ทยาลัยเกษตรศาสตร์ 11
โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร F นวัตกรรมการ รูปแบบชมุ ชนการเรยี นรทู้ างวิชาช
ร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการศึกษา ODEL รจดั การความรู้ ชีพ (PLC) ท่เี น้นการมสี ่วนรว่ ม
โรงเรียนสาธติ แห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยา
าเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการศกึ ษา
future Scale Up
p model
โรงเรยี นสาธติ แห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ จิ ยั และพัฒนาการศึกษา 1
คานา Model เพ่ือการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ฝ่ายวิจัยและบริการวิชาการได้จัดทาและรวบรวมขึ้นเพอ่ื ใช้ในการบริหารจัดการสถานศึกษาให้เป็นไปตามกรอบของแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๖๐–๒๕๗๙ ท่ีวาง กรอบเป้าหมายและทิศทางการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมุ่งจัดการศึกษาให้คนไทยทุกคนสามารถเข้าถึง โ อกาสและคว ามเสมอภ าคในการศึกษาที่มีคุณภาพ พัฒนาระบบการบริหารจัดการศึกษา ท่ีมีประสิทธิภาพ พัฒนากาลังคนให้มีสมรรถนะในการทางานที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดงานและ การพัฒนาประเทศ โรงเรียนสามารถนา Model ไปใช้ในการดาเนินงานและปรับให้เหมาะสมกับบริบท ของตนเอง เพอ่ื การบรรลเุ ปา้ หมายของการพัฒนาคณุ ภาพนักเรียน นิสิต/นักศึกษา และบุคลากร ในโอกาสน้ีขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิ คณะผู้บริหาร อาจารย์ บุคลากร นักเรียน ผู้ปกครอง และผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกท่านที่ได้ทุ่มเทและเสียสละเวลาในการให้ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ รวมถึงการช่วยเหลือ และสนบั สนนุ ในทกุ ด้าน ขอขอบคุณ ผชู้ ่วยศาสตราจารย์วิจติ ตรา จนั ทรศ์ รีบุตร ทีไ่ ด้กรุณาเป็นผู้เช่ยี วชาญและ ใหค้ าปรกึ ษาในดา้ นการใช้คาศัพท์เฉพาะสาหรับการพัฒนา Model รวมทั้งให้ข้อเสนอแนะในการรวบรวมองค์ ความรู้ของโรงเรียนเพ่ือเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนางานด้านการศึกษาโดยจัดทาเป็นเล่มเอกสาร “Model เพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา” ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่าเอกสารเล่มนี้จะเป็นแนวทางให้ครู/อาจารย์ บุคลากร และผู้สนใจทั่วไป สามารถนาไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการพัฒนางานดา้ นการจัดการศึกษาของหน่วยงาน ไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพและเกดิ ประสิทธผิ ลตามเป้าหมาย หากมขี อ้ ผดิ พลาดประการใด คณะผู้จัดทาขออภัยมา ณ โอกาสน้ี และขอนอ้ มรบั คาแนะนาเพ่ือการปรบั ปรงุ และพัฒนาเอกสารให้สมบรู ณ์ต่อไป คณะผู้จัดทา ฝ่ายวจิ ยั และบรกิ ารวิชาการ 2563 2
สารบญั หน้า สว่ นที่ 1 Model การบรหิ ารโรงเรยี น 1 1.1 การบรหิ ารองค์กรเพื่อยกระดับคุณภาพและเพ่มิ มลู ค่าทางการศกึ ษา 2 โรงเรยี นสาธิตแห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา 9 การศกึ ษา ........................................................................................................................ 1.2 รปู แบบการพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษาโรงเรียน สาธติ แหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วจิ ยั และพัฒนา การศกึ ษา......................................................................................................................... ส่วนที่ 2 Model การเรยี นการสอน ........................................................................................ 19 2.1 รปู แบบชุมชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพเพ่ือเสริมสรา้ งสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การ 20 เรียนร้ตู ามแนวคดิ พหปุ ญั ญาร่วมกบั ภาษาธรรมชาติของนกั ศกึ ษาฝึกประสบการณ์วชิ าชีพ 27 ครูท่ีส่งเสรมิ คุณลกั ษณะท่พี ึงประสงคของเด็กปฐมวัย ...................................................... 2.2 การจดั การเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ตามแนวคดิ STEM Education รว่ มกบั กระบวนการคิด เชิงออกแบบทีผ่ สมผสานเทคโนโลยใี นยุคดจิ ิตอล เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการแกป้ ัญหา อย่างสร้างสรรคแ์ ละการสร้างสรรค์นวตั กรรมของนักเรียนระดับมัธยมศึกษา .................. ส่วนท่ี 3 Model การจัดการความรู้ ........................................................................................ 34 3.1 รปู แบบการจัดอบรมเชงิ ปฏิบัติการท่ีมปี ระสทิ ธิผลโรงเรียนสาธิตแหง่ 35 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจยั และพัฒนาการศึกษา ........... 3.2 รูปแบบชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวชิ าชีพ (PLC) ทเี่ นน้ การมีสว่ นร่วมเพ่ือเสรมิ สรา้ ง 43 สมรรถนะการจัดประสบการณ์การเรยี นรูข้ องนักศึกษาครูทสี่ ่งเสริมคณุ ลักษณะ- ทพี่ งึ ประสงคของเด็กปฐมวยั ........................................................................................... 3
สารบัญภาพ ภาพที่ หน้า 1 แนวคิดพนื้ ฐานในการพัฒนารูปแบบการบริหารองค์กรเพื่อยกระดบั คุณภาพและเพม่ิ มูลคา่ ทางการศึกษาโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพัฒนาการศึกษา .......................................................................................... 3 2 กระบวนการของรูปแบบการบรหิ ารองค์กรเพ่ือยกระดับคุณภาพและเพิม่ มูลค่าทาง การศกึ ษา โรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจยั และพฒั นาการศึกษา .......................................................................................... 5 3 รูปแบบการบริหารองค์กรเพื่อยกระดับคุณภาพและเพิม่ มลู คา่ ทางการศึกษา โรงเรียน สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจยั และพฒั นา การศกึ ษา ......................................................................................................................... 7 4 แนวคดิ พน้ื ฐานในการพัฒนารูปแบบการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพฒั นาการศึกษา ......................................................................................... 11 5 กระบวนการเชิงระบบในการบริหารระบบประกนั คุณภาพการศึกษา ............................... 14 6 กระบวนการของรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน สถานศกึ ษา โรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการศึกษา ......................................................................................... 15 7 องค์ประกอบของรปู แบบการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา โรงเรียนสาธติ แห่งมหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจัยและพฒั นาการศึกษา (ACCSOF MODEL) ......................................................... 17 8 ขั้นตอนการดาเนินงานตามแผนการจัดการเรยี นรู้............................................................. 23 9 กระบวนการของรูปแบบชมุ ชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพเพอ่ื เสริมสรา้ งสมรรถนะการจดั ประสบการณ์การเรยี นรู้ตามแนวคิดพหปุ ญั ญารว่ มกบั ภาษาธรรมชาติของนกั ศึกษาฝึก ประสบการณว์ ชิ าชพี ครู ทีส่ ง่ เสริมคณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงคของเด็กปฐมวยั ................. 24 10 รูปแบบชมุ ชนการเรียนรทู้ างวิชาชพี เพ่อื เสรมิ สร้างสมรรถนะการจัดประสบการณ์การ เรียนรตู้ ามแนวคดิ พหปุ ัญญาร่วมกับภาษาธรรมชาติของนักศกึ ษาฝึกประสบการณว์ ชิ าชีพ ครู ท่สี ่งเสรมิ คณุ ลักษณะที่พึงประสงคของเด็กปฐมวัย ..................................................... 25 11 แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนารูปแบบการจดั การเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคดิ STEM Education ร่วมกับกระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบท่ผี สมผสานเทคโนโลยใี นยุคดิจิตอล เพื่อเสริมสรา้ งสมรรถนะการแกป้ ัญหาอย่างสร้างสรรคแ์ ละการสร้างสรรคน์ วัตกรรมของ นกั เรียนระดับมัธยมศึกษา ............................................................................................... 28 12 กระบวนการของรูปแบบการจดั การเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด STEM Education รว่ มกบั กระบวนการคดิ เชงิ ออกแบบทผี่ สมผสานเทคโนโลยีในยุคดจิ ิตอล เพอ่ื เสริมสร้างสมรรถนะการแกป้ ญั หาอย่างสร้างสรรค์และการสร้างสรรค์นวัตกรรม ของนักเรยี นระดบั มัธยมศึกษา ………………………………………………………………………………. 31 4ฮ
สารบัญภาพ (ตอ่ ) ภาพที่ หนา้ 13 รปู แบบการจัดการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ตามแนวคิด STEM Education รว่ มกับ 33 กระบวนการคดิ เชิงออกแบบทผ่ี สมผสานเทคโนโลยีในยุคดิจิตอลเพื่อเสริมสร้าง 39 สมรรถนะการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรคแ์ ละการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนกั เรียน ระดับมัธยมศึกษา ......................................................................................................... 40 14 กระบวนการเสริมพลงั (Empowerment) 4 ขน้ั ตอน .................................................. 46 15 ขนั้ ตอนการดาเนนิ งานรูปแบบการจัดอบรมเชิงปฏบิ ัติการท่มี ีประสทิ ธิผล โรงเรียน สาธติ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วจิ ัยและพัฒนา 47 การศึกษา ..................................................................................................................... 16 เทคนิคการเสริมพลงั (Empowerment) ...................................................................... 17 รปู แบบชมุ ชนการเรียนร้ทู างวิชาชีพ (PLC) ทเี่ นน้ การมีสว่ นร่วมเพ่ือเสริมสร้าง สมรรถนะการจัด ประสบการณก์ ารเรยี นรู้ของนักศึกษาครูท่ีส่งเสรมิ คณุ ลักษณะที่ พงึ ประสงคของเด็กปฐมวัย ........................................................................................... ฮ5
สว่ นที่ 1 Model การบริหารโรงเรยี น 1
รูปแบบ การบริหารองคก์ รเพ่ือยกระดับคณุ ภาพและเพ่ิมมูลค่าทางการศกึ ษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วิจยั และพัฒนาการศึกษา จดั ทำโดย คณะกรรมกำรบริหำรโรงเรยี น 2
รปู แบบการบรหิ ารองค์กรเพอื่ ยกระดับคุณภาพและเพิ่มมูลคา่ ทางการศกึ ษา โรงเรยี นสาธติ แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา “Scale Up model” รูปแบบการบริหารองค์กรเพ่ือยกระดับคุณภาพและเพ่ิมมูลค่าทางการศึกษา เป็นรูปแบบการบริหาร โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ใช้เป็นแนวทางในการพัฒนาโรงเรียนสู่ความเป็นสากลในด้านการจัดการศึกษาโดยเน้นการวิจัยและนวัตกรรม ทางการศึกษา ร่วมกับการน้อมนาหลักธรรมาภิบาลและการมีส่วนร่วมของชุมชน เพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียน และบุคลากร ภายใต้วิสัยทัศน์ของโรงเรียนท่ีว่า “องค์กรแห่งการวิจัยและนวัตกรรมทางการศึกษา ยึดหลัก ธรรมาภิบาล ประสานชุมชนสัมพันธ์ สร้างสรรค์ครูมืออาชีพ จุดประทีปทักษะทางปัญญา เดินหน้าดารง คณุ ธรรม เสรมิ สรา้ งความเปน็ ผนู้ าอยา่ งอารยชน มุง่ ผลส่ศู าสตรพ์ ระราชา” แนวคิดพ้นื ฐานในการพฒั นารูปแบบ รูปแบบการบริหารโรงเรียน มีแนวคิดพ้ืนฐานมาจากทฤษฎีระบบและหลักความเป็นสากล (System Theory and Principle of Universality) เทคนิควงจรคุณภาพ (Quality cycle techniques, PDCA) การ บริหารจัดการสถานศึกษา (School Management) มาตรฐานการศึกษาของชาติ พ.ศ. 2561 ในรูปแบบ ของผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ (Desired Outcomes of Education, DOE) การประเมินคุณภาพตามมาตรฐาน การศึกษา (Quality assessment in accordance with educational standards) การมีส่วนร่วม การร่วม แรง ร่วมใจ และการเสรมิ พลัง (Participation, Collaboration, and Empowerment) ดงั ภาพที่ 1 Participation, System Theory Collaboration, and Principle of and Universality Empowerment Quality cycle techniques, PDCA Quality School assessment in accordance with Management educational Desired standards Outcomes of Education, DOE ภาพที่ 1 แนวคิดพ้ืนฐานในการพฒั นารูปแบบการบริหารองค์กรเพือ่ ยกระดับคุณภาพและเพ่ิมมูลคา่ ทาง การศึกษาโรงเรยี นสาธติ แห่งมหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วิจยั และพฒั นา การศกึ ษา 3
องค์ประกอบของรูปแบบ องค์ประกอบของรูปแบบการบริหารองค์กรเพ่ือยกระดับคุณภาพและเพ่ิมมูลค่าทางการศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา มี 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวัดและประเมินผล และปัจจัยสนับสนุน มี รายละเอยี ดดงั นี้ 1. หลักการ เ ส ริ ม ส ร้ า ง คุ ณ ภ า พ นั ก เ รี ย น แ ล ะ ส ม ร ร ถ น ะ ข อ ง บุ ค ล า ก ร ด้ ว ย ห ลั ก ธ ร ร ม า ภิ บ า ล แ ล ะ ก า ร มีส่วนร่วมอยา่ งยงั่ ยนื เพ่อื กา้ วสู่ความเปน็ สากลในด้านการพัฒนาคุณภาพการจดั การศึกษาอย่างมืออาชีพ 2. วตั ถุประสงค์ : 2.1 เพ่ือยกระดับคุณภาพนักเรียนในด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะและคุณลักษณะท่ี พึงประสงค์ 2.2 เพื่อพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงานท่ีเป็นเลิศ (Best Practice Competencies) และ คณุ ลักษณะทีด่ ขี องบุคลากร 3. กระบวนการ ข้ันท่ี 1 สังเคราะห์นโยบายและเป้าหมายของโรงเรียนรวมถึงการประเมินความต้องการจาเปน็ (Synthesize school policies and goals including basic need assessment: S) วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ สั ง เ ค ร า ะ ห์ น โ ย บ า ย แ ล ะ เ ป้ า ห ม า ย ข อ ง ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ท้ั ง ใ น ร ะ ดั บ ก่อนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับอุดมศึกษา และประเมินความต้องการจาเปน็ ในการพัฒนาระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนที่ประกอบด้วย หลักสูตร การบริหารจัดการหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร การพัฒนาคุณลักษณะของนักเรียน การผลิตและ พัฒนาส่ือและแหล่งเรียนรู้ การวัดและประเมินผล รวมท้ังสิ่งสนับสนุนการจัดการศึกษา ได้แก่ การวิจัย การ บริการวิชาการ การสร้างเครือข่ายสังคมแห่งการเรียนรู้ และการประกันคุณภาพการศึกษา จากนั้นจึงกาหนด เป้าหมายการพฒั นาคุณภาพนกั เรียนและบคุ ลากรของโรงเรียนรว่ มกัน ข้ันท่ี 2 สร้างและพัฒนาระบบการบริหารงานในโรงเรียน (Create and develop school administrative system: C) พัฒนาระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนให้ครอบคลุม 7 หมวด ของ EdPEx ได้แก่ หมวดการนาองค์กร กลยุทธ์ ลูกค้า การวัดการวิเคราะห์ และการจัดการความร้ขู องบคุ ลากร ระบบปฏิบัติการ และผลลัพธ์ โดยโรงเรียนกาหนดใหม้ ีการพัฒนาระบบการบริหารงานท่ีชดั เจนและเปน็ รูปธรรมนาส่กู ารปฏิบตั ิ ได้โดยใช้กระบวนการเชิงระบบในการบริหารงานให้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียน ซ่ึงนาไปสู่การบรรลุ เปา้ หมายทสี่ อดคลอ้ งและครอบคลุม EdPEx ตามตวั ชว้ี ัด 7 หมวด ข้ันที่ 3 รวบรวมความคิดและจัดทาแผนปฏิบัติงาน (Accumulate ideas and do the action plans: A) นาผลการสังเคราะห์และการประเมินในข้อ 3.1 และระบบการบริหารงานในข้อ 3.2 มาจัดทา แผนปฏิบัติงานของโรงเรียนโดยเสนอโครงการ/กิจกรรมที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ของโรงเรียนและ มาตรฐานการศึกษา เน้นการมีส่วนร่วมตามหลักธรรมาภิบาล ซ่ึงประกอบด้วย หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรง่ ใส หลักความมีส่วนรว่ ม หลกั ความรับผิดชอบ และหลกั ความคุ้มค่า 4
ข้ันท่ี 4 นาสู่ประสิทธิภาพการผลิตและผลลัพธ์ (Lead to productive performance and outcome: L) ดาเนินงานตามแผนการพัฒนาระบบการจัดการศึกษาของโรงเรียนโดยใช้วิจัยเป็นฐาน (Research Based) ร่วมกบั การใชว้ งจรคณุ ภาพ (Quality cycle techniques, PDCA) โดยเน้นการมีสว่ นรว่ ม การร่วมแรง ร่วมใจ และรวมพลังในการเรียนรู้และปฏิบัติงาน อันนาไปสู่ผลผลิตตามเป้าหมายของโรงเรียน และผลการปฏบิ ัตงิ านทเ่ี ป็นเลศิ (Best Practice) ข้นั ท่ี 5 ขยายผลสชู่ ุมชนการเรยี นรู้ (Expand to professional learning community: E) มีการแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ในชุมชนการเรียนรู้ (Professional learning community) อย่างกัลยาณมิตร รวมท้ังติดตาม ตรวจสอบ ช่วยเหลือ ให้คาแนะนา เพื่อการพัฒนางานและ การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศสู่ระดับสากลด้วยกระบวนการพัฒนาวิชาชีพ โดยใช้แนวทางของ coaching และ mentoring มีการสะท้อนผลการปฏิบัติงานร่วมกับการสร้างขวัญ กาลังใจ และการเสริมพลัง (Empowerment) แก่นกั เรียนและบุคลากรทกุ คน ข้ันที่ 6 ยกระดับระบบการทางานเพอ่ื การพฒั นาท่ียง่ั ยืน (Upgrade functional system for sustainable development: Up) สร้างมูลค่าเพ่ิมของระบบการจัดการศึกษาของโรงเรยี น ขยายผล เผยแพร่ และแลกเปล่ยี นเรยี นรู้ ผ่านเครือข่ายความร่วมมือ (MOU) และสถาบันร่วมพัฒนาวิชาชีพ (Professional Development Institution) กระบวนการของรูปแบบการบริหารองค์กรเพ่ือยกระดับคุณภาพและเพ่ิมมูลค่าทางการศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูน ย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา มี 6 ขนั้ ตอน ดงั ภาพท่ี 2 ภาพท่ี 2 กระบวนการของรูปแบบการบริหารองค์กรเพื่อยกระดับคุณภาพและเพ่ิมมูลค่าทางการศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัย และพัฒนา การศึกษา 5
4. การวัดและประเมนิ ผล 4.1 คณุ ภาพนกั เรียน 3 ด้านคอื ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน สมรรถนะและคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์ 4.2 สมรรถนะการปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ (Best Practice Competencies) และคุณลักษณะท่ีดีของ บุคลากรของโรงเรียน 5. ปัจจยั สนับสนนุ 5.1 ความรู้ความเข้าใจ เจตคติและความร่วมมือของบุคลากรทุกฝ่ายต่อการพัฒนาระบบ การจดั การศกึ ษาของโรงเรียน 5.2 ความร่วมมือทางวิชาการของสถาบันเครือข่ายและสถาบันการศึกษาท้ังระดับการศึกษา ขน้ั พื้นฐานและระดบั อดุ มศกึ ษา 5.3 การขบั เคลื่อนจากหน่วยงานระดบั นโยบายและการสนับสนนุ ของผบู้ รหิ าร 5.4 ความพร้อมของทรัพยากรในการจัดการศึกษาและส่ิงอานวยความสะดวกที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ ของนักเรยี น จากองค์ประกอบดังกล่าวของรูปแบบการบริหารองค์กรเพ่ือยกระดับคุณภาพและเพ่ิมมูลค่าทาง การศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ท่ีผู้วิจัยนาเสนอ โดยมีองค์ประกอบของรูปแบบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการ การวัดและการประเมนิ ผล และปัจจยั สนบั สนนุ ดงั ภาพที่ 3 6
ภาพที่ 3 รปู แบบการบรหิ ารองค์กรเพื่อยกระดับคณุ ภาพและเพ่มิ มูลคา่ ทางการศ ศนู ย์วิจัยและพฒั นาการศึกษา 7
ศกึ ษา โรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน
รายชื่อคณะทางาน อุดมศรี ประธานกรรมการ รศั มี รองประธาน 1. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ณชพงศ์ เดือนแจ้ง กรรมการ 2. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์สานติ ย์ รามศิริ กรรมการ 3. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วสนั ต์ ธนัชญาอศิ มเ์ ดช กรรมการ 4. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.รุจริ าพร เหล่าเหมมณี กรรมการ 5. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ วา่ ที่ ร.ต.ภมู ิพัฒน์ จันทรข์ ามเรียน กรรมการ 6. ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.กติ ิศาอร แสงเสถียร กรรมการ 7. ผชู้ ่วยศาสตราจารย์พลาภรณ์ ออ่ นสม้ กรติ กรรมการและเลขานุการ 8. ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์อทุ ยั วรรณ 9. นางสาวสุนสิ า 8
รูปแบบ การพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา โรงเรยี นสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการศึกษา จัดทำโดย คณะกรรมกำรงำนประกนั คุณภำพกำรศกึ ษำ 9
รูปแบบการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา โรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วจิ ัยและพัฒนาการศึกษา “ACCSOF MODEL” ความเปน็ มาและความสาคัญ รูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิต แห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามพระราชบัญญัติ การศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และทแี่ กไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545 มาตรา 48 ใหห้ น่วยงานต้นสังกัด และสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา และให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใน เป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่อง โดยมีการจัดทารายงานประจาปีเสนอ ต่อหน่วยงานต้นสังกัด หน่วยงานที่เก่ียวข้องและเปิดเผยต่อสาธารณชน เพื่อนาไปสู่การพัฒนาคุณภาพ การศึกษาและเพ่ือรองรับการประกันคณุ ภาพภายนอก อ้างอิงตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ฉบับลงวันท่ี 6 สิงหาคม พ.ศ.2561 มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ.2561 มีจานวน 3 มาตรฐาน ได้แก่ มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน ประกอบด้วย ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผู้เรียน และคุณลักษณะที่ พึงประสงค์ของผู้เรียน มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ และมาตรฐานที่ 3 กระบวนการ จดั การเรยี นการสอนท่ีเนน้ ผู้เรยี นเป็นสาคัญ มรี ายละเอยี ดของแต่ละมาตรฐานดังน้ี มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผเู้ รียน 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน 1.1.1 มีความสามารถในการอา่ น การเขียน การส่อื สาร และการคดิ คานวณ 1.1.2 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคดิ เหน็ และแกป้ ญั หา 1.1.3 มคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม 1.1.4 ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 1.1.5 มผี ลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา 1.1.6 มคี วามรู้ ทักษะพน้ื ฐาน และเจตคติทดี่ ตี อ่ งานอาชีพ 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผเู้ รยี น 1.2.1 มคี ณุ ลักษณะและค่านิยมท่ดี ีตามท่ีสถานศึกษากาหนด 1.2.2 มีความภูมิใจในท้องถ่ินและความเป็นไทย 1.2.3 ยอมรับท่ีจะอย่รู ่วมกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 1.2.4 มสี ุขภาวะทางร่างกาย และจติ สงั คม มาตรฐานท่ี 2 กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ 2.1 มเี ป้าหมาย วสิ ัยทศั น์ และพนั ธกจิ ทสี่ ถานศึกษากาหนดชัดเจน 2.2 มรี ะบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศกึ ษา 2.3 ดาเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุก กล่มุ เปา้ หมาย 2.4 พัฒนาครูและบคุ ลากรใหม้ คี วามเช่ยี วชาญทางวชิ าชพี 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสงั คมทีเ่ อ้ือต่อการจดั การเรยี นรู้ 10
มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจดั การเรียนการสอนท่เี นน้ ผเู้ รยี นเป็นสาคญั 3.1 จดั การเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏบิ ตั ิจริง และสามารถนาไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตได้ 3.2 ใชส้ ่อื เทคโนโลยสี ารสนเทศและแหลง่ เรยี นรู้ท่ีเออื้ ตอ่ การเรยี นรู้ 3.3 มกี ารบรหิ ารจัดการชั้นเรียนเชงิ บวก 3.4 ตรวจสอบและประเมนิ ผู้เรียนอยา่ งเปน็ ระบบและนาผลมาพัฒนาผ้เู รยี นอย่างตอ่ เนื่อง 3.5 มกี ารแลกเปล่ยี นเรยี นรู้และให้ขอ้ มลู ป้อนกลบั เพ่อื ปรบั ปรงุ และ พัฒนาการจดั การเรยี นรู้ ดังน้ันเพื่อตอบสนองนโยบายทางโรงเรียนได้มีการทาวิจัยเร่ือง “ระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศกึ ษา” น้ขี ้นึ มาเพอื่ สามารถจดั การศกึ ษาไดอ้ ย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและบรรลเุ ป้าประสงค์ ของหน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีกากับดูแล พร้อมทั้งจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่ หนว่ ยงานตน้ สังกดั หรอื หนว่ ยงานทีก่ ากับดูแลสถานศึกษาเปน็ ประจาทกุ ปี และเผยแพรตอ่ สาธารณชน แนวคดิ พน้ื ฐานในการพฒั นารปู แบบ แนวคิดพื้นฐานในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียน สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ประกอบด้วย แนวคิดและหลักการเก่ยี วกบั การประกนั คณุ ภาพภายในและมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน การพฒั นาคุณภาพ โรงเรียนและงานประกันคุณภาพภายใน แนวทางการประเมินคุณภาพการศึกษา ตามมาตรฐานการศึกษาข้ัน พ้ืนฐาน การมีส่วนร่วมในการบริหารงาน และการเสริมสร้างพลัง และการบริหารจัดการสถานศึกษาและ รูปแบบการพัฒนางานประกนั คณุ ภาพ ดงั ภาพท่ี 4 การบริหารจดั การ การประกนั คุณภาพ การพฒั นาคณุ ภาพ สถานศึกษาและ ภายในและมาตรฐาน โรงเรยี นและงาน รปู แบบการพัฒนา การศึกษาข้นั พืน้ ฐาน ประกันคุณภาพ งานประกันคณุ ภาพ แนวคิดพ้ืนฐาน ภายใน เก่ยี วกบั รูปแบบการ พฒั นาระบบประกนั คุณภาพการศกึ ษา การมีส่วนรว่ มในการ แนวทางการประเมิน บริหารงาน และการ คณุ ภาพการศึกษา เสริมสร้างพลัง ตามมาตรฐาน การศึกษาข้นั พนื้ ฐาน ภาพที่ 4 แนวคดิ พนื้ ฐานในการพฒั นารปู แบบการพฒั นาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายใน สถานศึกษา โรงเรยี นสาธิตแหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจยั และพฒั นาการศึกษา 11
องคป์ ระกอบของรูปแบบ จากการศึกษาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนา การศกึ ษา ซงึ่ ประกอบด้วย การประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน การพฒั นาคณุ ภาพ โรงเรียนและงานประกันคุณภาพภายใน การบริหารจัดการสถานศึกษาและรูปแบบการพัฒนางานประกัน คุณภาพ และแนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มีองค์ประกอบ ของรปู แบบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลกั การ วตั ถปุ ระสงค์ กระบวนการ การประเมินคณุ ภาพการศึกษาภายใน สถานศึกษา และเง่ือนไขสาคัญในการนารูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศกึ ษา มีรายละเอียดดงั นี้ 1. หลกั การ ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็นกลไกที่มุ่งพัฒนา คุณภาพการศึกษาของโรงเรียนด้วยกระบวนการเชิงระบบ (Systematic Process) ท่ีเน้นการมีส่วนร่วม (Participations)และการเสริมสร้างพลัง (Empowerments) ให้มีความต่อเนื่องในการดาเนินกิจกรรมตาม พนั ธกจิ และนโยบายการจัดการศึกษาของโรงเรียน 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่ือพฒั นาความสามารถของบุคลากรในการจดั เกบ็ ข้อมูลภาคสนาม 2. เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพของรายงานการประเมนิ ตนเอง 3. เพือ่ พัฒนาผลการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาระดบั การศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน 3. กระบวนการ ข้ันที่ 1 สร้างความตระหนัก (Awareness: A) โดยการให้ความรู้ในด้านงานประกันคุณภาพ การศกึ ษาและสรา้ งความเข้าใจในบทบาทและหนา้ ท่ีของทุกฝ่ายในการทางาน ข้นั ท่ี 2 สร้างเสรมิ ความรู้และความสามารถด้านการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา (Construction: C) ประกอบด้วยสาระสาคญั ดังน้ี 2.1 ระบบประกนั คุณภาพภายใน 2.2 การกาหนดกรอบและวางแผนการประเมนิ คุณภาพการศึกษา 2.3 การสร้างเครื่องมือประเมนิ คุณภาพและหาคณุ ภาพ (บนั ทึกภาคสนาม : Field Note) 2.4 การฝกึ ปฏิบตั ิ 2.5 การเกบ็ รวบรวมข้อมูลและวเิ คราะห์ข้อมูล 2.6 การนาเสนอผลการประเมินคุณภาพ และเขียนรายงานการประเมินตนเอง (Self-Study Report : SSR) ขนั้ ท่ี 3 รว่ มกาหนดความรับผดิ ชอบ (Collaboration: C) 3.1 รว่ มกันเสนอและแตง่ ตั้งคณะกรรมการประกนั คุณภาพการศกึ ษา 3.2 ช้แี จงบทบาทและหนา้ ที่ความรับผิดชอบ 3.3 ตรวจสอบความครบถ้วน 3.4 ทบทวนและแก้ไข ขั้นที่ 4 สงั เคราะหข์ ้อมูลสารสนเทศเพือ่ การประกนั คุณภาพการศึกษา (Synthesis: S) ประกอบด้วยข้อมูลสาคญั ดังน้ี 4.1 ผลการดาเนนิ งานในรอบปีท่ผี ่านมา 4.2 วสิ ยั ทัศน์ พนั ธกิจ ยุทธศาสตร์ เป้าประสงค์ กลยุทธ์ และนโยบายของผบู้ รหิ าร สถานศกึ ษา 12
4.3 ขอ้ มูลสารสนเทศทางการศกึ ษา 4.4 ความคดิ เหน็ ของผู้มีสว่ นเกย่ี วข้อง ไดแ้ ก่ บุคลากรของโรงเรยี น นกั เรียน ผปู้ กครอง และชุมชน ขน้ั ที่ 5 ปฏบิ ัติการตามระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษา (Operation: O) ประกอบดว้ ย 3 ข้ัน คอื 5.1 เตรยี มการ 5.2 ดาเนนิ การ 5.3 รายงานผลการประเมินคุณภาพภายใน โดยในการปฏิบัติการน้ัน ผู้วิจัยใช้กระบวนการเชิงระบบ (Systematic Process) เป็นกลไกการ บริหารระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใต้การมีส่วนร่วม (Participation) และการเสริมสร้างพลัง (Empowerment) ของทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องด้วยการใช้ระบบ Coaching and Mentoring และใช้วงจร การบริหารระบบการประกันคุณภาพการศึกษาตามแนวการบริหารระบบคุณภาพ PDCA ในการขับเคลื่อน ระบบการประกันคุณภาพภายใน เพ่ือให้เกิดความต่อเนื่องในการดาเนินกิจกรรมตามภารกิจของสถานศึกษา มรี ายละเอยี ดดงั นี้ 5.1 เตรียมการ มีการตรียมความพร้อมในการปฏิบัติการตามระบบการประกันคุณภาพ การศกึ ษาท่เี นน้ การมสี ่วนร่วมและเสริมสรา้ งพลังให้มีความต่อเนื่องในการดาเนนิ งานตามแนวการบรหิ ารระบบ คุณภาพ PDCA ดังนี้ 5.1 Plan: เตรยี มการ Plan Do 1. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการกาหนดมาตรฐานและค่า 1. ส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มของผ้มู ีสว่ นเกยี่ วข้อง เป้าหมาย และกาหนดบทบาทหนา้ ท่เี พื่อสร้างความ 2. รว่ มกนั จดั ทาแผนพฒั นาการจัดการศึกษา ตระหนักให้แก่บุคลากร 3. รว่ มกันจัดระบบบริหารและสารสนเทศ 2. ช้ีแจงและสร้างความเข้าใจร่วมกันเก่ียวกับระบบ 4. ร่วมกันจดั ทาปฏิทินการประกันคุณภาพการศึกษา การประกันคณุ ภาพการศึกษาทม่ี ี ความสาคัญและ ของสถานศึกษา ความจาเป็นต่อสถานศึกษา 5. ร่วมกันจดั เตรียมปัจจยั การบรหิ ารจดั การประกัน 3. ร่วมกนั วางแผนการประเมินคุณภาพการศึกษา คุณภาพการศึกษา ได้แก่ 4 M ประกอบดว้ ย Man ตามมาตรฐาน 3 มาตรฐาน (บุคลากร) Money (งบประมาณ) Material (วสั ดุ อปุ กรณ์) และMethod (วธิ ีการ) Check Act 1. ร่วมกันพิจารณาแนวทางการปฏิบัติ และความ 1. ร่วมกันกากับและติดตามเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับความต้องการ เพื่อให้เกิดความชัดเจน โดยใช้ระบบ Coaching and Mentoring โดยเน้นความถูกตอ้ งและความเปน็ ไปได้ 2. รว่ มกันพจิ ารณาความสมบูรณ์ของระบบ ฐานขอ้ มลู และสารสนเทศ 13
5.2 ดาเนนิ การ โดยใช้กระบวนการเชิงระบบ (Systematic Process) เป็นกลไกการบริหาร ระบบประกันคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย ปัจจัย (Inputs: I) กระบวนการ (Process: P) และผลผลิต/ ผลลัพธ์ (Output/Outcome: O) และใหข้ ้อมูลป้อนกลบั เพือ่ การปรบั ปรุงและพฒั นา ดงั ภาพที่ 5 ภาพที่ 5 กระบวนการเชิงระบบในการบริหารระบบประกันคณุ ภาพการศึกษา ในการดาเนินการคร้ังนี้ เน้นการมีส่วนร่วม (Participation) และการเสริมสร้างพลัง (Empowerment) โดยใช้ระบบ Coaching and Mentoring เพื่อให้มีความต่อเน่ืองในการดาเนินงาน ตามแนวการบริหารระบบคุณภาพ PDCA และใช้แบบบันทึกภาคสนามตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 3 มาตรฐาน เป็นเคร่อื งมอื ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู มรี ายละเอียดดงั นี้ 5.2 Do & Check: ดาเนนิ การ Plan Do 1. ศกึ ษาแผนการพัฒนาการจดั การศึกษา 1. รว่ มกนั ดาเนนิ งานตามแผนการประเมินคุณภาพ 2. ร่วมกันพิจารณาเปา้ หมายของสถานศกึ ษา การศกึ ษา โดยใช้วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมข้อมูล ไดแ้ ก่ วิสยั ทศั น์ พันธกิจ ยุทธศาสตรโ์ รงเรยี น ภาคสนาม ด้วยแบบบนั ทกึ ภาคสนาม (Field เปา้ ประสงค์ กลยุทธ์ และนโยบาย Note) ตามมาตรฐานการศกึ ษาขน้ั พ้นื ฐาน 3 3. ร่วมกนั กาหนดกรอบและแนวทางการประเมิน มาตรฐาน คุณภาพการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้น 2. ร่วมกนั สรปุ ผลการประเมินคณุ ภาพการศึกษา พื้นฐาน 3 มาตรฐาน ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน Check Act 1. ร่วมกันพิจารณาการบรรลุผลการดาเนินงาน 1. รว่ มกันกากบั และตดิ ตามเปน็ ระยะอย่างต่อเนื่อง ตามแผนพัฒนาการจดั การศกึ ษา โดยใชร้ ะบบ Coaching and Mentoring 5.3 รายงานผล เป็นการจัดทารายละเอียดของผลการประเมินคุณภาพภายในของ สถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน 3 มาตรฐาน หลังการเก็บข้อมูลในแบบบันทึกภาคสนาม เรียบร้อยแล้ว นาข้อมูลมาวิเคราะห์ และสรุปผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษา โดยจัดทาเป็น รายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) 14
5.3 Act: รายงานผล Plan Do 1. สังเคราะห์ผลการประเมนิ คุณภาพภายในของ 1. รว่ มกนั จดั ทารายงานผลการประเมินคุณภาพ สถานศกึ ษาจากแบบบันทึกภาคสนามตามมาตรฐาน ภายใน การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน 3 มาตรฐาน Check Act 1. รว่ มกันพจิ ารณาความถูกต้อและเปน็ ปจั จุบันของ 1. ร่วมกันกากับและติดตามเป็นระยะอย่างต่อเนื่อง เอกสารรายงานผลการประเมนิ คุณภาพภายใน โดยใช้ระบบ Coaching and Mentoring ข้ันท่ี 6 ติดตาม ตรวจสอบ และพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง (Follow up: F) มีการ ดาเนินการดงั น้ี 6.1 ติดตาม และตรวจสอบ เอกสารรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report: SAR) 6.2 นาผลการประเมินคุณภาพภายในของสถานศึกษาจากการประเมินตนเองมาวิเคราะห์ และนาไปใช้พฒั นาการบริหารและการเรียนการสอนอยา่ งต่อเนื่อง 6.3 เผยแพร่ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและแลกเปล่ียนเรียนรู้ท้ังในโรงเรียนและ เครือขา่ ยภายนอก กระบวนการของรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียน สาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา (ACCSOF MODEL) มี 6 ขน้ั ตอน ดงั ภาพท่ี 6 ภาพที่ 6 กระบวนการของรปู แบบการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา โรงเรียน สาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วจิ ยั และพฒั นาการศึกษา 15
4. การวัดและประเมินผล 4.1 ประเมินคุณภาพของระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาตามมาตรฐาน การศึกษาระดับการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน 4.2 ประเมินผลการจัดทารายงานการประเมินตนเอง (SAR) ประกอบดว้ ย 1) ความสามารถของบุคลากรในการเก็บรวบรวมข้อมูลภาคสนามเพื่อจัดทารายงานการ ประเมินตนเอง (SAR) 2) คุณภาพของรายงานการประเมนิ ตนเอง (SAR) 5. เงือ่ นไขสาคญั ท่นี าไปสู่ความสาเรจ็ 5.1 ผูบ้ ริหารมีนโยบายพัฒนาสถานศกึ ษาดา้ นระบบประกนั คณุ ภาพภายในอยา่ งต่อเนื่อง 5.2 บุคลากรใหค้ วามสาคัญและมีความตระหนักในการทางานตามมาตรฐานประกนั คณุ ภาพภายใน สถานศึกษาให้เปน็ วฒั นธรรมองคก์ ร จากการศึกษาแนวคิดพ้ืนฐานเก่ียวกับรูปแบบการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน สถานศกึ ษาโรงเรยี นสาธติ แหง่ มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน ศูนยว์ ิจัยและพฒั นาการศึกษา ซึ่งประกอบด้วย การประกันคุณภาพภายใน และมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน การพัฒนาคุณภาพโรงเ รียน และงานประกันคุณภาพภายใน การบรหิ ารจดั การสถานศึกษาและรูปแบบการพฒั นางานประกนั คุณภาพ และ แนวทางการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษาระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ผู้วิจัยนามาพัฒนารูปแบบการ พัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษาโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตร ศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศนู ยว์ ิจัยและพัฒนาการศึกษา โดยใชช้ ่ือรูปแบบวา่ “ACCSOF MODEL” หรือ “รูปแบบ เอซีซีเอสโอเอฟ”และมีองค์ประกอบของรูปแบบ 5 องค์ประกอบ ได้แก่ หลักการ วัตถุประสงค์ กระบวนการพัฒนาระบบประกันคุณภาพการศึกษา การวัดและประเมินผล และเง่ือนไขสาคัญที่นาไปสู่ ความสาเรจ็ ดงั ภาพท่ี 7 16
ภาพที่ 7 รปู แบบการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศึกษา โรงเรียนสาธติ แหง่ มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์ วทิ ยาเขตกาแพงแสน ศนู ย์วจิ ัยและพฒั นาการศึกษา (ACCSOF MODEL) 17
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149