ผู้ทรงคณุ วุฒิ อาจารยด์ ุสิต หังเสวก ผูอ้ านวยการกลุ่มนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา สานกั งานเขตพน้ื การศกึ ษาประถมศึกษานครปฐม เขต 1 อาจารยว์ ไิ ล คชศิลา ศกึ ษานเิ ทศก์ สานักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษานครปฐม เขต 1 คณุ ทองวาท ราชชารี นักวเิ คราะหน์ โยบายและแผน ชานาญการ หวั หน้างานนโยบายและแผน คณุ กมลธนัสร์ สามสเี นียม เจ้าหน้าที่บรหิ ารงานทวั่ ไป ระดบั ปฏบิ ตั ิการ รายชอ่ื คณะทางาน ผ้อู านวยการ ทป่ี รึกษา ท่ปี รึกษา รองผ้อู านวยการฝา่ ยบริหาร ที่ปรึกษา ทป่ี รึกษา รองผอู้ านวยการฝ่ายวิชาการ ที่ปรึกษา รองผู้อานวยการฝา่ ยวิจยั และบริการวชิ าการ ทีป่ รึกษา ทป่ี รึกษา รองผู้อานวยการฝ่ายวางแผนและสารสนเทศ ท่ีปรกึ ษา รองผอู้ านวยการฝ่ายกิจการนักเรียน ทปี่ รกึ ษา ผ้ชู ่วยผู้อานวยการระดบั การศึกษาปฐมวยั ประธาน รองประธาน ผู้ชว่ ยผอู้ านวยการระดับประถมศึกษา กรรมการ กรรมการ ผชู้ ว่ ยผอู้ านวยการระดับมธั ยมศกึ ษา กรรมการ นางสาวสุกัญญา ทพิ ยร์ ักษ์ กรรมการ กรรมการ นางสริ ิมา ศริ ิฤกษ์ กรรมการ กรรมการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ณภุ ทั รณีย์ สุขมุ ะ กรรมการ กรรมการ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์วจิ ิตตรา จนั ทร์ศรบี ตุ ร กรรมการ กรรมการ ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อาพร ขนุ เนียม กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานกุ าร นางนภสั กร อดุ มศรี นายภาสวิชญ์ หลาวมา นางสาวภัทร์ศรณั ย์ ธนัชญาอิศม์เดช นางสวุ ณี า เดือนแจง้ นางสาวนลินทิพย์ มโนมน่ั นางสาวมินตรา สงิ หนาค นายนเรศ มว่ งอยู่ นางสาวชลทิชา ป้ันศรนี วล นางสาวทิพยภ์ าพร ขุนไกร นางสาวรถั ญา เทยี นเหลอื ง 18
ส่วนท่ี 2 Model การเรยี นการสอน 19
รปู แบบ ชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี เพอื่ เสรมิ สร้างสมรรถนะ การจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ตามแนวคดิ พหุปัญญาร่วมกับ ภาษาธรรมชาติของนกั ศึกษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครูท่ีสง่ เสริม คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคของเดก็ ปฐมวัย จัดทำโดย ผู้ช่วยศำสตรำจำรย์ชตุ มิ ำ รศั มี และคณะ รว่ มกบั งำนฝึกประสบกำรณ์วชิ ำชีพครู และงำนกำรศกึ ษำปฐมวัย 20
รปู แบบชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชีพเพ่ือเสริมสรา้ งสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ตามแนวคิดพหปุ ญั ญารว่ มกับภาษาธรรมชาตขิ องนกั ศึกษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครูทส่ี ง่ เสรมิ คุณลกั ษณะทพี่ ึงประสงคของเด็กปฐมวัย “KU.KIDS Model” แนวคดิ พนื้ ฐานในการพัฒนารปู แบบ รูปแบบชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรียนรูต้ ามแนวคิด พหุปัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูท่ีส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค ของเด็กปฐมวัย มีแนวคิดพ้ืนฐานมาจากมาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ในรูปแบบของผลลัพธ์ที่พึง ประสงค์ (Desired Outcomes of Education, DOE) การจัดการศึกษาและทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 การจดั ประสบการณ์การเรียนรสู้ าหรับเด็กปฐมวัย จิตวทิ ยาพฒั นาการสาหรบั เด็กปฐมวยั ชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ ทฤษฎีพหุปัญญา (Theory of Multiple Intelligences) แนวทางการสอนภาษาแบบธรรมชาติ (Whole Language) สาหรับเด็กปฐมวัย การฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพครู และคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงคของเด็ก ปฐมวัย องค์ประกอบของรูปแบบ รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในการวิจัยคร้ังนี้ มีชื่อว่า “KU.KIDS Model” มีองค์ประกอบ 5 ดา้ น คือ หลักการ วัตถปุ ระสงค์ กระบวนการ การวดั และประเมนิ ผล และปัจจยั สนับสนนุ โดยองค์ประกอบ แตล่ ะด้านมสี าระสาคญั ดงั นี้ 1. หลกั การ พั ฒ น า ส ม ร ร ถ น ะ ก า ร จั ด ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ ก า ร เ รี ย น รู้ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ฝึ ก ป ร ะ ส บ ก า ร ณ์ วิ ช า ชี พ ค รู อย่างต่อเน่ืองด้วยรูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) บนฐานคิดของพหุปัญญาและภาษาธรรมชาติ ท่ีเน้นการมีส่วนร่วม เพื่อให้เด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัยและบรรลุเป้าหมายของหลักสูตรสถานศึกษาระดับ ปฐมวยั เปน็ สาคญั 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพ่ือพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดพหุปัญญาร่วมกับ ภาษาธรรมชาติของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยใช้รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ 2 ระยะ ได้แก่ ระยะกอ่ นการใชร้ ูปแบบ และระยะหลงั การใชร้ ปู แบบ 2.2 เพ่ือพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ตามแนวคิดพหุปัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยใช้รูปแบบชุมชน การเรยี นรูท้ างวิชาชีพ 2.3 เพ่ือพัฒนาความสามารถทางพหุปัญญา 8 ด้านของเด็กปฐมวัย หลังการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ตามแนวคิดพหุปัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยใช้ รปู แบบชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวชิ าชพี 3. กระบวนการ ขั้นตอนการดาเนินการตามระยะของชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการ จัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดพหปุ ัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนกั ศึกษาฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู ท่ีส่งเสรมิ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคของเดก็ ปฐมวัย มกี ารดาเนินการตามลาดบั อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 6 ข้ัน คอื 21
ขั้นท่ี 1 การเรียนรู้ความรู้ใหม่ (Knowing and Learning New Knowledge: K) เป็นการให้ โอกาสนักศึกษาฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู และอาจารย์พื้เล้ียงในระดบั ช้นั อนบุ าลศึกษา ได้เปิดรับความรแู้ ละ ความคิด หรือวิธกี ารใหม่ๆ กระตุ้นใหพ้ ัฒนาแนวคดิ และมีมุมมองใหม่ๆ ทางด้านหลกั สตู รการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ และการวัดและประเมินผลของเด็กปฐมวัย โดยใช้วิธีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ส่ิงใหม่ๆ ทางด้านการศึกษาผ่านออนไลน์ และเมื่อมองย้อนกลับมาศึกษาข้อมูลในบริบทโรงเรียน และห้องเรียน สิ่งที่ต้องการพัฒนาอย่างเร่งด่วนคืออะไร และมีวิธีการอย่างไร นอกจากน้ีมีการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อเพ่ิมพูนความรู้ความเข้าใจ และประสบการณ์จากวิทยากรเชี่ยวชาญเฉพาะทาง โดยเลือกหัวข้อ ตามความต้องการของอาจารย์พี่เล้ยี งและนักศึกษา เพอ่ื นามาใช้แก้ปญั หาหรือพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ของเด็กแตล่ ะคนในช้ันเรียนใหเ้ กดิ ประสิทธิผลสูงสดุ ข้ันที่ 2 การสร้างความเขา้ ใจร่วมกนั (Understanding Coordination: U) เป็นการดาเนนิ การ ท่ีต่อยอดจากขั้นที่ 1 นาความคิดใหม่ ๆ มาแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ (Share and Learn) ร่วมกัน ทั้งนี้ เพ่ือให้เกิดความเข้าใจตรงกันเกี่ยวกับความจาเป็นในการนากระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพมาใช้ใน การพัฒนาการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดพหุปัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนักศึกษาฝึก ประสบการณ์วิชาชีพครู ท่ีส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงคของเด็กปฐมวัย และร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมมือรวม พลังกันเพื่อกาหนดแนวทางในการพัฒนาชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในระดับชั้นอนุบาลศึกษาท้ังระบบ โดย เน้นการมีส่วนร่วม (Participation) ของบุคลากรทุกฝ่ายในระดับอนุบาลรวมทั้งผู้แทนผู้ปกครอง และชุมชน เพื่อสร้างทีม PLC และกาหนด ปฏิทินการดาเนินกิจกรรม PLC เพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัด ประสบการณ์การเรยี นรู้ตามแนวคิดพหุปญั ญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนักศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู ร่วมกัน ขั้นท่ี 3 การลงมือปฏิบัติ (Keep Practicing: K) นักศกึ ษาฝกึ ประสบการณว์ ิชาชพี ครูและอาจารย์ พ่ีเล้ียงร่วมกันวเิ คราะห์ปญั หาหรือส่งิ ท่ีต้องการพัฒนาเด็กในชัน้ เรยี นให้บรรลุเป้าหมายของหลักสูตรการศึกษา ปฐมวัย พุทธศักราช 2560 และหลกั สตู รโรงเรียนสาธติ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ระดับปฐมวัย พุทธศักราช 2560 ในด้านคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ซึ่ง ประกอบด้วยพัฒนาการ 4 ด้าน คือ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคมและด้านสติปัญญา รวมทั้งพหุ ปัญญา 8 ด้าน และร่วมกันหาสาเหตุท่ีแท้จริงของการไม่บรรลุเป้าหมายดังกล่าว ร่วมกันออกแบบการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ และส่ือ แหล่งเรียนรู้ โดยเลือกเทคนิค วิธีการ กระบวนการข้ันตอน รูปแบบ ท่ี เหมาะสมต่อการนาไปพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ และพหุปัญญา 8 ด้านของเด็กระดับปฐมวัย นักศึกษา ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเขียนแผนและเตรียมการจัดประสบการณ์ตามแนวคิดพหุปัญญาร่วมกับ ภาษาธรรมชาติ โดยมีอาจารย์พี่เลี้ยงให้ความรู้ และให้คาแนะนาอย่างใกล้ชิด สมาชิกทีม PLC เตรียมสังเกต การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กาหนดวันเวลาในการสังเกตการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ในช้ันเรียนของทีม หลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แล้ว ทีม PLC ร่วมกันทบทวน ต้ังข้อสังเกต และให้คาแนะนาแก่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ด้วยวิธีการ After Action Review : AAR หลงั การลงมอื ปฏบิ ัตทิ นั ที นาไปสกู่ ารกาหนดปญั หาและพฒั นาในโอกาสต่อไป ขั้นที่ 4 การสะท้อนคิด (Ideas Reflection: I) ทีม PLC ร่วมกันกาหนดประเด็นในการสะท้อน ความคิดให้ครอบคลุมส่ิงที่ร่วมกันศึกษา เพ่ือกาหนดส่ิงท่ีจะพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์ การเรียนรู้ตามแนวคิดพหุปัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติ ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู วางแผน การสังเกตการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ศึกษาค้นคว้า สนับสนุนสื่อ-อุปกรณ์ แนะนาการใช้เทคโนโลยี ประกอบการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นรสู้ าหรับเด็กปฐมวัยในยุคดจิ ิทลั ขั้นท่ี 5 การถอดบทเรียนอย่างมีเป้าประสงค์ (Deliberating Lesson Learned: D) ทีม PLC ร่วมกันถอดบทเรียนจากการดาเนินการพฒั นาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ตามแนวคิดพหุปัญญา 22
ร่วมกับภาษาธรรมชาติของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ส่งเสริมคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของเด็ก ปฐมวัย เพื่อให้ได้องค์ความรู้เก่ียวกับ รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพท่ีเหมาะสมกับบริบทโรงเรียนและ ความต้องการของผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสีย ได้แก่ ผู้บรหิ าร อาจารย์ เด็กปฐมวัย ผู้ปกครอง ชมุ ชน จากนน้ั นาผลที่ได้ จากการถอดบทเรยี น ไปใชด้ าเนินการร่วมกับการจัดการความรู้ (Knowledge Management : KM) เพ่อื ชว่ ย ในการจัดการระบบความรู้ โดยมีรูปแบบที่ใช้ในการจัดการความรู้ช่ือ “MDOFT Model” มีขั้นตอนการ ดาเนินงานดงั ภาพท่ี 8 ภาพที่ 8 ขนั้ ตอนการดาเนนิ งานตามแผนการจัดการเรียนรู้ ขั้นท่ี 6 การพัฒนาอย่างย่ังยืน (Sustainable Development : S) ทีม PLC ร่วมกันเสนอแนะ แนวทางในการนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพในโรงเรียน ไปสู่การปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) เพื่อให้เกิด Mind Set ในการพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้อย่างยั่งยืน ด้วยการขยายผลสู่โรงเรียนเครือข่าย ความร่วมมือ เพ่ือสร้างความเข้มแข็งในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เป็นที่ยอมรับของผู้ปกครอง และชุมชน ท่ีได้ให้ความไว้วางใจกับโรงเรียนในการดูแลและพัฒนาบุตรหลานให้เติบโต ก้าวหน้า และมีพัฒนาการสมวัย ผู้วิจัยนาเสนอกระบวนการของรูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดพหุปัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนักศึกษาฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู ทส่ี ง่ เสริมคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคของเด็กปฐมวัย ดงั ภาพที่ 9 23
ภาพท่ี 9 กระบวนการของรูปแบบชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชพี เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจดั ประสบการณ์ การเรียนรตู้ ามแนวคิดพหปุ ญั ญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนกั ศึกษาฝกึ ประสบการณว์ ชิ าชีพครูที่ สง่ เสรมิ คุณลักษณะที่พงึ ประสงคของเดก็ ปฐมวยั 4. การวัดและประเมนิ ผล 4.1 สมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดพหุปัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติ ของนักศกึ ษาฝึกประสบการณ์วิชาชพี ครู 4.2 คณุ ลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงค์และความสามารถทางพหุปัญญา 8 ดา้ นของเดก็ ปฐมวยั 5. ปจั จัยสนับสนนุ ปัจจัยสาคัญท่ีชว่ ยขับเคล่ือนให้รูปแบบชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ “KU.KIDS Model” ทางาน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมีประสิทธิผลสูงสุดต่อนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และเด็กปฐมวัย คือ การเสริมสร้างพลัง (Empowerment) การแบ่งปันและแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ (Sharing and Learning) การสอน งาน (Coaching) การเป็นพี่เล้ียง (Mentoring) การสะท้อนผล (Reflecting) การมีส่วนร่วม (Participation) และการร่วมแรง ร่วมใจ รวมพลัง (Collaboration) ผ่านกระบวนการชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง จากองค์ประกอบดังกล่าวของรูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัด ประสบการณ์การเรยี นรู้ตามแนวคิดพหุปัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนกั ศึกษาฝกึ ประสบการณ์วิชาชีพครู ที่ส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค ของเด็กปฐมวัยท่ีผู้วิจัยนาเสนอ โดยมีองค์ประกอบของรูปแบบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวัดและการประเมินผล และปัจจัยสนับสนุน ดงั ภาพที่ 10 24
ภาพท่ี 10 รปู แบบชุมชนการเรยี นร้ทู างวิชาชพี เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจดั ประสบกา ฝึกประสบการณ์วชิ าชพี ครู ท่ีส่งเสริมคณุ ลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคของเดก็ ปฐมวยั 25
ารณก์ ารเรยี นรตู้ ามแนวคดิ พหุปญั ญารว่ มกับภาษาธรรมชาตขิ องนักศึกษา ย
รายช่ือคณะทางาน ผชู้ ่วยศาสตราจารยช์ ตุ มิ า รัศมี ประธาน รองประธาน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.รุจิราพร รามศริ ิ กรรมการ กรรมการ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อาพร ขุนเนียม กรรมการ กรรมการและเลขานุการ นางนภัสกร อดุ มศรี ประธานกรรมการ นางพัทธ์ชรญั ญา วรมาลี รองประธานกรรมการ กรรมการ นายธนวรรธน์ สวนประเสรฐิ กรรมการ กรรมการ คณะกรรมการงานฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู กรรมการ กรรมการ ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ดร.รุจิราพร รามศริ ิ กรรมการ กรรมการและเลขานุการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์อทุ ัยวรรณ แสงเสถียร กรรมการและผ้ชู ่วยเลขานุการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สวรส ศรอี นันตคม ประธานกรรมการ กรรมการ ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ขจรรตั น์ อดุ มศรี กรรมการ กรรมการ นางสาวมลิวลั ย์ กาญจนชาตรี กรรมการ กรรมการ นายปรชี า นวมนาม กรรมการ กรรมการและเลขานุการ นางสาวสุพตั รา ฝา่ ยขันธ์ กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานกุ าร นางสาวบูรนาถ เฉยฉนิ ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อาพร ขนุ เนียม นายธนวรรธน์ สวนประเสริฐ คณะกรรมการงานการศกึ ษาปฐมวัย อดุ มศรี รศั มี นางนภัสกร เจรญิ ศิลป์ชัย ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ชตุ มิ า ดอกชะเอม ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์กรรณกิ าร์ วรมาลี ผู้ช่วยศาสตราจารย์พรสถติ ขนุ ไกร นางพทั ธ์ชรญั ญา เมืองบรุ ี นางสาวทพิ ยภ์ าพร วงั เย็นนยิ ม นางอัญชุลีกร โรจนทั นางพศิ มยั นางมณีรตั น์ 26
รูปแบบ การจัดการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ STEM Education ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงออกแบบท่ีผสมผสานเทคโนโลยใี นยุค ดจิ ิตอล เพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะการแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์และ การสรา้ งสรรค์นวัตกรรมของนกั เรียนระดับมัธยมศกึ ษา จัดทำโดย ผชู้ ่วยศำสตรำจำรย์ ดร.รจุ ริ ำพร รำมศิริ อ.สกุ ญั ญำ ทพิ ย์รกั ษ์ กลมุ่ สำระกำรเรียนรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี 27
รูปแบบการจัดการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ STEM Education ร่วมกบั กระบวนการคดิ เชิงออกแบบท่ีผสมผสานเทคโนโลยใี นยคุ ดิจิตอลเพอ่ื เสรมิ สร้างสมรรถนะการแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ และการสรา้ งสรรคน์ วัตกรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา “EEIPS Model” แนวคดิ พื้นฐานในการพฒั นารปู แบบ รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEM Education ร่วมกับกระบวนการคิด เชิงออกแบบที่ผสมผสานเทคโนโลยีในยุคดิจิตอล เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และ การสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา มีแนวคิดพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบท่ีเกี่ยวข้อง 6 แนวคดิ ดงั นี้ 1. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) 2. มาตรฐาน/ตัวชีว้ ัด (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560 Basic Education Curriculum B.E 2551 (A.D. 2008) 3. มาตรฐานการศกึ ษาของชาติ พ.ศ. 2561 ในรูปแบบของผลลัพธท์ ีพ่ ึงประสงค์ (Desired Outcomes of Education, DOE) 4. กระบวนการคิดเชิงออกแบบ (Design Thinking) 5. สะเตม็ ศกึ ษา (Science Technology Engineering and Mathematics Education: STEM Education) 6. กระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรม (Engineering Design Process) จากแนวคดิ พ้นื ฐานในการพฒั นารปู แบบดังกลา่ ว นาเสนอแนวคดิ ท่เี กี่ยวขอ้ งได้ดงั ภาพที่ 11 ภาพที่ 11 แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด STEM Education ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงออกแบบท่ีผสมผสานเทคโนโลยีในยุคดิจิตอล เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะ การแก้ปญั หาอย่างสรา้ งสรรคแ์ ละการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนกั เรียนระดบั มัธยมศกึ ษา 28
องค์ประกอบของรูปแบบ รูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEM Education ร่วมกับกระบวนการคิดเชิง ออกแบบท่ีผสมผสานเทคโนโลยีในยุคดิจิตอล เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และการ สรา้ งสรรค์นวตั กรรมของนักเรยี นระดับมัธยมศกึ ษา ใชช้ อ่ื รูปแบบวา่ “EEIPS Model” ใช้เป็นส่วนหนง่ึ ของการ จดั การเรยี นรู้ในรายวิชาฟสิ ิกส์ 5 (ว 32205) และเทคโนโลยสี ารสนเทศ (ว 33285) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2562 ระยะเวลาท่ีใช้ในการพัฒนาและทดลองใช้รูปแบบ จานวน 11 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 5 คาบ รวมเป็น 55 คาบ มีองค์ประกอบ 5 ด้าน คือ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวัดและประเมินผล และปัจจัยสนับสนุน โดยองคป์ ระกอบแต่ละดา้ นมสี าระสาคัญดงั นี้ 1. หลกั การ การเรียนรู้ตามแนวคิด STEM Education ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงออกแบบที่ผสมผสาน เทคโนโลยี คือ การจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนมีบทบาทในการสร้างสรรค์นวัตกรรมหรือความคิดใหม่ๆ เพ่ือใช้ แก้ปัญหาในชีวิตประจาวันตามความต้องการของผู้บริโภค ท่ีเน้นการสร้างต้นแบบของนวัตกรรมจาก การบูรณาการความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเลือกใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสม เพ่ือเสรมิ สร้างสมรรถนะการแกป้ ญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ การสรา้ งสรรคน์ วตั กรรมของผู้เรยี น 2. วัตถปุ ระสงค์ เพ่ือพัฒนาสมรรถนะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักเรียนระดับ มัธยมศึกษา 3. กระบวนการ EEIPS Model เป็นรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่บูรณาการแนวคิด STEM Education รว่ มกับกระบวนการคิดเชงิ ออกแบบ และการใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลในการจัดการเรยี นรู้ใหเ้ กิดประโยชนต์ ่อผู้เรียน ในด้านสมรรถนะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์และการสร้างสรรค์นวัตกรรม ซ่ึงจะเริ่มต้นการเตรียมความ พร้อมก่อนการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ด้วยการปรับ Mindset เพ่ือสร้างแรงขับในการเรียนรู้และเห็น ความสาคัญของการบูรณาการเรียนรู้ การสืบค้นข้อมูล การออกแบบ การลงมือปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และ การใช้เทคโนโลยีเป็นส่วนหนึ่งในการสร้างสรรค์นวตั กรรมของนักเรียน โดยอาจใช้คากล่าวหรือแนวคิดของนัก การศึกษา เช่น Dr. Seuss “The more that you read, the more things you will know. The more that you learn, the more places you'll go.” จากนน้ั จงึ ดาเนนิ การตามกระบวนการ “EEIPS” 5 ข้ันตอน ดังนี้ ขัน้ ที่ 1 การทาความเขา้ ใจกลมุ่ เป้าหมายอย่างลกึ ซ้ึง (Empathize: E) การทาความเข้าใจกลุ่มเป้าหมายอยา่ งลึกซึ้งทาให้นักเรียนได้เรียนร้วู า่ ปัญหาความต้องการ ใดของกลุ่มเป้าหมายท่ียังไม่ได้รับการตอบสนอง (Unmet Needs) ซ่ึงเป็นโอกาสที่นักเรียนจะสามารถนาไป สร้างนวัตกรรมตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายได้โดยตรง ดาเนินการโดยให้นักเรียนเลือกเก็บข้อมูลด้วย วธิ ีการสัมภาษณ์และสงั เกตกลมุ่ เปา้ หมายคนท่นี า่ สนใจและเตม็ ใจในการให้ขอ้ มูล ขนั้ ท่ี 2 การสารวจแนวคิด และต้ังกรอบโจทย์ (Explore Ideas and Define: E) เป็นข้ันตอนที่ให้นักเรียนสารวจค้นหาข้อมูลท่ัวไปและความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย วิเคราะห์บริบทของกลุ่มเป้าหมาย โดยกาหนดประเด็นให้ครอบคลุม และนาข้อมูลที่ได้ทาความเข้าใจ กลุ่มเป้าหมายอยา่ งลึกซึง้ (Insights) รวมถึงบรบิ ททเ่ี ก่ียวข้องมาวเิ คราะหเ์ พ่ือสรุปประเด็นสาคัญและเป้าหมาย ของการออกแบบ เพอ่ื ให้ได้กรอบโจทยท์ ี่ชัดเจนและตรงตามความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายอยา่ งแทจ้ รงิ โดย กาหนดให้นกั เรยี นทางานเปน็ ทีม และใชแ้ ผนภมู ิทางคณิตศาสตร์ เชน่ แผนภูมแิ ท่ง แผนภมู ริ ปู วงกลม แผนภมู ิ 29
ก้างปลา เป็นต้น มาช่วยในการวิเคราะห์หามุมมอง (Point of View) ที่พิเศษเป็นลักษณะเฉพาะ จากน้ันนา ประเด็นข้อมูลทั้งหมดที่ได้จากการทาความเข้าใจกลุ่มเป้าหมายอย่างลึกซึ้งมาจัดลาดับความสาคัญ โดยเน้น มมุ มองทสี่ ามารถตอบสนองคุณค่าและความต้องการของกลมุ่ เป้าหมายได้อยา่ งแทจ้ ริง ขน้ั ที่ 3 การสรา้ งความคดิ วางแผนและออกแบบI (Ideate, Plan and Design: I) ให้นักเรียนระดมสมองคิดหาแนวทางในการวางแผนและออกแบบสร้างสรรค์นวัตกรรมเพื่อ ตอบสนองกลุ่มเป้าหมาย โดยเน้นการใช้คาถามว่า “ทาไมและอย่างไร (Why and How)” เพ่ือเอื้อให้สมาชิก ในทีมมองเห็นภาพรวมของนวัตกรรมท่ีตอบสนองความต้องการใช้งานของกลุ่มเป้าหมาย จากน้ันร่วมกัน ว า ง แ ผ น แ ล ะ อ อ ก แ บ บ น วั ต ก ร ร ม โ ด ย เ ส น อ ใ น ลั ก ษ ณ ะ รู ป ภ า พ แ ล ะ ร ะ บุ อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ข อ ง น วั ต ก ร ร ม ท่ี ประกอบด้วย ชื่อนวัตกรรม ความสาคัญ วัตถุประสงค์ หลักการทางาน และส่วนประกอบอื่นๆ เช่น วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ เป็นต้น จากน้ันให้แต่ละทีมนาเสนอผลการออกแบบนวตั กรรมและแลกเปลีย่ นเรียนรู้ซ่งึ กันและ กันด้วยวิธีการอภิปรายในประเด็นคาถาม “ทาไมและอย่างไร” ในขั้นนี้นักเรียนสามารถออกแบบโดยใช้ เทคโนโลยีปัจจุบันเพื่อพัฒนาการทางานของนวัตกรรมส่ังการโดยใช้ Application และ/Coding เพื่อควบคุม การทางานของอปุ กรณ์ในระบบทน่ี ักเรยี นพฒั นาข้ึนเป็นตน้ แบบนวตั กรรม ข้นั ที่ 4 การสรา้ งต้นแบบ ทดสอบและปรบั ปรงุ (Prototype, Test and Improve: P) การสร้างต้นแบบเป็นการถ่ายทอดความคิดของทีมที่ร่วมกันออกแบบไว้มาทาให้เป็น รูปธรรม จบั ตอ้ งได้ โดยทาเปน็ ตน้ แบบนวตั กรรมเพ่ือทดสอบด้านรูปลักษณ์ ความสวยงาม สสี ัน ความทนทาน ของวัสดุ เพ่ือที่จะหาว่าคุณลักษณะใดมีผลต่อความชอบของผู้ใช้ และการส่ือถึงความรู้สึกกับผู้ใช้ หรืออาจทา เป็นต้นแบบนวัตกรรมเพื่อทดสอบด้านพฤติกรรมของผู้ใช้ที่มีต่อนวัตกรรมท่ีสร้างขึ้น หรือต้นแบบด้าน ผลติ ภณั ฑ์ ไดแ้ ก่ คณุ ภาพ ความสามารถในการทางานของนวัตกรรม ประโยชน์ของนวัตกรรม เปน็ ตน้ จากนั้น จึงนาต้นแบบนวัตกรรมท่ีสร้างข้ึนไปทดสอบประสิทธิภาพการใช้งานกับกลุ่มเป้าหมายและศึกษาประสิทธิผล ของต้นแบบนวัตกรรมท่ีสร้างขึ้น โดยใช้สถานที่ทดสอบในบริบทท่ีผู้ใช้งานจะใช้ในชีวิตจริง ในระหว่างการ ทดสอบมีข้อท่ีควรปฏิบตั ิ คอื ควรบอกข้อมูลเทา่ ท่จี าเป็นทางด้านกิจกรรมทผ่ี ู้ทดสอบต้องทา ไม่ควรอธิบายการ ทางานของแนวคิดท่ีนามาทดสอบ ควรให้ผู้ทดสอบได้ลองใช้ในวิธีของตัวเอง ไม่ควรตัดสินว่าวิธีน้ันถูกหรือผิด คอยสังเกตปฏิกิริยาและความรู้สึกของผู้ใช้ระหว่างการทดสอบต้นแบบ และไม่ควรขัดจังหวะการใช้งาน จากนนั้ จงึ นาตน้ แบบนวตั กรรมท่ีนกั เรียนสร้างขึ้นมาปรับปรุงให้เปน็ รปู รา่ งสมบูรณ์ตามวตั ถุประสงค์ของการใช้ งาน โดยในการทดสอบแตล่ ะคร้ังจะช่วยใหน้ ักเรียนเกิดความคิดใหม่ ๆ เพมิ่ เติม ซง่ึ การดาเนนิ งานในข้ันที่ 4 นี้ พอจะสรุปเป็นขั้นตอนย่อยได้ 4 ขั้นคือ สร้างต้นแบบ (Build) ทดสอบและประเมิน (Test and Evaluate) ทดสอบซา้ (Iterate) และออกแบบใหม่ (Redesign) ข้ันที่ 5 การแบง่ ปันและการประเมนิ (Share and Assessment: S) ข้ันแบ่งปันและประเมิน เป็นการแลกเปล่ียนประสบการณ์ในการสร้างสรรค์ต้นแบบ นวัตกรรมตามความต้องการของกลุ่มเป้าหมายภายใต้กรอบโจทย์ในขั้นที่ 2 ระหว่างนักเรียน เพื่อน ครู และ ผู้สนใจ โดยนกั เรียนร่วมกนั จัดนิทรรศการการแสดงผลงานในโรงเรยี น จดั เผยแพรผ่ ลงานผ่านออนไลน์ ร่วมจดั แสดงผลงานในกิจกรรมการต้อนรับผู้บริหาร และครูจากภายนอกโรงเรียน รวมท้ังเข้าร่วมกิจกรรมจัด นิทรรศการงานเกษตรกาแพงแสน ประจาปี 2562 ณ คณะศึกษาศาสตร์และพัฒนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน และมีการประเมินผลงานของนักเรียนจากรายงานการ พฒั นานวตั กรรมในรูปแบบของกระบวนการวิจัย 30
ผู้วิจัยนาเสนอกระบวนการของรูปแบบการจดั การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEM Education ร่วมกับกระบวนการคิดเชิงออกแบบที่ผสมผสานเทคโนโลยีในยุคดิจิตอล เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการ แกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรคแ์ ละการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมของนักเรียนระดบั มธั ยมศกึ ษา ดังภาพที่ 12 ภาพที่ 12 กระบวนการของรูปแบบการจดั การเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด STEM Education ร่วมกับ กระบวนการคิดเชงิ ออกแบบที่ผสมผสานเทคโนโลยใี นยคุ ดิจิตอล เพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะ การแกป้ ัญหาอยา่ งสร้างสรรค์ และการสร้างสรรค์นวตั กรรมของนักเรียนระดบั มัธยมศึกษา 4. การวดั และประเมนิ ผล 4.1 สมรรถนะการแก้ปญั หาอยา่ งสรา้ งสรรค์ 4.2 สมรรถนะการสร้างสรรค์นวัตกรรม 5. ปัจจัยสนบั สนนุ 5.1 ทัศนะเชิงบวก (Mindset) ความร่วมแรงร่วมใจ (Collaboration) และความมุ่งม่ันต้ังใจ (Intention) ในการปฏบิ ตั ิงานให้สาเร็จของนักเรียน 5.2 การเสริมพลงั (Empowerment) ในการเรียนรู้ใหแ้ ก่นักเรยี น 5.3 ความพร้อมสิ่งอานวยความสะดวก (Facilities) ไดแ้ ก่ ทรัพยากรและแหลง่ เรยี นรูท้ ง้ั ภายในและ ภายนอกโรงเรียน 31
จากองค์ประกอบของรูปแบบการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตามแนวคิด STEM Education ร่วมกับ กระบวนการคิดเชิงออกแบบที่ผสมผสานเทคโนโลยีในยุคดิจิตอล เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการแก้ปัญหาอย่าง สรา้ งสรรค์และการสร้างสรรค์นวตั กรรมของนักเรยี นระดับมธั ยมศึกษา ทผี่ ้วู ิจัยนาเสนอโดยมีองค์ประกอบของ รูปแบบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวัดและการประเมินผล และปัจจัย สนบั สนนุ สรปุ ไดด้ งั ภาพที่ 13 32
ภาพที่ 13 รปู แบบการจัดการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ตามแนวคดิ STEM Education ร่วมก สมรรถนะการแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรค์และการสรา้ งสรรค์นวัตกรรมของนัก 33
กับกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบทผ่ี สมผสานเทคโนโลยีในยุคดจิ ิตอล เพื่อเสรมิ สรา้ ง กเรียนระดับมัธยมศึกษา
สว่ นท่ี 3 Model การจัดการความรู้ 34
รูปแบบ การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีมีประสิทธผิ ล โรงเรยี นสาธติ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการศึกษา จดั ทำโดย ผ้ชู ว่ ยศำสตรำจำรย์ณชพงศ์ อดุ มศรี และคณะ 35
รูปแบบการจัดอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการทมี่ ปี ระสิทธิผล โรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษา “MSOFT Model” 1. เป้าหมายและวตั ถปุ ระสงค์ เป้าหมาย งานบริการวิชาการและเครือขา่ ยความร่วมมือเพ่ือพฒั นาครูผสู้ อนระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ทที่ าหน้าที่พฒั นาคุณภาพผเู้ รียนในยคุ ศตวรรษที่ 21 วตั ถปุ ระสงค์ 1.1 เพื่อศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานและความต้องการในการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีมี ประสทิ ธผิ ลของครใู นโรงเรียนเครอื ขา่ ยความร่วมมอื 1.2 เพ่ือพัฒนารูปแบบการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีมีประสิทธิผล ท่ีเสริมสร้างสมรรถนะครูผู้สอน ในโรงเรยี นเครือข่ายความร่วมมอื ระดบั การศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน และส่งเสริมทกั ษะผ้เู รยี นในศตวรรษท่ี ๒๑ 1.3 เพื่อนารูปแบบการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีมีประสิทธิผล ไปใช้ในการพัฒนาโครงการอบรม เชงิ ปฏิบัติการบูรณาการการจดั การเรยี นรู้ตามแนวคิด STEM Education เพือ่ ส่งเสรมิ ทักษะผู้เรยี นในศตวรรษ ท่ี ๒๑ 1.4 เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการ ภายใต้โครงการอบรม เชิงปฏิบตั กิ ารบูรณาการการจดั การเรียนร้ตู ามแนวคดิ STEM Education เพ่ือส่งเสรมิ ทกั ษะผู้เรยี นในศตวรรษ ท่ี 21 ประกอบดว้ ย 1) ผลการพฒั นากระบวนการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการบูรณาการการจัดการเรียนรู้ตามแนวคดิ STEM Education เพอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี 21 2) ผลการประเมินสมรรถนะครูผู้สอนในโรงเรียนเครือข่ายความร่วมมือระดับการศึกษา ข้ันพืน้ ฐาน 2. การสนับสนนุ จากผบู้ ังคบั บัญชา 1.1 การมอบนโยบายการปฏิบัติงาน ท่ีสะท้อนยุทธศาสตร์การบริหารโรงเรียน ข้อที่ 2 พัฒนา คณาจารย์และบุคลากรให้มีมาตรฐานวิชาชีพ และสะท้อนยุทธศาสตร์ท่ี 1 พัฒนาระบบการบริหารจัดการ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและรองรับการเปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ที่ 1.8 สร้างเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงาน ภายนอก ท้ังภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะกลุ่มเป้าหมายในการเผยแพร่ผลงานบริการวิชาการ เพือ่ การสร้างนวัตกรรม 1.2 การกากับ ติดตาม และช่วยเหลือ การดาเนินงานการพัฒนาโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ ทม่ี ปี ระสทิ ธิผล 36
3. วธิ ีการ แนวทาง กระบวนการดาเนินงานจดั การความรู้ แผนการดาเนนิ งาน ประเดน็ การจดั การ ชอ่ื เรอื่ ง แหลง่ ความรู้ ระยะเวลา ตัวชวี้ ดั ผลผลติ ตวั ชว้ี ดั ความรู้ สร้างวสิ ัยทัศน์ ดาเนนิ การ ความสาเรจ็ รว่ มกนั 1. โรงเรยี นเครือขา่ ย มี.ค.61 – จานวนครูของ 1. การศกึ ษาและ ความร่วมมอื พ.ค.61 โรงเรยี นเครอื ขา่ ย จานวนครูของ วเิ คราะหข์ ้อมลู สร้างสรรค์ 2. เพ่ือนร่วมงานภายใน ความร่วมมอื ท่มี ี โรงเรียนเครือขา่ ย พนื้ ฐานและความ องค์ประกอบของ และภายนอกโรงเรียน พ.ค.61 ความตอ้ งการในการ ความร่วมมอื ท่ีตอบ ตอ้ งการในการจัด รูปแบบการจัด 3. เพื่อนร่วมงานในกลุ่ม พัฒนาสมรรถนะการ รบั การเข้าร่วม อบรมเชิงปฏบิ ัติการ อบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร สาระการเรียนรู้และตา่ ง พ.ค.61 – จัดการเรยี นรู้ ผา่ น โครงการอยา่ งนอ้ ย ที่มปี ระสิทธิผลของ กลุ่มสาระการเรยี นรู้ มิ.ย.61 การอบรมเชิง ร้อยละ75 ครใู นโรงเรียน แนวคิดสู่การปฏิบัติ ปฏิบตั ิการ เครอื ข่ายความ :การอบรมเชงิ 1. เอกสารเนอื้ หาสาระ ก.ค.61 ร่วมมือ ปฏิบัติการ บูรณา ท่เี กยี่ วกับการจดั อบรม เอกสารรปู แบบการ คณุ ภาพของ 2. การพัฒนา การการจัดการ เชงิ ปฏิบัตกิ าร การ จดั อบรมเชงิ รปู แบบการจดั รปู แบบการจดั เรียนรู้ตามแนวคดิ จัดการเรยี นการสอน ปฏิบัติการทม่ี ี อบรมเชิงปฏิบัติการ อบรมเชิงปฏิบัตกิ าร STEM Education ตามแนวคิด STEM ประสิทธิผล ท่ีมปี ระสิทธผิ ล ที่มีประสิทธิผล เพื่อส่งเสรมิ ทกั ษะ นโยบายการจดั ผเู้ รยี นในศตวรรษท่ี การศึกษา หลักสตู รการ เอกสารประกอบการ จานวนครูของ 3. การบริหาร ๒๑ จัดอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร โรงเรยี นเครือข่าย จดั การ เพอื่ เพิ่ม ทบทวนผลการ แนวทางการพฒั นา บรู ณาการการ ความร่วมมอื ทีม่ ี ประสทิ ธภิ าพการ ปฏิบตั งิ าน (After นวัตกรรมการเรียนการ จัดการเรยี นรูต้ าม เวลาเขา้ ร่วมการ อบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร Action Review : สอน แนวคิด STEM อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร AAR) 1. Best Practice ด้าน Education เพ่ือ อย่างนอ้ ยรอ้ ยละ 4. การประเมนิ ผล การจัดอบรมเชิง สง่ เสรมิ ทักษะผูเ้ รียน 95 ตดิ ตาม ตรวจสอบ ปฏบิ ัติการทเ่ี ป็นเลิศ ในศตวรรษท่ี ๒๑ และพฒั นาคณุ ภาพ 2. ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา อยา่ งต่อเน่ือง ผลการอบรมเชงิ 1. การบรรลุ และเปน็ แม่แบบ เวบ็ ไซตข์ องโรงเรียน ปฏบิ ัติการ วัตถปุ ระสงค์ของ ศนู ย์การฝึกอบรม สาธิตแหง่ มหาวิทยาลยั โครงการอบรมเชงิ เชิงปฏิบตั กิ ารทีเ่ น้น เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต ปฏบิ ัติการ ประสทิ ธผิ ล กาแพงแสน 2. ผลการ ดาเนินงานที่ เผยแพรผ่ า่ น เวบ็ ไซตโ์ รงเรยี น สาธติ แห่ง มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต กาแพงแสน 37
4. กระบวนการของรูปแบบการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีมีประสิทธิผลโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการศกึ ษา 1. พันธกิจ (Mission: M) บุคลากรรว่ มกนั พัฒนารปู แบบการจัดการฝึกอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารโดยมีกรอบการทางาน ดงั น้ี 1.1 ศึกษาวิสัยทัศน์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ของสถานศึกษา และนโยบาย ของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา 1.2 ศกึ ษาพันธกิจเครือข่ายความรว่ มมือในกลมุ่ โรงเรียนภาคี จานวน 10 สถาบนั ในฐานะโรงเรียน แม่ข่าย ในการพัฒนาสมรรถนะการจดั การเรียนการสอน 2. กาหนดหัวข้อและผูเ้ ชี่ยวชาญ (Specify Topic and Specialist: S) 2.1 รว่ มกันกาหนดหัวขอ้ การจดั การฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร 2.2 ร่วมกันเสนอและแต่งตั้งผเู้ ช่ยี วชาญ คณะกรรมการการฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ 2.3 ชแี้ จงบทบาทและหน้าท่ีความรับผดิ ชอบ 2.4 ตรวจสอบความถูกต้อง 2.5 ทบทวนและแก้ไข 3. ปฏบิ ัตกิ ารตามรูปแบบการจดั อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ (Operation: O) 3.1 เตรียมความพร้อม ในการปฏิบัติการตามรูปแบบการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีเน้นการมี ส่วนรว่ มและเสริมสร้างพลงั โดยดาเนินงานตามแนว PDCA Plan Do 1. ช้แี จงและทาความเข้าใจร่วมกนั เก่ียวกับการ พฒั นารูปแบบการจดั การฝึกอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ าร ท่ี 1. ส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มของผูม้ ีส่วนเกย่ี วขอ้ ง มีความสาคญั และจาเป็นต่อการพัฒนาองคก์ ร 2. รว่ มกนั จดั ทาแผนการดาเนนิ โครงการการ 2. รว่ มกนั วางแผนข้ันตอนการจัดอบรมเชงิ ฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการ ปฏิบตั ิการ 3. ร่วมกันจัดเตรียมปัจจัยการบรหิ ารจดั การ โครงการการฝึกอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร ไดแ้ ก่ บคุ ลากร Check (man) งบประมาณ (money) วัสดุ (material) และวิธีการ (method) Act 1. ร่วมกนั พจิ ารณาแนวทางการปฏิบตั ิ เพื่อใหเ้ กดิ 1. รว่ มกันกากบั และติดตามเปน็ ระยะอยา่ งต่อเน่ือง ความชดั เจน ถกู ต้อง และเปน็ ไปได้ โดยใช้ระบบ Coaching and Mentoring 3.2 ดาเนนิ การ โดยการดาเนนิ การครงั้ น้ีมีการใช้รปู แบบการดาเนินการ ดังน้ี 1) กระบวนการเชิงระบบ (Systematic Process) เป็นกลไกในการจัดโครงการอบรม เชิงปฏิบัตกิ าร ประกอบด้วย ปจั จัย (Inputs) กระบวนการ (Process) และผลลพั ธ์ (Output/outcome) และ ใหข้ ้อมูลย้อนกลับเพ่อื การปรับปรงุ และพัฒนา ปจั จัย กระบวนการ ผลผลิต/ผลลัพธ์ (Inputs) (Process) (Output/outcome) 1. พนั ธกจิ - โครงการการฝึกอบรมเชงิ - ทกั ษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 2. นโยบาย ปฏบิ ตั กิ าร 3. เครือข่ายความรว่ มมอื 38
2) เทคนิคการมีส่วนร่วม (participation) การมีส่วนร่วมของทุกฝ่าย ด้วยการใช้ระบบ KM เพื่อช่วยกันระดมความคิดในการวิเคราะห์ความต้องการจาเป็นของครูโรงเรียนเครือข่ายความร่วมมือ ในการพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของตนเอง ร่วมกันกาหนดวัตถุประสงค์ ออกแบบและพัฒนาการจัด อบรมเชิงปฏิบัติการให้มีประสิทธิผลตามวัตถุประสงค์ ร่วมกันบริหารจัดการ เพื่อเพ่ิมประสิทธิภาพการอบรม เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร และตรวจสอบ ทบทวนกระบวนการทางานทเี่ ปน็ เลิศ 3) เทคนิคการเสริมพลัง (Empowerment) การเสริมพลังมาจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องกับการ จัดอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีร่วมกันกระตุ้น (Engage) ให้เกิดความสนใจในการพัฒนาสมรรถนะครูเพื่อนาไปสู่ คุณภาพผู้เรยี น ร่วมกันขับเคลอื่ นใหเ้ กดิ การเปลย่ี นแปลงแนวคดิ และเห็นความสาคญั ของการพัฒนาตนเองของ ครูสู่การพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการปฏิบัติอย่างต่อเน่ือง และร่วมกันหาแนวทางเสริมสร้างประสบการณ์การ ทางานที่เป็นระบบ ทบทวนวิธีการท่ีเป็นไปได้เพ่ือนาไปสู่ความสาเร็จของงานตามกระบวนการเสริมสร้างพลัง (Empowerment) 4 ขน้ั ตอน ดงั ภาพท่ี 14 ภาพท่ี 14 กระบวนการเสริมพลงั (Empowerment) 4 ขั้นตอน 3.3 ประเมินและสรุปผล เป็นการประเมินผลการจัดโครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ หลังการจัดโครงการเป็นท่ีเรียบร้อย แล้วนาข้อมูลมาวิเคราะห์และสรุปผลการดาเนินโครงการฝึกอบรม เชงิ ปฏบิ ตั ิการ 4. ตดิ ตาม ตรวจสอบ และพัฒนาคณุ ภาพอย่างต่อเนือ่ ง (Follow Up: F) 4.1 ติดตามผลการเขา้ ร่วมโครงการการฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร จากผ้เู ข้าร่วมอบรม 4.2 ทบทวนผลการปฏบิ ัตงิ าน (After Action Review : AAR) ประกอบดว้ ย 6 ประเดน็ คอื 1) มสี ง่ิ ใดท่ที าได้ดแี ลว้ และควรรกั ษาไว้ให้มีต่อไป 2) ถงึ เปา้ หมายตามแผนหรอื ไม่ 3) อะไรเป็นปญั หาและอุปสรรคท่ีเกิดข้ึนระหว่างการทางาน 4) เราได้เรียนร้อู ะไรบา้ งจากการทากจิ กรรมในโครงการ 5) แนวทางทีค่ วรนาไปปรับปรงุ แก้ไขครงั้ ต่อไป 6) ข้อพงึ ระวังท่ีควรใหค้ วามสาคญั 39
4.3 นาผลการประเมินท่ีได้มาพัฒนาการจัดกิจกรรมในโครงการการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ อยา่ งตอ่ เนอื่ ง 5. ฝกึ อบรมเชิงปฏบิ ตั ิการและการขยายผล (Training Center and Transportability: T) 5.1 พัฒนาบคุ ลากรให้มคี วามเช่ยี วชาญในการเปน็ ผนู้ าฝกึ อบรมเชงิ ปฏบิ ัตกิ าร 5.2 เผยแพร่ผลการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ ร่วมทั้งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ท้ังในโรงเรียนและโรงเรียน เครือข่ายความรว่ มมอื 10 สถาบัน 5.3 มุง่ เปา้ สูก่ ารเปน็ แมแ่ บบศูนยก์ ารฝึกอบรมเชิงปฏบิ ัติการในด้านตา่ ง ๆ ของโรงเรยี นในเครอื ข่าย ความร่วมมอื 5.4 นารูปแบบการอบรมเชิงปฏิบัติการ MSOFT Model ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาโครงการ อบรมเชงิ ปฏิบตั ิการในสว่ นงานอ่ืน 5.5 ใชร้ ูปแบบการอบรมเชิงปฏิบัติการ MSOFT Model เปน็ แนวทางในการให้บริการวิชาการของ โรงเรยี นตามยทุ ธศาสตร์ด้านการพัฒนาคณาจารยแ์ ละบุคลากรให้มมี าตรฐานวิชาชีพ และการพฒั นาระบบการ บรหิ ารจัดการเพือ่ เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพและรองรบั การเปล่ยี นแปลง ขั้นตอนการดาเนินงานการจัดการความรู้ของรูปแบบการจัดอบรมเชิงปฏิบัติการท่ีมีประสิทธิผล โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา นาเสนอ ดงั ภาพที่ 15 ภาพที่ 15 ข้นั ตอนการดาเนินงานรปู แบบการจดั อบรมเชิงปฏบิ ตั กิ ารทีม่ ปี ระสทิ ธิผล โรงเรยี นสาธิต แห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการศึกษา 40
5. ผลการดาเนินการหรือการเปล่ียนแปลงท่เี กิดขนึ้ จากการจัดการความรู้ OUTPUT OUTCOME 1. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการ บูรณา 1. จานวนครูของโรงเรียนเครือข่ายความร่วมมือที่มี การการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEM Education เวลาเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการอย่างน้อยร้อยละ เพ่ือส่งเสริมทักษะผู้เรียนในศตวรรษท่ี 21 ฉบับ 95 สมบูรณ์ 2. ประสิทธิผลการอบรมเชิงปฏิบัติการ ได้แก่ 1. ร้อยละของจานวนครูโรงเรียนเครือข่ายความ สมรรถนะครูดา้ นการจัดการเรยี นรู้ ประกอบด้วย ร่วมมือที่ได้รับวุฒิบัตรผ่านการประเมินผลตามเกณฑ์ 2.1 ความสามารถในการออกแบบหน่วยการเรียนรู้ การประเมินของโครงการอบรมเชิงปฏบิ ตั กิ าร 2.2 ความสามารถในการจัดการเรียนรู้เชิงบูรณาการ 2. ผลการดาเนนิ งานของโครงการอบรมเชงิ ปฏิบัติการ ตามแนวคิด STEM Education เพื่อส่งเสริมทักษะ ที่เผยแพรผ่ า่ นเวบ็ ไซต์โรงเรียนสาธิตแหง่ มหาวทิ ยาลัย ผ้เู รียนในศตวรรษที่ 21 เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและ พัฒนาการศกึ ษา 6. ประโยชนท์ ไ่ี ด้รบั จากการจัดการความรู้ ต่อคน งาน ทรัพยากร และองค์กร ประโยชน์ตอ่ คน - อาจารยใ์ นโรงเรยี นสาธติ และโรงเรยี นเครือข่ายความร่วมมอื มีการพฒั นาการเรยี นรดู้ า้ น การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร สรา้ งความมนั่ ใจ ภาคภมู ิใจในการถา่ ยทอดองค์ความรูต้ ่อไป ประโยชน์ต่องาน - สร้างงานใหมแ่ ละให้บรกิ ารวชิ าการ สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมือทางวิชาการระหวา่ ง หน่วยงาน และสถาบนั การศึกษา ประโยชน์ตอ่ - ผลจากการพัฒนาปรบั ปรงุ ทาให้องคก์ รใช้ทรัพยากรอยา่ งคมุ้ คา่ และเกิดประโยชนส์ ูงสุด ทรพั ยากร ต่อหนว่ ยงานและสถาบนั ประโยชนต์ อ่ - เป็นองคก์ รแหง่ การเรยี นรู้ เปน็ องค์กรท่เี ข้มแขง็ เป็นแหล่งเรยี นรูเ้ พอื่ พฒั นาวิชาชพี ครู ให้ องคก์ ร สามารถแข่งขันกบั องคก์ รอ่นื และเป็นศนู ยฝ์ ึกอบรมเชิงปฏิบตั ิการในดา้ นต่าง ๆ ของ โรงเรียนในเครอื ข่ายความรว่ มมอื 7. แหล่งรวบรวมความรู้/ศนู ยก์ ลางความร้ขู องหน่วยงาน http://www.kps.ku.ac.th/ ข้อมลู หรอื ตวั อยา่ งการนาความรู้ทจี่ ัดเกบ็ ไปใช้ประโยชน์ (ขอ้ มลู การดาวนโ์ หลดเอกสาร) 8. ปัญหาทพี่ บและวิธีการแกไ้ ข ปัญหา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ผู้รบั ผดิ ชอบ เนื่องจาก รูปแบบการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพิ่มโอกาสการจัดอบรมเชิง - คณะกรรมการบริการ MSOFT Model ใช้เป็นแนว ทางในการจัด ปฏิบัติการอย่างต่อเน่ือง โดยใช้ วชิ าการ โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการบูรณาการการ วิทยากรจากอาจารย์ในโรงเรียน จัดการเรียนรู้ตามแนวคิด STEM Education ผลัดเปลี่ยนกันไปตามความ เพื่อส่งเสริมทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 เป็น ต้องการของครโู รงเรียนเครือข่าย โครงการแรกทอ่ี าจารย์และบคุ ลากรของโรงเรียน และอาจขยายผลสู่โรงเรียนใน ไ ด้ มี โ อ ก า ส ร่ ว ม กั น เ ผ ย แ พ ร่ ค ว า ม รู้ แ ล ะ จงั หวดั ใกลเ้ คยี ง ประสบการณ์สู่ชุมชน จึงอาจยังไม่ค่อยมีความ ชานาญมากนัก แต่ทุกฝา่ ยก็สามารถปฏิบัติหน้าที่ ไดเ้ ตม็ ศกั ยภาพ 41
9. รายช่ือคณะทางาน คณบดคี ณะศกึ ษาศาสตร์และพฒั นศาสตร์ ท่ปี รกึ ษา ประธาน ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ณชพงศ์ อดุ มศรี รองประธาน กรรมการ ผ้ชู ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รจุ ิราพร รามศริ ิ กรรมการ กรรมการ ผชู้ ่วยศาสตราจารยว์ ิจติ ตรา จันทรศ์ รบี ุตร กรรมการ กรรมการ ดร.สุกัญญา ปญั ญาสีห์ กรรมการ กรรมการ นายเสกสรรค์ วิลัยลักษณ์ กรรมการ กรรมการ นายดาวดุ ชา แตง่ โสภา กรรมการ กรรมการ นางสาวมินตรา สิงหนาค กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผชู้ ่วยเลขานุการ นางสาวระววี รรณ สระทองอ๋นั กรรมการและผูช้ ว่ ยเลขานกุ าร นางสริ ิมา ศริ ฤิ กษ์ นางนภาลยั วลิ ยั ลกั ษณ์ นายนเรศ มว่ งอยู่ นางสาราญ ศรสี งั ข์ นางสาวสุนสิ า ออ่ นสม้ กริต นายวุฒนิ นั ท์ ไอยราพฒั นา นายธนวรรธน์ สวนประเสริฐ นางสาวสุกัญญา ทิพยร์ ักษ์ 42
รูปแบบ ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ที่เนน้ การมสี ่วนรว่ ม เพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของ นักศึกษาครูท่ีสง่ เสรมิ คณุ ลักษณะทีพ่ ึงประสงคของเด็กปฐมวยั จัดทำโดย ผชู้ ว่ ยศำสตรำจำรย์ ดร.รุจริ ำพร รำมศิริ และคณะ 43
นวตั กรรมการจดั การความรู้ รปู แบบชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชพี (PLC) ท่เี นน้ การมสี ว่ นร่วมเพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะ การจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้ขู องนกั ศกึ ษาครูท่สี ่งเสรมิ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงคของเด็กปฐมวัย โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจัยและพัฒนาการศกึ ษา “MDOFT Model” 1. เป้าหมายและวตั ถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย 1. โรงเรียนมีนวัตกรรม “รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ท่ีเน้นการมีส่วนร่วมเพื่อ เสริมสร้างสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู ที่ส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงคของ เด็กปฐมวยั ” ซงึ่ ได้มาจากกระบวนการจดั การความรใู้ นระดับอนุบาลศึกษา 2. นักศึกษาครูได้รับการพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ด้วยรูปแบบ ชุมชนการเรียนรูท้ างวิชาชพี (PLC) ท่เี นน้ การมีส่วนร่วม 3. เด็กปฐมวัยได้รับการพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ซึ่งประกอบด้วยพัฒนาการ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา อย่างต่อเนื่อง ด้วยการจัดประสบการณ์ การเรยี นร้ขู องนักศึกษาครทู ใ่ี ชร้ ปู แบบชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) ที่เน้นการมสี ว่ นร่วม วตั ถุประสงค์ 1. เพื่อพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ(PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม เพื่อเสริมสร้าง สมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรียนร้ขู องนักศึกษาครู ที่สง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะทีพ่ ึงประสงค์ของเด็กปฐมวยั 2. เพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู ท่ีส่งเสริมคุณลักษณะ ทพ่ี ึงประสงค์ของเด็กปฐมวยั ดว้ ยการใชร้ ปู แบบชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ท่ีเนน้ การมีสว่ นร่วม 3. เพื่อพัฒนาคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย ซ่ึงประกอบด้วยพัฒนาการ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา อย่างต่อเนื่อง ด้วยการจัดประสบการณ์ การเรียนรูข้ องนกั ศึกษาครู ทีใ่ ชร้ ูปแบบชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (PLC) ทเี่ น้นการมีส่วนร่วม 4. เพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันภายในชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และร่วมกันจัดการ ความรู้อย่างเป็นระบบนาไปสู่การพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู และ คุณลกั ษณะทีพ่ งึ ประสงคข์ องเด็กปฐมวัย 2. รปู แบบทีใ่ ช้ในการจัดการความรู้ รายละเอยี ดหรือคาอธิบายรปู แบบ/โมเดลการจดั การความรู้ 1. พนั ธกิจ (Mission: M) บุคลากรร่วมกันพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม เพ่ือ เสริมสร้างสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู ท่ีส่งเสริมคุณลักษณะท่ีพึงประสงค ของเดก็ ปฐมวัย โดยมีกรอบการทางาน ดังนี้ 1.1 ศกึ ษาวิสัยทศั น์ พันธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ มาตราการ และนโยบายของผูบ้ รหิ าร สถานศกึ ษา 1.2 ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐานและความต้องการในการแก้ปัญหา หรือพัฒนาสมรรถนะ การจัดประสบการณ์การเรียนรขู้ องนักศกึ ษาครู 44
2. กาหนดเปา้ หมายร่วมกนั (Destination: D) 2.1 ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้ช่วยผู้อานวยการระดับอนุบาล และอาจารย์ระดับอนุบาล ร่วมกัน กาหนดโครงการ และหัวข้อการอบรมเชิงปฏิบัติการ เพื่อพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพ่ือ เสริมสร้างสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศึกษาครู ท่ีส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค ของ เด็กปฐมวัย 2.2 จัดทาปฏิทินการดาเนินงานร่วมกัน ประกอบด้วย การโค้ช การสนทนากลุ่ม และการระดม สมองใหม้ คี วามชดั เจนและเป็นไปไดใ้ นทางปฏิบตั ิ ผา่ นเทคโนโลยีและสอื่ ออนไลน์ 2.3 ร่วมกันเสนอแต่งต้ังผู้เข้าร่วมปฏิบัติงาน PLC ซ่ึงประกอบด้วย นักศึกษาครู อาจารย์พี่เลี้ยง หัวหนา้ กลุ่มสาระฯ/ฝา่ ยวชิ าการ ผบู้ รหิ าร และผูท้ รงคุณวฒุ ิ/ผเู้ ชยี่ วชาญ ทมี ละ 5 คน 2.4 ชีแ้ จงบทบาทและหนา้ ที่ความรับผิดชอบ 2.5 ร่วมกันตรวจสอบความถูกตอ้ ง ทบทวนและแก้ไข 3. ปฏิบัตกิ าร (Operation: O) ข้ันเตรียมการ (ขนั้ ที่ 1 Plan) ดาเนนิ การดังน้ี 1) เตรียมนดั หมายสมาชิกทีม PLC เพ่ือ 2) เตรยี มปฏทิ นิ การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกัน 1 ภาคเรียน ประจาภาคตน้ ปีการศึกษา 2561 3) เตรียมวางแผนการพฒั นาการเรียนการสอนในชั้นเรียน ประกอบด้วย 3.1) หลักสูตรระดบั ปฐมวัย 3.2) รปู แบบ/วธิ สี อน/กระบวนการสอน/กิจกรรมเสริมประสบการณ/์ เทคนคิ การสอน 3.3) วิธกี ารวดั และประเมนิ ผล (ใช้หลากหลายวิธีที่เหมาะสมกบั ผเู้ รยี นและบริบททีเ่ กยี่ วขอ้ ง) 3.4) สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ ท่ีใชป้ ระกอบการเรียนการสอน 4) เตรียมการจดั การเรียนการสอน 4.1) ประมวลการสอน 4.2) หนว่ ยการเรียนรู้ /แผนการจัดการเรียนรู้ 4.3) วสั ดุ-อปุ กรณส์ าหรบั การสอน 4.4) อืน่ ๆ (ถ้าม)ี ขัน้ ดาเนินการ (ขั้นท่ี 2 Do) 1) ดาเนนิ การตามข้นั ตอน PLC 3 ข้ันตอน 2) ตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินระหว่างดาเนนิ การ 3) ให้ข้อมลู ยอ้ นกลับ (Feedback) รว่ มกนั ในทีม PLC เพ่อื หาวธิ ีการแก้ปญั หาที่ดีทสี่ ุด เกบ็ รวบรวม ขอ้ มูล เพอื่ นาไปวเิ คราะห์ สรปุ ผล และอภิปรายผลต่อไป ในข้ันดาเนินการนี้ ได้สอดแทรกเทคนิคที่สาคัญ 3 เทคนิค ซ่ึงช่วยขับเคลื่อนให้ประสบผลสาเร็จใน การใช้รูปแบบ ได้แก่ 3.1) กระบวนการเชิงระบบ (Systematic Process) เป็นกลไกในการจัดโครงการอบรม เชิงปฏิบัติการ ประกอบด้วย ปัจจัย (Inputs) กระบวนการ (Process) และผลลัพธ์ (Output/outcome) และ ใหข้ ้อมูลย้อนกลับเพือ่ การปรับปรุงและพฒั นา 3.2) เทคนิคการมีส่วนร่วม (Participation) โดยการใช้ระบบ KM เพื่อช่วยกันระดมความคิดใน การวิเคราะห์ความต้องการจาเป็น การพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ ร่วมกันบริหารจัดการ เพมิ่ ประสทิ ธิภาพการดาเนินงานทกุ สว่ น และตรวจสอบ ทบทวนกระบวนการทางานทเ่ี ป็นเลิศ 3.3) เทคนิคการเสริมพลัง (Empowerment) จากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง ที่ร่วมกันกระตุ้น (Engage) ให้เกิดความสนใจในการพัฒนาสมรรถนะครูเพ่ือนาไปสู่คุณภาพผู้เรียน ร่วมกันขับเคล่ือนใหเ้ กิดการ 45
เปล่ียนแปลงแนวคิดและเห็นความสาคัญของการพัฒนาตนเองของครูสู่การพัฒนาผู้เรียนโดยเน้นการปฏิบัติ อย่างต่อเนื่อง และร่วมกันหาแนวทางเสริมสร้างประสบการณ์การทางานท่ีเป็นระบบ ทบทวนวิธีการท่ีเป็นไป ไดเ้ พื่อนาไปสคู่ วามสาเร็จของงานตามกระบวนการเสริพลงั (Empowerment) 4 ขั้นตอน ดงั ภาพท่ี 16 ภาพท่ี 16 เทคนิคการเสรมิ สร้างพลงั (Empowerment) ข้ันสรุปผล (ขั้นท่ี 3 See) ร่วมกันทบทวนผลการปฏิบัติงานสังเกตการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ โดยใชแ้ บบทบทวนผลการปฏบิ ัติงาน และสรปุ ผลการสงั เกต เพื่อเตรยี มประเด็นในครงั้ ต่อไป 4. ติดตาม ตรวจสอบ และพัฒนาคณุ ภาพอยา่ งต่อเนื่อง (Follow Up: F) 4.1 ติดตามผลการเข้าร่วมโครงการ 4.2 ทบทวนผลการปฏบิ ตั ิงาน (After Action Review : AAR) ประกอบด้วย 6 ประเด็น คอื 1) มสี ิ่งใดทที่ าไดด้ ีแล้ว และควรรกั ษาไว้ให้มีต่อไป 2) ถึงเป้าหมายตามแผนหรือไม่ 3) อะไรเปน็ ปัญหาและอปุ สรรคท่ีเกดิ ขึ้นระหว่างการทางาน 4) เราไดเ้ รียนรู้อะไรบา้ งจากการทากจิ กรรมในโครงการ 5) แนวทางท่ีควรนาไปปรับปรุงแก้ไขคร้ังต่อไป 6) ข้อพงึ ระวงั ที่ควรให้ความสาคัญ 4.3 นาผลการประเมินที่ได้มาพัฒนาการจดั กิจกรรมอย่างตอ่ เนื่อง 5 การขยายผล (Transportability: T) 5.1 นาความรู้จากข้อสรุปตามวัตถุประสงค์ของการจัดการความรู้ท่ีได้มาเผยแพร่ผลงานโดยผ่านสื่อ ออนไลน์ และสถาบนั เครือข่ายความรว่ มมือ 5.2 ความรู้ของอาจารย์พ่ีเลี้ยง ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ปกครอง มาร่วมแลกเปล่ียนเรียนรู้กับนักศึกษา ฝึกประสบการณว์ ิชาชีพครู (นกั ศกึ ษาครู) อย่างตอ่ เนื่อง เพือ่ สรปุ ความรู้ และใช้เปน็ แนวทางในการให้บริการวิ ชาการของโรงเรียนตามยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาคณาจารย์และบุคลากรให้มีมาตรฐานวิชาชีพ และการพฒั นาระบบการบริหารจดั การเพอื่ เพ่ิมประสิทธิภาพและรองรับการเปล่ยี นแปลง 46
ขัน้ ตอนการดาเนินงานการจดั การความรู้ของรูปแบบชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ท่ีเน้นการมี สว่ นรว่ มเพือ่ เสริมสรา้ งสมรรถนะการจดั ประสบการณก์ ารเรียนร้ขู องนักศึกษาครู ท่ีส่งเสริมคุณลกั ษณะ ที่ พงึ ประสงคของเดก็ ปฐมวัย นาเสนอดงั ภาพท่ี 17 ภาพท่ี 17 รูปแบบชมุ ชนการเรียนรู้ทางวิชาชพี (PLC) ท่เี น้นการมีสว่ นร่วมเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการจัด ประสบการณ์การเรียนรู้ของนักศกึ ษาครูที่สง่ เสรมิ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงคของเด็กปฐมวยั 3. ตวั ชวี้ ดั ความสาเร็จตามแผนการจดั การความรู้ (Key Performance Indicator: KPI) 1. ยุทธศาสตร์ท่ี 2 พัฒนาคณาจารย์และบุคลากรให้มีมาตรฐานวิชาชีพ กลยุทธ์ที่ 2.3 พัฒนาระบบ และบุคลากร เพ่ือสนับสนุนการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ และมาตรการท่ี 2.3.2 พัฒนาบุคลากร ให้มคี วามรู้ ความสามารถในการปฏิบตั ิงาน เพ่ือสนบั สนนุ การเรียนการสอนอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ 2. ยุทธศาสตร์ที่ 3 เสริมสร้างวิชาการให้เข้มแข็งและพัฒนาให้เป็นแหล่งฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู กลยุทธ์ที่ 3.2 การจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพ โดยใช้เทคโนโลยี นวัตกรรมการเรียนการสอน และจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือที่มีความทันสมัยเพ่ือสร้างองค์ความรู้ และมาตรการท่ี 3.2.3 สนับสนุนและ เพ่มิ ประสิทธภิ าพในการจัดการเรยี นการสอนโดยใชเ้ ทคโนโลยีและนวัตกรรมทีท่ นั สมัย 47
4. แผนกจิ กรรมการจดั การความรู้ ประเดน็ การจัดการ ช่ือกิจกรรม วธิ กี ารจัดการความรู้ ความรู้ 1. การศึกษาและ การวิเคราะห์ข้อมูล 1. ศกึ ษาข้อมลู พ้ืนฐานของนักศกึ ษ วิเคราะห์ข้อมลู พืน้ ฐานและความ ปฐมวัย ทีเ่ ข้ามาฝึกประสบการณว์ พ้นื ฐานและความ ตอ้ งการในการแกป้ ัญหา ระดบั อนบุ าลศึกษาปีที่ 1-3 ปีการ ต้องการในการ หรือพัฒนาสมรรถนะ 2561 จานวน 10 คน และอาจา แก้ปัญหา หรอื การจัดประสบการณ์การ จานวน 10 คน ได้แก่ พฒั นาสมรรถนะการ เรียนรขู้ องนักศกึ ษาครู 1.1 หลักสตู รของมหาวทิ ยาลัยกรงุ จัดประสบการณก์ าร สาขาปฐมวยั เกีย่ วกับสาระในรายว เรียนร้ขู องนักศกึ ษา โดยศึกษาจากเอกสารหลกั สตู ร ครู 1.2 ความสามารถในการจัดประส การเรยี นร้ขู องนักศึกษาครู 1.3 พฤติกรรมของนักศึกษาครูในก เด็ก 1.4 คณุ สมบัติของอาจารย์พเ่ี ล้ียงด ประสบการณ์การทางาน ความสาม การจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ กา แผนการจดั การเรียนรู้ การวัดและ ความสามารถในการโค้ชและการให 2. การออกแบบ การออกแบบ “รปู แบบ 2.1 สงั เคราะหแ์ นวคิด ทฤษฎี แล รปู แบบชมุ ชนการ เรยี นรทู้ างวชิ าชีพ ชมุ ชนการเรียนรทู้ าง เก่ียวข้องกบั ชมุ ชนการเรียนรู้ทางว วชิ าชีพ (PLC) (PLC) การจัดประสบการณ์การเรีย
เคร่อื งมือ ระยะเวลา สถานภาพ ดาเนนิ การ การดาเนินงาน ษาครสู าขา วชิ าชีพครูใน ภาคเรียนที่ ดาเนนิ การแลว้ รศึกษา 1 เสร็จ ารย์พี่เลีย้ ง ปกี ารศกึ ษา 2561 งเทพธนบุรี 1. แบบวเิ คราะห์เอกสาร ดาเนินการแล้ว วชิ าชพี ครู เสร็จ สบการณ์ 2. แบบประเมนิ ความสามารถใน พ.ย.61– ดาเนนิ การแล้ว การจดั ประสบการณ์การเรียนรู้ ธ.ค.61 เสร็จ การดูแล ดาเนนิ การแล้ว 3. แบบสังเกตพฤตกิ รรมการดูแล เสร็จ ดา้ น เด็ก ดาเนินการแลว้ มารถใน เสรจ็ ารเขยี น 4. เกณฑ์การประเมินคณุ สมบัติ ะประเมินผล ของอาจารย์พี่เลย้ี ง ดาเนินการแล้ว หค้ าปรึกษา 5. แบบประเมินความสามารถใน เสรจ็ การเขียนแผนการจดั ประสบการณ์ ละงานวิจยั ที่ การเรียนรู้ วชิ าชีพ 6. แบบประเมนิ ความสามารถใน ยนรู้ และ การโค้ช และการให้คาปรกึ ษา - 48
ประเด็นการจัดการ ชอื่ กจิ กรรม วิธีการจดั การความรู้ ความรู้ (PLC) เพื่อเสริมสรา้ ง เพือ่ เสรมิ สรา้ งสมรรถนะ คณุ ลกั ษณะทพี่ ึงประสงคของเดก็ ป สมรรถนะการจัด การจัดประสบการณ์การ รวมทง้ั ข้อมลู พน้ื ฐานของนักศึกษาค ประสบการณ์การ เรยี นรู้ของนักศกึ ษาครู ท่ี อาจารย์พีเ่ ลี้ยง เรยี นรู้ของนักศกึ ษา สง่ เสรมิ คณุ ลักษณะท่ีพงึ 2.2 ระดมสมองและร่วมกนั ออกแ ครู ท่ีส่งเสริม ประสงคของเด็ก “รูปแบบชมุ ชนการเรียนร้ทู างวชิ าช คุณลกั ษณะท่ีพึงประ ปฐมวยั ” เพอ่ื เสรมิ สรา้ งสมรรถนะการจัดปร สงคของเด็กปฐมวยั การเรยี นรขู้ องนักศึกษาครู ที่ส่งเสร คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงคของเดก็ ป 2.3 หาคุณภาพด้านความเหมาะส รูปแบบชุมชนการเรยี นรู้ทางวิชาชพี โดยผู้เชย่ี วชาญ 5 คน 3. การนารปู แบบ แนวคิดสกู่ ารปฏิบัติ 1. จดั อบรมเชงิ ปฏิบัติการ PLC เพ ชุมชนการเรยี นรทู้ าง กลมุ่ เปา้ หมาย คือ สมรรถนะการจัดประสบการณก์ าร วิชาชีพ (PLC) ไปใช้ 1. นกั ศึกษาครู จานวน นกั ศึกษาครู และสมรรถนะการโค้ช ในช้ันเรยี นระดบั 10 คน อาจารยพ์ เ่ี ลย้ี ง โดยมกี ลมุ่ เป้าหมาย อนบุ าลศึกษาปที ี่ 1- 2. อาจารย์พ่ีเลีย้ ง 1.1 นักศกึ ษาครู จานวน 10 คน 3 จานวน 10 คน 1.2 อาจารยพ์ ี่เลี้ยง จานวน 10 3. สมาชิกทมี PLC 2. ระดมสมอง เพื่อจดั เตรียมทมี P ประกอบด้วย 10 ทมี (หอ้ งเรียนละ 1 ทมี ทีมละ 3.1 ผู้ทรงคณุ วุฒิ และวางแผนการดาเนนิ การตามขั้น จานวน 10 คน ขน้ั คอื Plan Do และ See 3.2 ผู้ปกครอง 3. ทมี PLC แต่ละทีม ดาเนินการต จานวน 20 คน การพัฒนาวชิ าชีพครู ดังนี้
เครือ่ งมือ ระยะเวลา สถานภาพ ดาเนนิ การ การดาเนนิ งาน ปฐมวยั ครู และ แบบ รปู แบบชมุ ชนการเรียนรทู้ าง พ.ย.61– ดาเนนิ การแลว้ ชพี (PLC) วชิ าชีพ (PLC) เพื่อเสริมสรา้ ง ธ.ค.61 เสร็จ ระสบการณ์ สมรรถนะการจัดประสบการณ์การ รมิ เรยี นร้ขู องนักศึกษาครู ปฐมวัย” ที่สง่ เสรมิ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค สมของ ของเด็กปฐมวยั พ (PLC) พือ่ ยกระดบั 1. เอกสารอบรมเชงิ ปฏิบัติการ ม.ค.62- ดาเนนิ การแลว้ รเรยี นรขู้ อง PLC ก.พ.62 เสรจ็ ชของ 2. แบบสังเกตการจัดประสบการณ์ ย คือ การเรยี นรู้ของนกั ศกึ ษาครู น 0 คน PLC จานวน ะ 5 คน) นตอน 3 ตามแนวคิด 49
ประเดน็ การจดั การ ชื่อกจิ กรรม วิธกี ารจดั การความรู้ ความรู้ การประเมนิ ผล สะทอ้ น 3.1 จดั ประชุมกอ่ นการสังเกตก 4. การประเมินผล ผลการปฏิบตั งิ าน (After ประสบการณ์การเรียนรูข้ องนักศึก ติดตาม ตรวจสอบ Action Review : AAR) และพัฒนาคณุ ภาพ และถอดบทเรียน 3.2 สังเกตการจัดประสบการณ อยา่ งต่อเน่ือง (Lesson Learned) ของนักศึกษาครู 3.3 จัดประชุมหลงั การสังเกตก ประสบการณ์การเรยี นรขู้ องนักศึก โดยรว่ มกนั กาหนดการสังเกตใ 3 รอบ แตล่ ะรอบหา่ งกนั รอบละ 2 1. ประเมินสมรรถนะการจัดประส การเรียนรรู้ ะดบั ปฐมวยั ของนักศึกษ 2. ประเมินคุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสง ปฐมวัย ประกอบด้วย พัฒนาการ 4 ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นอารมณ์ จิตใจ ดา้ และด้านสตปิ ัญญา 3. รว่ มกนั สะทอ้ นผลการปฏิบตั ิ โด After Action Review 4. ร่วมกนั ถอดบทเรยี น (Lesson เพ่อื เปน็ แนวทางการพฒั นาต่อไป
เครอื่ งมือ ระยะเวลา สถานภาพ ดาเนนิ การ การดาเนนิ งาน การจดั กษาครู ณก์ ารเรียนรู้ การจดั 1. แบบประเมนิ สมรรถนะการจัด 22 ก.พ.62 ดาเนินการแล้ว กษาครู ประสบการณ์การเรยี นรู้ระดบั เสร็จ ในชั้นเรียน ปฐมวยั 2 สปั ดาห์) 25-28 ดาเนินการแล้ว สบการณ์ 2. แบบประเมนิ คุณลักษณะท่ีพึง ก.พ.62 เสรจ็ ษาครู ประสงคข์ องเด็กปฐมวัย งค์ของเด็ก 4 ดา้ น คือ านสังคม ดยการจดั 3. แบบสะทอ้ นผลการปฏิบตั ิ 28 ก.พ.62 ดาเนนิ การแล้ว เสรจ็ Learned) - 11-13 ดาเนินการแล้ว ม.ี ค.62 เสร็จ 50
5. ผลการดาเนินงานตามแผนการจัดการความรู้ ประเด็นการจัดการความรู้ ชอ่ื กิจกรรม 1. การศกึ ษาและวเิ คราะห์ การวิเคราะห์ข้อมูลพ้ืนฐานและความ ได้ผล ข้อมูลพน้ื ฐานและความ ตอ้ งการในการแกป้ ญั หา หรือพัฒนา พฒั น ตอ้ งการในการแกป้ ัญหา หรือ สมรรถนะการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ ครู โด พัฒนาสมรรถนะการจัด ของนักศึกษาครู การจ ประสบการณ์การเรียนร้ขู อง ส่วนร นักศึกษาครู 2. การออกแบบ รูปแบบชมุ ชน การออกแบบ “รปู แบบชุมชนการเรียนรู้ทาง ได้รปู การเรยี นร้ทู างวชิ าชพี (PLC) วชิ าชพี (PLC) สมรร เพ่ือเสริมสร้างสมรรถนะการจัด เพอ่ื เสริมสร้างสมรรถนะการจัด ทส่ี ง่ เ ประสบการณ์การเรียนรู้ของ ประสบการณ์การเรยี นร้ขู องนักศกึ ษาครู ประก นกั ศกึ ษาครู ทสี่ ่งเสริม ทีส่ ง่ เสริมคุณลักษณะท่ีพึงประสงคของเด็ก กระบ คุณลกั ษณะทีพ่ ึงประสงคของ ปฐมวัย” เด็กปฐมวยั 3. การนารปู แบบชุมชนการ แนวคิดสู่การปฏิบัติ ไดใ้ ช เรยี นร้ทู างวชิ าชีพ (PLC) ไปใช้ กลุ่มเป้าหมาย คือ (PLC ในชน้ั เรียนระดบั อนบุ าลศกึ ษา 1. นักศกึ ษาครู จานวน 10 คน ปีท่ี 1-3 2. อาจารย์พเี่ ลี้ยง จานวน 10 คน 3. สมาชกิ ทมี PLC ประกอบดว้ ย 3.1 ผู้ทรงคณุ วฒุ ิ จานวน 10 คน 3.2 ผ้ปู กครอง จานวน 20 คน 4. การประเมินผล ติดตาม การประเมินผล สะท้อนผลการปฏบิ ตั งิ าน 1. ผล ตรวจสอบ และพฒั นาคณุ ภาพ (After Action Review : AAR) และถอด ของน อยา่ งต่อเนอื่ ง บทเรยี น (Lesson Learned) ปฐมว
ผลการดาเนนิ งาน สถานภาพการดาเนนิ งาน ลการวเิ คราะห์ข้อมลู พน้ื ฐาน และความต้องการในการ ดาเนนิ การแล้วเสร็จ นาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรูข้ องนกั ศึกษา ดยพบว่า นักศึกษาครูมคี วามต้องการพัฒนาสมรรถนะ จัดประสบการณ์การเรยี นรู้ของเด็กปฐมวัย โดยเนน้ การมี รว่ มของทกุ ฝ่ายท่เี กยี่ วข้อง ปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) เพ่อื เสริมสร้าง ดาเนินการแล้วเสร็จ รถนะการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรขู้ องนักศึกษาครู เสรมิ คณุ ลักษณะที่พึงประสงคของเด็กปฐมวยั กอบด้วย 5 องค์ประกอบ คอื หลกั การ วตั ถปุ ระสงค์ บวนการ และปจั จัยสนับสนนุ ช้กระบวนการของรปู แบบชมุ ชนการเรยี นรูท้ างวิชาชพี ดาเนินการแล้วเสรจ็ C) ในระดับอนุบาลศึกษาปที ่ี 1-3 ลการพฒั นาสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ ดาเนนิ การแลว้ เสร็จ นักศึกษาครู ท่สี ่งเสริมคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของเด็ก วยั ด้วยการใชร้ ูปแบบชมุ ชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) 51
ประเดน็ การจดั การความรู้ ชื่อกจิ กรรม ท่เี นน้ ประส ของเ วิชาช ภาพร เทคน สือ่ แล ทีส่ ดุ 2. ผล ประก อารม ประส การเร ปฐมว 4 ดา้ และด ระดับ 3. ผล ทางว นาไป ของน ปฐมว Revie พัฒน
ผลการดาเนินงาน สถานภาพการดาเนนิ งาน นการมีสว่ นร่วม พบว่า นกั ศกึ ษาครูมีสมรรถนะการจัด สบการณ์การเรียนรู้ ท่ีสง่ เสรมิ คณุ ลักษณะที่พึงประสงค์ เด็กปฐมวัย ดว้ ยการใชร้ ูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทาง ชพี (PLC) ที่เน้นการมีสว่ นร่วม ตามองคป์ ระกอบ 7 ด้าน รวมอยใู่ นระดบั มาก โดยมอี งคป์ ระกอบด้านวิธีสอน นิค และกจิ กรรม อยใู่ นระดับมากทส่ี ดุ รองลงมาคือ ด้าน ละนวตั กรรมในการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ และน้อย คือ ด้านการวดั และประเมินผล ลการพัฒนาคุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย ซง่ึ ดาเนินการแลว้ เสรจ็ กอบด้วยพัฒนาการ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้าน มณ์ จิตใจ ดา้ นสงั คม และดา้ นสตปิ ัญญา ด้วยการจดั สบการณ์การเรยี นรู้ของนักศึกษาครู โดยใชร้ ปู แบบชมุ ชน รยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ท่เี น้นการมีสว่ นร่วม พบวา่ เด็ก วยั มีคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ ซึ่งประกอบด้วยพฒั นาการ าน ไดแ้ ก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสงั คม ดา้ นสตปิ ัญญา ในภาพรวม ผา่ นเกณฑ์การประเมินอยูใ่ น บไมต่ ่ากว่าร้อยละ 80 ทุกดา้ น ลการแลกเปลี่ยนเรยี นร้รู ่วมกันภายในชมุ ชนการเรยี นรู้ (อยู่ในระหวา่ งการเขียน วชิ าชพี (PLC) และรว่ มกันจัดการความรู้อยา่ งเปน็ ระบบ รายงานผล) ปสูก่ ารพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณก์ ารเรยี นรู้ นักศึกษาครู และคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ของเดก็ วยั โดยจากการสะท้อนผลการปฏิบัตงิ าน (After Action ew : AAR) พบวา่ นักศึกษาครู เหน็ ว่าตนเองมี นาการดา้ นสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ของ 52
ประเด็นการจัดการความรู้ ชื่อกจิ กรรม เดก็ ป ของห อาจา และโ เทคโ ส่วนอ กระบ ประโ (PLC และม วิชาช
ผลการดาเนนิ งาน สถานภาพการดาเนนิ งาน ปฐมวัยได้อยา่ งรวดเรว็ ใน 3 ระยะ และบรรลเุ ป้าหมาย หลักสตู ร สถานศึกษาระดับปฐมวยั จากทีม PLC และ ารย์พ่ีเลี้ยงท่คี อยติดตาม แนะนา ชว่ ยเหลอื อยา่ งใกล้ชิด โรงเรยี นมคี วามพร้อมในการสนบั สนนุ วสั ดุอปุ กรณ์ และ โนโลยี เพื่อใชใ้ นการจัดประสบการณ์เรียนรู้ อาจารย์พเี่ ลี้ยงสว่ นใหญ่เห็นวา่ ตนเองได้เรียนรู้ บวนการของ PLC มคี วามเขา้ ใจมากข้ึน และเหน็ โยชน์ท่ีไดจ้ ากการใชร้ ปู แบบชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ C) ท่เี น้นการมีส่วนร่วม บรรยากาศในการจัดการเรียนรู้ มุมมองทห่ี ลากหลายจากการใชช้ มุ ชนการเรียนรู้ทาง ชีพ (PLC) ท่เี น้นการมีสว่ นรว่ ม 53
54 6. ผลผลิตหรอื องค์ความรู้ท่ีได้ (Output) 1. โรงเรียนได้นวัตกรรมการจัดการความรู้ด้านวิชาการเรื่อง รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เนน้ การมีส่วนรว่ ม เพื่อเสรมิ สร้างสมรรถนะการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ของนักศึกษาครู ท่ีส่งเสริม คุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของเด็กปฐมวัย โดยแนวทางการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้น การมีส่วนร่วม มีช่ือเรียกว่า “MDOFT Model” ซ่ึงมี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวดั และประเมนิ ผล และปจั จยั สนบั สนุน 2. นักศึกษาครูมีสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ ท่ีส่งเสริมคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ของเด็ก ปฐมวัย ด้วยการสร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ท่ีเน้นการมีส่วนร่วม ตามองค์ประกอบ 7 ด้าน ภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีองค์ประกอบด้านวิธสี อน เทคนิค และกิจกรรม อยู่ในระดับมากที่สุด รองลงมา คือ ด้านส่ือและนวตั กรรมในการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ และน้อยทสี่ ุด คือ ด้านการวัดและประเมนิ ผล 3. เด็กปฐมวัยมีคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ ซ่ึงประกอบด้วยพัฒนาการ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านร่างกาย ด้านอารมณ์ จิตใจ ด้านสังคม และด้านสติปัญญา ในภาพรวม ผ่านเกณฑ์การประเมินอยู่ในระดับไม่ต่ากว่า รอ้ ยละ 80 ทกุ ดา้ น 4. ผลการแลกเปลยี่ นเรียนรูร้ ว่ มกนั ภายในชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวชิ าชีพ (PLC) และร่วมกันจดั การความรู้ อย่างเป็นระบบนาไปส่กู ารพัฒนาสมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรยี นรู้ของนกั ศึกษาครู และคุณลักษณะท่ี พึงประสงค์ของเด็กปฐ มวัย พบว่า นักศึกษาครู เห็นว่าตนเองมีพัฒนาการด้านส มร ร ถ น ะ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กปฐมวัยได้อย่างรวดเร็วใน 3 ระยะ และบรรลุเป้าหมายของหลักสูตร สถานศึกษาระดับปฐมวัย จากทีม PLC และอาจารย์พี่เล้ียงท่ีคอยติดตาม แนะนา ช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด และ โรงเรียนมีความพร้อมในการสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ และเทคโนโลยี เพื่อใช้ในการจัดประสบการณ์เรียนรู้ ส่วนอาจารย์พี่เลี้ยงส่วนใหญ่เห็นว่าตนเองได้เรียนรู้กระบวนการของ PLC มีความเข้าใจมากขึ้น และเห็น ประโยชน์ที่ได้จากการใช้รูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม บรรยากาศใน การจดั การเรียนรู้ และมุมมองท่ีหลากหลายจากการใช้ชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (PLC) ท่ีเน้นการมสี ่วนรว่ ม 7. ผลสมั ฤทธิ์ทไี่ ด้ (Outcome) 1. บุคลากรของระดับอนุบาลศึกษาทุกคน ได้แก่ อาจารย์พี่เลี้ยง พี่เล้ียงเด็ก นักศึกษาฝึกสอน ไดพ้ ัฒนานวตั กรรมด้านวชิ าการรว่ มกนั 2. บุคลากรของระดับอนุบาลศึกษา มีส่วนร่วมในการวางแผน และเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อนาเสนอ ผลการดาเนินงานของระดบั ในวันสัมมนาบคุ ลากรประจาปกี ารศึกษา 2561 3. มีการนาความรู้ของอาจารย์พี่เล้ียง ผู้ทรงคุณวุฒิ และผู้ปกครอง มาร่วมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ กับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู (นักศึกษาคร)ู อยา่ งต่อเน่อื ง 8. การจัดการความตอ่ เนือ่ ง / การพัฒนาตอ่ ยอด 1. การนารูปแบบชุมชนการเรียนร้ทู างวิชาชพี (PLC) ที่เน้นการมีส่วนร่วม ไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนา สมรรถนะของอาจารย์ผสู้ อนเด็กปฐมวัย กรณเี ป็นอาจารย์ใหม่ 2. การนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ท่ีเน้นการมีส่วนร่วม ไปประยุกต์ใช้ในการเรียน การสอนระดับประถมศึกษาปีท่ี 1-3 54
3. สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันการศึกษา เพื่อร่วมกันพัฒนารูปแบบชุมชนการเรียนรู้ ทางวิชาชีพ (PLC) ให้สามารถนาไปใช้ร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเกิดประสิทธิผลต่อบุคลากร ของสถาบนั 9. ปัญหาและอุปสรรคในการดาเนนิ การจดั การความรู้ ปัญหา/อุปสรรค แนวทางการแก้ไข ผู้รับผดิ ชอบ เนอื่ งจาก รูปแบบชมุ ชนการเรียนรู้ทาง ทีม PLC อาจพิจารณาสมาชกิ จากผู้ท่มี ี - ฝา่ ยวจิ ัยและบริการ วชิ าการ วชิ าชพี (PLC) ทเี่ นน้ การมีสว่ นรว่ ม มี คณุ สมบัติตามเกณฑ์ และเน้นการเชิญ - ฝ่ายวชิ าการ กล่มุ เปา้ หมายท่ปี ระกอบด้วย ผู้ทม่ี สี ่วน ผทู้ รงคุณวุฒิที่อย่ใู น เกี่ยวขอ้ งหลายฝา่ ย จึงอาจมีอุปสรรคใน มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขต เร่อื งการนัดหมายเวลาทตี่ รงกันค่อนข้าง กาแพงแสน หรอื สถาบันใกลเ้ คียง เชน่ ยาก ทาให้ต้องเลื่อนนัดการประชุม และ มหาวิทยาลยั ศิลปากร และมหาวทิ ยาลัย สังเกตการจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ ซงึ่ ราชภัฏนครปฐม เพ่อื ร่วมทีม PLC กระทบต่อแผนการดาเนนิ งานของทมี PLC 55
10. รายชื่อคณะทางาน 1. ผู้อานวยการ ท่ปี รกึ ษา ทีป่ รึกษา 2. รองผอู้ านวยการฝายวจิ ัยและบรกิ ารวชิ าการ ท่ีปรึกษา ประธานกรรมการ 3. ผชู้ ว่ ยผู้อานวยการระดบั การศึกษาปฐมวยั รองประธาน กรรมการ 4. ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.รจุ ริ าพร รามศิริ กรรมการ กรรมการ 5. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.อาพร ขนุ เนยี ม กรรมการ กรรมการ 6. ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์อทุ ยั วรรณ แสงเสถยี ร กรรมการ กรรมการ 7. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยข์ จรรตั น์ อุดมศรี กรรมการ กรรมการ 8. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์มลวิ ัลย์ กาญจนชาตรี กรรมการ กรรมการ 9. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์กรรณิการ์ เจริญศลิ ปช์ ยั กรรมการ กรรมการ 10. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ชุตมิ า รัศมี กรรมการ กรรมการ 11. ผู้ชว่ ยศาสตราจารยพ์ รสถติ ดอกชะเอม กรรมการ กรรมการ 12. นางนภัสกร อดุ มศรี กรรมการ กรรมการ 13. นางสริ ิมา ศริ ิฤกษ์ กรรมการและเลขานุการ กรรมการและผู้ชว่ ยเลขานกุ าร 14. นางสาวสุพตั รา ฝ่ายขนั ธ์ 15. นายปรีชา นวมนาม 16. นายโชคชัย ดวงแกว้ 17. นางพทั ธ์ชรญั ญา วรมาลี 18. นางมณีรัตน์ โรจนทั 19. นางพศิ มัย วงั เย็นนยิ ม 20. นางสาวทิพยภ์ าพร ขุนไกร 21. นางอญั ชุลีกร เมอื งบุรี 22. นางสาวชาลิกา เรืองสวสั ด์ิ 23. นายสชุ าติ แซแ่ ต้ 24. นายนเรศ มว่ งอยู่ 25. นายธนวรรธน์ สวนประเสรฐิ 26. นางสาวเสาวลี ศรีท่งุ 56
คณะผู้จัดทาเลม่ เอกสาร Model เพ่ือการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพัฒนาการศกึ ษา คณะกรรมการฝา่ ยวจิ ัยและบริการวิชาการ 1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รจุ ริ าพร รามศิริ ประธาน รองประธาน 2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ณัฐฐญิ า จติ รฉา่ กรรมการ กรรมการ 3. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารยณ์ ุภทั รณยี ์ สขุ ุมะ กรรมการ กรรมการ 4. นางสาวสุกัญญา ทพิ ยร์ กั ษ์ กรรมการ กรรมการ 5. นางสาวมินตรา สงิ หนาค กรรมการและเลขานุการ 6. นางศมลชนก อ่อนสีแดง กรรมการและผู้ช่วยเลขานกุ าร 7. นางสิรมิ า ศริ ฤิ กษ์ 8. นายเสกสรรค์ วลิ ัยลักษณ์ 9. นางสาวสุนสิ า ทบั แสง 10. นางนภาลัย วิลัยลักษณ์ 57
โรงเรยี นสาเธลิตขแทห่ี 1่งมหหมาู่ ว6ิทตยาาบลลยั กเกาษแตพรงศแาสสนตอรา์วเิทภยอากเขาตแพกางแแพส5นง8แจสงั นหวศัดูนนยค์วริจปยั ฐแมละ7พ3ัฒ14น0าการศกึ ษา
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149