Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา

รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา

Published by inno vation, 2021-09-06 15:49:38

Description: Model for the Development of Internal Quality Assurance System in Educational Institutions, Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus, Educational Research and Development Center

Keywords: kusk,qa

Search

Read the Text Version

เอกสารประกอบการประชุมนาเสนอผลงานวิจัย ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 17 ICE 2021 วันที่ 5 มถิ ุนายน 2564 นวัตกรรมการศึกษา : อนาคตและความทา้ ทายในการวิจัยทางการศกึ ษา ด้านการเรยี นการสอนเพื่อพฒั นาวชิ าชีพ จัดทาโดย งานวจิ ยั บรกิ ารวิชาการ แผนและประกันคณุ ภาพ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วทิ ยาเขตพระราชวงั สนามจนั ทร์ www.ice.educ.su.ac.th

เอกสารประกอบการประชุมนาเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ ครั้งที่ 17 ICE 2021 วนั ที่ 5 มิถนุ ายน 2564 นวตั กรรมการศกึ ษา : อนาคตและความทา้ ทายในการวจิ ัยทางการศึกษา ดา้ นการเรียนการสอนเพอ่ื พัฒนาวิชาชพี บรรณานุกรมของหอสมดุ แหง่ ชาติ ISBN (E-Book) 978-974-641-776-1 จัดทาโดย งานวจิ ยั บรกิ ารวชิ าการ แผนและประกันคณุ ภาพ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร วทิ ยาเขตพระราชวังสนามจนั ทร์ www.ice.educ.su.ac.th II

คำนำ ค ณ ะ ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ ม ห า วิ ท ย า ลั ย ศิ ล ป า ก ร ร่ ว ม กั บ Universiti Sains Malaysia สภาคณ บดีคณ ะครุศาสตร์และศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย (กลุ่ม 16 สถาบัน) สภาคณ บดี คณะครุศาสตร์/ศึกษาศาสตร์แห่งประเทศไทย สานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ื นฐาน คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ คณะศึกษาศาสตร์ และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง และสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ พระนครศรีอยุธยา กาหนดจัดโครงการประชุมนาเสนอผลงานวิจัย ระดับชาติและนานาชาติ The 8th International Conference on Education (ICE 2021) and The 17th National Conference “Innovative Education: Future and Challenge in Educational Research on Teaching and Learning toward Professional Development” (นวัตกรรมการศึกษา : อนาคตและความท้าทายในการ วิจัยทางการศึกษา ด้านการเรียนการสอนเพ่ือพัฒนาวิชาชีพ) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความเข้าใจ และประสบการณก์ ารศึกษาที่ทันสมยั จากผู้ทรงคณุ วุฒทิ ้ังในและต่างประเทศ โดยเฉพาะในกล่มุ อาเซยี น และ เป็นเวทีให้อาจารย์ นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาทั้งภาครัฐและเอกชน รวมทั้งหน่วย วิจัยและนักวิจัยจากสถาบันการศึกษาต่าง ๆ ของประเทศไทยและต่างประเทศ ซ่ึงมีผลงานวิจัยหรือ วิทยานิพนธ์ได้เสนอผลงานวิจัยแลกเปลี่ยนข้อมูล องค์ความรู้ใหม่ ๆ ท่ีเกิดจากการศึกษาค้นคว้า และ ประสบการณ์ด้านการวจิ ัย สาขาการศกึ ษาและสาขาทเ่ี กยี่ วข้อง เอกสารประกอบการประชุมคร้ังนี้มี 2 ฉบับ แบ่งเป็นเอกสารนาเสนอผลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์ ระดับนานาชาติและระดับชาติในสาขาการศึกษาและสาขาที่เกี่ยวข้อง เอกสารประกอบการประชุมนาเสนอ ผลงานวิจัยระดับชาติ คร้ังท่ี 17 (ICE 2021) ฉบับนี้ ประกอบด้วย สรุปรายงานวิจัยของคณาจารย์ คณะ ศึ ก ษ า ศ า ส ต ร์ แ ล ะ วิ ท ย า นิ พ น ธ์ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษ า ส า ข า วิ ช า ต่ า ง ๆ ของคณะศึกษาศาสตร์ บุคลากรทางการศึกษา นักวิจัย และนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา จากหน่วยงาน ภายนอก หวังเปน็ อย่างย่ิงว่าเอกสารฉบับน้ีจะเป็นประโยชน์ในด้านการศกึ ษา สามารถใช้เป็นแนวทางในการ สง่ เสริมและพัฒนาการจัดการเรียนการสอน พัฒนางานวิจัยทางการศึกษา ตลอดจนนาไปใช้ประโยชน์อื่น ๆ ทางวชิ าการและการวิจยั ต่อไป ขอขอบพระคุณ วิทยากร ผู้ทรงคุณวุฒิตรวจพิจารณาบทความ ผู้ดาเนินรายการประจาห้อง ผู้นา เสนอผลงานวิจัย คณะกรรมการดาเนินการจัดประชุมนาเสนอผลงานวิจัยฯ ที่ทาให้การจัดงานในครั้งน้ี สาเร็จลุล่วงด้วยดี (ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.มาเรยี ม นลิ พนั ธุ์) คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ มิถุนายน 2564 III

รูปแบบการพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา โรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ จิ ัยและพัฒนาการศกึ ษา Model for the Development of Internal Quality Assurance System in Educational Institutions, Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus, Educational Research and Development Center รจุ ิราพร รามศริ ิ และคณะ* Rujiraporn Ramsiri, et al. บทคัดย่อ การวิจัยน้ีมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความต้องการและพัฒนารูปแบบการพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการศึกษา และ 2) เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ กลุ่มเป้าหมายคือ บุคลากรของโรงเรียน 83 คน เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวิเคราะห์เอกสาร ประเด็นสนทนากลุ่ม ความต้องการรูปแบบ แบบบันทึกภาคสนาม แบบประเมินความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูล ภาคสนาม แบบประเมินคุณภาพของรายงานการประเมินตนเอง แบบรายงานผลการประเมินตนเอง และแบบประเมินผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เน้ือหา ผลการวิจัยพบว่า 1) บุคลากรมีความตอ้ งการรูปแบบการ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเพ่ือนามาใช้ในการพัฒนาโรงเรียนอย่างเป็น ระบบ โดยรูปแบบน้ีมีชื่อย่อคือ ACCSOF Model ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ (1) หลักการ (2) วตั ถปุ ระสงค์ (3) กระบวนการ ซง่ึ มี 6 ข้ัน คอื ข้ันท่ี 1 สร้างความตระหนกั ข้ันที่ 2 สรา้ งเสริมความร้แู ละ ความสามารถด้านการประกันคุณภาพการศึกษา ขั้นที่ 3 ร่วมกาหนดความรับผิดชอบ ข้ันท่ี 4 สังเคราะห์ * ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. โรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน E-mail Address: [email protected] และคณะผรู้ ว่ มวจิ ัย 1) อาจารยส์ ุกญั ญา ทิพยร์ ักษ์ Sukunya Thiprak, E-mail Address: [email protected] 2) ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ จิ ติ ตรา จันทรศ์ รีบุตร Wichitra Chansribut, E-mail Address: [email protected] 3) ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.อาพร ขุนเนียม Amporn Khunneam, E-mail Address: [email protected] 4) อาจารย์สวุ ีณา เดือนแจ้ง Suweena Duenachaeng, E-mail Address: [email protected] 5) อาจารย์ ภัทรศ์ รัณย์ ธนชั ญาอิศมเ์ ดช Bhadsaran Dhanajyaitsadej, E-mail Address: [email protected] 6) อาจารย์นลนิ ทิพย์ มโนมนั่ Nalinthip Manomun, E-mail Address: [email protected] 7) ผู้ชว่ ยศาสตราจารยณ์ ุภทั รณีย์ สุขมุ ะ Nuphattaranee Sukuma, E-mail Address: [email protected] 8) ผ้ชู ่วยศาสตราจารยภ์ ัทรนิษฐ์ ศรมี งคล Pattaranit Srimongkong, E-mail Address: [email protected] 9) อาจารยส์ ิริมา ศริ ฤิ กษ์ Sirima Sirileak, E-mail Address: [email protected] 10) อาจารย์นภัสกร อุดมศรี Naphasakorn Udomsri, E-mail Address: [email protected] 11) อาจารย์ภาสวิชญ์ หลาวมา Phasavit Laowma , E-mail Address: [email protected] และ 12) อาจารยท์ พิ ย์ภาพร ขุนไกร Thippaporn Khunkrai, E-mail Address: [email protected] เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ ครงั้ ท่ี 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หน้า 44

ข้อมูลสารสนเทศเพ่ือการประกันคุณภาพการศึกษา ขั้นท่ี 5 ปฏิบัติการตามระบบการประกันคุณภาพ การศึกษา และขั้นท่ี 6 ติดตาม ตรวจสอบและพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง (4) การวัดและ ประเมินผล และ(5) เงือ่ นไขความสาเร็จในการนารูปแบบไปใช้ 2) ประสิทธิผลของรูปแบบพบว่า บุคลากร ของโรงเรียนมีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนามในภาพรวมอยู่ในระดับมาก คุณภาพของรายงาน การประเมินตนเองในภาพรวมอยู่ในระดับมากท่ีสุด และมีผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 ท้ัง 3 มาตรฐานอยู่ในระดับคุณภาพยอดเย่ียม และผลการประเมินทุก มาตรฐานสอดคลอ้ งกบั ค่าเปา้ หมายทีโ่ รงเรยี นกาหนด คาสาคญั : รูปแบบ/ ระบบ/ การประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน Abstract This research purposes were 1) to study needs of a model for the development of Internal Quality Assurance System in Educational Institutions, and 2) to assess the effectiveness of a model. The target group was consisted 83 school personnel. The research instruments were document analysis form, focus group discussion guideline, field notes form, assessment form of the ability of personnel in field notes, self-assessment report quality assessment form, self-assessment report form, and internal quality assurance in basic educational institutions assessment form. Data was analyzed using mean, standard deviation, and content analysis. The results of the research were as follows 1) the school personnel needed a model for the development of Internal Quality Assurance System in Educational Institutions to be used in the systematic school development, which is the abbreviated name ACCSOF Model, consists of 5 components: (1) Principle (2) Objectives (3) Process which has 6 stages: the first stage, Awareness, the second stage, Construction, the third stage, Collaboration, the fourth stage, Synthesis, the fifth stage, Operation, and the sixth stage, Follow up, (4) Measure and evaluate results and (5) conditions for the success of the model implementation, and 2) the model effectiveness in three phases assessment results, found that the school personnel had a high level of ability in field notes as a whole, the quality of the self-assessment report as a whole was at the highest level, the results of Internal Quality Assurance System in Educational Institutions were in the excellent quality level in all 3 standards and the assessment results of all standards were in line with the target values set by the school. Keywords : Model/ System/ Internal Quality Assurance เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครง้ั ท่ี 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หน้า 45

บทนา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา มีหลักสูตรการศึกษาสาหรับนักเรียน 3 ระดับ คือ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย เปิดสอนระดับช้ัน อนุบาล ศึกษาปีท่ี 1-3 หลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน เปิดสอนระดับประถมศึกษาปีท่ี 1-6 และระดับมัธยมศึกษา ปีที่ 1-6 มีการบริหารงานตามวิสัยทัศน์ และยุทธศาสตร์ของโรงเรียนซ่ึงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ของ ค ณ ะศึ ก ษ าศ าส ต ร์แ ล ะพั ฒ น ศ าส ต ร์ ม ห าวิท ยาลั ยเก ษ ต รศ าส ต ร์ วิท ยาเข ต ก าแ พ งแ ส น (มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน, 2556) และสอดคล้องกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ.2561 ท่ีกาหนดผลลัพธ์ท่ีพึงประสงค์ของการศึกษา (Desired Outcomes of Education, DOE Thailand) สาหรับผ้เู รียนไว้ 3 คุณลักษณะ คอื 1) ผเู้ รยี นรู้ 2) ผรู้ ่วมสร้างสรรคน์ วตั กรรม และ3) พลเมืองที่ เข้มแข็ง (สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, 2561) และโรงเรียนได้มีการประเมินคุณภาพการศึกษาโดยมี การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาของสานักงานรับรองมาตรฐาน และประเมินคุณภาพการศึกษาในทุกปีการศึกษาเพ่ือนาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาใน ปีการศึกษาต่อไป และโรงเรียนได้เข้ารับการประเมินภายนอกรอบที่สามในปี 2554-2558 และใน ปี พ.ศ.2560-2562 โรงเรียนได้ดาเนินการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาข้ันพ้นื ฐานเพื่อการประกันคุณภาพภายใน ของสถานศึกษา ฉบับลงวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 จากผลการประเมินคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนใน ปี พ.ศ. 2561 พบว่า มาตรฐานท่ี 1 คณุ ภาพของผู้เรียน มีผลการประเมนิ อยู่ในระดบั 4 ดเี ลิศ มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐานท่ี 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็น สาคัญ ได้ระดับ 5 ยอดเยี่ยม โดยมีข้อเสนอแนะของคณะกรรมการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ที่แนะนาให้โรงเรียนพัฒนาระบบการประกันคุ ณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษาที่สามารถนาไปปฏิบัติได้จริง และบุคลากรทุกคนมีส่วนร่วมรับผิดชอบต่อผลการประเมินในทุก มาตรฐาน เพ่ือนาผลไปใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาและยกระดับผลการประเมินให้สูงข้ึนในปีต่อไป (โรงเรยี นสาธิตแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนาการศึกษา, 2561: 3,5,7) ผู้วิจัยจึงได้ศึกษาแนวคิด และหลักการ รวมท้ังงานวิจัยท่ีเกี่ยวข้องกับการพัฒนาระบบประกัน คุณภาพการศึกษาภายในของโรงเรียนซ่ึงประกอบด้วย แนวคิดและหลักการเก่ียวกับการประกันคุณภาพ ภายในและมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน การพัฒนาคุณภาพองค์กรและงานประกันคุณภาพภายใน การบริหารจัดการสถานศึกษาและรูปแบบการพัฒนางานประกันคุณภาพ แนวทางการประเมินคุณภาพ การศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การมีส่วนร่วมในการบริหารงาน (Participations) และ การเสริมพลัง (Empowerments) การบริหารคุณภาพโดยใช้หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) การบรหิ ารคณุ ภาพโดยใชแ้ นวทางของ TQM มีหลักการทสี่ าคัญ 3 ประการ ไดแ้ ก่ 1) การให้ความสาคัญกับ ลูกค้า 2) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และ3) สมาชิกทุกคนต้องมีส่วนร่วม (Feigenbaum, 1961: 60-67) และจากผลการสารวจความพร้อมของบุคลากรในการจัดทาระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายในเมื่อ เดือนมีนาคม พ.ศ.2562 พบประเด็นสาคัญที่โรงเรียนต้องดาเนินการอย่างเร่งด่วนคือ บุคลากรส่วนใหญ่ เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดับชาติ ครงั้ ท่ี 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หนา้ 46

ร้อยละ 82 ยังไม่เข้าใจเกี่ยวกับวิธีดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของโรงเรียน และมีความ ตอ้ งการได้รับการช้ีแจง เพ่ือสร้างความเข้าใจร่วมกันให้ชัดเจนสาหรับเตรียมการจัดทาข้อมูลได้ถูกต้องและ ครบถ้วนตามมาตรฐานท่ีต้องรายงานการประเมินตนเองของโรงเรียน (Self - Assessment Report: SAR) นอกจากน้ียังพบว่า การเขียนรายงานการประเมินตนเอง มีการเขียนในลักษณะท่ัว ๆ ไปตามข้อความที่ ปรากฏในเกณฑ์การประเมิน แต่ไม่ได้ระบุสิ่งที่โรงเรียนมีการปฏิบัติจริง ทาให้มองไม่เห็นเป็นรูปธรรมของ การปฏิบัติและไม่ทราบผลลัพธ์ท่ีแท้จริงว่าบรรลุผลตามวัตถุประสงค์มากน้อยเพียงใด (โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ ิจยั และพฒั นาการศกึ ษา, 2560: 92) ดังน้ันผู้วิจัยจึงได้จัดทารูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ในระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน ตามพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 มาตรา 48 ให้หน่วยงานต้นสังกดั และสถานศึกษาจัดให้มรี ะบบประกันคณุ ภาพภายใน สถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายในเป็นส่วนหน่ึงของการบริหารการศึกษาต้องดาเนิน การอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้องและ เปิดเผยต่อสาธารณชน เพ่ือนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการศึกษาและเพื่อรองรับการประกันคุณภาพ ภายนอก และเพื่อให้การประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนมีแนวทางปฏิบัติที่เหมาะสมกับบริบทของ โรงเรียนเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาในระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานของ โรงเรยี นให้มปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธิผลต่อไป วัตถปุ ระสงค์การวิจัย 1. เพ่ือศึกษาความต้องการและพัฒนารูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและ พฒั นาการศึกษา 2. เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา 3 ด้าน คือ 1) ความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนาม 2) คุณภาพ ของรายงานการประเมินตนเอง และ 3) ผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับ การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน วิธดี าเนินการวิจยั การวิจัยในครั้งน้ีเป็นการวิจัยและพัฒนา (Research and Development) มีระยะเวลาท่ีใช้ใน การวจิ ัย 1 ปี ระหวา่ งเดือนสิงหาคม พ.ศ.2562 ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ.2563 โดยมีข้ันตอนการดาเนินงาน วิจยั 2 ข้นั ตอนหลักตามกระบวนการ R&D ดังนี้ ขัน้ ตอนท่ี 1 ศกึ ษาความต้องการและพัฒนารูปแบบ (R1&D1) 1.1 ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานและความต้องการรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา โดยกาหนดวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย เคร่ืองมือและการเก็บรวบรวมข้อมูล และการ เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ ครง้ั ที่ 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หนา้ 47

วิเคราะหข์ ้อมูล ดงั นี้ 1) วัตถปุ ระสงค์ คือ 1.1) เพ่ือศึกษาขอ้ มลู พน้ื ฐานและความตอ้ งการรปู แบบการพฒั นา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และ1.2) เพื่อพัฒนารูปแบบการพัฒนาระบบการ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 2) กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ ผู้บริหาร 8 คน อาจารย์และ เจ้าหน้าที่ 30 คน รวมจานวน 38 คน 3) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย 3.1) แบบ วิเคราะห์เอกสาร 3.2) ประเด็นสนทนากลุ่มความต้องการรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา หาคุณภาพด้านความเท่ียงตรงเชิงเน้ือหาโดยผ่านผู้เช่ียวชาญ 3 คน เพ่ือประเมินความสอดคล้องของหัวข้อที่ใช้ในการวิเคราะห์เอกสารและประเด็นท่ีใช้ในการสนทนากลุ่มได้ ค่าความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 ทุกประเด็น 4) ดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล ดาเนินการในเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2562 โดย 4.1) ศึกษาข้อมูลพ้ืนฐาน แนวคิด ทฤษฎีและหลักการ จากเอกสารเกี่ยวกับการประกัน คุณภาพภายในสถานศึกษา โดยใช้แบบวิเคราะห์เอกสาร และ4.2) จัดสนทนากลุ่มความต้องการรูปแบบ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โดยใช้ประเด็นสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion Guidelines) 5) วิเคราะห์ขอ้ มลู โดยใช้การวิเคราะหเ์ นอื้ หา (Content Analysis) 1.2 พัฒนารูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียน สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา มีระยะเวลา ในการดาเนินการ 2 เดือน ตั้งแต่เดือนกันยายน พ.ศ.2562 ถึงเดือนตุลาคม พ.ศ.2562 โดยมีกระบวนการ ดังนี้ 1) นาผลการศึกษาข้อมูลพ้ืนฐานและความต้องการรูปแบบมาออกแบบและสร้างรูปแบบ (ฉบับร่าง) 2) นาเสนอเพื่อพิจารณาร่างรูปแบบโดยคณะกรรมการงานประกันคุณภาพการศึกษา คณะกรรมการฝ่าย วชิ าการ และคณะกรรมการบริหารโรงเรียน ตามลาดับ และปรับปรุง/แก้ไขรูปแบบ 3) ตรวจสอบคุณภาพ ของรูปแบบโดยผู้เชี่ยวชาญ 5 คน ด้วยวิธีการจัดสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) เพื่อประเมิน ความเหมาะสมของรูปแบบ ซ่ึงมีลักษณะเป็นมาตรประเมินค่า 5 ระดับ และใช้การวิเคราะห์เน้ือหา ของข้อเสนอแนะ 4) ปรับปรุง/แก้ไขตามข้อเสนอแนะของผู้เชี่ยวชาญครั้งที่ 1 ได้รูปแบบการพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ก่อนนาไปใช้จริงกับกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้ช่ือรูปแบบว่า “ACCSOF Model” (นาเสนอรูปแบบไว้ในผลการวิจัย) เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิจัยท่ีพัฒนาขึ้นในขั้นตอนนี้ ประกอบด้วย แบบบันทึกภาคสนาม (Field Notes) แบบประเมินความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บ ข้อมูลภาคสนาม แบบรายงานผลการประเมินตนเอง แบบประเมินคุณภาพของรายงานการประเมินตนเอง แ ล ะแ บ บ ป ระเมิ น ผ ล การป ระกั น คุ ณ ภ าพ ก ารศึ ก ษ าภ ายใน ส ถ าน ศึ ก ษ า ระดั บ ก ารศึ กษ าขั้ น พ้ื น ฐาน หาคุณภาพด้านความเทย่ี งตรงเชงิ เน้ือหาโดยผา่ นผู้เชยี่ วชาญ 3 คนเพื่อประเมินความสอดคลอ้ งของประเด็น ในเครื่องมือ ได้ค่าความสอดคล้องเท่ากับ 1.00 ทุกประเด็น ปรับปรุงแก้ไขด้านภาษาตามคาแนะนาของ ผเู้ ชยี่ วชาญและจดั พมิ พร์ ูปแบบฉบบั สมบรู ณ์ เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หน้า 48

ขนั้ ตอนที่ 2 นารูปแบบไปใช้และประเมินประสทิ ธผิ ลของรูปแบบ (R2&D2) 2.1 นารูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาไปใช้กับ กลุ่มเป้าหมาย มีระยะเวลาในการดาเนินการ 7 เดือน ต้ังแต่เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2562 ถึงเดือน พฤษภาคม พ.ศ.2563 โดยกาหนดวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย แบบแผนการวิจัย เคร่ืองมือและการเก็บ รวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล ดังนี้ 1) วัตถุประสงค์ คือ 1.1) เพ่ือนารูปแบบการพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาไปใช้ และ1.2) เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ 3 ด้าน คือ ความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนาม คุณภาพของรายงานการประเมิน ตนเอง และผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2562 1.3) เพ่ือรับรองรูปแบบ 2) กลุ่มเป้าหมาย ไดแ้ ก่ บุคลากรของโรงเรียนจานวน 83 คน ประกอบดว้ ย ผู้บริหาร 6 คน อาจารย์ผู้สอน 60 คน และเจ้าหน้าที่ 17 คน 3) แบบแผนการวิจัย ใช้แบบกลุ่มเดียว ทดสอบหลัง (One–Shot Case Study) 4) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ 1) รูปแบบการ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา 2) แบบบันทึกภาคสนาม (Field Notes) มีลักษณะเป็นข้อมูลผสมผสานท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ 3) แบบประเมินความสามารถของบุคลากรใน การจัดเก็บข้อมูลภาคสนาม เป็นแบบมาตรประเมินค่า 5 ระดับ 4) แบบรายงานผลการประเมินตนเอง มีลักษณะเป็นข้อมูลผสมผสานท้ังเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยมีการรายงาน 4 บท ประกอบด้วย บทที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน บทท่ี 2 สภาพการดาเนินงาน บทที่ 3 ผลการประเมินตามมาตรฐานการศึกษา บทท่ี 4 สรุปผล แนวทางการพัฒนา และความต้องการช่วยเหลือ 5) แบบประเมินคุณภาพของรายงานการประเมิน ตนเอง เป็นแบบมาตรประเมินค่า 5 ระดับ และ6) แบบประเมินผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศกึ ษา เป็นแบบมาตรประเมนิ คา่ 5 ระดบั 5) ดาเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มลู โดยนารปู แบบการพัฒนา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย มีการดาเนินงาน 3 ระยะคือ ระยะท่ี 1 เตรียมการก่อนนารูปแบบไปใช้ โดยสร้างความเข้าใจร่วมกันเก่ียวกับรูปแบบการพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ระยะที่ 2 ระหว่างการใช้รูปแบบ ผู้วิจัยดาเนินการตาม ก ร ะ บ ว น ก าร ข อ งรู ป แ บ บ 6 ขั้ น คื อ Awareness, Construction, Collaboration, Synthesis, Operation, และFollow up และให้กลุ่มเปา้ หมายจานวน 83 คน บันทึกข้อมลู ลงในแบบบันทึกภาคสนาม (Field Notes) และจัดทาแบบรายงานผลการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) ระยะท่ี 3 หลังการใช้รูปแบบ ผู้วิจัยดาเนินการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ 3 ด้าน ในระหว่างเดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2563 ได้แก่ (1) ความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนาม โดยใช้แบบ ประเมินความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เน้ือหา (Content Analysis) (2) คุณภาพของรายงานการ ประเมินตนเอง โดยใช้แบบประเมินคุณภาพของรายงานการประเมินตนเอง และ(3) ผลการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้แบบประเมินผลการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน 6) วิเคราะห์ข้อมูลผลการประเมินประสิทธผิ ลของ เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจัยระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หน้า 49

รูปแบบ 3 ด้าน โดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉล่ีย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) 2.2 ปรับปรุงแก้ไขรูปแบบจากผู้เช่ียวชาญเป็นคร้ังท่ี 2 หลังการนารูปแบบไปใช้กับกลุ่มเป้าหมาย เพ่ือรับรองรูปแบบ โดยใช้ระยะเวลาในการดาเนินการ 2 เดือน ตั้งแต่เดือนมิถุนายน พ.ศ. 2563 ถึงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2563 ดาเนินการดงั น้ี 1) นาผลการนารปู แบบไปใช้และผลการประเมินประสิทธผิ ลหลังการ ใช้รปู แบบมาพิจารณาปรับปรงุ แกไ้ ข 2) ตรวจทานรปู แบบโดยคณะกรรมการประกนั คุณภาพการศึกษา และ คณะกรรมการบริหารโรงเรียนตามลาดบั 3) นารูปแบบเสนอขอรับรองจากผู้เชี่ยวชาญจานวน 5 คน โดยใช้ วิธีการสนทนากลุ่ม (Focus Group Discussion) นาผลการพิจารณารับรองและข้อเสนอแนะมาปรับปรุง/ แก้ไข ได้รูปแบบฉบับสมบูรณ์ทีผ่ ่านการรับรองโดยผู้เชี่ยวชาญ ผลการวิจัย 1. ผลการศกึ ษาความต้องการและพัฒนารปู แบบ จากการสนทนากลมุ่ บุคลากรในภาพรวมพบว่า มคี วามต้องการรูปแบบการพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาเพื่อนามาใช้ในการ พัฒนาโรงเรียนอย่างเป็นระบบ และเนื่องจากมีการเปล่ียนแปลงตามประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และการใช้มาตรฐานถึง 2 ฉบับ ทาให้มีความจาเป็นต้องมีการจัดอบรมให้ความรู้ และ พัฒนาความสามารถของบุคลากรในการจัดทาข้อมูลให้สอดคล้องกับการประกันคุณภาพการศึกษาตามที่ กระทรวงศึกษาธิการกาหนดและจาเป็นต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีการจัดเก็บข้อมูลให้เป็นรูปแบบดิจิทัลเพื่อ ลดภาระในการจัดเกบ็ ขอ้ มูลในรูปแบบเอกสาร มคี วามจาเป็นในการกาหนดหน้าทใ่ี นการทางานอย่างชดั เจน ในการนาข้อมูลมาสังเคราะห์เพ่ือจัดทารายงานการประเมินตนเอง รวมท้ังมีกาหนดเวลาที่แน่นอนในการ จัดส่งเอกสารและมีการติดตามผลการดาเนินงานให้ครบถ้วนและตรงตามเปา้ หมายของมาตรฐานการศึกษา ที่กาหนด ผลพัฒนารูปแบบ พบว่า ได้รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา โดยใช้ช่ือรูปแบบว่า “ACCSOF Model” โดยรูปแบบมีคุณภาพด้านความเที่ยงตรง เชิงเน้ือหาในแต่ละประเด็นอยู่ในระดับมากและมากท่ีสุด มีค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง Mean=3.80, S.D.=0.45 ถึง Mean=4.60, S.D.=0.55 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สามารถนารูปแบบไปใช้ได้ ทั้งน้ีผู้เชี่ยวชาญท่านหนึ่งได้แสดงความคิดเห็นในภาพรวมว่า “ACCSOF Model มีกระบวนการทางาน ที่เป็นเลิศ กระบวนการในแต่ละขั้นตอนแสดงถึงมีการปรับปรุงการพัฒนาคุณภาพอยู่ตลอดเวลา ให้ความสาคัญสูงสุดกับผู้เรียน และเน้นการมีส่วนร่วมของบุคลากรในองค์กร ดังนั้นจึงเป็นรูปแบบ ทม่ี ีการทางานเชิงระบบที่มีความสมบรู ณ์” 2. ผลการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ ประกอบด้วยผลการประเมิน 3 ด้าน คือ 1) ความสามารถของบุคลากรในการจัดเกบ็ ขอ้ มลู ภาคสนาม (Field Notes) พบว่า บุคลากรส่วนใหญ่มี ความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนามในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (Mean=4.32, S.D.=0.54) เม่ือพิจารณาตามประเด็นการประเมินพบว่า ประเด็นท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุดและมีความสามารถอยู่ในระดับมาก ท่ีสุด คือ การบันทึกข้อมูลที่เป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการเขียนรายงานการประเมินตนเอง เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ ครงั้ ที่ 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หนา้ 50

(Mean=4.67, S.D.=0.52) รองลงมาคือ การบันทึกข้อมูลที่มีความน่าเช่ือถือ การบันทึกข้อมูลท่ีเพียงพอต่อ การนาไปใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน และการบันทึก ข้อมูลได้ครบถ้วนตามประเด็นที่กาหนด ทั้ง 3 รายการน้ีมีความสามารถอยู่ในระดับมากท่ีสุดและมีค่าเฉล่ีย เท่ากัน (Mean=4.50, S.D.=0.55) ส่วนความสามารถที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุดและอยู่ในระดับมากคือ การบันทึก ข้อความที่มีการร้อยเรียงให้เห็นความเช่ือมโยง (Mean=3.83, S.D.=0.75) 2) คุณภาพของรายงานการ ประเมินตนเอง พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (Mean=4.62, S.D.=0.51) เม่ือพิจารณาตาม ประเดน็ การประเมินพบวา่ ประเด็นที่มีค่าเฉล่ียสูงสุดและมีคณุ ภาพอยู่ในระดับมากที่สุด คอื วิธีการนาเสนอ ผลการดาเนนิ งานในเชิงปรมิ าณ (Mean=4.83, S.D.=0.41) รองลงมาคอื ความสมบูรณข์ องผลลัพธ์จากการ ดาเนินงานท่ีสะท้อนมาตรฐานการศึกษา 3 มาตรฐาน (Mean=4.78, S.D.=0.40) และประเด็นท่ีมีค่าเฉล่ีย ต่าสุดและมีคุณภาพอยู่ในระดับมากที่สุด มี 5 ประเด็น โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากนั คือความเชื่อมโยงของข้อความ ที่เขียนอธิบายผลการดาเนินงานในเชิงคุณภาพ ความน่าสนใจของรูปแบบการนาเสนอรายงานการประเมิน ตนเอง ความเหมาะสมของภาษาที่ใช้ในการเรียบเรียง ความเช่ือมโยงของเนื้อหาในรายงานการประเมิน ตนเอง ความสมบูรณ์ของรายงานการประเมินตนเองในภาพรวม (Mean=4.50, S.D.=0.55) และ 3) ผล การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา พบว่า การประเมินโดยคณะกรรมการประเมินคุณภาพ ภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 มีผลการประเมินอยู่ในระดับคุณภาพ 5 ยอดเยี่ยม ท้ัง 3 มาตรฐาน ซึ่งผลการประเมินทุกมาตรฐานสอดคล้องกับค่าเป้าหมายท่ีโรงเรียนกาหนด และคณะกรรมการได้กล่าวถึง จุดเด่นดังนี้ “คณะผู้บริหาร บุคลากรมีความพร้อมและให้ความร่วมมือในกระบวนการบริหารและการ จัดการของผู้บริหารสถานศึกษา โดยมีรูปแบบการบริหารองค์กรเพื่อยกระดับคุณภาพและเพ่ิมมูลค่าทาง การศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศึกษา “Scale Up Model” รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา “ACCSOF Model” และศูนย์วิจัย นวัตกรรมการศึกษาและพัฒนาวิชาชีพครู (ศวนค.) ช่วยขับเคล่ือนผล การดาเนินงานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน และมีข้อเสนอแนะเพ่ิมเติมคือ “ควรนาโมเดลและ องคค์ วามรตู้ ่างๆ ที่โรงเรยี นได้พัฒนาขึน้ นี้ไปใชใ้ นการปฏิบัตงิ านทกุ สว่ นของโรงเรียนและเผยแพร่เพ่อื ใหเ้ กิด ประโยชน์สูงสุด” (รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2562, 2562: 4) ผลการพิจารณารับรอง รูปแบบพบว่า ผู้เชี่ยวชาญมีมติรับรองรูปแบบ ได้รูปแบบฉบับสมบูรณ์โดยมีรายละเอียดและสรุปใน แผนภาพท่ี 1 รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิต แห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา “ACCSOF Model” ฉบับสมบูรณ์ ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบดงั นี้ 1. หลักการ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เป็นกลไกที่มุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนด้วยกระบวนการเชิงระบบ (Systematic Process) ที่เน้นการมีส่วนร่วม (Participations) และการเสริมสร้างพลัง (Empowerments) ให้มีความต่อเนื่อง ในการดาเนินกจิ กรรมตามพนั ธกิจและนโยบายการจดั การศึกษาของโรงเรียน เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หนา้ 51

2. วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนามเพื่อใช้ ในการจัดทารายงานการประเมินตนเอง คุณภาพของรายงานการประเมินตนเอง และผลการประกัน คุณภาพการศึกษาภายในสถานศกึ ษาระดบั การศึกษาข้นั พื้นฐาน 3. กระบวนการ มีการดาเนินงาน 6 ข้ัน คือ ขั้นที่ 1 สร้างความตระหนัก (Awareness: A) โดยคณะกรรมการงานประกนั คุณภาพ ไดจ้ ัดประชมุ ช้แี จงเกี่ยวกบั วตั ถุประสงคข์ องรปู แบบการพฒั นาระบบ ประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา เพ่ือให้บุคลากรในโรงเรียนเห็นความสาคัญและความจาเป็น ของการประกันคุณภาพการศึกษา รวมทั้งรับทราบข่าวสารและวิธกี ารดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ทั้งระบบเพ่ือให้มีความเข้าใจไปในทิศทางเดียวกัน และระดมสมองเพ่ือหาแนวทางในการปฏิบัติที่เหมาะสม ได้อย่างเป็นรูปธรรมภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมของบุคลากรทุกคนและการเสริมสร้างพลังในการร่วม ทางานในหน้าที่รับผิดชอบอย่างเต็มศักยภาพเพ่ือการบรรลุเป้าหมายของการจัดการศึกษาของโรงเรียน ขั้นที่ 2 สร้างเสริมความรู้และความสามารถด้านการประกันคุณภาพการศึกษา (Construction: C) เป็นขั้นท่ีบุคลากรทุกคนของโรงเรียนเข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกบั การประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาโดยเนน้ ท่ีวธิ กี ารจัดทาแหลง่ ตรวจสอบและรายงาน การประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) ท้ังนี้เป็นผลเน่ืองมาจากการสอบถามความตอ้ งการ รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา พบว่า บุคลากรมีความต้องการ เรียนรู้และทาความเข้าใจเกี่ยวกับระบบการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือวางแผนการดาเนินงานจัดเก็บ ข้อมูลตามมาตรฐานการศึกษาได้ถูกต้องและครบถ้วนตามท่ีกาหนดไว้ในประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ศูนย์การศึกษาพิเศษ (ลงวันที่ 6 สิงหาคม 2561) ขั้นที่ 3 ร่วมกาหนดความรับผิดชอบ (Collaboration: C) โดย บุคลากรร่วมกันเสนอและแต่งตงั้ คณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษา ช้แี จงบทบาทและหน้าท่ี ความรับผิดชอบในการดาเนินงานประกันคุณภาพการศกึ ษาของโรงเรียน ตรวจสอบความครบถ้วน ทบทวน และแก้ไข ขั้นท่ี 4 สังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษา (Synthesis: S) โดยบุคลากรร่วมกันวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศจากผลการดาเนินงานในรอบ 3 ปี 2560 - 2562 วิเคราะห์วิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และนโยบายของผู้บริหาร สถานศึกษา ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา และความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ได้แก่ บุคลากร ของโรงเรียน นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ข้ันที่ 5 ปฏบิ ัติการตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา (Operation: O) ประกอบด้วย 3 ข้ัน คือ เตรียมการ ดาเนินการ และรายงานผลการประเมินคุณภาพ ภายใน โดยในข้ันตอนน้ีบุคลากรทุกคนจะทาหน้าท่ีเก็บข้อมูลสาคัญโดยใช้แบบบันทึกภาคสนาม (Field Notes) และผู้วิจัยโดยคณะกรรมการงานประกันคุณภาพการศึกษาทาหน้าท่ีเป็นผู้อานวยความสะดวกและ ให้คาแนะนา (Facilitators) ใช้กระบวนการเชิงระบบ (Systematic Process) เป็นกลไกการบริหารระบบ ป ระกั น คุ ณ ภ าพ ก ารศึ ก ษ าภ าย ใต้ ก ารมี ส่ วน ร่วม (Participation) แ ล ะก ารเส ริม ส ร้า งพ ลั ง (Empowerments) ของทุ กฝ่ายท่ี เก่ียวข้องด้วยการใช้ระบบ Coaching and Mentoring อย่าง กัลยาณมิตร และใชว้ งจรการบริหารระบบการประกันคุณภาพการศึกษาตามแนวการบริหารระบบคุณภาพ เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครง้ั ที่ 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หนา้ 52

PDCA ในการขับเคล่ือนการดาเนินงานเพ่ือให้เกิดความต่อเน่ืองในการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจขอ ง โรงเรียน และข้ันที่ 6 ติดตาม ตรวจสอบ และพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง (Follow up: F) โดยคณะกรรมการประกันคุณภาพการศึกษาดาเนินการติดตามข้อมูลจากบุคลากรตรวจสอบ และจัดทา เอกสารรายงานการประเมินตนเอง นาผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาจากการประเมิน ตนเองมาวิเคราะห์ และนาไปใช้พัฒนาการบริหารและการเรียนการสอนอย่างต่อเน่ือง เผยแพร่ผลการ พัฒนาคุณภาพการศกึ ษาและแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ทงั้ ในโรงเรียนและโรงเรยี นในเครอื ข่ายความร่วมมือ 4. การวัดและประเมินผล มีการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบ ประกอบด้วย 1) ความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูล 2) คุณภาพของรายงานการประเมินตนเอง และ3) ผลการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา 5. เงอื่ นไขความสาเร็จในการนารูปแบบไปใช้ ประกอบด้วยเงอื่ นไขหลัก 2 ข้อ คอื 1) ผบู้ ริหาร มนี โยบายพฒั นาสถานศกึ ษาดา้ นระบบประกันคณุ ภาพภายในอย่างตอ่ เนอื่ ง และ2) บุคลากรของโรงเรียนให้ ค ว า ม ส า คั ญ แ ล ะ มี ค ว า ม ต ร ะ ห นั ก ใน ก า ร ท า ง า น ต า ม ม า ต ร ฐ า น ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ให้ เป็ น งา น ป ร ะ จ า และเปน็ วฒั นธรรมองค์กร แผนภาพท่ี 1 ACCSOF Model เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หน้า 53

สรุปผลการวจิ ยั 1. ผลการศึกษาความต้องการรูปแบบและพัฒนารูปแบบ พบว่า บุคลากรมีความต้องการรูปแบบ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเพื่อนามาใช้ในการพัฒนาโรงเรียน อย่างเป็นระบบ และได้รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียน สาธติ แห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการศึกษา 1. ผลการศกึ ษา ความต้องการรูปแบบและพัฒนารูปแบบ พบว่า บุคลากรมีความต้องการรูปแบบการพัฒนาระบบ การประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาเพื่อนามาใช้ในการพัฒนาโรงเรียนอย่างเป็นระบบ และได้ รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ระบบ โดยรูปแบบน้ีมีช่ือ ย่อคอื ACCSOF Model ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ (1) หลกั การ (2) วตั ถุประสงค์ (3) กระบวนการ ซ่ึงมี 6 ขั้น คือ ข้ันที่ 1 สร้างความตระหนักขั้นท่ี 2 สร้างเสริมความรู้และความสามารถด้านการประกัน คุณภาพการศึกษา ขัน้ ที่ 3 ร่วมกาหนดความรบั ผิดชอบ ขน้ั ท่ี 4 สังเคราะห์ขอ้ มลู สารสนเทศเพ่ือการประกัน คุณภาพการศึกษา ขั้นท่ี 5 ปฏิบัติการตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และขั้นที่ 6 ติดตาม ตรวจสอบและพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเน่ือง (4) การวัดและประเมินผล และ(5) เงื่อนไข ความสาเรจ็ ในการนารปู แบบไปใช้ ทม่ี ีคุณภาพอย่ใู นระดับมากและมากทส่ี ุด 2. ผลการประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา ประกอบด้วย 3 ด้าน คือ 1) ความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนาม (Field Notes) พบว่า บุคลากรส่วนใหญ่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนามในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (Mean=4.32, S.D.=0.54) 2) คุณภาพของรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) พบว่า ในภาพรวมมีคุณภาพอยใู่ นระดบั มากท่สี ุด (Mean=4.62, S.D.=0.51) และ3) ผลการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน ปีการศึกษา 2562 พบว่า มีผลการประเมินอยู่ใน ระดับคุณภาพ 5 ยอดเย่ียม ท้ัง 3 มาตรฐาน และผลการประเมินทุกมาตรฐานสอดคล้องกับค่าเป้าหมายท่ี โรงเรยี นกาหนด อภิปรายผลการวจิ ัย 1. จากผลการวิจัยที่พบว่า บุคลากรมีความต้องการรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาเพื่อนามาใชใ้ นการพัฒนาโรงเรียนอย่างเป็นระบบ ท้ังน้ีเนื่องจากการดาเนินงาน ประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัย แ ล ะ พั ฒ น าก าร ศึ ก ษ ามี ก ารก าห น ด ให้ เป็ น บ ท บ าท ห น้ าท่ี ส าคั ญ ข อ งบุ ค ล าก รทุ ก ค น ที่ จ ะ ต้ อ งวา งแ ผ น การรายงานผลการปฏิบัติงานของตนเองตามเกณฑ์มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนท่ีสอดคล้องกับเกณฑ์ มาตรฐานคุณภาพการศึกษาที่สานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน) กาหนดและสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตรข์ องคณะศึกษาศาสตร์และพฒั นศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสนในฐานะท่ีโรงเรียนเป็นส่วนงาน บุคลากรของโรงเรียนจึงมีความจาเป็นต้องเตรียมความ พร้อมสาหรับการประกันคุณภาพการศึกษาภายในทุกปีการศึกษา ซึ่งก่อนปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยังไม่มี เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจยั ระดับชาติ ครงั้ ที่ 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หน้า 54

ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาท่ีชัดเจน ทาให้คณะกรรมการประเมินคุณภาพภายใน มองเห็นสิ่งที่ควรพัฒนาและให้ข้อเสนอแนะไว้คือ โรงเรียนควรมีการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศกึ ษา โดยเนน้ ให้มกี ารกาหนดกระบวนการดาเนินงานที่ชัดเจนสามารถนาสู่การปฏิบัติ ได้จริง เพื่อให้ได้มาซึ่งหลักฐานการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่จะช่วยสะท้อนมาตรฐานการศึกษาอย่าง ครบถ้วน และบุคลากรควรมีส่วนร่วมในการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน (โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา, 2560) และในปีการศึกษา 2560 งานประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนจึงเรมิ่ ดาเนินการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ภายในมาอย่างต่อเน่ือง จนถึงปีการศึกษา 2562 ได้มีการพัฒนารูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษา ให้มีความชัดเจนในการปฏิบัติงานตามความต้องการของบุคลากรของโรงเรียน และจากผลการวิจัยท่ีพบว่ารูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา มีคุณภาพด้านความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาในแตล่ ะประเด็นอยู่ในระดับมากและมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยและส่วน เบ่ียงเบนมาตรฐานอยู่ระหว่าง Mean=3.80, S.D.=0.45 ถึง Mean=4.60, S.D.=0.55 ทั้งน้ีเนื่องจากรูปแบบ การพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาท่ีพัฒนาข้ึน มีการดาเนินการตามข้ันตอน ของวิธีการเชิงระบบ โดยมีการนาผลการวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานที่เกี่ยวข้องและความต้องการรูปแบบการ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา มาใช้เป็นฐานคิดในการออกแบบและพัฒนาที่ เน้นการบริหารคุณภาพโดยใช้หลักธรรมาภิบาล (Good Governance) การมีส่วนร่วมของบุคลากร (Participations) และการเสริมพลัง (Empowerments) เพื่อเป้าหมายในการพัฒนาอย่างยั่งยืน รูปแบบมี กระบวนการดาเนินงานที่ชัดเจน มีการวัดและประเมินผลเพ่ือสะท้อนสิ่งท่ีรูปแบบต้องการพัฒนา และมีการ วิเคราะห์ปัจจัยสนับสนุนที่นาไปสคู่ วามสาเร็จได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยรูปแบบน้ีมี 5 องค์ประกอบสาคัญท่ี ครอบคลุมสาหรับการพัฒนามาตรฐานการศึกษาของโรงเรียน ประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวัดและประเมินผล และปัจจัยสนับสนุน มีการนารูปแบบไปใช้ตามขั้นตอน ประเมิน ประสิทธิผลของรูปแบบ และรับรองรูปแบบโดยผู้เช่ียวชาญ ทาให้ได้รูปแบบที่มีคุณภาพสามารถนาสู่การ ปฏิบัติได้อย่างเป็นรูปธรรม ซ่ึงสอดคล้องกับ Longman dictionary of contemporary English (1987: 668), Good (1973: 370), Smith (1961: 461-462), Keeves (1988: 559) และสมชัย จรรยาไพบูลย์ (2555: 13) ที่กล่าวถึงรูปแบบ เป็นภาพย่อส่วนของแนวคิดทฤษฎีเรื่องใดเรื่องหน่ึง ซ่ึงเป็นตัวแทนของ โครงสร้างทางความคิด หรือองค์ประกอบและความสัมพนั ธ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ที่สาคัญของเรื่องที่ศึกษา เพ่ืออธบิ ายปรากฏการณ์ให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น เพื่อใชป้ ระโยชน์ในการทานายปรากฏการณ์ที่จะเกิดข้ึนตลอดจน ใช้เป็นแนวทางในการดาเนินการอย่างใดอย่างหน่ึง และเน่ืองจากองค์ประกอบของรูปแบบไม่มีหลักเกณฑ์ ตายตัว แต่โดยส่วนใหญ่จะประกอบด้วย หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ และอาจมีท่ีแตกต่างกัน เช่น องค์ประกอบการนาสู่การปฏิบัติและเงื่อนไขความสาเร็จ โครงสร้างและสาระสาคัญของรูปแบบ ระบบงาน และกลไก เป็นต้น (วัชรศักด์ิ สงค์ปาน, 2558: 142-143) ซ่ึงทาให้เกิดความชัดเจนในการปฏิบัติงานมากขึ้น และในการพัฒนารูปแบบมีนักวิชาการได้ดาเนินการสอดคล้องกับการวิจัยครั้งน้ี คือ ศึกษาแนวคิด แนว ทางการดาเนินงานและวิเคราะห์รปู แบบ สร้างรูปแบบ ทดลองใช้รูปแบบ และปรับปรุงและนาเสนอผลการใช้ เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หนา้ 55

รูปแบบ (สมชัย จรรยาไพบูลย์, 2555: 80-102, จิตต์วิมล คล้ายสุบรรณ, 2556: 84) นอกจากน้ีรูปแบบยัง ผ่านการตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญเพ่ือการรับรองรูปแบบทาให้มีความน่าเชื่อถือ และพร้อมที่จะ นาไปใชใ้ นการขยายผลในโรงเรยี นเครือขา่ ยความร่วมมือตอ่ ไป 2. จากผลการวิจัยท่ีพบว่า ประสิทธิผลของรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา 3 ด้าน คือ 1) ความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนาม (Field Notes) พบว่า บุคลากรส่วนใหญ่มีความสามารถในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนามในภาพรวมอยู่ในระดับมาก (Mean=4.32, S.D.=0.54) 2) คุณภาพของรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) พบว่า ในภาพรวมมีคุณภาพอยู่ในระดับมากท่ีสุด (Mean=4.62, S.D.=0.51) และ3) ผลการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีการศึกษา 2562 พบว่า มีผลการประเมินอยู่ใน ระดับคุณภาพ 5 ยอดเย่ียม ทั้ง 3 มาตรฐาน ท้ังนี้เนื่องจากบุคลากรมีความรู้ความเข้าใจในระบบประกัน คุณภาพการศึกษาจากการศึกษาและอบรมเชิงปฏิบตั ิการเกี่ยวกับรูปแบบและปฏิบัตติ ามขั้นตอนของรูปแบบ 6 ข้ัน ตามปฏิทินการปฏิบัติงาน คือ ขั้นสร้างความตระหนัก ขั้นสร้างเสริมความรู้และความสามารถด้านการ ประกันคุณภาพการศึกษา ขั้นร่วมกาหนดความรับผิดชอบ ขั้นสังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการประกัน คุณภาพการศึกษา ขั้นปฏิบัติการตามระบบการประกันคุณภาพการศึกษา และข้ันติดตาม ตรวจสอบ และ พัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง จึงสามารถจัดเก็บข้อมูลภาคสนามตามมาตรฐานการศึกษาได้อย่าง ครบถ้วนและมีคุณภาพ และสามารถนาข้อมูลมาจัดทารายงานการประเมินตนเองได้สมบูรณ์ทุกประเด็น พิจารณา ทั้งน้ีในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนามสาหรับการวิจัยคร้ังน้ีมีการดาเนินงานเพ่ือจัดเก็บร่องรอย หลักฐานท่ีจะนามาสะท้อนคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้ถูกต้องและครบถ้วนตามมาตรฐาน การศึกษา ดังน้ันการจดบันทึกจึงเป็นวิธีการสาคัญในการเก็บข้อมูลเพ่ือทาให้การวิจัยนั้นสมบูรณ์ยิ่งขึ้น (สุภางค์ จันทวานิช, 2555) สาหรับรายงานการประเมินตนเอง โรงเรียนได้ใช้แนวทางการเขียนตามเอกสาร แนวทางการเขียนรายงานการประเมินตนเองของสถานศึกษา (Self - Assessment Report : SAR) ของ สานักทดสอบทางการศึกษา (2559) แต่จากผลการประเมินคุณภาพภายใน ปีการศึกษา 2561 พบว่ายังเขียน เรียบเรียงไม่ชัดเจน และไม่เป็นรูปธรรมในทางปฏิบัติ รวมท้ังเสนอหลักฐานการตรวจสอบไม่ครบถ้วนทั้งๆที่ โรงเรียนมีการดาเนินงาน และในปกี ารศึกษา 2562 ที่มีการนารูปแบบท่ีพัฒนาข้ึนน้ีไปใช้ พบว่า รายละเอียด ในรายงานการประเมินตนเองมีความชัดเจนและเป็นรูปธรรม มีร่องรอยหลักฐานจากการปฏิบัติจริงครบถ้วน ทาให้ผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานมีผลการประเมินอยู่ใน ระดบั คณุ ภาพยอดเยี่ยมท้ัง 3 มาตรฐาน ขอ้ เสนอแนะ ข้อเสนอแนะเพ่ือการนาผลการวจิ ยั ไปใช้ 1. จากผลการวิจัยท่ีพบว่า บุคลากรมีความต้องการรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ การศึกษาภายในสถานศึกษาเพื่อนามาใช้ในการพัฒนาโรงเรียนอย่างเป็นระบบ แต่ยังไม่เข้าใจบทบาทหน้าท่ี ท่ีชัดเจน ดังนั้นก่อนจะดาเนินการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ผู้บริหารโรงเรียน ควรสร้างความเข้าใจร่วมกันเป็นอันดับแรกเพื่อให้บุคลากรของโรงเรียนเห็นความสาคัญ และความจาเป็น เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวิจยั ระดบั ชาติ ครง้ั ท่ี 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หนา้ 56

ของการมีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรียน และที่พบว่า “ACCSOF Model” เป็นรูปแบบเชิง ระบบที่มีคุณภาพอยู่ในระดับมากและมากที่สุดสามารถนาไปใช้ได้ ดังนั้นบุคลากรของโรงเรียนควรศึกษาการ นารูปแบบไปใช้ให้ชัดเจน และดาเนินการตามกระบวนการ 6 ข้ัน ในระยะเวลาที่กาหนดเพื่อการส่งต่อข้อมูล และจดั ทาสารสนเทศการประกันคุณภาพอยา่ งมีประสิทธิภาพ 2. จากผลการวิจัยที่พบว่าความสามารถของบุคลากรในการจัดเก็บข้อมูลภาคสนาม คุณภาพ ของรายงานการประเมินตนเอง และผลการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ปีการศึกษา 2562 มผี ลการประเมนิ อยู่ในระดบั มาก มากท่สี ดุ และยอดเยีย่ มตามลาดับ ดงั น้ันผ้บู ริหารและบุคลากรของโรงเรยี น ควรนา“ACCSOF Model” มาใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาการบริหารจัดการศึกษาให้มีคุณภาพอย่าง ต่อเนอื่ ง และขยายผลสโู่ รงเรียนเครอื ข่ายความร่วมมอื ต่อไป ข้อเสนอแนะเพ่ือการวิจยั ในคร้งั ต่อไป 1. ควรพฒั นากระบวนทัศนก์ ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา 2. ควรพัฒนากลไกการบริหารจัดการระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา โดยใชเ้ กณฑ์ EdPEx200 เพอื่ การพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาสูค่ วามเป็นเลศิ เอกสารอ้างอิง กระทรวงศึกษาธิการ. (2561). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับ ปฐมวัยระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ พ.ศ. 2561. ราชกิจจานุเบกษา. จติ ตว์ ิมล คล้ายสุบรรณ. (2556). การพฒั นารปู แบบการประกนั คุณภาพภายในที่มปี ระสทิ ธผิ ลสาหรบั สถานศกึ ษาขนาดเล็กจงั หวดั สุพรรณบรุ .ี วทิ ยานิพนธป์ รญิ ญาศึกษาศาสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต สาขาวิชา การวิจยั และประเมนิ ทางการศกึ ษา บัณฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ศาสตร.์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน. (2556). แผนยุทธศาสตร์ระยะ 10 ปี (พ.ศ. 2556- 2565) คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตกาแพงแสน. นครปฐม: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน. โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา. (2560). รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2560. นครปฐม: โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการศึกษา. ___________. (2561). รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2561. นครปฐม: โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ ิจยั และพฒั นาการศึกษา. เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวจิ ยั ระดบั ชาติ ครงั้ ท่ี 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หนา้ 57

โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา. (2562). รายงานการประเมินตนเอง ปีการศึกษา 2562. นครปฐม: โรงเรียนสาธิตแห่ง มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาการศกึ ษา. _________. (2561). คู่มือประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจาปีการศึกษา2561. นครปฐม: โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต กาแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการศกึ ษา. _________. (25 62). Model เพื่ อ ก ารพั ฒ น าก ารศึ ก ษ า. น ค รป ฐม : โรงเรียน ส าธิต แ ห่ ง มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจัยและพฒั นาการศกึ ษา. วัชรศักด์ิ สงค์ปาน. (2558). การพัฒนารูปแบบการบริหารโรงเรียนเพ่ือบรรลุผลการประกันคุณภาพ ภายในของโรงเรียนมัธยมศึกษาภาคใต้ฝั่งอันดามัน. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรดุษฎี บณั ฑิต สาขาวิชาการบรหิ ารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั หาดใหญ่. สมชัย จรรยาไพบลู ย์. (2555). รปู แบบการพฒั นาการประกนั คุณภาพภายในสถานศึกษา สงั กดั สานกั งาน เขตพนื้ ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 29. วิทยานิพนธป์ รญิ ญาครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ สาขาวิชา การบรหิ ารการศึกษา บัณฑติ วิทยาลัย มหาวทิ ยาลัยราชภฎั อุบลราชธานี. สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2561). มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561. พิมพ์คร้ังที่ 1 กรุงเทพมหานคร: บรษิ ทั 21 เซ็นจูรี่จากัด. สุภางค์ จันทวานิช. (2561). วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 24. กรุงเทพมหานคร: สานักพิมพ์แห่ง จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย. Deming, W. E. (1986). Out of the Crisis. MA: MIT Press. Feigenbaum, A. V. (1961). Total Quality Control Engineering and Management. McGraw Hill. Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: McGraw-Hill. Keeves, P. J. (1988). Educational Research Methodology, and Measurement: An International Handbook. Oxford, England: Pergamon Press. Longman Dictionary of Contemporary English. (1987). England. Clays. Smith, E. W., et al.. (1961). The Education’s Encyclopedia. New York: Prentice-Hall. เอกสารประกอบการนาเสนอผลงานวจิ ัยระดบั ชาติ ครงั้ ที่ 17 พ.ศ. 2564 (ICE 2021) หนา้ 58