสว< นตําบลวงั งวิ้ นางสาวอภิรดี เปn.ยมพันธ กศน. ตาํ บลสํานกั ขนุ เณร ทีท่ ําการเทศบาลตาํ บลวังบงค นายอุทัย นนทอง กศน. ตาํ บลห8วยพุก ท่ที าํ การองคการบริหารส<วนตําบลห8วยพุก นางสาวทพิ วรรณ บุญอินทร กศน.ตาํ บลห8วยรว< ม ที่ทาํ การองคการบริหารส<วนตําบลหว8 ยรว< ม นางสาวกรานตมิ าพร เดชะผล ๑.๒ แหลง< เรยี นรู8 แหล(งการเรยี นร-ูและภูมิปFญญาทอ- งถ่ิน สถานท่ี เจา- ของภูมปิ Fญญา พระครสู ิริสตุ โสภณ ดร. พพิ ธิ ภัณฑภมู ิปFญญาวัดสํานักขนุ เณร หมทู< ่ี ๑ ตาํ บลสาํ นกั ขุนเณร นายประยรู พวงคํา พิพธิ ภณั ฑหลวงพ<อเขยี น นางสุฐาพร อนิ ตpะ การปลูกหนอ< ไม8ไผ<หวาน ตาํ บลวังงิ้วใต8 นางอาํ นวย ประเสริฐ นายสุรินทร พุทธสอน การจักสานตะกร8าจากเชอื กปxาน บา8 นคลองทราย หมู<ท่ี ๙ ตาํ บลวงั ง้ิว นายประเสรฐิ เหงาจนิ้ นางพรรณี มัน่ หล่าํ การเกษตรผสมผสาน บา8 นรักไท หมท<ู ่ี ๑ ตําบลสํานักขนุ เณร นายพิทักษ บญุ แก8ว นางสําราญ สจี ันทรผ<อง - ผักปลอดสาร นางสุภาพ แก8วชาลี - การทําขนมไทย - โรงสขี 8าวบ8านรกั ไทย -การทาํ ไมก8 วาดดอกหญ8า,ทางมะพร8าว บ8านวงั ตะคลอง หมู<ที่ ๓ตําบลห8วยพุก - การทํานํา้ พริกแกงเพ่ือการค8า - การทาํ น้าํ พริกแกงดง บ8านโคก หมู<ที่ ๕ ตาํ บลหว8 ยพุก - กล<ุมผลติ ภัณฑจากกะลามะพรา8 ว บา8 นหนองสนวนเหนือ หมูท< ี่ ๓ ตาํ บลห8วยร<วม

๑๗ ๒. ประเภทองคกร กิจกรรมร(วมจดั ที่ตัง้ /ท่ีอยู( บคุ ลากร / วชิ าการ/ สถานที่ อาํ เภอดงเจริญ ชือ่ ภาคเี ครอื ข(าย อําเภอดงเจริญ ที่วา< การอาํ เภอดงเจริญ บคุ ลากร / วิชาการ อาํ เภอดงเจริญ สาํ นักงานสาธารณสุขอําเภอดงเจริญ บคุ ลากร / วชิ าการ อาํ เภอดงเจริญ สถานีตํารวจภธู รดงเจริญ บุคลากร / วิชาการ อําเภอดงเจริญ โรงพยาบาลอําเภอดงเจรญิ บคุ ลากร / วชิ าการ อําเภอดงเจริญ สํานักงานเกษตรอําเภอดงเจริญ บุคลากร / วิชาการ ตําบลวังง้ิวใต8 สํานกั งานพัฒนาชุมชนอาํ เภอดงเจรญิ บคุ ลากร / วิชาการ / สถานที่ ตาํ บลหว8 ยพุก องคการบรหิ ารส<วนตาํ บลวังง้ิวใต8 บุคลากร / วิชาการ / สถานที่ ตําบลวังง้ิวใต8 องคการบรหิ ารส<วนตําบลหว8 ยพกุ บุคลากร / วชิ าการ/สถานที่ ตําบลห8วยร<วม องคการบริหารส<วนตําบลวงั งวิ้ บคุ ลากร / วชิ าการ / สถานท่ี ตําบลวงั บงค องคการบรหิ ารสว< นตาํ บลห8วยรว< ม บุคลากร / วชิ าการ / สถานท่ี ตําบลสาํ นกั เทศบาลตําบลวังบงค บุคลากร / วชิ าการ / สถานที่ เทศบาลตําบลสาํ นกั ขนุ เณร 3. แหล(งสนับสนุน ทุน/งบประมาณ ประเภทองคกร ได-แก( แหล(งสนับสนุน สถานท่ี ทุน/งบประมาณ บคุ ลากร องคการบริหารส<วนตาํ บล เทศบาลตําบล วัด ทีว่ า< การอําเภอ โรงเรยี น ชมุ ชน ผู8นําชมุ ชน โรงพยาบาล สถานีตาํ รวจ ศูนยเรียนรเ8ู ศรษฐกจิ พอเพียง สาธารณสุขอําเภอ ข-อมูลด-านการท(องเท่ียวและการบริการ ๑. งานสักการะหลวงพ<อเขียน เย่ียมเยียนดงเจริญงานนี้จะจัดขึ้นประมาณวันท่ี 19 - 21 ธันวาคม ของทุก ๆ ป. เปCนระยะเวลา 3 วัน ณ วัดสํานักขุนเณร ซ่ึงเปCนท่ีประดิษฐานรูปปFqนหลวงพ<อเขียน ธมฺมรกฺขิตฺโต ท่ีประชาชนเคารพนับถือ โดยในงานมกี ารแข<งขนั กฬี าต<าง ๆ การประกวดร8องเพลง การแข<งขันเต8นแอโรบิก ซึ่ง พิธีเปwดอยา< งเปCนทางการ โดยผู8ว<าราชการจังหวัดพิจิตร นายอําเภอดงเจริญ พร8อมคณะส<วนราชการต<าง ๆ จะ จดั ขึน้ ในวนั ท่ี 20 ธนั วาคม ของทุก ๆ ป. (วันที่ 2 ของงานน้ี) โดยมีริ้วขบวนบายศรี จากท้ังหมด 5 ตําบล และ ตามด8วยขบวนจากหน<วยงานราชการ สถานศึกษา กล<ุมผู8สูงอายุ กล<ุมผ8ูพิการ กลุ<มพัฒนาบทบาทสตรี อาสาสมคั รปอ9 งกนั ฝาx ยพลเรอื น อาสาสมคั รสาธารณสขุ ประจาํ หม<บู า8 น ชมรมกํานันผูใ8 หญบ< 8าน เปCนตน8

๑๘ ๒. วัดห8วยน้ําโจน ตั้งอย<ูหมู<ท่ี ๘ ตําบลห8วยร<วม สังกัดคณะสงฆสายมหานิกาย สร8างข้ึนเมื่อ พ.ศ. ๒๕๔๑ เดมิ มชี ื่อว<าวัดใหม<อู<ทองศรีบุญเรือง ปFจจุบันกรมการศาสนาให8ชื่อว<า “วัดห8วยน้ําโจน” ตามช่ือหม<ูบ8าน ซึ่งมีจุดเดน< คอื การลอ< งเรอื ลอดโบสถซ่งึ เปนC แห<งเดียวในจงั หวดั พจิ ติ ร ข-อมูลดา- นการคมนาคม - ทางหลวงแผน< ดนิ หมายเลข ๑๑ (เขาทราย – ตากฟา9 ) - ทางหลวงแผ<นดินหมายเลข ๑๐๖๙ (บางมูลนาก – ดงขยุ ) - ทางหลวงชนบทหมายเลข พจ 4010 (แยกทล.1069 - บา8 นปาx เรไร) - ทางหลวงชนบทหมายเลข พจ 4016 (แยกทล.1069 - บา8 นหว8 ยรว< ม) - ทางหลวงท8องถ่ิน ในเขตเทศบาลตําบลสํานักขุนเณร จํานวน 9 สาย และในเขตเทศบาลตําบลวัง บงคจาํ นวน 6 สายและในเขตองคการบรหิ ารสว< นตําบลอกี จํานวนหลายสาย ข-อมูลดา- นการไฟฟQา การบริการไฟฟ9าในอําเภอดงเจริญอยู<ในความรับผิดชอบของการไฟฟ9าส<วนภูมิภาค อําเภอดงเจริญ โดยปFจจุบันในทุกหมู<บ8านมีกระแสไฟฟ9าใช8และครัวเรือนในพ้ืนท่ีส<วนใหญ<มีไฟฟ9าใช8 แต<ในพ้ืนท่ีบางส<วนที่อยู< ห<างไกลอย<ูในเขตพนื้ ท่ที รุ กันดาร องคการบรหิ ารส<วนตาํ บลได8ดําเนินการประสานงานขอขยายเขตไฟฟ9าไปแล8ว ในด8านไฟฟ9าสาธารณะ (จุดส<องสว<าง) และองคการบริหารส<วนตําบลได8วางแผน/จัดสรรเงินงบประมาณ ประจาํ ป.เพือ่ ดาํ เนินการตดิ ตัง้ เพม่ิ เตมิ และปรับปรงุ จุดส<องสว<างสาธารณะในตําบลไว8แลว8 ขอ- มลู ดา- นการประปา อําเภอดงเจริญมีโครงการระบบประปาหมู<บ8านเพื่ออุปโภคบริโภคทุกหมู<บ8าน ครัวเรือนส<วนใหญ< ใช8น้ําประปาในการอุปโภคบริโภค ขอ- มูลดา- นการใช-โทรศัพท ครัวเรอื นสว< นใหญม< ีโทรศัพทใชใ8 นการตดิ ต<อส่ือสารท้ังโทรศัพทมือถือคิดเปCนร8อยละ 99 ของจํานวน ประชากรท้งั หมด จากการสํารวจข8อมูลอําเภอดงเจริญ ประจําป.งบประมาณ 25๖๓ พบว<าชาวบ8านกําลังประสบ ปFญหาในเรื่องรายจ<ายมากกว<ารายรับ จากการใช8จ<ายตามวัตถุนิยม ไม<ร8ูจักการประหยัดอดออม ทําให8ก<อเกิด ปFญหาหน้ีสิน ในระบบธนาคารท่ีต8องผ<อนจ<ายเปCนรายเดือนรายป.และหนี้นอกระบบ ไม<มีเงินเก็บออมใน ครัวเรือน เพ่อื ใชจ8 <ายในอนาคต รายไดจ8 ากการประกอบอาชพี หลักคือ การทําการเกษตร ทํานา ปลูกพืชไร< ขาย ผลผลิตทางการเกษตรได8เพียงป.ละ 1 ครั้ง เมื่อหักค<าใช8จ<ายและภาระหน้ีสินแล8วยังไม<เพียงพอต<อการดํารงชีพ ของครอบครัว ต8องออกไปรับจ8างเพื่อหารายได8เพิ่ม ส<วนใหญ<รับจ8างรายวัน มีบางส<วนรับจ8างในโรงงาน อุตสาหกรรมทตี่ ้ังในชุมชนรับจา8 งตามห8างรา8 นค8าตา< ง ๆ ในตัวเมือง คนกล<ุมน้ีอย<ูในวัยแรงงาน อายุไม<เกิน 39 ป. จากสถานการณผันผวนทางการเมืองส<งผลให8สภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า การจ8างงานลดลง ทําให8กลุ<มประชากร วัยแรงงานประสบปFญหาการว<างงาน ส<วนคนที่อายุ 40- 59 ป.ซ่ึง เปCนประชากรส<วนใหญ<ที่ประกอบอาชีพ ทางการเกษตร จะว<างงานในฤดูแล8ง มีการรวมกล<ุมทําอาชีพเสริมบ8างแต<ยังขาดทักษะการเรียนรู8ในการสร8าง งาน สร8างอาชพี หรอื การทงี านทําอย<างต<อเน่ืองไม<สามารถสร8างรายได8ให8เปCนกอบเปCนกําเพียงพอท่ีจะแก8ปFญหา ทางเศรษฐกิจของครอบครัวได8 จากการวิเคราะหชุมชนและกล<ุมอาชีพต<างๆ ที่มีอยู<ในชุมชนร<วมกันพบว<า การส<งเสริมการประกอบอาชีพเสริมให8กับประชาชนท่ีว<างงานจากการประกอบอาชีพหลักซ่ึงเปCนคนส<วนใหญ< ของชุมชนน<าจะเปCนทางเลือกในการแก8ไขปFญหารายได8ไม<เพียงพอกับรายจ<ายได8ทางหนึ่ง โดยพิจารณาจาก

๑๙ กล<ุมอาชีพที่มีอย<ูเดิม ร<วมถึงวิเคราะหถึงปFญหาสาเหตุในการดําเนินงานท่ีทําให8การประกอบอาชีพของกลุ<ม ไมป< ระสบความสาํ เร็จ และพบว<าประสบปFญหาด8านการบริหารจัดการกลุ<มอาชีพและกล<ุมวิสาหกิจชุมชน คือ สมาชิกในกล<ุมขาดความรู8และทักษะในการบริหารจัดการกล<ุม เช<น การประชาสัมพันธการตลาด การใช8 เทคโนโลยีในการพัฒนาอาชีพ ความร8ูเรื่องคอมพิวเตอร ท้ังน้ี หากกล<ุมได8รับการส<งเสริมความรู8ในด8านการ บรหิ ารจัดการกลมุ< และได8รับการสนับสนุนใช8วัตถุดิบในชุมชนทําให8เกิดประโยชนสูงสุด เพ่ือลดต8นทุนการผลิต โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการประกอบอาชีพ และการดํารงชีวิตก็จะแก8ปFญหาและพัฒนา อาชีพของตนเองและครอบครัวไดอ8 ยา< งตอ< เนือง นอกจากนั้น ในชมุ ชนนย้ี งั มีกล<มุ ผู8สูงอายุท่ีมีภูมิปFญญาด8านต<างๆ รวมตัวกันโดยมีหน<วยงานราชการ เขา8 ไปใชใ8 นการจัดตัง้ เปCนกลุ<ม แต<ก็ยังมีผ8ูสูงอายุอีกจํานวนไม<น8อย อยู<ในเกือบทุกครัวเรือนและบางครัวเรือนมี จํานวนหลายคน ที่ลูกหลานดูแลไม<ท่ัวถึง ยังขาดความรักและการเอาใจใส<ของคนในครอบครัว ยังขาดความร8ู ความเข8าใจในการดแู ลตนเอง มีปญF หาท้งั ทางดา8 นสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ การรวมกลุ<มผูส8 ูงอายุเพ่ือการดูแล สุขภาพร<วมกัน จึงเปCนเป9าหมายที่ทุกหน<วยงานต8องร<วมมือกันเพ่ือให8กล<ุมเป9าหมายผู8สูงอายุเหล<าน้ี รวมถึง ประชากรกลุ<มอ่ืนๆ ที่ได8รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม ได8รับการส<งเสริมสนับสนุนให8ได8รับการ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ท่ดี ีข้ัน ขอ- มูลดา- นสาธารณสขุ - โรงพยาบาลชมุ ชนขนาดเล็ก (F3) จํานวน ๑ แห<ง - โรงพยาบาลสง< เสรมิ สขุ ภาพตําบล จาํ นวน ๖ แหง< - สถานอี นามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษานวมนิ ทราชนิ ี จาํ นวน ๑แหง< ข-อมูลด-านการศกึ ษา ๑. สถานศกึ ษาสงั กดั สาํ นักงานเขตพ้นื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 41 • โรงเรียนดงเจริญพิทยาคม : โรงเรียนมัธยมศกึ ษาประจาํ อําเภอดงเจรญิ • โรงเรียนวงั ง้วิ วิทยาคม ๒. สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสงั กัด สพป.พิจิตร เขต 2 • โรงเรียนสาํ นักขุนเณร (หลวงพอ< เขยี นอุทิศ) • โรงเรยี นวังกา8 นเหลือง • โรงเรียนบ8านไดรงั (ราษฎรอุทิศ) • โรงเรียนวดั ใหมด< งเจริญ • โรงเรยี นบ8านวังกะทะ • โรงเรยี นวัดวงั เรือน • โรงเรยี นวดั หว8 ยพุก • โรงเรยี นบา8 นหนองสนวน • โรงเรยี นบ8านหนองสองห8อง • โรงเรยี นบา8 นใดลกึ • โรงเรยี นวดั ใหมว< ังหว8า • โรงเรียนอนุบาลดงเจรญิ • โรงเรียนวัดหนองงา8 ว ๒. ศนู ยพัฒนาเดก็ เลก็ ในสงั กัดองคกรปกครองส<วนทอ8 งถิ่น จํานวน ๖ แหง< ๓. ศูนยการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อําเภอดงเจริญ

๒๐ ในรอบป.ที่ผา< นมามจี าํ นวนนกั ศกึ ษาทง้ั หมด768 คน แยกตามระดบั ดังน้ี ระดับการศกึ ษา ภาคเรียนท่ี จํานวนผจู8 บ ภาคเรยี นท่ี จํานวนผูจ8 บ ๒/๒๕๖3 หลกั สูตร 1/๒๕๖4 หลักสูตร ประถมศึกษา 20 0 ๒๐ ๐ 4 มธั ยมศกึ ษาตอนต8น 86 9 83 14 ๑๐๕ มธั ยมศึกษาตอนปลาย 171 ๒๓ 178 123 สง< เสริมการร8ูหนงั สือ ๑๐๕ ๑๐๕ ๑๐๕ รวม 382 137 386 แผนภูมแิ สดงจาํ นวนเปรียบเทียบจํานวนผเ8ู รียนทีล่ งทะเบียนกับจํานวนผจู8 บหลกั สตู ร ภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖3 และภาคเรยี นท่ี ๑/๒๕๖4 ๔๕๐ ภาคเรียน ๑/๖๔ ๔๐๐ ๓๕๐ ๓๐๐ ๒๕๐ ๒๐๐ ๑๕๐ ๑๐๐ ๕๐ ๐ ภาคเรียน ๒/๖๓ ลงทะเบยี น ๓๘๒ ๓๘๖ จบหลกั สตู ร ๑๓๗ ลงทะเบยี น จบหลกั สตู ร ๑๒๓ จากข8อมูลดงั กล<าวพบวา< มีจํานวนจบหลักสูตรค<อนข8างน8อย ซ่ึงสอดคล8องกับผลการประเมินตนเองใน มาตรฐานคุณภาพผ8ูเรียน มีตัวบ<งชี้ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนค<อนข8างตํ่า ส<งผลให8ผ8ูเรียนจบหลักสูตรน8อย และ จากการสรุปผลข8อมูลผลการดําเนินงานจัดการศึกษาหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พบว<าผู8เรียนส<วนใหญ<เห็นว<าเนื้อหารายวิชาของหลักสูตรมีความหลากหลาย ยากต<อการ เรียนรู8ด8วยตนเองในเวลาอันจํากัด เน่ืองจากมีหลายวิชาที่ครูไม<มีความชํานาญเฉพาะรายวิชา ทําให8ไม<สามารถ สอนได8 แม8จะมีการสอนเสริมแต<ห8วงเวลาไม<เพียงพอที่จะเข8าใจเน้ือหาทั้งหมดสําหรับวิชาที่ยากได8 ใน ขณะเดียวกันครูต8องรับผิดชอบผ8ูเรียนต<างระดับต<างความร8ูพื้นฐาน ผู8เรียนบางกลุ<มไม<สนใจเรียนขาดความ รับผิดชอบ และการมาพบกล<ุมของผ8ูเรียนไม<เปCนไปอย<างสมํ่าเสมอ ทําให8ครูต8องจัดทําแผนการสอนที่ หลากหลาย ออกแบบการเรียนร8ูและจัดเตรียมสื่อประกอบการเรียนท่ีสอดคล8องกับผู8เรียนทุกกล<ุมทุกรูปแบบ ซ่งึ เปนC เรอื่ งยากทค่ี รจู ะสามารถทําไดค8 รบั ถว8 นสมบูรณ จึงส<งผลต<อคุณภาพของผ8ูเรียนและผลสัมฤทธ์ิท่ีค<อนข8าง ตํา่ ดังกล<าว

๒๑ ปญF หาและความตอ- งการทางการศึกษาของประชาชนท่จี าํ แนกตามลักษณะของกล(มุ เปQาหมาย ดา8 นการร8หู นังสอื ดา8 นการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ด8านอาชีพ ด8านการพัฒนาทักษะชีวิต ด8านการพัฒนาสงั คมและชมุ ชน ด8านปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ดา8 นการศกึ ษาตามอัธยาศัย กล(มุ เปาQ หมาย ปFญหาและความต-องการ แนวทางการแก-ไข กลมุ< คนที่ไมร< 8หู นังสือ/กล<ุม - ส<วนใหญจ< ะเปนC กล<ุมผส8ู งู อายจุ ะประสบ - สนับสนนุ สง< เสรมิ การรู8หนงั สอื ใน ภาวะการลมื หนังสอื ในเร่ืองปFญหาเร่ืองความจํา สายตา ฯลฯ ร8แู บบกิจกรรม เสรมิ ความจํา บรกิ าร - กลมุ< อายปุ ระมาณ 40-60 ป. ไม<มีเวลา การอ<านที่เอื้อต<อการเรียนรู8 มาเรยี นเพราะต8องทาํ งานหาเลีย้ งครอบครัว - ครูบรกิ ารจัดการเรียนการสอนถึงบ8าน หรอื สถานที่ใกลบ8 8าน มแี สงสว<างเพยี ง มี ส่ือการเรยี นการสอนท่ีจะชว< ยให8 กลุม< เป9าหมายสามารถเรยี นร8ูไดม8 ากขึน้ กลุม< วัยเด็ก กลุ<มอายุ 1-14 ป. สว< นใหญย< ังอยู<ในความ จัดทํากิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนา ดูแลของพ<อแม< เรยี นการศกึ ษาภาคบังคับ ทกั ษะชวี ิต และการศึกษาเพื่อพัฒนา ปFญหาทพ่ี บคอื เด็กในวยั นก้ี ําลงั เปCนวยั ท่ี สงั คมชมุ ชน เช<น ในเร่ืองการครอบครัว กําลงั เรียนรู8 บางคนครอบครวั ไมไ< ด8ดเู อาใจ อบอ<นุ ความร8เู ร่อื งยาเสพติด ความรู8 ใสอ< ยา< งใกลช8 ดิ กท็ าํ ให8เด็กเหล<าน้ันหลงผดิ เรือ่ งในการแก8ไขปFญหาและแนว ไปไดง8 <าย เพราะวยั น้เี ปนC วัยอยากรอู8 ยาก ทางการดําเนนิ ชีวิต ลอง กําลงั ติดเพ่ือน ทาํ ใหเ8 รยี นไมร< เ8ู รือ่ ง และเรยี นไม<จบตอ8 ง เปนC ปญF หาต<อเน่ืองไป จนถงึ การเรียนระดับมัธยมศกึ ษา กล<มุ เด็กและเยาวชน - กล<มุ อายุ 15-25 ป. ประสบปญF หาการ - ส<งเสรมิ สนบั สนนุ แนะแนว จัด (วยั เรยี น) เรียนไมจ< บการศกึ ษาในระบบโรงเรียนด8วย การศึกษานอระบบขน้ั พื้นฐาน ตาม สาเหตตุ า< งๆ เช<นปญF หาครอบครวั แตกแยก ความพร8อมและคุณสมบัตขิ องผู8เรยี นใน ปญF หาท8องในวัยเรยี น ปญF หาติดเพ่ือน ติด แตล< ะระดับ เกมออนไลท เปนC ต8น - จดั กิจกรรมพัฒนาคุณภาพผเู8 รยี นใน แล8วจึงเปCนจํานวนมาก เร่ืองตา< งๆตามคุณลกั ษณะที่พึงประสงค - กลม<ุ เป9าหมายเหล<าน้ีเมื่อเข8ามาเรยี น ของหลักสตู รและของสถานศึกษา การศึกษานอกระบบฯ ไม<มคี วาม พอเพียง รับผิดชอบในหน8าทข่ี องตนเอง จึงทาํ ใหก8 าร - จดั กิจกรรมท่ีเสริมให8กบั ผู8เรยี นตาม เรยี นไมป< ระสบผลสําเร็จเท<าท่ีควร หลักสูตรฯสง< เสริมให8ผเ8ู รียนมีทกั ษะและ ประสบการณในการดําเนินชีวติ มีจิตอาสา ชว< ยเหลือสังคม เช<น กิจกรรม ทาํ บุญตักบาตรในวันสาํ คญั ทางศาสนา พัฒนาหม<ูบา8 น วดั โรงเรยี น การปลูกปxา เปCนต8น

๒๒ กลุ(มเปQาหมาย ปญF หาและความต-องการ แนวทางการแกไ- ข กลมุ< ประชากรวัยแรงงาน - กลมุ< น้จี ะเปCนกลมุ< วยั ทํางานส<วนใหญจ< ะ ประสบปญF หาในเร่ืองการไม<มีเวลาพฒั นา - สง< เสริมสนบั สนุน แนะแนว จัด ระหว<างอายุ 25-59 ตนเองในด8านการศกึ ษาเพราะตัวงานหา การศกึ ษานอกระบบขน้ั พื้นฐาน ตาม เลย้ี งครอบครัว ความพร8อมและคุณสมบัติของผเ8ู รยี นใน กลุ<มผส8ู งู อายุ อายุ 60 ป. แต<ละระดับ ข้นึ ไป - ผ8สู ูงอายุขาดความรู8ความเข8าใจการดูแล - ส<งเสรมิ สนับสนนุ จดั กจิ กรรมการศึกษา สุขภาพตนเอง ตอ< เนื่องได8แก< การศึกษาเพ่ือพฒั นา - ผูส8 งู อายขุ าดการดูแลเอาใจใส<จาก อาชพี การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชวี ติ ครอบครัว การศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน - การสง< เสรมิ กิจกรรมสําหรับผ8ูสงู อายุขาด และการสรา8 งสังคมแหง< การเรียนรตู8 าม ความตอ< เนื่อง หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อไป สง< เสริมอาชพี ให8กลุ<มเปา9 หมายมี อาชีพ เพ่ิมรายได8ใหก8 ับตนเองและ ครอบครัว และกจิ กรรมทีเ่ สริมสรา8 ง ทักษะต<างๆในการดําเนินชีวติ โดยนํา หลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งไปสกู< าร ปฏบิ ตั ิ ใหเ8 กดิ การพฒั นาตนเอง ชมุ ชน เพ่อื สร8างสงั คมแห<งการเรียนรู8และการมี คุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น - บรกิ ารการศึกษาตามอธั ยาศัยจัด กจิ กรรมการเรียนการสอนที่ส<งเสรมิ การเรียนรูด8 8วยตนเอง คือ การมอบหมาย กรต. คอื กจิ กรรมการเรยี นร8ูตอ< เนอ่ื ง ให8 ผ8ูเรยี นไปศกึ ษาดว8 ยตนเองจาก อนิ เทอรเน็ต การอา< นหนงั สือ การไปถาม ผู8ร8ู หรอื การไปศกึ ษาจากแหล<งเรยี นร8ู ต<างๆ การจดั กจิ กรรมสง< เสริมการอา< นแก< ทุกกลมุ< เปา9 หมายประชาชนในชมุ ชน โดย บา8 นอัจฉรยิ ะ อาสาสมัครสง< เสริมการอา< น เพือ่ ใหท8 กุ คนมนี ิสยั รักการอ<าน - จดั กจิ กรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาทกั ษะ ชีวิตดา8 นการดแู ลสุขภาพอนามัย การออก กําลังกาย ฯลฯ - จดั กิจกรรมการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ ท่ีเหมาะสมกับผส8ู งู อายุ เพ่ือใหผ8 ูส8 ูงอายุมี รายได8 และมีกิจกรรมทาํ อาจจะทาํ เปCน กลมุ< หรอื เปนC บุคคลก็ได8 เช<น การจักสาน การทาํ อาหารขนม อาหารเพื่อสุขภาพ ฯลฯ

๒๓ กล(มุ เปQาหมาย ปFญหาและความต-องการ แนวทางการแก-ไข กลม<ุ ผพู8 ิการ - ปFญหาดา8 นร<างกายที่พกิ ารไม<สามารถ - ส<งเสริมสนับสนุน แนะแนว จดั ช<วยเหลอื ตนเองได8เหมอื นคนปกติ การศึกษานอกระบบขัน้ พ้นื ฐาน ตามความ - ปญF หาด8านสติปFญญา ไมส< ามารถเรยี นร8ูได8 พรอ8 มและคณุ สมบตั ิของผเ8ู รยี นในแต<ละ เหมอื นคนปกติ ระดับ - การยอมรับทางสงั คมในเรอื่ งการศึกษายงั - จดั กิจกรรมการศึกษาต<อเน่ือง และ มีไม<มากเท<าทคี่ วรเพราะครอบครวั คิดว<า กิจกรรมการศกึ ษาตามอัธยาศัยที่ พกิ ารไมต< 8องเรยี นเสียเวลา สอดคลอ8 งกับความของความต8องการและ - คนพิการขาดความม่ันใจในการเรยี น ใน ประเภทของความพิการ มคี รูสอนผพ8ู ิการ การใชช8 ีวิตในสงั คม ทาํ ใหค8 นพิการชอบเกบ็ เปนC ผู8จัดการเรยี นการสอน แบบก่ึง ตวั เงียบอยใู< นบา8 น โฮมสคูล โดยทาํ งานรว< มกบั ครู กศน. ตาํ บลในพื้นที่

๒๔ ตารางวเิ คราะหข-อมูลสภาพปFญหาสาเหตุและแนวทางแกไ- ข สภาพปญF หา/ความต-องการ สาเหตขุ องปFญหา แนวทางการแกไ- ข 1. ด-านเศรษฐกจิ - สร8างความรคู8 วามเข8าใจแก<ชมุ ชนโดย 1. ปFญหาหนีส้ ินในระบบและนอก - ใชจ8 <ายไมป< ระหยัด การส<งเสรมิ กระบวนการเรียนรตู8 ามแนว ระบบ - มีคา< นิ ยมทผี่ ดิ (วตั ถุนยิ ม) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยชุมชน มีส<วนรว< มคดิ ร<วมทาํ ร<วมแก8ปญF หา - ไม<มกี ารเก็บออในครัวเรอื น 2. การวา< งงานของประชากรวยั - สภาวะเศรษฐกจิ ตกตํ่า การจา8 ง - สง< เสริมการประกอบอาชีพเพื่อการมี แรงงาน งานลดลง งานทาํ เพ่ิมรายได8 เช<น การฝ€กทักษะ -ขาดการศึกษาเรยี นรูห8 รือการ อาชพี ระยะส้นั การรวมกลุ<มเพอ่ื พฒั นา สง< เสริมการเรยี นรู8ใหเ8 กิดอาชีพเพ่ือ อาชพี การมงี านทํา และสรา8 งรายได8 3. ผลผลติ การเกษตรตกต่ํา - มโี รคและแมลงรบกวนในพืชไร< - สง< เสริมการเรยี นร8ูการทาํ การเกษตร ต8นทนุ สูง ถกู พ<อค8าคนกลางกด ราคา และนาขา8 ว พอเพียงตามแนวปรชั ญาเศรษฐกจิ - มีคา< ใชจ8 า< ยจากการใช8ปย|ุ และยาฆา< พอเพียง แมลงในไร<นา - ส<งเสริมการทําบัญชีครวั เรือนและการ - ขาดความรูใ8 นการบรหิ ารจัดการ รวมกลุ<มเกษตรกร และการรวมกลมุ< 4. กลุ<มอาชีพ/OTOP/กองทุน - คณะกรรมการขาดความรู8ความ - การอบรมให8ความรู8การบริหารจดั การ เศรษฐกจิ ชุมชน/วิสาหกจิ ชมุ ชนมี เข8าใจการจัดการบรหิ ารจัดการกล<ุม แก<คณะกรรมการกล<ุมอาชีพ/วิสาหกจิ ปญF หาในการบริหารจดั การ - สมาชกิ ในกล<ุมขาดความรู8และ ชุมชน/กลุ<มกองทุนชมุ ชน ทกั ษะจงึ ไม<สามารถจะพัฒนากล<ุมให8 - การศกึ ษาดูงานกล<ุมอาชีพ/วสิ าหกจิ เจริญก8าวหน8าได8 ชุมชน/กลม<ุ กองทุนเศรษฐกจิ ท่ปี ระสบ - พ้ืนท่ีทาํ การเกษตรมนี อ8 ย ความสาํ เร็จ -รายไดจ8 ากอาชพี เกษตรไมเ< พียงพอ - ส<งเสริมสนับสนุนการประกอบอาชีพ เสรมิ เพ่มิ รายได8 5. การลักลอบตัดไมท8 ําลายปxา - ประชาชนยังขาดจิตสํานกึ ในการ - จดั กิจกรรมให8ความรู8และอนุรกั ษ ของประชาชน ดูแลรกั ษาปxาไม8 ทรัพยากรธรรมชาติและสง< แวดล8อมใช8 ชุมชน สภาพปFญหา/ความต-องการ สาเหตขุ องปFญหา แนวทางการแก-ไข

๒๕ 2. ด-านสงั คม - ขาดการดแู ลเอาใจใส<จากคนใน - สรา8 งความรค8ู วามเข8าใจแก<ชมุ ชน 1. ผู8สงู อายไุ ม<ได8รบั การดแู ลด8าน ครอบครัว ครอบครวั กล<มุ เปา9 หมาย โดยการ สขุ ภาพกายและสุขภาพจิต - ขาดความรค8ู วามเขา8 ใจในการดูแล จัดกิจกรรมพัฒนาทักษะชีวิต หรือ สุขภาพตวั เอง พฒั นาสังคมและชุมชน ได8แก< โครงการครอบครวั อบอน<ุ การอบรมให8 ความรดู8 า8 นการดูแลสุขภาพผู8สูงอายุ การ สอนรําไทเกกp เพื่อสุขภาพผ8ูสงู วยั 2. ผ8สู ูงอายตุ 8องการพัฒนาอาชีพ - เพอ่ื การพัฒนาและอนรุ ักษภูมิ - ส<งเสรมิ การพฒั นาอาชีพหรือฝ€ก ด8านการจักสาน ปFญญาท8องถ่ิน ทักษะอาชพี แก<กลมุ< ผ8สู ูงอายุตามความ - เพอ่ื รวมกลุ<มใช8เวลาว<างใหเ8 กดิ สนใจ ประโยชนและมีรายไดเ8 สรมิ 3. เยาวชน มบี ุตรในวัยเรียน และ - ครอบครวั แตกแยก/ขาดความ - สร8างความร8ูความเข8าใจแก<ชมุ ชน เรยี นไม<จบ ตดิ ยาเสพตดิ เหลา8 อบอน<ุ ครอบครัว กลมุ< เปา9 หมาย โดยการจัด การพนนั และเกมคอมพิวเตอร - การเล้ยี งดแู บบวัตถนุ ิยม กจิ กรรมพัฒนาทักษะชวี ติ หรอื พฒั นา สังคมและชุมชน ได8แกโ< ครงการ ครอบครวั อบอน<ุ - สนับสนนุ เดก็ และเยาวชนทไ่ี ม<จบ การศึกษาภาคบังคับหรือออกกลางคัน เขา8 เรยี นต<อการศึกษาขั้นพนื้ ฐานนอก ระบบ 3. ดา- นการศกึ ษา - สภาพทางเศรษฐกิจของครอบครัว - กระต8ุน/ส<งเสรมิ สนับสนนุ และจดั 1.จาํ นวนประชาชนผู8ไมร< 8หู นังสือ ทาํ ใหไ8 ม<มโี อกาสเรียนและบางราย กจิ กรรมส<งเสริมการร8ูหนงั สือและ และลืมหนังสอื เคยเรยี นมานานและไมม< ีโอกาสได8 กจิ กรรมสง< เสริมการตามความตอ8 งการ อา< นบอ< ยทําให8ลมื หนงั สือได8 ในพืน้ ท่ี

๒๖ ตารางวเิ คราะหการประเมินผลและปFญหาอปุ สรรคการดาํ เนนิ งานในรอบปทผ่ี (านมา ผลการประเมินปFญหาและอุปสรรค แนวทางการพฒั นา 1. การจดั หาหนงั สือเรยี นล<าชา8 และสอื่ การสอนไม< 1. การจัดหาหนังสือเรยี นให8ทันต<อการเรียนการ เพียงพอต<อการจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน สอน 2. การจัดหาส่อื การเรยี นการสอน เชน< ชดุ ทดลอง ทางวทิ ยาศาสตร ห<ุนจาํ ลองระบบตา< งๆของร<างกาย ชุด แผนท่ี 2. หลักสูตร กศน.51 มเี นือ้ หาคอ< นข8างหลากหลาย 3. การพัฒนาและปรบั ปรงุ หลักสูตร กศน.๕1 ให8 ยากตอ< ต<อการเรียนรูส8 าํ หรับกลมุ< เปา9 หมายท่มี วี ัยและ สอดคล8องกบั สภาพของกลุม< เป9าหมายการศึกษานอก พ้ืนฐานความรทู8 ่ีแตกตา< ง ระบบ 3. ครูมภี ารกิจค<อนข8างมากต8องรับผิดชอบผ8เู รียนต<าง 4. การจัดทําชดุ การเรียนการสอนในแต<ละรายวิชา ระดับต<างความรู8พ้นื ฐาน ผู8เรียนบางกลุม< ไมส< นใจเรยี น ให8ผเู8 รียนได8เรยี นร8ดู 8วยตนเองโดยมคี รูช<วยเตมิ เต็ม ขาดความรบั ผดิ ชอบ และการมาพบกลมุ< ของผเ8ู รียนไม< เนอื้ หาทผี่ 8ูเรยี นไม<เขา8 ใจ และการจัดทําแบบทดสอบ เปนC ไปอยา< งสมาํ่ เสมอทาํ ใหไ8 ม<สามารถจดั ทาํ แผนการ ใหส8 อดคล8องกบั เนื้อหาในหนงั สือชุดวชิ าทเี่ รียน สอนทีม่ คี ุณภาพให8กบั ผูเ8 รยี นทุกคนไดส8 <งผลใหผ8 8ูเรยี นมี ผลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นจากการประเมนิ ตํ่าและมี 5. การจดั สรรงบประมาณให8สอดคล8องกับเป9าหมาย จาํ นวนผูจ8 บหลักสตู รนอ8 ย ของการจัดกิจกรรมที่กาํ หนดให8ผูร8 บั บริการสามารถ ฝ€กทกั ษะอาชีพไปสู<การประกอบอาชีพได8จริง 4. การดําเนนิ งานจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาอาชีพ 6. การประสานงานขอสนบั สนนุ งบประมาณจาก ประสบปญF หาด8านงบประมาณและวัสดุอปุ กรณไม< หนว< ยงานสว< นท8องถนิ่ เพยี งพอในการฝ€กทักษะอย<างตอ< เนอื่ ง 5. การดําเนนิ งานการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิตและ งานการศึกษาเพ่ือพัฒนาสงั คมและชุมชมประสบปFญหา งบประมาณและวัสดุอุปกรณในการดําเนินงานไม< เพียงพอ ไม<สอดคล8องกบั จํานวนกลม<ุ เปา9 หมาย ผู8รับบรกิ าร

๒๗ สว( นที่ ๓ ทศิ ทางการดาํ เนินงานของ กศน.อาํ เภอ ผลการวเิ คราะหสภาพแวดลอ- ม การวิเคราะห (SWOT) ของ กศน.อําเภอดงเจริญ การวเิ คราะหจุดแข็ง จุดอ(อน โอกาส และอุปสรรค (SWOT) สถานศึกษาได8ประชุมบุคลากรเพ่ือร<วมกันประเมินสถานการณของสถานศึกษา โดยใช8การวิเคราะห สภาพแวดล8อมและศักยภาพ (SWOT Analysis) ในการกําหนดจุดแข็ง และจุดอ<อนจากสภาพแวดล8อมภายใน สถานศึกษา รวมท้ังโอกาสและอุปสรรคจากสภาพแวดล8อมภายนอกสถานศึกษา อันเปCนปFจจัยต<อการจัด การศึกษาของสถานศึกษา เพ่ือนําผลไปใช8ในการกําหนดทิศทางการดําเนินงานของสถานศึกษา ซึ่งได8ผลการ ประเมนิ สถานการณของสถานศึกษา ดงั น้ี ๑.๑ จุดแข็ง : ๑.๑.๑ สถานศึกษา กศน.อาํ เภอดงเจริญ มีความม่นั คงแข็งแรง สาธารณปู โภคครบถว8 น ๑.๑.๒ วสั ดุอปุ กรณ ครุภณั ฑ เพียงพอต<อการปฏิบตั งิ าน ๑.๑.๓ บคุ ลากรมคี วามรกั ความสามัคคี จึงไดร8 บั ความร<วมมือทาํ ให8การปฏิบัติงานบรรลุตามเป9าหมาย ๑.๑.๔ บคุ ลากรได8รบั การพัฒนาเพม่ิ ประสิทธิภาพในการปฏบิ ตั ิหนา8 ทอี่ ย<างตอ< เนือ่ ง ๑.๑.๕ มีครู กศน. ตําบลครบทุกตําบล ๑.๑.๖ คณะกรรมการสถานศึกษาใหค8 วามสาํ คัญและใหค8 วามร<วมมอื ในการปฏิบัตงิ านเปนC อย<างดี ๑.๑.๗ ผบ8ู ริหารมีความสามารถในถา< ยทอดการส่ือสารเปCนอย<างดี ๑.๑.๘ มกี ารนิเทศ กํากบั ติดตามและประเมนิ ผลอยา< งตอ< เน่ือง ๑.๒ จดุ อ(อน : ๑.๒.๑ บุคลากรสว< นใหญเ< ปนC คนนอกพนื้ ท่ีทําให8การปฏบิ ตั งิ าน และการประสานงานไม<คลอ< งตวั ๑.๒.๒ บคุ ลากรจบการศึกษาหลากหลาย ไม<จบวุฒิครู และไม<มีความมัน่ คงในอาชีพจึงทําให8ขาด ขวัญ กําลังใจในการปฏบิ ตั ิงาน ๑.๒.๓ บคุ ลากรอัตราจ8างเปล่ียนแปลงบ<อยทาํ ใหข8 าดความตอ< เนื่องในการปฏิบตั งิ าน ๑.๒.๔ บุคลากรขาดความรค8ู วามเข8าใจเร่อื งการจัดทําหลักสูตร การเขียนแผนการสอน การสอน แบบบรู ณาการ การประเมนิ ผลการศึกษา และการทาํ วจิ ัยในชน้ั เรยี น ๑.๒.๕ ผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น และประสิทธิผลในการจดั การศกึ ษานอกระบบ ยังตาํ่ กว<าเกณฑท่กี ําหนด ๑.๒.๖ วัสดุอุปกรณท่ีจําเปCนในการปฏิบัติงานมีอย<ูจํากัดและด8อยคุณภาพเช<น ขาดครุภัณฑ (คอมพวิ เตอรตง้ั โตะp ) ฯลฯ ๑.๒.๗ อาคารของ กศน. ตําบล ไม<มคี วามมน่ั คงแข็งแรง ๑.๓ โอกาส : 1.3.1 ศูนยการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาํ เภอดงเจริญ มนี โยบายและ กาํ หนดเรื่องเรง< ด<วนสอดคลอ8 งกบั แผนพัฒนาการศึกษาของสาํ นักงาน กศน. จงั หวัดพิจิตร 1.3. 2 ผอ8ู าํ นวยการสถานศึกษา ให8ความสาํ คญั กับการจดั ทาํ แผนพฒั นาการศกึ ษาและนาํ ไปส<กู ารปฏิบตั ิ 1.3.3 ภาคเี ครือข<ายทกุ ภาคสว< นใหก8 ารสนับสนุนความร<วมมือขบั เคล่ือนการดาํ เนนิ งานอย<างดี 1.3.4 กศน. ตาํ บลส<วนใหญ<ตง้ั อย<ูในกลางชุมชนสง< ผลให8การบริการเปCนไปอย<างสะดวกและทัว่ ถึง 1.3.5 สํานกั งาน กศน.จงั หวดั พิจติ รส<งเสริมสนบั สนนุ การนาํ เสนอผลงานและนิทรรศการ 1.3.6 สํานกั งาน กศน.จงั หวดั พิจิตรให8ความสําคัญดา8 นการพัฒนาศกั ยภาพครู กศน.

๒๘ ๑.๓.๗ องคกรปกครองส<วนท8องถนิ่ ใหก8 ารสนับสนุน ด8านวสั ดุ/อปุ กรณ/อาคารสถานที่ และบุคลากร ในการจัดกิจกรรมเปนC อยา< งดี ๑.๔ อปุ สรรค : 1.4.1 กฎ/ระเบยี บ ของหน<วยงานตรวจสอบยงั ไม<เอือ้ ต<อการดําเนนิ งานของสถานศึกษา 1.4.2 ประชาชนบางสว< นยงั เหน็ ความสาํ คัญของการศกึ ษาและการเข8ารว< มกจิ กรรมกบั กศน. น8อย ๑.๔.๓ ประเพณที อ8 งถ่นิ และบริบทของชมุ ชนสง< ผลตอ< การจัดกิจกรรมการเรยี นรู8 ๑.๔.๔ วิถีชีวิตของกลุ<มเป9าหมายส<วนใหญ<เปCนเกษตรกรรม และผู8ใช8แรงงานทําให8ยากต<อการ รวมกลุ<ม และสนใจเรอื่ งปากท8อง การทาํ มาหากินมากกวา< การเรยี นรู8 ๑.๔.๕ วิสยั ทัศนของผ8นู าํ องคกรปกครองสว< นทอ8 งถ่นิ ถ8าใหก8 ารสนบั สนุนทางการการศึกษา ส<งผล ทําใหส8 ามารถจัดการศกึ ษามีความครอบคลุม และท่ัวถึงทกุ พืน้ ที่ ๑.๔.๖ นโยบายของต8นสังกัดมีภารกิจมากเกินเม่ือเทียบกับบุคลากรที่มีทําให8ไม<สามารถ ดาํ เนนิ งานอยา< งมีคุณภาพในเวลาจาํ กัด ๑.๔.๗ การจัดสรรงบประมาณล<าช8าทําให8ไม<สามารถให8บริการได8อย<างรวดเร็วส<งผลให8ต8องเร<ง การจดั กิจกรรมเปCนเหตุใหป8 ระสิทธภิ าพในการดําเนนิ งานลดลง ๑.๔.๘ บุคลากรอัตราจ8างมีข8อจํากัดในการเข8ารับการพัฒนาส<งผลให8การปฏิบัติงานด8อย ประสิทธิภาพ ทศิ ทางการดําเนินงานของ กศน.อาํ เภอ แนวทางการพัฒนา ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอดงเจริญ โดยผู8บริหาร ครู ผู8เรียน คณะกรรมการสถานศึกษา อาสาสมัคร กศน.และประชาชนในอําเภอดงเจริญ มีส<วนร<วมในการกําหนด ปรัชญา วิสัยทัศน อัตลกั ษณ จดุ เน8น/จุดเด<นการดําเนนิ งาน พนั ธกิจ และเปา9 ประสงค ภายใต8กรอบปรัชญา วิสัยทัศน เอกลักษณ อัตลักษณของสํานักงาน กศน.จังหวัดพิจิตร โดยมีกลยุทธการดําเนินงานจัดการศึกษา นอกระบบและอัธยาศัย ภายใต8โครงการ/กิจกรรม ที่สอดคล8องกับข8อมูลสภาพปFญหาและความต8องการของ กลุ<มเป9าหมายและข8อมูลผลการประเมินตนเองในรอบป.ท่ีผ<านมาไปใช8ในการจัดทําแผนปฏิบัติการประจําป. แผนพัฒนาคุณภาพการศกึ ษา เพือ่ เปCนเครื่องมือในปฏิบัติงานการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาในพ้ืนท่ีให8มี ประสิทธภิ าพโดยมที ิศทางการพัฒนา ดงั นี้ วสิ ัยทศั น “ส<งเสริม สนับสนุน การจัดการศกึ ษาตลอดชีวิต และการศึกษาเพอ่ื พฒั นาอาชีพอยา< งมีคุณภาพ ท่วั ถงึ กา8 วทนั เทคโนโลยี มที กั ษะชวี ติ เกิดสงั คมแห<งการเรียนร8ู อยูอ< ย<างมั่นคง ยั่งยืน” อัตลกั ษณ “ ใฝxเรียนรสู8 ู<คณุ ลักษณพอเพียง ” อตั ลักษณคุณธรรมของสถานศึกษา “พอเพียงรับผดิ ชอบจติ อาสา” เอกลักษณ “เครอื ข<ายเดน< เน8นการบรหิ ารจดั การตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง”

๒๙ ปรัชญา “คิดเปCนเน8นคุณธรรม น8อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” จดุ เนน- จุดเดน( การทํางาน 1. จุดเน8นการดําเนินงาน โดยการจดั การศึกษาให8ชุมชนเปCนฐานแหง< การเรยี นรู8 และสร8างโอกาส ทางการศึกษาที่มีความเปCนธรรมให8กับประชาชนทุกกลุ<ม ได8แก< กล<ุมผ8ูด8วย ผู8พลาด และขาดโอกาสทาง การศกึ ษา 2. จดุ เด<น การบริการจดั การเรยี นร8ู โดยใช8 กศน.ตําบลเปนC ฐานแหง< การเรียนรู8 เปนC ศูนยกลางการ ประสานงานใหเ8 กดิ การมสี ว< นร<วมของภาคเี ครอื ข<ายทกุ ภาคสว< นในการจัดกิจกรรมการเรียนรู8ให8กับประชาชนใน พื้นที่ โดยการพัฒนา กศน.ตําบลให8มีศักยภาพและความพร8อมในการบริการ การเรียนรู8แก< ประชาชนทุกกล<ุม อยา< งท่วั ถึง พันธกิจ ๑. จดั และสง< เสรมิ การศกึ ษาขน้ั พื้นฐานนอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย และการเรียนร8ตู ลอด ชีวิตท่มี ีคณุ ภาพ น8อมนาํ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง เพอื่ ยกระดบั การศึกษา และคุณภาพชีวิตใหก8 บั ประชาชนกลมุ< เป9าหมายสู<การสร8างสังคมแห<งการเรียนรู8ตลอดชีวติ อยา< งทวั่ ถึง ๒. จดั และส<งเสรมิ ใหผ8 ูเ8 รยี นผ8ูรบั บริการมีสมรรถนะและทกั ษะในการดาํ รงชีวิตที่เหมาะสมกบั ชว< งวัย สอดคลอ8 งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง และพร8อมรับกบั การเปล่ียนแปลง ๓. จัดและส<งเสรมิ การศกึ ษาอาชีพของประชาชนให8สามารถสร8างสรรค และพัฒนาอาชีพ สร8าง รายได8เพื่อการมีงานทาํ อย<างยั่งยนื ๔. ส<งเสริมสนับสนนุ ให8ภมู ิปญF ญาท8องถ่นิ /ผ8เู ชี่ยวชาญด8านตา< งๆเขา8 มามสี <วนรว< มในการถ<ายทอด ความรู8 และจดั กิจกรรมการเรียนร8ูในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๕. พฒั นาหลกั สูตรรูปแบบการจัดกจิ กรรมการเรยี นร8ู สอ่ื นวตั กรรม การวดั และประเมินผลในรูปแบบ ต<างๆ ให8สอดคล8องกับสภาพปจF จุบัน ๖. พฒั นาระบบบริหารจดั การให8มีประสทิ ธิภาพภายใต8การบรหิ ารจัดการตามหลักธรรมาภิบาล ๗. ภาคเี ครอื ขา< ยมสี <วนร<วมสง< เสรมิ สนบั สนนุ และจัดการศกึ ษานอกระบบและการเรยี นรตู8 ลอดชีวติ เปาQ ประสงค ๑. กลุ<มเป9าหมายผู8รับบริการทุกกล<ุม ทุกช<วงวัย มีความรู8ความสามารถรอบด8านเพียงพอต<อการ ดํารงชีวิต อย<างมีความสุขในสงั คมแหง< การเรียนร8ู พบพ้นื ฐานของแนวคดิ เศรษฐกิจพอเพียง ๒. กลม<ุ เปา9 หมายมอี าชีพและสามารถพฒั นาอาชพี เพ่อื สร8างรายได8ให8กับตนเองและครอบครัวได8อยา< ง ยั่งยืน ๓. ภูมิปญF ญาทอ8 งถ่นิ สามารถถ<ายทอดองคความรท8ู ีเ่ ปนC ประโยชนในการจัดการศกึ ษานอกระบบ การศกึ ษาตามอัธยาศัยและการศึกษาตลอดชีวิต อยา< งตอ< เนือ่ ง ๔. กล<ุมเป9าหมายมีความร8ู ทักษะในการใช8เทคโนโลยสี ารสนเทศเพ่อื การส่ือสาร และแสวงหาข8อมูล ความร8ทู เ่ี ปCนประโยชน ในการศกึ ษานอกระบบการศกึ ษาตามอธั ยาศัยและการศึกษาตลอดชีวิต ๕. ภาคีเครือข<ายมีสว< นรว< มในการส<งเสริมการจดั การศึกษานอกระบบ การศึกษาตามอัธยาศยั และ การศึกษาตลอดชีวิต ๖. กศน.ตําบล เปCนศูนยกลางในการจัดกจิ กรรมการเรียนรกู8 ารศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตาม อัธยาศยั และเปนC แหล<งเรยี นร8ูการจดั การศกึ ษาตลอดชีวิตของชุมชน

๓๐ เปQาประสงคและตัวชีว้ ัดตามความสําเรจ็ เป9าประสงค ตัวชีว้ ัด 1. กล<ุมเปา9 หมายผรู8 ับการบริการทกุ กลมุ< ทุกชว< งวัย มี ความรคู8 วามสามารถรอบดา8 นเพียงพอต<อการดํารงชวี ิตอย<าง 1. รอ8 ยละกลุ<มเป9าหมายผ8รู ับบริการการจัดการศึกษา มีความสขุ ในสงั คมแห<งการเรียนรู8 บนพื้นฐานของแนวคิด แต<ละประเภท เศรษฐกิจพอเพยี ง 2. ร8อยละของผูจ8 บหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้นื ฐานแต<ละ ระดับมีผลสมั ฤทธิ์การเรียนเฉลี่ย≥ 2.00 2. กลุ<มเป9าหมายมีอาชีพและสามารถพัฒนาอาชพี เพ่อื สร8าง 3. ร8อยละของกลุ<มเป9าหมายรว< มกจิ กรรมพัฒนาผ8ูเรียน รายได8ให8กับตนเองและความครวั ไดอ8 ย<างย่งั ยืน 4. รอ8 ยละของกลมุ< เป9าหมายมคี ณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค ตามจุดมุง< หมายของหลกั สูตร 3. ภูมิปFญญาท8องถ่นิ สามารถถา< ยทอดองคความรู8ที่เปCน 5. รอ8 ยละของกลุ<มเปา9 หมายผ8ูรับบรกิ ารการศึกษาทกุ ประโยชนในการจัดการศึกษานอกระบบการศึกษาตาม ประเภทสามารถนําความรู8ไปใชพ8 ัฒนาคุณภาพชีวติ ได8 อัธยาศัยและการศึกษาตลอดชวี ิต อย<างต<อเน่ือง 6. ร8อยละของกลม<ุ เป9าหมายมคี วามพึงพอใจต<อการเขา8 ร<วมกิจกรรมการเรียนรูท8 กุ ประเภท 4. กลุ<มเป9าหมายมคี วามรู8 ทักษะในการใชเ8 ทคโนโลยี 7. จาํ นวนครง้ั ของการจดั บริการหอ8 งสมุดเคลือ่ นท่ี สารสนเทศเพ่ือการสื่อสาร และแสวงหาข8อมูลความรู8ทีเ่ ปCน 8. จาํ นวนกิจกรรมสง< เสรมิ การเรียนร8ูตามอัธยาศยั ต<อ ประโยชน ในการศึกษานอกระบบการศกึ ษาตามอัธยาศัย เดอื น และการศกึ ษาตลอดชีวติ 1. รอ8 ยละของกลม<ุ เป9าหมายเข8าร<วมกิจกรรมพฒั นา 5. ภาคเี ครือขา< ยมสี ว< นร<วมในการส<งเสรมิ การจัดการศึกษา อาชพี 2. ร8อยละของกลม<ุ เป9าหมายผร8ู ับบรกิ ารการศึกษาเพ่ือ พัฒนาอาชีพสามารถนําความรไู8 ปใช8พัฒนาอาชพี สร8าง รายได8หรอื การมีงานทําใหต8 นเองและครอบครวั ได8 3. ร8อยละของกลุ<มผรู8 บั บรกิ ารมีความพึงพอใจต<อการ เขา8 รว< มกิจกรรมพัฒนาอาชีพ 1. จาํ นวนภูมปิ ญF ญาท8องถ่ินให8ความรว< มมือ สนบั สนนุ การจัดกจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย 2. ร8อยละของผ8ูรับริการมคี วามพงึ พอใจในการจัด การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั โดยภมู ิ ปญF ญาท8องถ่ิน 1. รอ8 ยละของกลุม< เป9าหมายผร8ู ับบริการไดเ8 ข8าร<วม กิจกรรมการเรยี นร8ดู า8 นเทคโนโลยี 2. รอ8 ยละของกลุ<มเปา9 หมายผู8รบั บรกิ ารสามารถใช8 ประโยชนจากเทคโนโลยีในการแสวงหาข8อมลู ความร8ู ดว8 ยตนเองได8 3. รอ8 ยละของกล<มุ เป9าหมายผร8ู ับบรกิ ารพงึ พอใจตอ< การใหบ8 ริการการเรยี นรูใ8 นการใชเ8 ทคโนโลยีจดั กิจกรรม การเรียนรขู8 อง กศน.ตําบล 1. จาํ นวนภาคเี ครือข<ายทมี่ สี <วนร<วม ส<งเสริม สนับสนนุ

๓๑ เป9าประสงค ตวั ชีว้ ัด นอกระบบ การศึกษาตามอธั ยาศัยและการศึกษาตลอดชีวิต การจดั กจิ กรรมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตาม 6. กศน.ตําบล เปนC ศูนยกลางในการจัดกิจกรรมการเรียนร8ู อัธยาศยั การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั และเปCน 2. รอ8 ยละของเป9าหมายภาคีเครือข<ายมสี <วนร<วมในการ แหลง< เรียนรก8ู ารจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ ของชมุ ชน จัดการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั 1. รอ8 ยละของผใ8ู ช8บรกิ ารพึงพอใจต<อการบรกิ ารขอ8 มูล และการจัดการศึกษาของกศน.ตาํ บล 2. กศน.ตําบลผา< นเกณฑการประเมนิ ตามมาตรฐาน กศน.ตาํ บลในระดบั ดขี ้นึ ไปได8 แนวทางการดําเนนิ งาน กลยทุ ธที่ 1 จัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั โดยชุมชนเปนC ฐานแหง< การเรยี นรู8 ๑. โครงการสง< เสริมการอา< น ๒. โครงการพัฒนาคณุ ภาพคุณภาพผูเ8 รยี น ๓. โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาอาชีพ ๔. โครงการจดั การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวิต ๕. โครงการจัดการศึกษาเพ่ือพฒั นาสงั คมและชุมชน ๖. โครงการชุมชนสรา8 งสังคมแห<งการเรยี นร8ตู ามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๗. โครงการการศกึ ษาตามอัธยาศยั (๑) กจิ กรรมการศึกษาตามอธั ยาศยั (๒) กิจกรรมบ8านหนังสือชมุ ชน (๓) การส<งเสรมิ การเรยี นร8ูในชมุ ชน ตัวชว้ี ัดความสําเร็จ ๑. ร8อยละ 80 ของกลมุ< เป9าหมายเข8ารับบริการการจัดการศกึ ษาแตล< ะประเภท ๒. รอ8 ยละ 80 ของผูจ8 บหลกั สตู รการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐานแตล< ะระดับมีผลสมั ฤทธกิ์ ารเรียนเฉลย่ี ≥ 2.00 ๓. รอ8 ยละ 80 ของกลุม< เป9าหมายมีคุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงคตามจดุ ม<ุงหมายของหลักสตู ร ๔. รอ8 ยละ 80 ของกล<ุมเปา9 หมายผร8ู บั บรกิ ารการศกึ ษาทุกประเภทสามารถนําความร8ูไปใชพ8 ฒั นา ในระดบั ดีขึน้ ไป ๕. รอ8 ยละ 80 ของกลุ<มเปา9 หมายมคี วามพึงพอใจต<อการเข8าร<วมกิจกรรมการเรยี นร8ทู กุ ประเภท ใน ระดบั ดีข้นึ ไป ๖. มีการจดั บริการหอ8 งสมดุ เคล่ือนทอ่ี ยา< งนอ8 ยเดือนละ 1 ครัง้ ๗. มกี ารจดั กิจกรรมส<งเสริมการเรยี นรตู8 ามอัธยาศยั อยา< งน8อยเดือนละ 1 กิจกรรม กลยุทธท่ี 2 จดั กิจกรรมพฒั นาผ8ูเรยี นใหม8 ีคุณภาพ มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม ยดึ ค<านิยมหลักการดาํ เนิน ชวี ิตและมคี วามใฝxรู8ใฝเx รยี น อย<างต<อเนื่องตลอดชวี ิต ๑. กิจกรรมคา< ยต8านภยั ยาเสพติด

๓๒ ๒. กจิ กรรมคา< ยคุณธรรมจรยิ ธรรม ๓. กจิ กรรมพฒั นาความรค8ู วามสามารถดา8 นเทคโนโลยี ตวั ชว้ี ัดความสําเรจ็ ๑. รอ8 ยละ 80 ของกลมุ< เป9าหมายเข8าร<วมกิจกรรมพฒั นาผเ8ู รียน ๒. รอ8 ยละ 80 ของกล<ุมเป9าหมายผ8เู ข8ารว< มกจิ กรรมสามารถนําความร8ูไปใช8ประโยชนในการ พัฒนา ตนเองได8 ๓. ร8อยละ 80 ของกลุม< เป9าหมายมีความพงึ พอใจต<อการเข8ารว< มกิจกรรมการเรียนรใ8ู นระดับดีขน้ึ ไป กลยทุ ธที่ 3 ใชส8 ่อื เทคโนโลยีทางการศึกษาทีห่ ลากหลาย เพอ่ื เพ่มิ ประสทิ ธิภาพในการเรียนการสอน และสง< เสริมสนบั สนุนใหผ8 เู8 รียนได8เรียนร8ผู า< น ETV และแสวงหาความรจู8 ากการใช8สื่อเทคโนโลยที ี่หลากหลาย ๑. โครงการพฒั นาความร8ูความสามารถดา8 นเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒. โครงการการเรยี นรก8ู ารใชเ8 ทคโนโลยีท่ีเหมาะสม ตวั ชว้ี ดั ความสาํ เร็จ ๑. ร8อยละ 80 ของกลุม< เป9าหมายผูร8 บั บริการได8เขา8 รว< มกจิ กรรมการเรียนรด8ู 8านเทคโนโลยี ๒. ร8อยละ 80 ของกลมุ< เป9าหมายผูร8 ับบริการสามารถใช8ประโยชนจากเทคโนโลยีในการแสวงหา ข8อมูลความรูด8 ว8 ยตนเองได8 ๓. ร8อยละ 80 ของกลม<ุ เป9าหมายผ8รู บั บริการพึงพอใจต<อการให8บรกิ ารการเรยี นรู8ในการใช8 เทคโนโลยีจดั กจิ กรรมในระดับดีขึน้ ไป กลยุทธท่ี 4 จดั ศนู ยฝ€กอาชีพชมุ ชนในตําบลใหเ8 ปนC ศนู ยกลางในการเรยี นร8ู สาธิตฝ€กทักษะ และ สรา8 งอาชพี แก<ประชาชนกล<มุ เป9าหมายโดยจัดกระบวนการเรียนรู8โดยชุมชนเปนC ฐาน เพือ่ พัฒนาอาชีพที่ สอดคล8องกับความต8องการของชมุ ชนอย<างแท8จรงิ ๑. โครงการศูนยฝ€กอาชีพชมุ ชน ๒. โครงการ ๑ อาํ เภอ ๑ อาชพี ตัวช้วี ัดความสําเร็จ ๑. ร8อยละ 80 ของกลุ<มเป9าหมายเขา8 รว< มกิจกรรมพฒั นาอาชีพ ๒. รอ8 ยละ 80 ของกลุ<มเป9าหมายผ8รู ับบริการการศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพสามารถนําความรไู8 ปใช8 พฒั นาอาชีพ สร8างรายไดห8 รือการมงี านทาํ ให8ตนเองและครอบครัวได8 ๓. รอ8 ยละ 80 ของกล<ุมผ8ูรับบริการมีความพงึ พอใจตอ< การเข8าร<วมกจิ กรรมพัฒนาอาชีพในระดับ ดี ข้นึ ไป กลยทุ ธท่ี 5 ประสานความร<วมมอื กับแหลง< เรียนร8ู ภูมปิ Fญญาและภาคีเครอื ข<ายทุกภาคส<วนใหม8 ี สว< นรว< มในการจดั การศึกษาและพฒั นา กศน.ตาํ บลให8เปนC ศูนยกลางในการจัดการศึกษานอกระบบและ การศึกษาตามอัธยาศัย ๑. โครงการประชมุ ปฏบิ ัตกิ ารจัดทาํ แผนพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาและแผนปฏบิ ัติการประจาํ ป. ร<วมกบั ภาคเี ครือข<าย ๒. โครงการอบรมคณะกรรมการและอาสาสมคั ร กศน. ตําบล ตัวชีว้ ดั สาํ เร็จ ๑. จาํ นวนแหลง< เรยี นรู8 ภมู ปิ ญF ญาและภาคีเครือข<ายมีส<วนร<วม สง< เสริม สนบั สนนุ การจดั กิจกรรม

๓๓ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยเพ่มิ ข้นึ ๒. ร8อยละ 80 ของเป9าหมายภาคีเครือขา< ยมสี ว< นรว< มในการจัดการศกึ ษานอกระบบและ การศกึ ษา ตามอัธยาศยั ๓. ร8อยละ 80 ของผู8รับบริการมีความพึงพอใจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศยั โดยภูมิปญF ญาทอ8 งถ่ิน กลยุทธที่ 6 พัฒนาระบบการติดตามประเมินผลการดาํ เนินงาน กศน.ตาํ บลอย<างตอ< เน่ืองให8เปCนไป ตามมาตรฐานการดาํ เนินงาน กศน.ตาํ บล ๑. โครงการพัฒนา กศน.ตาํ บลให8เปนC ศูนยกลางแห<งการเรียนรู8ตามมาตรฐาน กศน.ตําบล ตวั ชว้ี ดั ความสาํ เร็จ ๑. รอ8 ยละ 80 ของผูใ8 ชบ8 ริการพงึ พอใจต<อการบรกิ ารข8อมูลและการจัดการศึกษาของ กศน.ตาํ บล ในระดับดีขน้ึ ไป ๒. กศน.ตําบลผ<านเกณฑการประเมินตามมาตรฐาน กศน.ตําบลในระดับดีข้ึนไปได8 นโยบายและจุดเน-นการดําเนินงาน สาํ นกั งาน กศน.ประจําปงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖5 ยทุ ธศาสตรชาติ 20 ป. (พ.ศ. 2561 - 2580) ไดก8 าํ หนดแผนแมบ< ทประเด็นการพัฒนาศักยภาพคน ตลอดช<วงชีวิต โดยมีแผนย<อยที่เก่ียวข8องกับการใช8การศึกษาเปCนเครื่องมือในการขับเคลื่อนได8แก< แผนย<อย ประเด็นการพัฒนาการเรียนรู8 และแผนย<อยประเด็นการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช<วงชีวิต ที่มุ<งเน8นการสร8าง สภาพแวดล8อมท่ีเอื้อต<อการพัฒนา และเสริมสร8างศักยภาพมนุษย การพัฒนาเด็กตั้งแต<ช<วงการตั้งครรภจนถึง ปฐมวยั การพฒั นาช<วงวัยเรยี น/วัยรุ<น การพัฒนาและยกระดับศักยภาพวัยแรงาน รวมถึงการส<งเสริมศักยภาพ วัยผ8ูสูงอายุ ประเด็นการพัฒนาการเรียนร8ู ที่ตอบสนองต<อการเปล่ียนแปลงในศตวรรษท่ี 21 และพหุปFญญา ของมนุษยทีห่ ลากหลาย ประกอบกับแผนการปฏริ ูป ประเทศด8านการศึกษา นโยบายรัฐบาลทั้งในส<วนนโยบาย หลักด8านการปฏิรูปกระบวนการเรียนร8ู และการพัฒนาศักยภาพ คนตลอดช<วงชีวิต และนโยบายเร<งด<วนเร่ือง การเตรียมคนไทยส<ูศตวรรษที่ 21 ตลอดจนแผนพัฒนาประเทศอ่ืน ๆ ที่เกี่ยวข8อง อาทิ แผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห<งชาติฉบบั ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2568) นโยบายและแผนระดับชาติ ว<าด8วยความม่ันคงแห<งชาติ พ.ศ. 2562 2568) โดยคาดหวังว<าการพัฒนาศักยภาพคนตลอดช<วงชีวิต ประชาชนจะได8รับ การพัฒนาการ เรียนร8ูให8เปCนคนดี คนเก<งมีคุณภาพ และมีความพร8อมร<วมขับเคล่ือนการพัฒนาประเทศส<ูความมั่นคง มั่งคั่ง และย่ังยืน และกระทรวงศึกษาธิการ ได8กําหนดนโยบายและจุดเน8น ประจําป.งบประมาณ พ.ศ.2565 ข้ึนเพื่อ เปCน เข็มม<ุงของหน<วยงานภายใต8กระทรวงศึกษาธิการ ขับเคล่ือนการดําเนินงานให8บรรลุตามวัตถุประสงคของ แผนตา< ง ๆ ดังกล<าว สํานักงาน กศน. เปCนหน<วยงานที่มีภารกิจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ตระหนัก ถึงความสําคัญของการพัฒนาคนตลอดช<วงชีวิต ได8ม<ุงมั่นขับเคล่ือนภารกิจหลักตามแผนพัฒนา ประเทศ และนโยบาย และจุดเน8นของกระทรวงศึกษาธิการ ท่ีคํานึงถึงหลักการบริหารจัดการท้ังในเรื่องหลัก ธรรมาภิบาล หลักการกระจาย อํานาจ การใช8ประโยชนจากเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร การมุ<งเน8น ผลสัมฤทธิ์ และปฏบิ ตั ิการดา8 นข8อมูลขา< วสาร การสรา8 งบรรยากาศในการทํางานและการเรียนร8ู ตลอดจนการใช8 ทรัพยากรด8านการจัดการศึกษาอย<างมีคุณภาพ โดยเน8น การพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับ การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต<อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย ใน 4 ประเด็นใหญ< ประกอบด8วย การ จัดการเรียนร8ูคุณภาพ การสร8างสมรรถนะและทักษะคุณภาพ องคกร สถานศึกษา และแหล<งเรียนร8ูคุณภาพ และการบริหารจัดการคุณภาพ อันจะนําไปสู<การสร8างโอกาสและลดความเหล่ือมล้ํา ทางการศึกษา การ

๓๔ ยกระดับคุณภาพและเพิ่มประสิทธิภาพการให8บริการสําหรับทุกกลุ<มเป9าหมาย และสร8างความพึงพอใจ ให8กับ ผู8รับริการ โดยได8กําหนดนโยบายและจุดเน8นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําป.งบประมาณ พ.ศ. 2565 ดังนี้ หลักการ กศน. เพื่อประชาชน “ก8าวใหม< : ก8าวแห<งคุณภาพ” นโยบายและจุดเน8นการดําเนินงาน สํานักงาน กศน. ประจําปง. บประมาณ พ.ศ. 2555 1. ด-านการจดั การเรียนรู-คุณภาพ 1.1 น8อมนาํ พระบรมราโชบายส<กู ารปฏบิ ัติ รวมท้ังส<งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงานโครงการ อนั เน่อื งมาจากพระราชดําริทกุ โครงการ และโครงการอนั เก่ยี วเนือ่ งจากราชวงศ 1.2 ขับเคล่ือนการจัดการเรียนรู8ท่ีสนองตอบยุทธศาสตรชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีว<าการ และรัฐมนตรชี <วยว<าการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 1.3 ส<งเสริมการจัดการศึกษาเพ่ือเสริมสร8างความม่ันคง การสร8างความเข8าใจท่ีถูกต8อง ในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนร8ูท่ีปลูกฝFงคุณธรรมจริยธรรม สร8างวินัย จิตสาธารณะ และอุดมการณ ความยดึ มั่นในสถาบนั หลักของชาติ รวมถงึ การมจี ติ อาสา ผา< นกจิ กรรมตา< งๆ 1.4 ปรับปรุงหลักสูตรทุกระดับทุกประเภทให8สอดรับกับการพัฒนาคน ทิศทางการพัฒนา ประเทศ สอดคล8องกบั บริบทที่เปลย่ี นแปลง ความต8องการและความหลากหลายของผเ8ู รียน/ผ8ูรับบริการ รวมถึง ปรบั ลด ความหลากหลายและความซํ้าซอ8 นของหลักสูตร เชน< หลักสตู รการศกึ ษาสาํ หรบั กลมุ< เปา9 หมายบนพื้นที่ สงู พนื้ ที่พิเศษ และพ้ืนทชี่ ายแดน รวมทง้ั กลมุ< ชาติพันธุ 1.5 ปรับระบบทดสอบ วัดผล และประเมินผล โดยเน8นการใช8เทคโนโลยีเปCนเครื่องมือให8ผู8เรียน สามารถเขา8 ถงึ การประเมินผลการเรียนรู8ได8ตามความต8องการ เพื่อการสร8างโอกาสในการเรียนรู8 ให8ความสําคัญ กับ การเทียบระดับการศึกษา และการเทียบโอนความรู8และประสบการณ พัฒนาระบบการประเมินสมรรถนะ ผู8เรียน ให8ตอบโจทยการประเมินในระดับประเทศและระดับสากล เช<น การประเมินสมรรถภาพผ8ูใหญ< ตลอดจนกระจายอํานาจ ไปยังพ้ืนท่ใี นการวัดและประเมินผลการเรียนร8ู 1.6 สง< เสริมการใช8เทคโนโลยใี นการจัดหลกั สตู รการเรยี นร8ูในระบบออนไลนด8วยตนเองครบวงจร ต้ังแต<การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษา ต<อเนื่อง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพ่ือเปCนการสร8างและขยายโอกาสในการเรียนรู8ให8กับ กล<ุมเปา9 หมายทส่ี ามารถเรียนรู8 ไดส8 ะดวก และตอบโจทยความต8องการของผเ8ู รยี น 1.7 พัฒนา Digital Learning Platform แพลตฟอรมการเรียนรู8ของสํานักงาน กศน. ตลอดจน พัฒนาส่ือการเรียนร8ูท้ังในรูปแบบออนไลนและออฟไลน และให8มีคลังส่ือการเรียนรู8ที่เปCนส่ือที่ถูกต8องตาม กฎหมาย ง<ายต<อการสืบค8นและนําไปใชใ8 นการจดั การเรียนรู8 1.8 เรง< ดําเนินการเร่อื ง Academic Credit-bank System ในการสะสมและเทียบโอนหน<วยกิต เพือ่ การสรา8 งโอกาสในการศึกษา 1.9 พัฒนาระบบนิเทศการศึกษา การกํากับ ติดตาม ทั้งในระบบ On-Site และ Online รวมทั้ง ส<งเสริมการวิจัยเพ่ือเปCนฐานในการพัฒนาการดําเนินงานการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อธั ยาศัย 2. ด-านการสรา- งสมรรถนะและทกั ษะคุณภาพ 2.1 ส<งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิตทเี่ นน8 การพฒั นาทกั ษะที่จําเปCนสําหรับแต<ละช<วงวัย และ การจัดการศกึ ษาและการเรียนรู8ทเ่ี หมาะสมกับแตล< ะกลมุ< เป9าหมายและบรบิ ทพ้ืนที่

๓๕ 2.2 พัฒนาหลักสูตรอาชีพระยะส้ันท่ีเน8น New skill Up skill และ Re-Skill ที่สอดคล8องกับ บริบท พื้นท่ี ความต8องการของกลุ<มเป9าหมาย ความต8องการของตลาดแรงงาน และกลุ<มอาชีพใหม<ที่รองรับ Disruptive Technology 2.3 ยกระดับผลิตภัณฑ สินค8า บริการจากโครงการศูนยฝ€กอาชีพชุมชน ที่เน8น “ส<งเสริมความร8ู สร8างอาชีพ เพิ่มรายได8 และมีคุณภาพชีวิตที่ดี” ให8มีคุณภาพมาตรฐาน เปCนที่ยอมรับของตลาด ต<อยอดภูมิ ปFญญาท8องถิ่น เพื่อสร8างมูลค<าเพิ่ม พัฒนาสู<วิสาหกิจชุมชน ตลอดจนเพิ่มช<องทางประชาสัมพันธและช<องทาง การจาํ หน<าย 2.4 ส<งเสริมการจัดการศึกษาของผู8สูงอายุเพ่ือให8เปCน Active Ageing Workforce และมี Life Skill ในการดํารงชีวิตทเี่ หมาะกบั ช<วงวยั 2.5 ส<งเสริมการจัดการศึกษาที่พัฒนาทักษะท่ีจําเปCนสําหรับกล<ุมเป9าหมายพิเศษ เช<น ผู8พิการ ออทสิ ติก เดก็ เรร< <อน และผ8ูด8อยโอกาสอ่ืนๆ 2.6 ส<งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด8านภาษาให8กับบุคลากร กศน. และผ8ูเรียนเพื่อ รองรบั การพัฒนาประเทศ 2.7 สง< เสรมิ การสรา8 งนวตั กรรมของผูเ8 รียน กศน. 2.8 สร8าง อาสาสมัคร กศน. เพ่ือเปCนเครือข<ายในการส<งเสริม สนับสนุนการจัดการศึกษาตลอด ชวี ติ ในชุมชน 2.9 ส<งเสริมการสร8างและพัฒนานวัตกรรมของบุคลากร กศน. รวมท้ังรวบรวมและเผยแพร< เพอื่ ให8 หน<วยงาน / สถานศกึ ษา นําไปใช8ในการพัฒนากระบวนการเรยี นรูร8 <วมกัน 3. ดา- นองคกร สถานศึกษา และแหล(งเรยี นร-ูคุณภาพ 3.1 ทบทวนบทบาทหนา8 ทขี่ องหนว< ยงาน สถานศึกษา เช<น สถาบัน กศน.ภาค สถาบันการศึกษา และพัฒนาตอ< เนอื่ งสริ นิ ธร สถานศกึ ษาขึ้นตรงสังกัดส<วนกลาง กลุ<มสํานักงาน กศน.จังหวัด ศูนยฝ€กและพัฒนา ราษฎรไทย บรเิ วณชายแดน เพือ่ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการขบั เคลอื่ นการจัดการศกึ ษาตลอดชวี ติ ในพ้ืนที่ 3.2 ยกระดับมาตรฐาน กศน.ตําบล และศูนยการเรียนรู8ชุมชนชาวไทยภูเขา “แม<ฟ9าหลวง” (ศศช.) ใหเ8 ปCนพ้ืนท่ีการเรียนรูต8 ลอดชีวิตที่สาํ คญั ของชุมชน 3.3 ปรบั รปู แบบกจิ กรรมในห8องสมุดประชาชน ท่ีเน8น Library Delivery เพ่ือเพิ่มอัตราการอ<าน และการรหู8 นงั สอื ของประชาชน 3.4 ให8บริการวิทยาศาสตรเชิงรุก Science@home โดยใช8เทคโนโลยีเปCนเครื่องมือนํา วิทยาศาสตร ส<ชู ีวติ ประจาํ วันในทกุ ครอบครวั 3.5 ส<งเสริมและสนับสนุนการสร8างพ้ืนที่การเรียนรู8 ในรูปแบบ Public Learning Space/ Co- (eaming Space เพ่อื การสรา8 งนิเวศการเรยี นร8ใู หเ8 กิดขน้ึ สังคม 3.6 ยกระดับและพัฒนาศูนยฝ€กอาชีพราษฎรไทยบริเวณชายแดน ให8เปCนสถาบันพัฒนาอาชีพ ระดับภาค 3.7 ส<งเสรมิ และสนบั สนนุ การดําเนินงานของกลม<ุ กศน. จงั หวัดให8มปี ระสทิ ธิภาพ

๓๖ 4. ด-านการบรหิ ารจัดการคุณภาพ 4.1 ขับเคลอื่ นกฎหมายว<าด8วยการส<งเสริมการเรยี นร8ตู ลอดชวี ติ ตลอดจนทบทวนภารกิจบทบาท โครงสร8างของหน<วยงานเพ่ือรองรบั การเปล่ียนแปลงตามกฎหมาย 4.2 ปรับปรุงกฎหมาย ระเบยี บ คาํ สัง่ และข8อบังคับต<าง ๆ ให8มีความทันสมัย เอื้อต<อการบริหาร จดั การ และการจัดการเรยี นร8ู เช<น การปรับหลักเกณฑค<าใช8จา< ยในการจดั หลกั สูตรการศกึ ษาตอ< เนอื่ ง 4.3 ปรับปรุงแผนอัตรากําลัง รวมทั้งกําหนดแนวทางที่ชัดเจนในการนําคนเข8าส<ูตําแหน<ง การ ย8าย โอน และการเลื่อนระดับ 4.4 ส<งเสริมการพัฒนาบุคลากรทุกระดับให8มีความร8ูและทักษะตามมาตรฐานตําแหน<งให8ตรงกับ สายงาน และทักษะที่จําเปนC ในการจัดการศกึ ษาและการเรยี นรู8 4.5 ปรบั ปรุงระบบการจัดสรรทรัพยากรเพ่ือการศึกษาให8มีความครอบคลุม เหมาะสม เช<น การ ปรับค<าใชจ8 า< ยในการจดั การศกึ ษาของผู8พิการ เด็กปฐมวยั 4.6 ปรับปรุงระบบฐานข8อมูลสารสนเทศด8านการศึกษาเพื่อการบริหารจัดการอย<างเปCนระบบ เชน< ข8อมลู การรายงานผลการดาํ เนินงาน ข8อมูลเดก็ ตกหล<นจากการศึกษาในระบบ เด็กเร<ร<อน ผ8ูพกิ าร 4.7 สง< เสรมิ การใชเ8 ทคโนโลยีสารสนเทศเปCนเคร่ืองมือในการบรหิ ารจดั การอย<างเตม็ รปู แบบ 4.8 ส<งเสริมพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐสู<ระบบราชการ 4.0 และการประเมิน คุณภาพ และความโปรง< ใสการดําเนนิ งานของภาครฐั (ITA) 4.9 เสริมสร8างขวัญและกําลังใจให8กับข8าราชการและบุคลากรทุกประเภทในรูปแบบต<าง ๆ เช<น ประกาศ เกยี รตคิ ุณ การมอบโล< / วุฒิบตั ร 4.10 ส<งเสริมการมีส<วนร<วมของภาคีเครือข<ายทุกภาคส<วน เพ่ือสร8างความพร8อมในการจัด การศึกษา นอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั และการส<งเสริมการเรยี นรต8ู ลอดชวี ิตสาํ หรบั ประชาชน

๓๗ ส(วนท่ี 4 รายละเอียดแผนงาน/โครงการประจําปงบประมาณพ.ศ. 2565 ในปง. บประมาณพ.ศ. 2565 ศนู ยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอําเภอดงเจรญิ มีโครงการต<าง ๆ ในแผนปฏิบัติการประจําป.งบประมาณพ.ศ. 2565จํานวน๒๐โครงการท่ีต8องปฏิบัติงานตาม นโยบายและจุดเน8นการดําเนินงานท่ีสําคัญของสํานักงานส<งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย (สํานักงานกศน.) ตามบทบาทภารกิจของหน<วยงานและความต8องการของประชาชนกล<ุมเป9าหมาย ในพน้ื ทีด่ าํ เนนิ การ ๑. จุดเน-นการดําเนนิ งานของงาน/โครงการสาํ คญั ของ กศน.อาํ เภอดงเจรญิ ในปงบประมาณ พ.ศ. 2565 1. โครงการการจดั การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน 2. โครงการพฒั นาคณุ ภาพผ8เู รยี น 3. โครงการสง< เสริมการรูห8 นังสือ ๔. โครงการจัดการศกึ ษาเพื่อพัฒนาทักษะชวี ติ ๕.โครงการจดั การศึกษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชมุ ชน ๖. โครงการจัดการศึกษาตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๗. โครงการศูนยฝก€ อาชพี ชุมชน ๘. โครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย ๙. โครงการจดั อบรมหลกั สตู รการดแู ลผูส8 ูงอายุ หลักสูตร ๗๐ ชม. ของกระทรวงศกึ ษาธิการ 10. โครงการการจดั และสง< เสริมการจัดการศกึ ษาตลอดชีวติ เพอื่ คงพฒั นาการทางกาย จติ และ สมองของผู8สูงอายุ 11. โครงการภาษาตา< งประเทศเพื่อการสือ่ สารดา8 นอาชพี 12. โครงการนิเทศนิเทศและตดิ ตามผลแบบม<ุงผลสมั ฤทธ์ิ 13. โครงการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา 14. โครงการประชุมคณะกรรมการสถานศกึ ษา บุคลากรและภาคีเครือข<าย กศน.อาํ เภอดงเจริญ ประจาํ ป.งบประมาณ 2565 15. โครงการพัฒนาแหล<งเรียนรู8 16. โครงการพัฒนาบุคลากร ๑7. โครงการพฒั นาเศรษฐกิจดิจิทลั สช<ู ุมชน 18. โครงการเทียบระดับการศกึ ษา 19. โครงการอาสาสมคั ร กศน. 20. โครงการการระดมทรพั ยากรและความรว< มมือจากภาคีเครือข<าย

๓๘ ๒. นอ- มนาํ ศาสตรพระราชา ๑. โครงการจัดการศกึ ษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๒. โครงการพัฒนาผ8เู รยี น ๓. โครงการพัฒนาบคุ ลากร ๓. ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา 1. โครงการจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน (กลุ<มเป9าหมายปกติ) 2. โครงการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน (กล<มุ เปา9 หมายพิการ) 3. โครงการเทียบระดับการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน ๔. โครงการสง< เสรมิ การรู8หนงั สือ 5. โครงการจัดการศึกษาตามอธั ยาศัย 6. โครงการจัดอบรมหลักสตู รการดแู ลผู8สงู อายุ หลักสตู ร ๗๐ ชม. ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร 7. โครงการการจัดและส<งเสรมิ การจัดการศึกษาตลอดชวี ิตเพ่อื คงพัฒนาการทางกาย จติ และสมอง ของผ8สู งู อายุ 8. โครงการภาษาตา< งประเทศเพื่อการสื่อสารดา8 นอาชพี 9. โครงการนิเทศเพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย 10. โครงการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา ๑1. โครงการพฒั นาบุคลากร ๑2. โครงการพัฒนาคุณภาพผเู8 รยี น

๓๙ 1. โครงการ การจัดการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 1. ช่ือโครงการ การจัดการศกึ ษานอกระบบระดบั การศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน 2. ความสอดคล-อง ความสอดคล-องกบั นโยบาย ๑. สอดคล-องกับกรอบยทุ ธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2561 – 2580) ดา8 นที่ 1 ยทุ ธศาสตรดา8 นความมนั่ คง ด8านที่ 3 ยุทธศาสตรดา8 นการพฒั นาและเสรมิ สรา8 งศักยภาพทรพั ยากรมนษุ ย ดา8 นท่ี 4ยทุ ธศาสตรชาติด8านการสรา8 งโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ๒. สอดคล-องกบั นโยบายและจดุ เนน- การดําเนินงานสาํ นกั งาน กศน. ประจําปงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๕ 1. ดา8 นการจดั การเรียนร8ูคุณภาพ 1.1 น8อมนําพระบรมราโชบายส<ูการปฏิบัติรวมทั้งส<งเสริมและสนับสนุนการดําเนินงาน โครงการอันเน่อื งมาจากพระราชดาํ รทิ กุ โครงการ และโครงการอันเกี่ยวเนอื่ งจากราชวงศ 1.2 ขับเคล่ือนการจัดการเรียนรูท8 ่สี นองตอบยุทธศาสตรชาติและนโยบายของรัฐมนตรีว<าการ และรฐั มนตรีชว< ยวา< การกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 ส<งเสริมการจดั การศึกษาเพ่ือเสริมสร8างความมั่นคง การสร8างความเข8าใจท่ีถูกต8องในการ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย การเรียนรูท8 ี่ปลูกฝงF คณุ ธรรมจริยธรรม สร8างวินยั จิตสาธารณะ อุดมการณความ ยึดม่ันในสถาบันหลักของชาติ การเรียนรู8ประวัติศาสตรของชาติและท8องถิ่น และหน8าท่ีความเปCนพลเมืองท่ี เข8มแขง็ รวมถึงการมจี ิตอาสา ผา< นกิจกรรมต<างๆ 2. ดา8 นการสรา8 งสมรรถนะและทกั ษะคณุ ภาพ ส<งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ท่ีเน8นการพัฒนาทักษะที่จําเปCนสําหรับแต<ละช<วงวัยและ การจัดการศกึ ษาและการเรยี นร8ูท่ีเหมาะสมกบั แต<ละกลม<ุ เป9าหมายและบริบทพ้นื ที่ ๓. สอดคลอ- งกับมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีจํานวน3 มาตรฐานประกอบด8วย มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผูเ8 รียนการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจัดการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐานท่ีเนน8 ผ8ูเรียนเปนC สาํ คัญ มาตรฐานท่ี 3 คณุ ภาพการบริหารจัดการของสถานศึกษา 4.สอดคลอ- งกับหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง 2 เงอ่ื นไข เงอ่ื นไขความรู- 1. กลม<ุ เปา9 หมายมีความรู8 ความเข8าใจในสาระการเรยี นรู8ทั้ง ๕ สาระ 2. กล<ุมเปา9 หมายมภี มู ิคมุ8 กันในการแก8ไขปญF หา 3. กล<ุมเป9าหมายมกี ารบรหิ ารจัดการชีวติ ของตนเองให8อยู<ในสังคมได8อย<างมีความสุข 4. กล<ุมเป9าหมายสามารถนําองครู8ทีไ่ ดร8 บั สก<ู ารปฏบิ ตั ไิ ดอ8 ยา< งเปCนรูปธรรม เง่ือนไขคุณธรรม 1. กลุม< เปา9 หมายมีความขยนั 2. กลมุ< เป9าหมายมีความอดทน 3. กล<ุมเป9าหมายมคี วามซอ่ื สตั ย

๔๐ 3 หลักการ พอประมาณ ๑. เนอ้ื หาสาระสอดคลอ8 งกบั มาตรการเรยี นในสาระการเรียนรทู8 ้ัง ๕ สาระ ๒.โครงการมคี วามสอดคล8องกับความต8องการของกล<มุ เป9าหมาย มเี หตมุ ีผล 1. เพือ่ ให8กลุ<มเปา9 หมายมีความร8คู วามเขา8 ใจในโครงสร8างหลกั สูตร 2. เพ่อื ใหส8 อดคล8องกบั นโยบายและจดุ เน8น 3.เพื่อเปCนส่อื ในการจัดกิจกรรมการเรยี นร8ู มภี ูมิคุ-มกนั ในตวั ทีด่ ี สถานศกึ ษาสามารถจดั การเรยี นร8ูได8ตามแผนการเรียนรู8 4 มิติ มติ ิวัตถุ กลุม< เปา9 หมายสามารถเรยี นร8ตู ามแผนการเรยี นร8ใู นเวลาท่ีกาํ หนดและคมุ8 ค<า มิติสังคม 1. กลมุ< เปา9 หมายสามารถอยรู< ว< มกับสังคมได8อยา< งมคี วามสุข 2. กล<ุมเปา9 หมายสามารถนาํ องคความรู8ไปใช8และสามารถขยายผลองคความร8ูสู<ชุมชนด8วย ความเอ้อื เฟ˜qอเผื่อแผ< มติ ิส่ิงแวดล-อม อาคาร กศน.ตําบลมีบรรยากาศน<าเรียนร8ู เหมาะสมกับการเรียนร8ูและเอ้ืออํานวยต<อการ เรียนรข8ู องผเ8ู รียน มิติวัฒนธรรม กลม<ุ เป9าหมายสามารถขยายผลสู<ภมู ปิ Fญญาครอบครัวชุมชนสงั คมไดอ8 ยา< งเหมาะสม 3 ศาสตรพระราชา ศาสตรพระราชา 1. ครแู ละกลุ<มเป9าหมาย สามารถ “ศกึ ษาขอ8 มูลอยา< งเปCนระบบ” 2. ครูและกล<มุ เป9าหมาย สามารถปฏิบัติงานโดย “ทําตามลาํ ดับขั้น” ขององคความรู8 3. ครแู ละกลุม< เปา9 หมาย สามารถปรับองคความร8ู ให8เหมาะสมกับกล<ุมเป9าหมาย โดย\"ไม< ตดิ ตาํ รา” 4. ครูและกลุ<มเป9าหมาย ได8ดําเนินการจัดการองคความรู8โดย \"การมีส<วนร<วม” ของ ครู ผเู8 รยี น ภมู ิปFญญา และ ภาคีเครือขา< ย 5. กลุ<มเป9าหมายสามารถดําเนินชวี ติ โดย \"การพ่งึ ตนเอง” ได8อยา< งเหมาะสม ศาสตรภมู ิปFญญา ครูนาํ ศาสตรภูมิปFญญามาบูรณาการในการจัดการเรียนรู8 ได8อย<างค8ุมค<าและเหมาะสมกับ เน้อื หาสาระ ศาสตรสากล 1. ทักษะชวี ิต 2.การแกป8 ญF หา 3. การบรหิ ารจัดการชวี ิต

๔๑ 3. หลกั การและเหตุผล ด8วยสาํ นักงาน กศน. มีนโยบายให8สถานศึกษาดําเนินการจัดการศึกษาให8กับประชาชนในพื้นที่ โดย การสนับสนุนค<าจัดซ้ือตําราเรียน ค<าจัดกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู8เรียน และค<าเล<าเรียนอย<างท่ัวถึง และ เพียงพอเพื่อเพ่ิมโอกาสในการรับการศึกษาที่มีคุณภาพโดยไม<เสียค<าใช8จ<าย โดยการจัดการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานให8กับกล<ุมเป9าหมายผู8ด8อย พลาด และขาดโอกาสทางการศึกษา ทั้งระบบการ ให8บริการ ระบบการเรียนร8ู ระบบการวัดและประเมินผลการเรียนผ<านการเรียนแบบเรียนร8ูด8วยตนเอง การ พบกล<ุม การเรียนแบบช้นั เรียน การจดั การศึกษาทางไกล มีการประเมินเพ่ือเทียบระดับการศึกษา และการ เทียบโอนความรู8และประสบการณที่มีความโปร<งใส ยุติธรรม ตรวจสอบได8 มีมาตรฐานตามที่กําหนดและ สามารถตอบสนองความต8องการของกล<ุมเป9าหมายได8อย<างมีประสิทธิภาพ โดยผ8ูเรียนต8องเรียนร8ูและเข8าร<วม กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งเปCนกิจกรรมเสริมสร8างความสามัคคี บําเพ็ญสาธารณะประโยชนและส<งเสริม การปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปCนประมุข เช<น กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี และยุวกาชาด กิจกรรมจิตอาสา การจัดต้ังชมรม/ชุมนุม และเปwดโอกาสให8ผ8ูเรียนนํากิจกรรมการบําเพ็ญ ประโยชนอื่น ๆ นอกหลกั สตู รมาใช8เพิ่มช่ัวโมงกจิ กรรมให8ผ8ูเรียนจบตามหลักสูตรได8 เพ่ือให8ประชาชนมีระดับ การศกึ ษาทสี่ ูงข้ึน ครูและผู8เรียนต8องเขา8 ใจวิธีการเรียนท่ีหลากหลายด8วยแผนการเรียนที่หลากหลายและความ แตกต<างของบุคคล มีการออกแบบเน้ือหากิจกรรมการเรียนร8ูท่ีมีประสิทธิภาพภายใต8 “วิธีเรียน กศน.” ซึ่ง สามารถจัดการเรียนรไู8 ด8หลายรูปแบบ ในป.งบประมาณ256๕ ศูนยการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอําเภอดงเจริญ มี บทบาทภารกจิ หลักในการจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานให8กับประชาชนในพื้นท่ี5 ตําบล ของอําเภอดงเจริญ ภายใต8 “วิธีเรียน กศน.” ซ่ึงสามารถจัดการเรียนร8ูได8หลายรูปแบบและสอดคล8องกับ ผู8เรียนทุกช<วงวัย โดยมี กศน.ตําบลเปCนกลไกในการขับเคล่ือน และจัดการเรียนร8ูให8กับผู8เรียนตามหลักสูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551ท่ีมีการบูรณาการการใช8แหล<งเรียนร8ูภูมิ ปFญญาท8องถ่ินและภาคีเครือข<ายเข8ามามีส<วนร<วมในการจัดการศึกษา จึงได8จัดโครงการการจัดการศึกษานอก ระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน ข้ึน 4. วัตถุประสงค ๑.เพอื่ สรา8 งโอกาสทางการศึกษาใหก8 บั กลุม< เปา9 หมาย ให8ไดร8 ับการศึกษาอยา< งทัว่ ถึงและเสมอภาค ๒.เพ่ือยกระดบั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นข ของกล<ุมเป9าหมายใหส8 ูงขนึ้ ๓.เพื่อพัฒนาคุณภาพชวี ิตของกลมุ< เป9าหมายใหเ8 ปนC ไปตามคุณลักษณอนั พึงประสงคของสถานศกึ ษา 4.เพื่อพัฒนากล<ุมเป9าหมายให8สามารถนําเทคโนโลยีมาปรับใช8ในการดําเนินชีวิตได8อย<างเหมาะสม โดยใชก8 ระบวนการคิดวเิ คราะห บนพืน้ ฐานคุณธรรมและหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ๕. เปาQ หมาย เชิงปริมาณ 1. ประชาชนผู8ดอ8 ย ผ8พู ลาดและผ8ูขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนทัว่ ไปท่อี ยนู< อก ระบบโรงเรียน เขา8 ร<วมกิจกรรม จํานวน ๔๐0 คน 2. จัดการเรียนรูต8 ามโครงสร8างหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน พุทธศกั ราช๒๕๕๑ ในภาคเรยี นท่ี ๒/๒๕๖๔ และภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๕ เชงิ คณุ ภาพ ๑. ประชาชนผด8ู อ8 ย ผ8ูพลาดและผ8ูขาดโอกาสทางการศกึ ษา รวมท้ังประชาชนท่วั ไปที่อย<ูนอก ระบบโรงเรียน ในพ้ืนที่อําเภอดงเจริญ ให8ได8รับการศึกษาอย<างท่ัวถึงและเสมอภาค ร8อยละ ๑๐๐ ตาม เปา9 หมายเชงิ ปรมิ าณทีส่ ถานศึกษากาํ หนด

๔๒ ๒. กลุ<มเปา9 หมายมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี นทส่ี ูงข้นึ เปนC ไปตามคา< เปา9 หมายทีส่ ถานศกึ ษากาํ หนด โดยเฉลยี่ ไม<นอ8 ยกวา< รอ8 ยละ ๘๐ ๓. กลุ<มเปา9 หมายโดยเฉลีย่ ไมน< 8อยกว<าร8อยละ ๘๐ ไดร8 บั การพัฒนาคุณภาพชีวิต ให8เปCนไปตาม คุณลักษณอันพึงประสงคของสถานศึกษาและได8รับการพัฒนาให8สามารถนําเทคโนโลยีมาปรับใช8ในการดําเนิน ชีวิตได8อย<างเหมาะสมโดยใช8กระบวนการคิดวิเคราะหบนพ้ืนฐานคุณธรรมและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๔. กลุ<มเปา9 หมายมีความพงึ พอใจการดาํ เนนิ งานในภาพรวมอยู<ในระดบั ดี 6. วธิ กี ารดาํ เนินงาน ที่ กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค กลมุ( เปาQ หมาย เปาQ หมาย พนื้ ที่ ระยะเวลา งบประมาณ ๘ คน ดําเนนิ การ ๑. ข้ันสํารวจ (S) ๑๓ คน - สํารวจขอ8 มูลความ - เพือ่ สาํ รวจข8อมูล ข8าราชการครู ตอ8 งการของ ความตอ8 งการของ ครู กศน. ๘ คน กศน. ต.ค.๖๔, กลุม< เป9าหมายทง้ั แบบ กลุ<มเปา9 หมาย ตําบลทกุ อําเภอดง เม.ย.๖๕ ออนไลน และออฟไลน เจริญ ตาํ บล ครสู อนคน พกิ าร ๒. ขั้นเตรยี มการ (P) - แต<งตั้งคณะกรรมการ - เพอ่ื ชีแ้ จง/ทํา บคุ ลากรทุก กศน. ต.ค.๖๔, อําเภอดง เม.ย.๖๕ ดําเนินโครงการ ความเข8าใจใน คน เจรญิ - ประชมุ การจัดทํา คณะกรรมการเพื่อ โครงการ วางแผนกาํ หนดรปู แบบ - มอบหมายงาน การจดั กิจกรรม ในการดําเนนิ โครงการ ๓. ขัน้ ดําเนินการ (D) - ประชาสัมพันธรบั ๑.เพ่ือสรา8 ง ๑. นายวีระ - กศน. - ต.ค.๖๔, อาํ เภอดง เม.ย.๖๕ สมัครนกั ศึกษา โอกาสทาง ยุทธ วลิ ัยสัย เจริญ - กศน. การศกึ ษาให8กบั ๒. นางสาว ตําบล ๕ แหง< ใน กลุม< เปา9 หมาย ทพิ วรรณ พื้นท่ี อําเภอดง - ขึ้นทะเบยี นนกั ศกึ ษา ใหไ8 ดร8 บั บญุ อินทร เจริญ การศึกษาอย<าง ๓. ครู กศน. ทั่วถึงและเสมอ ตาํ บลทกุ - ลงทะเบียนนักศึกษา ภาค ตาํ บล ๒.เพ่อื ยกระดับ ๔. ครสู อน ผลสมั ฤทธิ์ คนพกิ าร - ปฐมนเิ ทศนักศึกษา ทางการเรยี นของ

๔๓ ท่ี กจิ กรรมหลัก วตั ถุประสงค กลุม( เปาQ หมาย เปาQ หมาย พื้นท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ๘ คน ดาํ เนินการ - จัดการเรียนร8ใู น กล<ุมเปา9 หมายให8 รูปแบบ on-line และ สูงขนึ้ - พ.ย.๖๔ , พ.ค.๖๕ off-line ๓.เพื่อพัฒนา คณุ ภาพชวี ิตของ กลุ<มเปา9 หมายให8 - พ.ย.๖๔ ถึง มี.ค. เปนC ไปตามคุณ ๖๕ , พ.ค. ๖๕ ถึง ลักษณอันพงึ ก.ย. ๖๕ ประสงคของ สถานศกึ ษา 4.เพ่อื พัฒนา กล<มุ เป9าหมายให8 สามารถนํา เทคโนโลยีมา ปรับใช8ในการ ดาํ เนนิ ชวี ิตได8 อยา< งเหมาะสม โดยใช8 กระบวนการคดิ วิเคราะห บน พน้ื ฐานคุณธรรม และหลกั ปรัชญา ของเศรษฐกิจ พอเพยี ง ๔. ข้นั สรปุ และประเมินผล - เพื่อประเมนิ ข8าราชการครู ต.ค.๖๔, เม.ย.๖๕ (C) ความสําเรจ็ ของ ครู กศน. - ประเมนิ ผลการเรยี น โครงการ ตําบลทกุ ระหวา< งภาคเรียนและ - เพอ่ื รายงานให8 ตาํ บล ปลายภาคเรียน ผเู8 กีย่ วขอ8 งได8รบั ครูสอนคน - ประเมนิ คณุ ธรรม ทราบ พิการ - ประเมนิ ผลงาน/ ชนิ้ งาน - ประเมนิ จากใบงาน/ การมอบหมายงาน - การนิเทศตดิ ตามผล - จัดทําเอกสารสรุป และรายงานผลเสนอต<อ หัวหนา8 งานและ ผู8บรหิ ารตามลําดับ

๔๔ ท่ี กิจกรรมหลกั วัตถปุ ระสงค กล(มุ เปQาหมาย เปาQ หมาย พื้นท่ี ระยะเวลา งบประมาณ ๑๓ คน ดาํ เนนิ การ ๕. ขั้นปรับปรุงและตดิ ตาม เพอ่ื นําผลการ บคุ ลากรทุก ต.ค.๖๔, ผลการประเมิน (A) ดําเนินงานมา คน เม.ย.๖๕ - ประชุม ปรับปรุง พัฒนา คณะกรรมการและ ผ8ูเกี่ยวขอ8 งเพอ่ื ทบทวน และปรับปรุง กระบวนการ/ขั้นตอน การดาํ เนนิ งานเพื่อวาง แผนการดําเนินงานครงั้ ตอ< ไปในเกดิ ประสทิ ธิภาพ (PLC) 7. งบประมาณ เบกิ จ<ายเงินงบประมาณ ประจําป. พ.ศ. 2565แผนงาน : ยทุ ธศาสตรสร8างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค<าใช8จา< ยในการจัดการศึกษาตั้งแต<ระดับอนบุ าลจนจบการศึกษาข้นั พนื้ ฐานงบอุดหนุนท้งั สิ้น ๖๒๒,๙๔๕.-บาท โดยแยกตามรายละเอียดดังน้ี - ค<าจัดการเรียนการสอน2000243016500286 จํานวน ๓๓๙,๔๔๕.-บาท - ค<ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผ8เู รียน รหัสงบประมาณ 2000243016500276 จํานวนเงิน ๑๕๕,๘๒๐.-บาท - คา< หนงั สือแบบเรยี นรหัสงบประมาณ 200233016500001 จํานวนเงิน1๒๗,6๘0.-บาท ๘. แผนการใช-จา( ยเงิน กจิ กรรมหลัก ไตรมาส 1 ไตรมาส 2 ไตรมาส 3 ไตรมาส 4 (ต.ค - ธ.ค.63) (ม.ค.–มี.ค.64) (เม.ย.–มิ.ย.64) (ก.ค.- ก.ย.64) - พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา/หลักสูตรวิชา ๒๖๖,๔๒๕.- ๑๑๑,๑๑๐.- ๒๔๕,๔๑๐.- เลือก - จัดการเรยี นร8ูตามหลกั สูตร - จัดหา จัดทํา และพัฒนาส่อื แหลง< เรียนร8ู - นเิ ทศ ตดิ ตามผูส8 าํ เร็จการศึกษา - สรุปผลการดาํ เนนิ งาน 9. ผู-รบั ผิดชอบโครงการ ครู 1. นายวรี ะยทุ ธ วลิ ัยสยั ครูผช8ู ว< ย 2. นางสาวรานี รัศมีโรจน ครู กศน.ตาํ บล 3. นายอทุ ยั นนทอง ครู กศน.ตาํ บล 4. นางสาวทิพวรรณ บญุ อนิ ทร ครู กศน.ตําบล 5. นางหนง่ึ ฤทัย นนทอง

๔๕ 6. นางสาวอภิรดี เปnย. มพันธ ครู กศน.ตาํ บล 7. นางสาวกรานติมาพร เดชะผล ครู กศน.ตําบล ๘. นางสาวอรญา ฉายแวว ครูผสู8 อนคนพิการ 10. เครอื ขา( ย 1. สาํ นกั งานพฒั นาชมุ ชนอาํ เภอดงเจริญ 2. สํานกั งานเกษตรอาํ เภอดงเจรญิ 3. ที่ว<าการอาํ เภอดงเจริญ 4. สาธารณสุขอําเภอดงเจรญิ 5. เทศบาลตําบลสํานกั ขนุ เณร เทศบาลตําบลวงั บงค 6. องคการบรหิ ารส<วนตําบลทุกตําบล 7. ชมรมกํานันผใ8ู หญบ< 8าน 8. โรงเรียนในสังกัดเขตพ้นื ที่การศึกษา 9. หน<วยงานเครือข<ายเอกชนในเขตพ้ืนท่ีอําเภอดงเจรญิ 10. วดั ในเขตพืน้ ท่อี ําเภอดงเจริญ 11. โครงการทเี่ กี่ยวข-อง 1. โครงการพฒั นาบคุ ลากรเพิม่ ศักยภาพการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย ๒. โครงการพฒั นาคุณภาพผเู8 รยี น ๓. โครงการประกนั คุณภาพการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ๔. โครงการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ๑๒. ปจF จัยช้วี ัดความเสีย่ ง ๑. ข8อจาํ กดั เรอื่ งเวลาในการจดั การเรียนรูข8 องกล<ุมเป9าหมาย ๒. ความสนใจใฝรx ขู8 องกล<ุมเปา9 หมาย ๓. สถานการณการแพร<ระบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ 1๓. ดัชนีวดั ผลสาํ เรจ็ ของโครงการ ตัวชวี้ ัดผลผลติ (out put) ร8อยละ 80 ของกล<ุมเป9าหมายเข8ารับบริการมีความพึงพอใจการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานตามท่ี สถานศกึ ษากําหนด ตัวชวี้ ัดผลลพั ธ(out come) ๑. ร8อยละ ๘๐ ของผ8เู รียนมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนเปCนไปตามคา< เป9าหมาย ๒. ร8อยละ 80 ของผเ8ู รียนมคี ุณธรรม จรยิ ธรรมและคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค ๓. รอ8 ยละ ๘๐ ของผู8เรยี นมีความสามารถในการคิดวเิ คราะห คิดอยา< งมวี ิจารญาณ และร<วม แลกเปลยี่ นความคิดเหน็ รว< มกับผ8อู ืน่ ๔. ร8อยละ 80 ของผ8ูเรียนการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐานมีความสามารถในการสรา8 งสรรคงาน ชน้ิ งาน หรอื นวตั กรรม ๕. ร8อยละ ๘๐ของผ8ูเรยี นการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานมคี วามสามารถในการใช8เทคโนโลยีดจิ ิทัล ๖. รอ8 ยละ 80ของผูเ8 รยี นการศึกษาขั้นพืน้ ฐานมสี ขุ ภาวะทางกาย และสนุ ทรียภาพ ๗. รอ8 ยละ ๘๐ของผูเ8 รยี นการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานมีความสามารถในการอ<าน การเขยี น

๔๖ ๘. ร8อยละ ๘๐ของผู8จบการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานนาํ ความรู8 ทักษะพ้ืนฐานท่ีได8รบั ไปใชห8 รอื ประยุกตใช8 พนื้ ฐาน ๑๔. ผลทคี่ าดว(าจะได-รับ ๑. ประชาชนผู8ด8อย ผู8พลาดและผ8ูขาดโอกาสทางการศึกษา รวมทั้งประชาชนท่ัวไปท่ีอยู<นอก ระบบ โรงเรียน ในพ้ืนท่ีอําเภอดงเจริญ ได8รับโอกาสทางการศึกษาอย<างท่ัวถึงและเสมอภาคร8อยละ ๑๐๐ ตาม เป9าหมายเชิงปริมาณที่สถานศกึ ษากาํ หนด ๒. กลุม< เป9าหมายมผี ลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น เปCนไปตามค<าเป9าหมายที่สถานศึกษากําหนด โดย เฉล่ียไม<น8อยกวา< รอ8 ยละ ๘๐ ๓. กลุ<มเป9าหมายโดยเฉล่ียไม<น8อยกว<าร8อยละ ๘๐ ได8รับการพัฒนาคุณภาพชีวิต ให8เปCนไปตาม คุณ ลกั ษณอันพงึ ประสงคของสถานศกึ ษาและได8รับการพัฒนาให8สามารถนําเทคโนโลยีมาปรับใช8ในการดําเนินชีวิต ได8อย<างเหมาะสมโดยใช8กระบวนการคิดวิเคราะหบนพ้นื ฐานคุณธรรมและหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ๔. กล<ุมเปา9 หมายมีความพงึ พอใจการดําเนินงานในภาพรวมอย<ใู นระดบั ดี 1๕. ติดตามและประเมินผล ตวั ช้วี ดั ความสําเร็จ วธิ กี ารประเมนิ เครือ่ งมอื ท่ใี ช-ในการประเมิน แบบประเมินความพงึ พอใจ รอ8 ยละ 80 ของกล<มุ เปา9 หมายเขา8 การประเมินความพงึ พอใจ แบบทดสอบประเมนิ คุณภาพ รับบรกิ ารมคี วามพึงพอใจการจดั การศึกษานอกระบบระดบั ชาติ (N-net) การศกึ ษาขนั้ พื้นฐานตามที่ แบบประเมนิ คุณธรรม สถานศกึ ษากําหนด แบบประเมนิ ใบงาน รอ8 ยละ ๘๐ ของผเู8 รยี นมีผลสมั ฤทธ์ิ การประเมนิ คณุ ภาพการศกึ ษา แบบประเมนิ ชนิ้ งาน ทางการเรียนเปCนไปตามคา< นอกระบบระดับชาติ (N-net) แบบประเมินผลงาน เปา9 หมาย รอ8 ยละ 80 ของผู8เรยี นมคี ณุ ธรรม การประเมินคุณธรรม จรยิ ธรรมและคุณลักษณะอันพึง ประสงค รอ8 ยละ ๘๐ ของผเ8ู รยี นมี การประเมินใบงาน ความสามารถในการคิดวเิ คราะห คดิ อยา< งมวี ิจารญาณ และร<วม แลกเปล่ียนความคิดเห็นร<วมกับ ผอ8ู น่ื รอ8 ยละ 80 ของผ8เู รียนการศึกษา การประเมนิ ชิ้นงาน ขน้ั พ้นื ฐานมีความสามารถในการ สร8างสรรคงาน ชน้ิ งาน หรอื นวัตกรรม ร8อยละ ๘๐ของผ8เู รียนการศึกษา การประเมินผลงาน ขนั้ พืน้ ฐานมีความสามารถในการใช8

๔๗ เทคโนโลยีดิจิทลั แบบประเมินการตรวจสขุ ภาพ แบบประเมนิ การอา< นออก-เขียนได8 ร8อยละ 80ของผ8เู รยี นการศึกษา การประเมินการตรวจสุขภาพ แบบตดิ ตามผ8ูเรียน ขนั้ พ้นื ฐานมีสุขภาวะทางกาย และ สุนทรยี ภาพ ร8อยละ ๘๐ของผู8เรียนการศึกษา การประเมินการอ<านออก-เขยี นได8 ขน้ั พนื้ ฐานมีความสามารถในการ อา< น การเขียน ร8อยละ ๘๐ของผ8ูจบการศึกษาขั้น การติดตามผเู8 รยี น พื้นฐานนําความรู8 ทักษะพ้ืนฐานท่ี ได8รับไปใช8หรอื ประยกุ ตใชพ8 นื้ ฐาน ลงลงช่ือ ผู8เขียน/เสนอโครงการ (นายวีระยุทธ วลิ ัยสัย) ครู ลงช่อื ........................................................... ผู8เหน็ ชอบโครงการ (นายวรี ะยุทธ วลิ ัยสยั ) ครู ลงชอ่ื ........................................................... ผอู8 นมุ ัติโครงการ (นางธณิกานต เทียวประสงค) ผู8อาํ นวยการ กศน.อาํ เภอดงเจรญิ

๔๘ 2. โครงการพัฒนาคุณภาพผู-เรียน 1. ชอ่ื โครงการ พัฒนาคุณภาพผู8เรยี น 2. ความสอดคล-อง 2.1 กรอบยุทธศาสตรชาตริ ะยะ 20 ป ด8านท่ี 1 ยทุ ธศาสตรด8านความม่นั คง ด8านท่ี 3 ยทุ ธศาสตรด8านการพัฒนาและเสริมสรา8 งศกั ยภาพทรัพยากรมนษุ ย ด8านท่ี 4 ยุทธศาสตรด8านการสร8างโอกาสและความเสมอภาคทางสงั คม 2.2 นโยบายและจุดเน-นการดาํ เนนิ งาน สํานักงาน กศน. ปงบประมาณ 2565 1. ดา- นการจัดการเรยี นร-ูคุณภาพ 1.2 ขบั เคล่อื นการจดั การเรียนรูท- ี่สนองตอบยุทธศาสตรชาติ และนโยบายของรัฐมนตรีว<าการและ รฐั มนตรชี <วยวา< การกระทรวงศึกษาธิการ 1.3 สง( เสรมิ การจัดการศึกษาเพอื่ เสรมิ สร-างความมน่ั คง การสร8างความเขา8 ใจท่ีถูกต8องในการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย การเรียนรู8ท่ปี ลกู ฝFงคุณธรรมจรยิ ธรรม สรา8 งวินัย จิตสาธารณะ อดุ มการณและ ความยึดม่ันในสถาบันหลกั ของชาติ การเรยี นร8ปู ระวตั ศาสตรของชาติและท8องถ่นิ และหนา8 ท่ีความเปCนพลเมือง ท่ีเขม8 แข็งรวมถึงการมจี ิตอาสา ผ<านกิจกรรมตา< งๆ 1.6 ส(งเสริมการใช-เทคโนโลยีในการจัดหลกั สตู รการเรยี นรู-ในระบบออนไลนด-วยตนเองครบวงจร ตั่งแต<การลงทะเบียนจนการประเมินผลเมื่อจบหลักสูตร ท้ังการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การศึกษาต<อเน่ือง และการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อเปCนการสร8างและขยายโอกาสในการเรียนรู8ให8กับ กลม<ุ เปา9 หมายท่ีสามารถเรียนรู8ไดส8 ะดวก และตอบโจทยความต8องการของผู8เรียน 2. ด-านการสรา- งสมรรถนะและทักษะคุณภาพ 1.ยุทธศาสตร ดา- นความมัน่ คง 2.1 ส(งเสริมการจัดการศึกษาตลอดชีวิต ท่ีเน8นการพัฒนาทักษะที่จําเปCนสําหรับแต<ละช<วงวัยและการ จดั การศึกษาและการเรยี นรู8ที่เหมาะสมกับแตล< ะกลุม< เป9าหมายและบรบิ ทพนื้ ที่ 2.8 ส(งเสริมการพัฒนาทักษะดิจิทัลและทักษะด-านภาษา ให-กับบุคลากร กศน.เพ่ือรองรับการ พัฒนาประเทศ รวมท้ังจัดทํากรอบสมรรถนะดิจิทัล (Digital Competency) สําหรับครูและบุคลากรทางการ ศกึ ษา 3.ดา- นองคกร สถานศึกษา และแหล(งเรียนรคู- ณุ ภาพ 3.4ให-บริการวิทยาศาสตรเชิงรุก Science @homeโดยใช8เทคโนโลยีเปCนเครื่องมือนํา วทิ ยาศาสตรสูช< ีวิตประจาํ วนั ในทุกครอบครัว 4.ดา- นการบริหารจดั การคณุ ภาพ 4.1 ขับเคล่ือนกฎหมายว(าด-วยการส(งเสริมการเรียนรู-ตลอดชีวิต ตลอดจนทบทวนภารกิจ บทบาทโครงสรา8 งของหนว< ยงานเพ่ือรองรบั การเปลีย่ นแปลงตามกฎหมาย 4.7 ปรับปรุงระบบฐานข8อมูลสารสนเทศด8านการศึกษาเพ่ือการบริหารจัดการอย<างเปCนระบบ เช<น ข8อมูล การรายงานผลการดําเนินงาน ข8อมูลเด็กตกหล<นจากการศึกษาในระบบและเด็กออกกลางคัน เด็ก เร<ร<อน ผพู8 กิ าร

๔๙ 4.8 ส<งเสริมการใช8เทคโนโลยสี ารสนเทศ เปนC เคร่ืองมือในการบริหารจดั การอยา< งเตม็ รปู แบบ 2.3 สอดคล-องกบั มาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2562 มาตรฐานการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐานประเด็นการพจิ ารณา มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผเ-ู รยี นการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 1.1 ผูเ8 รยี นการศกึ ษาขนั้ พื้นฐานมผี ลสัมฤทธทิ์ างการเรียนท่ีดีสอดคล8องกับหลักสูตร สถานศกึ ษา 1.2 ผูเ8 รียนการศึกษาขั้นพนื้ ฐานมคี ุณธรรมจริยธรรมคา< นิยมและคุณลักษณะท่ีดตี ามที่ สถานศึกษากาํ หนด 1.3 ผู8เรียนการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐานมีความสามารถในการคดิ วิเคราะหคิดอย<างมีวิจารณญาณ แลกเปลย่ี นความคิดเห็นรว< มกับผ8อู นื่ 1.4 ผูเ8 รยี นการศึกษาขนั้ พื้นฐานมคี วามสามารถในการสรา8 งสรรคงานชิ้นงานหรือนวตั กรรม 1.5 ผเ8ู รยี นการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐานมคี วามสามารถในการใชเ8 ทคโนโลยีดจิ ทิ ลั 1.6 ผเ8ู รยี นการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐานมีสุขภาวะทางกายและสนุ ทรียภาพ 1.7 ผู8เรยี นการศกึ ษาข้ันพื้นฐานมีความสามารถในการอา< นการเขียน 1.8 ผจ8ู บการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานความร8ทู กั ษะพนื้ ฐานที่ได8รับไปใชห8 รือประยกุ ตใช8 มาตรฐานท่ี 2 คุณภาพการจดั การศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานทีเ่ นน- ผเ-ู รียนเปน= สําคัญ ประเด็นการพจิ ารณา 2.1 การพฒั นาหลักสูตรสถานศึกษาทส่ี อดคล8องกับบริบท และความต8องการของผู8เรยี น ชมุ ชน ท8องถิน่ 2.2 ส่ิงทเ่ี อ้อื ต<อการเรียนร8ู มาตรฐานที่ 3 คณุ ภาพการบรหิ ารจัดการของสถานศึกษา ประเดน็ การพิจารณา 3.1 การบรหิ ารจดั การของสถานศึกษาทเ่ี น8นการมีสว< นร<วม 3.2 ระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศกึ ษา 3.4 การใชเ8 ทคโนโลยดี ิจทิ ัลเพอื่ สนับสนนุ การบรหิ ารจดั การ 3.5 การกาํ กับนเิ ทศตดิ ตามประเมินผลการดําเนินงานของสถานศึกษา 3.6 การปฏิบตั หิ น8าที่ของคณะกรรมการสถานศกึ ษาท่ีเปนC ไปตามบทบาททีก่ ําหนด 3.7 การส<งเสริม สนบั สนนุ ภาคีเครือข<ายให8มีส<วนรว< มในการจัดการศึกษา 3.8 การสง< เสรมิ สนบั สนุนการสร8างสังคมแหง< การเรียนรู8 3.9 การวจิ ยั เพ่ือการบริหารจัดการศึกษาสถานศกึ ษา 2.4 สอดคล-องกับหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2 เง่ือนไข เงื่อนไขความร-ู -ผ8ูเรียนมีความรู8 ความเข8าใจการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนให8สูงข้ึน การแสดงออกถึงความ จงรักภักดีต<อสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย การเรียนรู8ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook