Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การศึกษาคุณภาพสูง

การศึกษาคุณภาพสูง

Published by inno vation, 2021-04-13 10:01:49

Description: การศึกษาคุณภาพสูง

Search

Read the Text Version

การศึกึ ษาคุณุ ภาพสููงระดับั โลก ศ. นพ.วิิจารณ์์ พานิิช ปิยิ าภรณ์์ มัณั ฑะจิติ ร

การศึึกษาคุุณภาพสููงระดับั โลก ข้้อมููลทางบรรณานุุกรมของหอสมุุดแห่ง่ ชาติิ วิิจารณ์์ พานิชิ . การศึกึ ษาคุุณภาพสููงระดับั โลก.-- กรุุงเทพฯ : มููลนิิธิสิ ยามกััมมาจล, 2563. 210 หน้้า. 1. การศึกึ ษา. I. ปิิยาภรณ์์ มััณฑะจิิตร, ผู้�้แต่ง่ ร่ว่ ม. II. อัยั ยา มัณั ฑะจิติ ร, ผู้ว้� าดภาพประกอบ. III. ชื่�อ่ เรื่�อ่ ง. 370 ISBN 978-616-8000-32-8 ผู้�้เขียี น ศ. นพ.วิจิ ารณ์์ พานิชิ ปิิยาภรณ์์ มััณฑะจิิตร เจ้้าของ มููลนิิธิสิ ยามกัมั มาจล ที่่ป� รึึกษา ปิยิ าภรณ์์ มัณั ฑะจิิตร บรรณาธิิการ ภาพพิมิ พ์ ์ พิมิ มะรัตั น์ ์ นาถชิิดา อินิ ทร์์สอาด ออกแบบรููปเล่่ม วัันทนียี ์์ มณีแี ดง ภาพประกอบ/ปก อััยยา มัณั ฑะจิติ ร จัดั พิมิ พ์โ์ ดย มููลนิธิ ิสิ ยามกััมมาจล 19 ถนนรััชดาภิเิ ษก แขวงจตุจุ ัักร เขตจตุจุ ักั ร กรุงุ เทพฯ 10900 โทรศัพั ท์์ 0 2937 9901-7 www.scbfoundation.com ISBN 978-616-8000-32-8 พิิมพ์์ครั้�งที่�่ 1 มิิถุนุ ายน 2563 จำ�ำ นวนพิมิ พ์์ 2,000 เล่ม่ พิมิ พ์์ที่่� บริิษัทั เอส.อาร์์.พริ้�นติ้้�ง แมสโปรดักั ส์ ์ จำำ�กััด ราคา 180 บาท

การศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก 3 คำำ�นำำ�ผู้เ้� ขีียน หนงั สอื การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก เลม่ นี้ เขยี นจากการตคี วาม (ไม่ใชแ่ ปล) หนังสือ A World-Class Education: Learning from Inter- national Models of Excellence and Innovation (2012) ซึง่ เขียนโดย Vivien Stewart โดยผมได้ตีความเป็นตอน ๆ ลงบล็อก Gotoknow.org ในชดุ การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก (https://www.gotoknow.org/posts/ tags/การศึกษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก) รวม 10 ตอน แล้วรวมเลม่ ปรบั ปรุง เปน็ หนงั สอื เลม่ น้ีโดยทมี งานของมูลนิธสิ ยามกมั มาจล รวมทั้งมีการเขียน เล่าประสบการณ์จากการทำ�งานสนับสนุนโรงเรียนในพ้ืนท่ีนวัตกรรม การศึกษาของทีมมูลนิธิสยามกัมมาจล เข้าไปเป็นบทสุดท้าย เพื่อเล่า การดำ�เนินการตามหลักการในหนังสือ สู่การปฏิบัติในสถานการณ์จริง ของบรบิ ทไทย หนังสอื เสนอตัวอย่างระบบการศึกษาของ 5 ประเทศ คือ สิงคโปร์ แคนาดา ฟนิ แลนด์ เซย่ี งไฮ้ (จนี ) และออสเตรเลีย ที่มบี ริบทแตกต่างกัน และมีวิธีดำ�เนินการแตกต่างกันไปตามบริบทของตน แต่ก็มีมาตรการ สำ�คัญที่ทง้ั 5 ประเทศใช้เหมือน ๆ กนั 8 ประการคือ (1) วิสยั ทศั นแ์ ละ ภาวะผู้น�ำ (2) ก�ำ หนดมาตรฐานสงู หรอื ท้าทาย (3) มงุ่ สรา้ งความเทา่ เทยี ม (4) ครแู ละผู้น�ำ การศกึ ษาคณุ ภาพสงู (5) มเี ปา้ หมายไปในทศิ ทางเดยี วกนั และสมั พันธ์เชอ่ื มโยงกนั ท้ังในระดบั นโยบายถึงปฏบิ ัตกิ าร (6) แนวทาง การจัดการและระบบรับผดิ รบั ชอบทีส่ ะท้อนผลลพั ธ์ที่ผู้เรยี น (7) นกั เรยี น มแี รงจูงใจต่อการเรยี นสูง (8) มงุ่ เรยี นเปน็ พลโลก และเพ่อื อนาคต

4 การศึกษาคณุ ภาพสูงระดบั โลก ท่านท่ีสนใจเร่ืองปัจจัยท่ี ทำ�ให้การศึกษาของประเทศมีคุณภาพสูง ควรได้อ่านบันทึกชุด สู่การศึกษาคุณภาพสูง* ท่ีตีความจาก World Development Report 2018 จากหลักการและวธิ ีการในหนังสอื เล่มน้ี วงการศกึ ษาไทยสามารถ เลือกนำ�ไปปรับใช้ได้ในทุกระดับ ทั้งระดับโรงเรียน เขตการศึกษา พ้ืนที่ นวัตกรรมการศึกษา และระดับประเทศ ทำ�เป็นวงจรการเรียนรู้สองชั้น (Double Learning Loop) เพอื่ ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาอย่างตอ่ เนอื่ ง คณะบรรณาธิการจัดทำ�หนังสือเล่มน้ีเน้นนำ�เสนอในลักษณะท่ี ชวนผู้อ่านจินตนาการสู่การปฏิบัติ มีการใช้ศิลปะ และ Infographic ชว่ ยความเข้าใจ และช่วยให้หนงั สือนา่ อา่ นข้ึนเปน็ อนั มาก ผมขอกราบขอบพระคณุ ทา่ นผู้ใหญใ่ นวงการการศกึ ษาไทย 3 ทา่ น ที่กรุณาเขียนคำ�นิยมให้ คือ ศ. นพ.จรัส สุวรรณเวลา อดีตประธาน คณะกรรมการอิสระเพ่อื ปฏริ ูปการศกึ ษา รศ. ดร.เอกชยั กสี่ ุขพันธ์ ประธาน คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน (กพฐ.) และ รศ.ประภาภัทร นิยม อธกิ ารบดีสถาบันอาศรมศลิ ป์ และขอขอบคุณ คณุ ปิยาภรณ ์ มณั ฑะจติ ร ผู้จัดการมูลนิธิสยามกัมมาจล และทีมงาน ท่ี กรุณาจัดทำ�หนังสือเล่มนี้ ออกเผยแพร่เพื่อเป็นแนวทางพัฒนาคุณภาพการศึกษาไทย สู่เป้าหมาย พลเมืองไทยคณุ ภาพสงู เปน็ ก�ำ ลังสำ�คัญในการพัฒนาบา้ นเมือง วิจารณ์ พานิช 26 มีนาคม 2563 * https://www.gotoknow.org/posts/tags/สู่่�การศึึกษาคุณุ ภาพสููง

การศึกษาคณุ ภาพสงู ระดับโลก 5 คำำ�นำำ� มูลู นิธิ ิิสยามกัมั มาจล หนังสือการศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก หนังสือเล่มท่ี ท่านถืออยู่ ในมือขณะน้ี เปน็ การรวมบนั ทกึ การตคี วามของ ศาสตราจารย์ นายแพทย์ วจิ ารณ์ พานชิ จากหนงั สอื A World-Class Education: Learning from International Models of Excellence and Innovation (2012) เขยี นโดย Vivien Stewart แนะน�ำ 5 ประเทศ ส�ำ หรบั เปน็ แบบอยา่ งการพฒั นาระบบ การศกึ ษาทด่ี ี คอื สงิ คโปร์ แคนาดา ฟนิ แลนด์ จนี (เซย่ี งไฮ)้ และออสเตรเลยี ประกอบไปด้วยกรณีศึกษาการพัฒนาระบบการศึกษาให้เป็น การศึกษาคุณภาพสูงของ 5 ประเทศ ซ่ึงสะท้อนให้เห็นถึงกระบวนการ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาตามบรบิ ทของแตล่ ะประเทศ คณุ ลกั ษณะรว่ ม ของระบบการศึกษาท่ี ประสบความสำ�เร็จ หลักการพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาวิชาชีพครูและการบริหารการศึกษา พร้อมบทวิเคราะห์เพ่ือ การน�ำ มาประยกุ ตใ์ ช้กบั การพฒั นาระบบการศกึ ษาไทย โดยศาสตราจารย์ นายแพทยว์ จิ ารณ์ พานิช

6 การศึกษาคณุ ภาพสงู ระดับโลก เน้ือหาในหนังสือเล่มน้ีสะท้อนให้เห็นถึงลักษณะร่วมสำ�คัญ 8 ประการ ของการศกึ ษาคณุ ภาพสงู ไดแ้ ก่ 1. วิสยั ทัศน์และภาวะผู้น�ำ 2. กำ�หนดมาตรฐานสูงหรอื ท้าทาย 3. ม่งุ สร้างความเทา่ เทยี ม 4. ครแู ละผู้นำ�การศกึ ษาคุณภาพสูง 5. มเี ปา้ หมายไปในทศิ ทางเดยี วกนั และสมั พนั ธเ์ ชอ่ื มโยงกนั ทง้ั ในระดบั นโยบายถงึ ปฏบิ ตั กิ าร 6. แนวทางการจัดการและระบบรับผดิ รบั ชอบท่สี ะท้อนผลลพั ธ ์ ท่ี ผู้เรียน 7. แรงจูงใจของนักเรียน 8. มงุ่ เรยี นเปน็ พลโลก และเพือ่ อนาคต และทำ�ให้เห็นถึงความสำ�คัญของการมีส่วนร่วมในการขับเคล่ือน การศึกษาคุณภาพสูงของทุกฝ่าย การเข้ามามีบทบาทของครู ผู้บริหาร โรงเรียน ภาครฐั ภาคเอกชนและผู้ประกอบการ ชมุ ชน และผู้ปกครอง พร้อมปิดท้ายด้วยกรณีศึกษาการพัฒนาการศึกษาในประเทศไทย ท่ี มูลนิธิสยามกัมมาจลได้นำ�ประสบการณ์การทำ�งานในพ้ืนที่นวัตกรรม การศึกษาในจังหวัดศรีสะเกษ มาเพ่ิ มเติมในบทที่ 11 เพื่อให้ผู้อ่านได้ ทำ�ความเข้าใจสถานการณใ์ นประเทศไทยได้ดียิ่งข้ึน

การศึกษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก 7 ณ เวลานเ้ี ปน็ เวลาดที ่ี ท่ั วโลกลกุ ขน้ึ มาตน่ื ตวั ตอ่ การปฏริ ูปการศกึ ษา ให้สอดรับกับการเปล่ียนแปลงของโลกท่ีเกิดข้ึนอย่างรวดเร็ว มูลนิธิ สยามกัมมาจล มีความตั้งใจเชิญชวนผู้อ่านร่วมคิดและจินตนาการถึง อนาคตการศกึ ษาไทยทอี่ ยากเหน็ และจดุ ประกายให้ผู้อา่ นสะท้อนแนวคดิ แนวทางการพัฒนาจากตัวอย่างของนานาประเทศ นำ�มาพิจารณาถึง บทบาทของตวั ทา่ นเอง ในการมสี ว่ นรว่ มในกระบวนการพฒั นาการศกึ ษา ไทย และใช้โอกาสน้ี ผลักดันให้ประเทศไทยก้าวข้ึนมาสู่การจัดการศกึ ษา ท่ีพัฒนากำ�ลังคนรุ่นใหม่ของประเทศ ให้ตอบรับต่อการเปลี่ยนแปลง ของสังคมไทย สังคมโลก ไดอ้ ย่างท่ั วถงึ และเทา่ เทียม มูลนธิ สิ ยามกัมมาจล

8 การศึกษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก คำำ�นิยิ ม ศาสตราจารย์ นายแพทยว์ จิ ารณ์ พานชิ เปน็ ผู้มคี ณุ ูปการตอ่ สงั คมไทย เปน็ อนั มาก ทา่ นเปน็ ผู้ทอ่ี า่ นมากและประสบการณส์ งู ท�ำ ให้มคี วามรู้มากและ กว้างขวาง ท่านมีความสามารถเปน็ พิเศษในการคดิ ท่ี ผสานความรู้ ต่อยอด และสรา้ งสรรคใ์ หเ้ กดิ หลกั ความคดิ ใหม่ รวมทงั้ การน�ำ ความรไู้ ปใช้ประโยชน์ ได้จริง เมื่อผมได้ทำ�งานใกล้ชิดกับท่าน ผมไดร้ บั ข้อคดิ ดี ๆ และแนวทางท่ี ใช้ประโยชนไ์ ดอ้ ยเู่ สมอ ทา่ นยงั มที กั ษะสงู และความขยนั ในการสอ่ื สารเพื่อ ขยายความรู้และความคิดไปสู่วงกว้าง ใช้สื่อหลากหลายรูปแบบ รายการ gotoknow ของท่าน เป็นส่ือที่มีผู้ติดตามจำ�นวนมาก ทำ�ให้สามารถนำ�ไป ใชใ้ นงานตา่ ง ๆ ได้ ในระยะหลงั ท่ี ผมไดพ้ บทา่ นเปน็ ครง้ั คราว กจ็ ะไดร้ บั หนงั สอื ที่ทา่ นไดเ้ ขยี นขน้ึ ใหมอ่ ยเู่ สมอ ข้อคดิ ข้อเสนอ และหนงั สอื ของทา่ นล้วนเขยี น อย่างมีลักษณะพิเศษ ท่ีนอกจากจะมีแนวคิดและส่งิ ใหม่ที่กระตุ้นความคิด ความสนใจ และเป็นสาระทางปัญญาอยู่เสมอแล้ว ยังอ่านสนุก ชวนให้ ติดตามอยา่ งวางไมล่ ง หนงั สอื “การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก” เปน็ ผลงานท่ี มลี กั ษณะพเิ ศษ โดยอาศัยถอดความจากหนังสือ “A World-Class Education: Learning from International Models of Excellence and Innovation” ท่เี ขียนโดย Vivien Stewart อันเป็นผลงานจากการศึกษาวิจัยเชิงประจักษ์ กรณีศึกษา

การศกึ ษาคณุ ภาพสูงระดบั โลก 9 การพัฒนาระบบการศกึ ษาที่มุง่ ใหเ้ ปน็ การศึกษาคณุ ภาพสูงของ 5 ประเทศ คือ สิงคโปร์ แคนาดา ฟินแลนด์ จีน (เซ่ียงไฮ้) และออสเตรเลีย อาจารย์ หมอวิจารณ์ได้เลือกหนังสือเล่มนี้มานำ�เสนอและขยายความขึ้น น่าจะเป็น จากหลายเหต ุ ข้อคดิ เดิมของ Vivien Stewart ที่ปรากฏในหนงั สือเปน็ สิ่งที่มี หลกั ฐานอนั เชอื่ ถอื ได้ และข้อสรปุ มคี วามสมเหตสุ มผล เปา้ หมายของหนงั สอื ยงั เนน้ จดุ มงุ่ หมายของการศกึ ษาไปท่ี การมคี ณุ ภาพสงู อนั ชน้ี �ำ ให้การปรบั ปรงุ หรือพัฒนาการศึกษาไม่เพียงทำ�ให้การศึกษาสำ�เร็จ แต่ยังต้องทำ�ให้เกิด คุณภาพสูงในระดับโลก ซ่ึงทั้ง 5 ตัวอย่าง เป็นการบุกเบิกสร้างสรรค์ขึ้นไป อีกระดับหนึ่ง หนังสือดังกล่าวได้พิจารณาถึงหลักการและวิธีการในการ สรา้ งความส�ำ เรจ็ โดยแตล่ ะแหง่ ได้ใช้สภาพท่ีหลากหลายแตกต่างในแต่ละ ตัวอย่างมาเป็นปัจจัยสู่ความสำ�เร็จด้วย ผู้เขียนได้ให้ความเห็นอย่างชัดเจน และเข้มข้น มีข้อสรุปที่เป็นหลักการร่วมด้วย อาจารย์หมอวิจารณ์ได้ขยาย แนวคิดออกไปสู่สภาพการศึกษาของประเทศไทยด้วย ตลอดจนได้ให้ ข้อเสนอแนะอย่างชัดเจนและตรงเป้าสำ�หรับประเทศไทย นับเป็นหนังสือท่ี มที ั้งหลกั ฐาน ข้อเทจ็ จรงิ และข้อคดิ เหน็ ทนี่ า่ เชอื่ ถอื อย่างมาก จากบทเรียนใน 5 ประเทศ การศึกษามิใช่เพียงการจัดให้ผู้ที่สมควร เข้าเรียนได้รับการศึกษาเท่านั้น อาจารย์หมอวิจารณ์ได้อ้างข้อเขียนของ Vivien Stewart ว่า “การสอนเด็กตามแนวที่เราเคยได้รับการสอนในอดีต เป็นการปล้นอนาคตของเด็ก” และขยายความไว้ว่า “นโยบาย High Expectation for All เป็นประเด็นท้าทายในการปฏิรูปเชิงโครงสร้างของ ระบบการศึกษาไทย” การมีคุณภาพสูงได้เท่ากับระดับโลกนั้น ต้องมีความ ทะเยอทะยาน โดยมองที่ผลสัมฤทธิ์ท่ีเกิดข้ึนกับผู้เรียน ให้ได้เกิดสมรรถนะ เต็มท่ีตามศักยภาพของผู้เรียน มิใช่เพียงการได้มีประสบการณ์เข้ารับ

10 การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดับโลก การศึกษา อาจารย์หมอวจิ ารณย์ งั ได้เขยี นไว้ว่า “วงการศึกษาต้องตระหนัก ในการเปล่ียนแปลงรวดเร็วและพลิกผันของโลกและสังคม ต้องติดตาม การเปลย่ี นแปลงให้ทนั หรอื คาดการณไ์ ว้ลว่ งหนา้ เพอื่ น�ำ มาใชจ้ ดั การศกึ ษา แหง่ อนาคต ไม่หลงจัดการศกึ ษาแหง่ อดตี ” Vivien Stewart กล่่าวไว้้ว่่า “ความผิิดพลาดที่�่พบบ่่อยคืือ การมอง ความไม่่เท่่าเทีียมในการจััดสรรทรััพยากรแก่่โรงเรีียนเป็็นเรื่่�องปกติิธรรมดา ความอ่่อนแอของระบบการสรรหาครููและพััฒนาครูู และการเปลี่่�ยนแปลง นโยบายโดยไม่่มีีขีีดความสามารถในการดำำ�เนิินการเปลี่่�ยนแปลงนั้้�น” อาจารย์์หมอวิิจารณ์์เขีียนไว้้ว่่า “ในปััจจุุบััน ระบบการศึึกษาไทยมีีปััญหา พร้้อม ๆ กัันสามด้้าน คืือ (1) ใช้้ทรัพั ยากรมากผลสัมั ฤทธิ์์�ต่ำำ�� (2) คุุณภาพต่ำ��ำ (3) ความเท่า่ เทียี มต่ำ�ำ�” ในบทที่ว่าด้วยการประดิษฐ์อนาคต หนังสือเล่มน้ีได้วิเคราะห์อย่าง ละเอยี ดวา่ การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลกมลี กั ษณะรว่ มส�ำ คญั อยู่ 8 ประการ ไดแ้ ก่ (1) วสิ ยั ทศั นแ์ ละภาวะผู้น�ำ (2) ก�ำ หนดมาตรฐานสงู หรอื ท้าทาย (3) มงุ่ สรา้ งความเทา่ เทยี ม (4) ครแู ละผู้น�ำ การศกึ ษาคณุ ภาพสงู (5) มเี ปา้ หมายไป ในทศิ ทางเดยี วกนั และสมั พนั ธเ์ ชอื่ มโยงกนั ทง้ั ในระดบั นโยบายถงึ ปฏบิ ตั กิ าร (6) แนวทางการจัดการและระบบรับผิดรับชอบท่ีสะท้อนผลลัพธ์ท่ี ผู้เรียน (7) แรงจูงใจของนักเรียน (8) มุ่งเรียนเป็นพลโลกและเพื่ออนาคต แล้วได้ วเิ คราะหแ์ ละมขี ้อเสนอแนะแตล่ ะเรอื่ งอนั จะสามารถน�ำ ไปประยกุ ตใ์ ชไ้ ด้กบั การศึกษาทุกระดับตั้งแต่ปฐมวัย การศึกษาขั้นพื้นฐาน การศึกษาเพื่อการ อาชีพ การอดุ มศกึ ษา ไปถงึ การศึกษาตลอดชวี ิต มุง่ ใหเ้ กดิ ผลอย่างบรบิ รู ณ์ ทงั้ ในสว่ นตวั ผู้เรยี นเอง ระบบการศกึ ษา ระบบการงานอาชพี การใชช้ วี ติ และ

การศกึ ษาคุณภาพสูงระดับโลก 11 ประโยชน์ต่อสังคมให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง และสันติสุขอย่างย่ังยืนท้ังใน ปัจจุบนั และอนาคต ขอยกเพีียงบางตััวอย่่าง “การประดิิษฐ์์” ที่�่ประเทศออสเตรเลีียได้้ จัดั ตั้้ง� ACARA (The Australian Curriculum, Assessment, and Reporting Authority) ในการปรับั เปลี่่ย� นหลักั สููตร และจััดให้้มีี National Assessment of Literacy and Numeracy สำ�ำ หรัับการประเมิินคุุณภาพผลสััมฤทธิ์์�ทาง การศึึกษา สำ�ำ หรัับชั้�นเกรด 3, 5, 7 และ 9 รวมทั้้ง� มีี Australian Institute for Teaching and School Leadership เป็็นมาตรการช่่วยเชิิงบวก และไม่่ใช้้ มาตรการเชิิงลบ กลไกลงโทษ หรืือกลไกการแข่่งขััน โดยย้ำ�ำ� ว่่า “ปัจั จัยั สร้้าง ความอ่อ่ นแอของคุณุ ภาพการศึกึ ษา คืือ ฝ่า่ ยบริหิ ารในกระทรวงศึกึ ษาธิกิ าร ของประเทศและของเขตพื้้�นที่�่ มุ่่�งทำ�ำ หน้้าที่่�ตรวจสอบครููและโรงเรีียนว่่า ดำ�ำ เนิินการตามข้้อกำำ�หนดหรืือไม่่ แทนที่่�จะทำ�ำ หน้้าที่�่ส่่งเสริิมสนัับสนุุน สร้้างความมุ่่�งมั่่�นร่่วมกััน สร้้างผลสัมั ฤทธิ์์�ทางการศึึกษาที่่ส� ููงขึ้�นอย่า่ งเป็็นขั้น� เป็น็ ตอน โดยใช้้หลักั High Expectation, High Support ให้้โรงเรีียนและครูู ทำำ�หน้้าที่จ�่ ัดั การเรียี นการสอนเพื่อ�่ ผลลัพั ธ์ก์ ารเรียี นรู้ค�้ ุณุ ภาพสููงของนักั เรียี น ได้้อย่า่ งดีี” อาจารย์หมอวิจารณ์เขียนไว้ว่า “ปัจจุบัน ครูไทยโดยท่ั วไปเอาใจใส่ เดก็ เกง่ เปน็ พเิ ศษ เพอื่ ใหส้ รา้ งชอ่ื เสยี งแกโ่ รงเรยี น (เปน็ ) การบรหิ ารการศกึ ษา ที่เน้นจัดการแข่งขัน” และเขียนอีกตอนหนึ่งว่า “เป็นที่รู้กันว่า ระบบรับผิด รับชอบที่ใช้ผลการทดสอบความรู้ของนักเรียน ท่ีจัดโดยหน่วยงานภายนอก เป็นข้อมูลหลัก มีข้อดีคือช่วยให้เข้าใจผลการเรียนรู้ของนักเรียนกลุ่มท่ี มัก ถูกละเลย แต่มักนำ�ไปสู่ความบิดเบ้ียว การลดความเข้มงวดของหลักสูตร

12 การศึกษาคุณภาพสงู ระดับโลก รวมทั้งทำ�ให้หลักสูตรแคบ ไม่นำ�ไปสู่การพัฒนาโรงเรียนอ่อน และผมขอ เพ่ิ มเติมจากข้อสังเกตในประเทศไทยว่า นำ�มาซ่ึงความช่ั วร้าย ไม่ซ่ือสัตย์ ในวงการศึกษา และการจัดการศึกษาเพียงเพื่อการสอบ ท่ีเรียกว่า Teach to Test” “ในปัจจุบัน ระบบการควบคุมจากส่วนกลางมีส่วนขัดขวางการ เปล่ียนแปลงไปสู่ระบบใหม่ เพราะเป็นระบบที่เน้นผลประโยชน์ส่วนกลุ่ม มากกวา่ ผลประโยชน์ภาพรวมของประเทศ” บันทึกตอนที่ 10 เป็นข้อสังเคราะห์ของอาจารย์หมอวิจารณ์เอง ต่อเนื่องไปจากหนังสือของ Vivien Stewart โดยพิจารณาในบริบทของ ประเทศไทยเป็นการเฉพาะ มีข้อเสนอแนะที่มีความสำ�คัญหลายประการ อันจะทำ�ให้การศึกษาไทยมีคุณภาพสูงระดับโลกได้ เป็นความเห็นที่ ตรงไปตรงมา และกลา่ วอยา่ งชดั เจน โดยเป็นความต้ังใจดีและมุ่งดี “ระบบการศึกษาคุณภาพสูง เป็นเง่ือนไขสำ�หรับประเทศไทยในการ บรรลุเป้าหมายการยกระดับสู่ประเทศรายได้สูง และชีวิตความเป็นอยู่ของ ผู้คนมีมาตรฐานสูง ท่ีเรียกว่าประเทศไทย 4.0” อาจารย์หมอวิจารณ์ได้ ให้ข้อเสนอแนวทางและวิธีการในการปรับทุกด้านของระบบการศึกษา ครอบคลุมท้ัง 8 ปัจจัยที่ต้องได้รับการแก้ไข ขอยกเป็นตัวอย่างเพียง บางประเดน็ เชน่ การวางเปา้ หมายรว่ มกนั มงุ่ ใหเ้ กดิ คณุ ภาพสงู และเกดิ การ ดำ�เนินการเพ่ือบรรลุเป้าหมายที่สอดคล้องและสืบต่อเน่ืองกันทั้งระบบ ท้ังระดับประเทศและระดับพ้ืนท่ีครอบคลุมไปทุกแห่งหน เกิดการสร้าง วิสัยทัศน์ร่วมของทุกฝ่ายในระบบ เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันถึงบทบาท ของส่วนกลางที่เน้นการสนับสนุนท่ีไม่ใช่การออกคำ�ส่ัง แต่ใช้วิธีการต่าง ๆ

การศึกษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก 13 ด้วย “ยุทธศาสตร์ปลดโซ่ตรวน” แก่โรงเรียน ให้ความเป็นอิสระท่ีจะทำ�งาน สรา้ งสรรค์ เพอ่ื ผลลพั ธก์ ารเรยี นรู้ของศษิ ย์ หลกั สตู รและการจดั การเรยี นรตู้ ้อง เน้นทักษะแห่งอนาคต และเน้นการสร้างกระบวนทัศน์มองอนาคตให้แก่ นกั เรยี น ครู และผู้บรหิ ารการศกึ ษา การจดั การเรยี นรตู้ อ้ งพจิ ารณาทง้ั ในสว่ น การเรียนโดยตรงและในส่วนกิจกรรม และการจัดสภาพแวดล้อมทส่ี ามารถ สร้างกระบวนทัศน์ และพัฒนาทักษะการเป็นพลเมืองโลก การเน้นความ เสมอภาคทางการศึกษา จะมีผลดีต่อการยกระดับคุณภาพการศึกษาใน ภาพรวมเปน็ อยา่ งมากด้วย โดยตอ้ งท�ำ เปน็ ขน้ั เปน็ ตอน และอาจทดลองทำ� ในบางพ้ืนที่กอ่ น เปน็ ต้น อาจารยห์ มอวิจารณ์ได้ตงั้ ข้อสรุปความหวงั ไว้วา่ เราชว่ ยกันทำ�ได้ หนงั สอื “การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก” ของศาสตราจารย์นายแพทย์ วิจารณ์ พานิช เป็นผลงานท่ี มีค่าอย่างยิ่ง จึงขอแนะนำ�ให้ผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับ การศกึ ษาไทยในทุกสถานะได้อ่าน และนำ�ไปพนิ ิจพจิ ารณาใช้ประโยชน์ ศาสตราจารย์กติ ตคิ ุณ นายแพทยจ์ รัส สุวรรณเวลา ประธานคณะท่ี ปรกึ ษาด้านผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคม ในศนู ยบ์ รหิ ารสถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019, อดีตประธานกรรมการคณะกรรมการอสิ ระเพ่อื การปฏิรูปการศกึ ษา

14 การศึกษาคณุ ภาพสูงระดับโลก คำำ�นิิยม ศาสตราจารย์ นายแพทย์ วิจารณ์ พานิช ถือเป็นปูชนยี บุคคลด้าน การศึกษาของประเทศไทยท่านหน่ึงที่มีบทบาทสำ�คัญต่อแนวคิดและ การพัฒนาการศึกษาของประเทศทั้งระดับนโยบายและระดับปฏิบัติ หนงั สอื “การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก” เลม่ น้ี ทา่ นไดร้ วบรวมข้อมูลของ 5 ประเทศท่ี ประสบความส�ำ เรจ็ ในการพฒั นาการศกึ ษาใหเ้ หน็ เชงิ ประจกั ษ์ และเปน็ ทยี่ อมรบั ในระดบั โลก ไดแ้ ก ่ ประเทศสงิ คโปร์ แคนาดา ฟนิ แลนด์ จนี (เซย่ี งไฮ)้ และออสเตรเลยี ทา่ นเรยี บเรยี งขน้ึ ได้กระชบั ชดั เจนตรงประเดน็ อย่างมาก และมีระบบในการน�ำ เสนอใหเ้ หน็ เชิงวิเคราะหเ์ ปรียบเทียบกับ การศึกษาของประเทศไทยอย่างเป็นรูปธรรมที่สามารถนำ�สู่การปฏิบัติได้ ทง้ั น้ี หวงั วา่ ผู้ท่ี มบี ทบาทเกย่ี วข้องกบั การจดั การศกึ ษาของไทยในระดบั ตา่ ง ๆ ทั้งระดบั นโยบายและระดับปฏบิ ตั ิ โดยเฉพาะพ้ืนทีน่ วัตกรรมการศึกษาที่ มพี ระราชบญั ญตั เิ ออื้ ตอ่ การบรหิ ารจดั การศกึ ษาไดอ้ ยา่ งมอี สิ ระจากระบบ ระเบียบข้อจำ�กัดแบบเดิม ๆ สามารถศึกษา เรียนรู้ ทำ�ความเข้าใจเพ่ือ ปรับเปล่ยี นแนวคิดให้เกิดกระบวนทัศน์พัฒนา (Growth Mindset) ใหม่ ในการสร้างและพัฒนานวัตกรรมการบริหารจัดการศึกษาให้เห็นผลได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อเป็นต้นแบบการจัดการศึกษาของประเทศไทย ในอนาคต

การศกึ ษาคุณภาพสูงระดบั โลก 15 ผมหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หนงั สอื เลม่ นจ้ี ะเปน็ การจดุ ประกายความคดิ ความหวงั และความท้าทายของผู้ท่ี มสี ว่ นรบั ผดิ ชอบในการก�ำ หนดนโยบาย การศึกษาและผู้ที่นำ�นโยบายสู่การปฏิบัติของประเทศไทย ตลอดจน นักการศึกษา ผู้สนใจ และผู้เก่ียวข้องกับการศึกษาของประเทศทุกท่าน จะได้นำ�ไปประยุกต์ใช้ให้เหมาะสมกับบริบทการเปลี่ยนแปลงที่กำ�ลังจะ เกิดขน้ึ ในความปรกตใิ หม่ หรอื ฐานวถิ ีชวี ติ ใหม่ (New Normal) เพือ่ สรา้ ง การศกึ ษาของประเทศไทยใหเ้ ปน็ เครอ่ื งมือสรา้ งคณุ ภาพของพลเมืองเพอื่ ความม่ันคงทางเทคโนโลยี สังคม และเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต ได้อยา่ งย่ังยนื รองศาสตราจารย์ ดร.เอกชยั กี่สุขพันธ์ ประธานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน (กพฐ.) ส�ำ นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร, ประธานคณะกรรมการมาตรฐานวชิ าชีพ (กมว.) ครุ สุ ภา 1 พฤษภาคม 2563

16 การศึกษาคุณภาพสงู ระดบั โลก คำำ�นิยิ ม หนังสือการศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก ที่ถอดความจากหนังสือ A World-Class Education: Learning from International Models of Excellence and Innovation (2012) โดย Vivien Stewart ตีความ ประสบการณ์การปฏิรูปการศึกษาของประเทศที่ประสบความสำ�เร็จ ระดับโลก 5 ประเทศเล่มนี้ มคี วามเข้มข้น ตรงประเด็น และเปรียบเสมือน กระจกเงาสะท้อนสถานการณข์ องประเทศไทยไดช้ ดั เจนอยา่ งยง่ิ ซง่ึ นา่ จะ เป็นประโยชน์อย่างสูงหากผู้นำ�หรือผู้รับผิดชอบระดับนโยบายทางด้าน การศกึ ษาของประเทศไทยได้หยบิ ขึ้นมาอ่าน และพินิจพจิ ารณาใหถ้ ถี่ ้วน และเทยี่ งธรรมทสี่ ดุ โดยค�ำ นงึ ถงึ ผลทจี่ ะเกดิ กบั การพฒั นาเดก็ และเยาวชน คนไทยให้เป็นผู้นำ�อนาคตของประเทศ ให้อยู่รอดในยุคโลกาภิวัตน์น้ี ได้ทนั เวลาต่อไป อยากจะกล่าวว่า นอกจากเน้ือหา สาระสำ�คัญของการปฏิรูป การศกึ ษาของ 5 ประเทศ คอื สงิ คโปร์ แคนาดา ฟนิ แลนด์ ออสเตรเลีย และจีน ที่ผู้เขียน/ผู้ถอดความได้ตกผลึกมานำ�เสนอแล้ว ยังมีข้อคิด และความเห็นของท่านอาจารย์นายแพทย์วิจารณ์ ช่วยช้ี ประเด็นมาสู่ สถานการณ์การศึกษาของประเทศไทยได้อย่างแม่นยำ�อยู่ตลอดท้ังเล่ม ซง่ึ ท�ำ ให้ผู้อา่ นสามารถทจี่ ะเกดิ ความเข้าใจใหม่ ๆ และมมุ มองที่กว้างไกล

การศึกษาคณุ ภาพสูงระดับโลก 17 รวมทง้ั ลึกซึ้งในบางกรณี จนท�ำ ใหเ้ หน็ ประเด็นของ Do and Don’t อนั เปน็ ท่ี มาหรอื กญุ แจแหง่ ความส�ำ เรจ็ ในการปฏริ ูปการศกึ ษาของประเทศเหลา่ นน้ั รวมทั้งสะท้อนภาพประเทศไทย ในทางกลัับกัันซึ่ง� พบว่า่ ส่ว่ นที่�่เป็น็ Do ประเทศไทยเป็็น Don’t และ ส่ว่ นที่เ่� ป็น็ Don’t ประเทศไทยกลับั เป็น็ Do จึงึ ไม่น่ ่า่ แปลกใจที่ป่� ระเทศไทย ไม่ป่ ระสบความสำ�ำ เร็จ็ ในการปฏิริ ููปการศึกึ ษา แม้้จะผ่า่ นระยะเวลามาร่ว่ ม 20 ปี ีซึ่่ง� มากกว่า่ บางประเทศเหล่า่ นั้้น� ด้้วยซ้ำ��ำ ซ้ำ��ำ ร้้ายกลับั มีปี ฏิกิ ิริ ิยิ าถดถอย คืือมีคี วามยากหรืือต้้านการปฏิิรููป / ดื้้อ� ยา มากขึ้้�นกว่่าเดิิมอีีกหลายเท่า่ ทา่ นอาจารยค์ ณุ หมอวจิ ารณไ์ ด้กรณุ ากลา่ วเชอื่ มโยงมายงั โครงการ พื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษา ซ่ึงเป็นการทดลองการปฏิรูปการจัดการศึกษา ในพ้ืนที่ระดับจังหวัด เพื่อนำ�บทเรียนดังกล่าวมาใช้เป็นแนวทางใน การดำ�เนินงาน เช่น ประเด็นเรื่องครูและผู้นำ�การศึกษามีคุณภาพสูง ซง่ึ เปน็ จดุ เนน้ ทส่ี �ำ คญั มาก คอื “Must do” ของทกุ ประเทศ และเปน็ กญุ แจ ความสำ�เรจ็ คอ่ นข้างสงู   แต่จากสภาพความเป็นจริงในพื้นท่ีโรงเรียนนำ�ร่องของทั้งจังหวัด ระยอง 25 โรงเรียน และจงั หวดั ศรสี ะเกษ 50 โรงเรียนที่ไดส้ ัมผสั รวมทง้ั โรงเรียนท่ีได้เข้ามาฝึกอบรมกับสถาบันอาศรมศิลป์และโรงเรียนรุ่งอรุณ ในโครงการทดลองอ่ืน ๆ เช่น โครงการโรงเรียนร่วมพัฒนาและโรงเรียน ประชารฐั อีกประมาณ 50 โรงเรยี น เปน็ ต้นนัน้ ในระดบั การเรยี นการสอน ในหอ้ งเรยี นและการบรหิ ารทางวชิ าการของโรงเรยี นสว่ นใหญ ่ กลบั สะท้อนวา่ ท้ังครูและผู้อำ�นวยการโรงเรียนขาดท้ังความรู้และทักษะในการพัฒนา การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning และมองไม่เห็นแวว

18 การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก การเรียนรู้ของเด็ก (Learning Visibility) อีกท้ังยังไม่สามารถท่ีจะเข้าใจ หรอื วเิ คราะหก์ �ำ หนดความลกึ ของมาตรฐานความรู้ของสาระวชิ าแตล่ ะดา้ น ซง่ึ มคี วามหมาย (Constructive) ส�ำ หรบั ชวี ติ ผู้เรยี น ผู้อ�ำ นวยการขาดทกั ษะ ในการโคช้ หรอื แนะน�ำ ครู เพราะทง้ั ผู้อ�ำ นวยการและครไู มเ่ คยผา่ นการท�ำ แผนการสอนและตรวจแผนการสอนใหค้ รู ซึ่งเป็นงานที่ผู้อำ�นวยการหรอื ครใู หญแ่ ทบทุกประเทศท�ำ Do แตป่ ระเทศไทยไมท่ ำ� Don’t จึงทำ�ให้ขาด เปา้ หมายในการสอนคอื ผลลพั ธท์ จี่ ะเกดิ กบั ผู้เรยี น และมคี วามยากล�ำ บาก เมื่อจำ�เป็นท่ีจะต้องทำ�แผนการสอนโดยกำ�หนดเป้าหมายของการจัดการ เรยี นรู้ทค่ี รบทงั้ สามดา้ น คือ ดา้ นความรู้ (Knowledge) ดา้ นทักษะ (Skill) และด้านคุณค่า (Value) หรือทัศนคติ/จิตสำ�นึก (Attitude) ตลอดจน ไม่สามารถมีความคิดสร้างสรรค์กระบวนการเรียนรู้ท่ีสร้างแรงบันดาลใจ และท้าทายการเรยี นรใู้ ห้กบั ผู้เรยี น รวมทงั้ การตง้ั ค�ำ ถามและการเปดิ พน้ื ที่ ให้ผู้เรียนเป็นเจ้าของการเรียนรู้นั่นเอง ที่จริงประเด็นน้ี เน้ือแท้คือการ พัฒนาหลักสตู รเพ่ือยกระดับการศกึ ษาให้สงู ข้นึ ซึง่ ประเทศเหลา่ นเี้ ขาทำ� คอื Do ผดิ กบั ประเทศไทยทไ่ี มท่ �ำ คอื Don’t ไมว่ า่ จะเปน็ ในระดบั สว่ นกลาง ท่ีรับผิดชอบหลักสูตรมาตรฐานของประเทศหรือในระดับท้องถิ่น หรือหลักสูตรสถานศึกษาก็ไม่พบการยกระดับการเรียนการสอนเช่นนี้ แม้วา่ ทกุ โรงเรยี นจะไดร้ บั โจทยน์ วตั กรรมการศกึ ษาในแบบตา่ ง ๆ มาแล้ว ก็ตาม กลบั ไดแ้ ตร่ ูปแบบแตไ่ ม่ได้ Concept ของการเรยี นร้จู ากนวัตกรรม เหล่าน้ัน มาพัฒนาหลักสูตรมาตรฐานตลอดจนหลักสูตรท้องถิ่นหรือ หลักสูตรสถานศึกษาได้อย่างแท้จริง ยิ่งไปกว่าน้ันหากโรงเรียนปรับ การจดั การเรยี นการสอนแล้วกต็ ามกย็ งั ตอ้ งเผชญิ กบั การสอบวดั ผลระดบั ประเทศคือ ONET ที่ข้อสอบอิงตัวช้ี วัดตามหลักสตู รมาตรฐานแกนกลาง อยู่ดี

การศึกษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก 19 นอกจากน้ี ผลกระทบทต่ี ามมาจากการไมม่ บี คุ ลากรทางการศกึ ษา ที่มีคุณภาพเพียงพอ ทำ�ให้การจัดการศึกษาในระดับโรงเรียนเหล่านั้น ตกอยใู่ นสภาพเรยี นแล้วไมร่ ู้ หรอื เข้าใจเพยี งผวิ เผนิ และจ�ำ ไปสอบเทา่ นนั้ จนกระท่ังผู้เรียนไม่อาจนำ�ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ หรืออาจ กลา่ วได้วา่ บคุ ลากรทางการศกึ ษาทเ่ี ปน็ ก�ำ ลงั ส�ำ คญั ในการพฒั นาการศกึ ษา ของไทยขาดชุดความรู้ที่จำ�เป็น และขาดทักษะการจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ จงึ ท�ำ ใหห้ า่ งไกลจากการพฒั นาการศกึ ษาในโลกยคุ ปจั จบุ นั เปน็ อยา่ งมาก ยิ่งมองไปท่ีแหล่งผลิตบุคลากรทางการศึกษาท่ีสถาบันอุดมศึกษา ทางด้านครศุ าสตร์ ศกึ ษาศาสตร์ ก็พบว่า ไม่ได้ปรบั เปลีย่ นหลักสตู รและ วิธีการจัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างครูสมรรถนะใหม่ หรือผู้อำ�นวยการ โรงเรียนในยุคปัจจุบัน อีกท้ังบุคลากรประจำ�การยังขาดการพัฒนา บนการทำ�งาน ผู้อำ�นวยการไม่สามารถเป็นโค้ชสร้างทีมการเรียนรู้ หรือ ทเี่ รียกว่า PLC (Professional Learning Community) ใหเ้ กดิ ขึน้ ไดจ้ รงิ แตก่ ลับเข้าใจผดิ คอื ครูนำ� PLC ไปฝึกให้นักเรยี นทำ�ในโรงเรียนของตน สว่ นอกี บทเรยี นหนง่ึ ทสี่ �ำ คญั กค็ อื จากกรณศี กึ ษาของสหรฐั อเมรกิ า ซ่ึงกล่าวว่า ความอ่อนแอของคุณภาพการศึกษาเกิดจากฝ่ายบริหารใน กระทรวงศึกษาธิการของประเทศ ของรัฐ และของเขตพ้ืนท่ี มุ่งทำ�หน้าที่ ตรวจสอบครูและโรงเรียนว่าดำ�เนินการตามข้อกำ�หนดหรือไม่ แทนท่ีจะ ท�ำ หนา้ ทส่ี ง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหโ้ รงเรยี นและครูท�ำ หนา้ ทจี่ ดั การเรยี นการสอน เพอื่ ผลลพั ธก์ ารเรยี นรคู้ ณุ ภาพสงู ของนกั เรยี น ประเดน็ นพ้ี บเหน็ ไดช้ ดั เจน จากเขตพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษาที่หน่วยงานหรือกลไกในพ้ืนที่ของ กระทรวงศึกษาธิการ ได้แก่ ศึกษาธิการจังหวัดและเขตพ้ืนท่ี การศึกษา ในบางจังหวัด ที่ไม่สามารถทำ�งานประสานหรือให้ความสนใจสนับสนุน

20 การศกึ ษาคุณภาพสงู ระดบั โลก โรงเรยี นน�ำ ร่องในโครงการทดลองนไ้ี ด้ รวมทง้ั กลไกการบริหารส่วนกลาง ระดบั นโยบาย กไ็ มส่ ามารถทจ่ี ะด�ำ เนนิ การปลดลอ็ กหรอื ลดหยอ่ นกตกิ าลง เพอื่ ใหโ้ รงเรยี นน�ำ รอ่ งสามารถด�ำ เนนิ การไดอ้ ยา่ งคลอ่ งตวั และไมล่ งั เลใจ สถานการณ์ในเขตพื้นท่ี การศึกษาน้ีสะท้อนให้เห็นอย่างชัดเจนถึงความ ออ่ นแอในการบริหาร ระบบราชการแบบรวมศูนย์อ�ำ นาจ ไมว่ ่าในทางใด เชน่ ในดา้ นบุคลากร ด้านวิชาการ ตลอดจนดา้ นการใชง้ บประมาณ จึงไม่ เปิดโอกาสให้โรงเรียนเกิดการปรับเปล่ียนหรือยกระดับ และสนับสนุน การบรหิ ารจดั การที่ตอบโจทยก์ ารพฒั นาโรงเรยี นให้ดขี น้ึ ท้ัง ๆ ท่ี กลไกใน ระดับพนื้ ที่อนื่ ๆ เชน่ องคก์ ารบริหารท้องถน่ิ ภาคประชาสังคม ตลอดจน ภาคธรุ กจิ เอกชนล้วนมคี วามพรอ้ มทจ่ี ะเข้ามาสนบั สนนุ การพฒั นาการศกึ ษา ในพืน้ ท่ี ในทางตรงกันข้ามพบว่า จุดอ่อนของการบริหารจัดการโดยกลไก ระดบั นโยบายกลางและพน้ื ที่ของกระทรวงศกึ ษาธกิ าร กลายเปน็ อปุ สรรค ขดั ขวางท�ำ ใหเ้ กดิ ความยากตอ่ การปฏบิ ตั ติ ามเปา้ หมายของโครงการทดลอง เสียเอง เช่น การให้อิสระในการจัดซื้อหนังสือเรียนเพื่อให้สอดคล้องกับ หลกั สูตรท่โี รงเรียนปรบั เปล่ยี นเป็นระบบบรู ณาการ หรอื นวัตกรรมต่าง ๆ กด็ ี หรอื เรอ่ื งบคุ ลากรครแู ละผู้อ�ำ นวยการโรงเรยี น ท่ี มกั จะยา้ ยออกอยเู่ สมอ จงึ ไม่อาจพัฒนาโรงเรยี นอยา่ งตอ่ เนื่องได้ ตลอดจนเรอื่ งของการสงั่ ให้ตวิ ONET เพอ่ื ทำ�คะแนนสอบ ONET ให้ดีขนึ้ ในระดบั เขตพ้นื ที่ตา่ ง ๆ อนั จะ มีผลตอ่ การเลอ่ื นขั้นและต�ำ แหน่งของผู้บรหิ ารต่อไป เปน็ ต้น สำ�หรับสองประเด็นการเรียนรู้ดังกล่าวข้างต้นนั้น ช้ีให้เห็นถึง ความไม่พร้อมทั้งปัจจัยภายในโรงเรียนและปัจจัยภายนอกโรงเรียนที่ ท�ำ ใหไ้ มอ่ าจขบั เคลอื่ นการเปลย่ี นแปลงหรอื ปฏริ ูปการศกึ ษาใหเ้ กดิ ขนึ้ ได้

การศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก 21 ระบบการศึกษาจึงเป็นการอนุรักษ์การทำ�งานของข้าราชการท่ีไม่มีผลต่อ ผลลพั ธ์ทางการศกึ ษาของผู้เรียนแตอ่ ย่างใด ส่วนประเด็นเรื่องของการต้ังผลสัมฤทธ์ิการศึกษาที่สูง ซ่ึงเป็น มาตรการเชงิ บวกและเปน็ มาตรการทใ่ี ชใ้ นการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา ของประเทศเหล่าน้ัน อย่างได้ผลมาแล้วนั้น อาจจะต้องต้ังคำ�ถามว่า ในกรณีประเทศไทย เราจะเร่ิ มสร้างความมุ่งมั่นและร่วมมือกันกำ�หนด เป้าหมายดังกล่าวกับกลุ่มใด จึงจะมีผลต่อการปฏิบัติจริงในโรงเรียน ของโครงการพื้นท่ีนวัตกรรมการศึกษาจังหวัด หรือโครงการเพื่อปฏิรูป การศกึ ษาตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งท่ั วถงึ ทงั้ นจี้ ากประสบการณต์ รงทช่ี กั ชวนโรงเรยี น นำ�รอ่ งต่าง ๆ มารว่ มกนั สร้างวิสยั ทศั นแ์ ละเปา้ หมายทส่ี งู ข้ึนของโรงเรยี น ให้ไปถงึ ระดบั Global Literacy ยังไมต่ อ้ งถึงรว่ มโครงการวจิ ัยนานาชาติ ดังที่ท่านอาจารย์หมอได้แนะนำ�ให้เขตพื้นท่ีนวัตกรรมเห็นช่องทาง ซ่ึง แนน่ อนสง่ิ เหลา่ นเ้ี ปน็ เรอ่ื งใหมส่ �ำ หรบั โรงเรยี นทไ่ี มเ่ คยมคี วามเปน็ ตวั ของ ตัวเองและกำ�หนดเป้าหมายของโรงเรียนมาก่อน จึงมีความเป็นไปได้ใน บางกรณ ี ขึ้นอยูก่ บั ความม่งุ ม่ันของผู้น�ำ คอื ผู้อ�ำ นวยการโรงเรียนบางท่าน เท่านน้ั ที่มคี วามกล้าหาญและมีความสามารถเปน็ ผู้นำ�ทมี ครูท้งั โรงเรยี น ให้ปรบั เปลี่ยนไปในทิศทางเดยี วกันได้  อย่างไรก็ดี ในกรณีของโครงการพ้ืนที่นวัตกรรมการศึกษาระดับ จังหวัดนั้น พอจะมีโอกาสแห่งความสำ�เร็จอยู่บ้าง กล่าวคือ พบว่ายังมี ผู้อำ�นวยการโรงเรียนจ�ำ นวนหน่ึงสามารถพัฒนาและปรับเปลี่ยนบทบาท ของตนเองจากการที่เคยบริหารจัดการท่ั วไป มาเป็นการบริหารวิชาการ และเปน็ โคช้ ให้กับคณะครูในโรงเรยี นนั้น ๆ ได้ ซ่ึงเท่ากับเปน็ การพัฒนา ปจั จัยภายในให้เพ่ิ มพูนข้นึ ผ่านนวตั กรรมการเรยี นรูต้ ่าง ๆ ได้ แตต่ ้องมี

22 การศึกษาคณุ ภาพสูงระดับโลก ความมุ่งมั่นพยายามและการฝึกฝนทำ�อย่างต่อเน่ืองเป็นระยะเวลานาน พอสมควร ทง้ั นไ้ี มน่ บั ถงึ อปุ สรรคทเ่ี กดิ จากการยา้ ยของครแู ละผู้อ�ำ นวยการ กลางคัน ตลอดจนอุปสรรคอื่น ๆ ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองงบประมาณหรือเร่ือง โครงการจากสว่ นกลางอกี มากมายกต็ าม บคุ คลเหลา่ น้ี กย็ งั คงมจี ติ ใจและ จิตวิญญาณของความเป็นครูอยู่อย่างมั่นคง ซ่ึงจะเป็นหลักให้หน่วยงาน หรือองค์กรสนับสนุนจากภายนอกมาร่วมพัฒนาด้วยได้ ด้วยวิธีการและ ทางลดั ตา่ ง ๆ ใหเ้ ลอื กเดนิ และหากเกดิ การเปลยี่ นแปลงระบบการสง่ เสรมิ ความก้าวหน้าในอาชีพราชการ ใหอ้ งิ กบั ผลลัพธ์ทเ่ี กดิ กับผู้เรยี นเปน็ หลกั ซ่ึงในหนังสือเล่มน้ีได้ช้ีให้เห็นว่า เป็นระบบที่ประเทศเหล่าน้ันได้ใช้ Do อยา่ งได้ผลมาแล้วเช่นกนั แม้วา่ สถานการณจ์ รงิ ในประเทศไทยจะมคี วามยากล�ำ บากเพยี งใด ก็ตาม การเผยแพร่หนังสือเล่มน้ี ท่ามกลางวาระแห่งการเปล่ียนแปลง ผู้บริหารประเทศในขณะน้ี จึงเป็นอีกหน่ึงความหวังและเป็นโอกาสอัน หาได้ยากอีกคร้ังหน่ึงสำ�หรับผู้บริหารประเทศ ท่ี มีความมุ่งม่ันจะพัฒนา เด็กและเยาวชนไทยให้มีสมรรถนะสูง ได้ศึกษาทั้งความเป็นไปได้และ อุปสรรคของการปฏิรูปการศึกษาไทย และดำ�เนินการด้วยสัมมาทิฏฐิ เพ่อื สร้างความสำ�เร็จให้เกดิ ขึน้ ไดต้ ่อไป ประภาภัทร นิยม อธกิ ารบดีสถาบันอาศรมศลิ ป์ 29 มถิ ุนายน 2562

การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดับโลก 23

24 การศึกษาคุณภาพสูงระดบั โลก การศึึกษาในปัจั จุบุ ัันจะต้้องมุ่่ง� พัั ฒนาเด็็กให้้ไปมีีชีวี ิติ ที่�่ดีีในอนาคต เข็็มมุ่่ง� หลักั มีี 2 ประการ คือื สร้้างความเท่่าเทีียมทางการศึกึ ษา และเสาะหาทัักษะที่�่ต้้องการสำำ�หรับั การดำำ�รงชีวี ิติ ในอนาคต ซึ่่ง� จะต้้อง สอดคล้้องกับั บริิบทและวััฒนธรรม ของแต่่ละประเทศ

การศกึ ษาคุณภาพสูงระดบั โลก 25 สารบััญ บทที่่� 1 เรีียนรู้้�จากสิิงคโปร์ ์ 27 ใช้้การศึึกษาคุณุ ภาพสูงู สร้้างการก้้าวกระโดดของสังั คม 45 บทที่�่ 2 เรีียนรู้้�จากแคนาดา 61 ยกระดับั ผลลััพธ์์การเรีียนรู้้ข� อง 77 โรงเรีียนในเมืืองและชนบท 95 109 บทที่�่ 3 เรียี นรู้้จ� ากฟินิ แลนด์ ์ 127 สามสิบิ ปีขี องการไต่่บันั ไดคุุณภาพการศึกึ ษา 153 171 บทที่�่ 4 เรีียนรู้้�จากจีีน 181 จากปฏิวิ ััติวิ ััฒนธรรมสู่่ก� ารปฏิิรูปู การศึกึ ษา 191 บทที่�่ 5 เรียี นรู้้จ� ากออสเตรเลียี การศึกึ ษาระบบสหพัั นธรัฐั บทที่�่ 6 ลัักษณะร่่วมของระบบที่�ป่ ระสบความสำำ�เร็จ็ บทที่�่ 7 การพัั ฒนาครููและผู้้บ� ริหิ าร บทที่�่ 8 ยกระดับั ความทันั สมััยของหลัักสูตู ร การเรียี นการสอนและการประเมินิ บทที่�่ 9 สร้้างอนาคตด้้วยการศึกึ ษา บทที่�่ 10 จิินตนาการสู่่�ระบบการศึกึ ษาไทย บทที่�่ 11 พื้้� นที่น่� วัตั กรรมการศึกึ ษาของประเทศไทย



การศึกษาคณุ ภาพสูงระดบั โลก 27 1 เรยี นรจู้ าก สงิ คโปร์ ใช้้การศึึกษาคุณุ ภาพสููง สร้้างการก้้าวกระโดด ของสัังคม

28 การศึกษาคุณภาพสงู ระดับโลก ? จััดการพัั ฒนาการศึกึ ษาที่ส่� ่่งเสริิม และสอดคล้้องกับั การพัั ฒนาเศรษฐกิิจ และสัังคมของประเทศได้้อย่่างไร?

การศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก 29 ผมเคยเล่าการไปดูงานด้านการศึกษาทส่ี งิ คโปร์ที่ gotoknow.org1 เนอ้ื หาในบทความน้ี ผมถอดความ และตคี วามจากหนงั สอื A World- Class Education: Learning from International Models of Excellence and Innovation (2012) หน้า 34 - 45 ในหัวข้อ Singapore: Using Education to Jump from the Third World to the First ซง่ึ ประเทศไทย เรากม็ ีแผน 20 ปี ทจ่ี ะบรรลเุ ป้าหมายน้ี ทเ่ี ราเรียกวา่ ประเทศไทย 4.0 จุุดเริ่ม� ต้้นของการวางรากฐานการศึกึ ษาเริ่�มจากปีี ค.ศ. 1959 เมื่่อ� เป็น็ เอกราชโดยรวมอยู่�กับั มาเลเซียี และต่อ่ มาในฐานะประเทศในปีี 1965 เป็็นยุุคของการสร้้างตััวเพื่�่ออยู่�รอด คนสิิงคโปร์์สร้้างประเทศ สร้้างระบบ ต่่าง ๆ ของสัังคม เพื่่�อความอยู่�รอด หากประเทศไทยในขณะนี้้�จะเรีียนรู้�้ จากเขาก็็ต้้องเข้้าใจความต่่าง ว่่าเมื่�่อ 50 - 60 ปีีที่่�แล้้วจิิตวิิญญาณของ คนสิิงคโปร์์ในขณะนั้้�นคืือความอยู่ �รอดของสัังคมที่�่ไร้้ทรััพยากรธรรมชาติิ ยากจน และไม่ม่ ีรี ะบบการศึกึ ษาภาคบังั คับั ต้้องสร้างระบบต่า่ ง ๆ ขึ้้น� มาใหม่่ แต่ป่ ระเทศไทยเป็น็ ประเทศที่ร่�่ำ��รวยทรัพั ยากรธรรมชาติมิ าแต่โ่ บราณกาล และในขณะนี้้�มีีระบบการศึกึ ษาที่ค�่ นจำำ�นวนหนึ่่�ง (คนในระบบการศึึกษา) เสวยผลประโยชน์์จากระบบที่�่เป็็นอยู่� ไม่่อยากเปลี่่�ยนแปลง เป็็นระบบที่�่ คนในวงการศึกึ ษามีเี งินิ เดืือนสููง มีรี ะบบเลื่อ่� นขั้น� เลื่อ่� นตำ�ำ แหน่ง่ ที่ง�่ ่า่ ย และ ไม่เ่ ชื่�่อมโยงกับั ผลงาน Learning Outcome ของนัักเรียี น แม้้ในบางส่ว่ น จะต้้องจ่า่ ยเบี้้ย� บ้้ายรายทาง 1

30 การศกึ ษาคุณภาพสูงระดบั โลก ระบบการเมืองของสงิ คโปรภ์ ายใตภ้ าวะผู้น�ำ ของ ล ี กวน ยู ในขณะนน้ั มงุ่ สรา้ งสงั คมทส่ี ะอาดบรสิ ทุ ธจ์ิ ากคอรร์ ปั ชนั ฟนั ฝา่ จนประสบความส�ำ เรจ็ แต่เมืองไทยในขณะนั้นจนขณะนี้ไม่ประสบความสำ�เร็จในการกวาดล้าง และป้องกันคอร์รปั ชันเลย โดยที่ระบบการเมืองของเขาเป็นระบบสะอาด แตกต่างโดยสนิ้ เชิงกับระบบของไทยมาจนขณะนี้ สิงคโปรจ์ ัดพฒั นาการการศกึ ษาออกเป็น 3 ยคุ คอื ยคุ ที่ 1 เพื่อความอยรู่ อด (1959 - 1978) ยุคท่ี 2 เพือ่ ประสิทธิภาพ (1978 - 1996) และยคุ ท่ี 3 ความรู้โลก (1990s - ปัจจุบัน) เคล็ดลับส�ำ คัญ คอื เขาออกแบบระบบการศกึ ษาตามแนวทางการพฒั นาประเทศ แตล่ ะยคุ เนน้ ก�ำ หนดผลลพั ธก์ ารเรยี นรตู้ ามยคุ ของการพฒั นาประเทศ ซง่ึ ชดั เจนวา่ ระบบการศึกษาของสิงคโปร์ในปัจจุบัน ประสบความสำ�เร็จสูงมากเป็น อนั ดบั ตน้ ๆ ของโลก ในฐานะการศกึ ษาเพอ่ื ความเปน็ สว่ นหนง่ึ ของสงั คมโลก ทส่ี �ำ คญั คอื เปน็ ระบบท่ี มคี ณุ ภาพและประสทิ ธภิ าพสงู เปน็ ระบบการศกึ ษา ที่สร้างพลังขับเคลื่อนความสามารถในการแข่งขัน และการเป็นสังคมที่ คนมีสขุ ภาวะของประเทศ ยุุคที่� 2 เริ่�มจากการประเมิินภาพรวมของระบบการศึึกษาที่่�มี ี อััตราตกออกสููง เนื่�่องจากเป็็นระบบเดีียวสำ�ำ หรัับเด็็กทุุกคน นำ�ำ ไปสู่่� การออกแบบระบบการศึกึ ษาใหม่ใ่ ห้ม้ ีี 3 เส้น้ ทางตั้ง�้ แต่ช่ ั้น�้ มััธยมปลาย คือื สายวิชิ าการ สายโปลีเี ทคนิคิ และสายอาชีวี ะ โดยทุกุ สายสามารถ ข้า้ มไปข้า้ มมาได้้ เพื่อ่� ให้เ้ ด็ก็ ทุกุ คนได้เ้ รียี นตามความถนััด ความชอบ และความสามารถของตน เพื่�่อเตรีียมพลเมืืองสำ�ำ หรัับยกระดัับ การพััฒนาประเทศ จากเศรษฐกิจิ แบบใช้แ้ รงงาน สู่�เ่ ศรษฐกิจิ แบบ

การศึกษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก 31 “เคล็ด็ ลับั สำ�ำ คัญั คือื เขาออกแบบระบบการศึกึ ษาตาม แนวทางการพัั ฒนาประเทศแต่่ละยุคุ เน้้นกำำ�หนดผลลััพธ์ก์ ารเรียี นรู้้� ตามยุคุ ของการพัั ฒนาประเทศ”

32 การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดับโลก ใช้้ทุุนและทัักษะ เป้้าหมายสำ�ำ คััญของการศึึกษาคืือสร้้างพลเมืืองที่� มีที ัักษะด้า้ นเทคนิคิ ในทุกุ ระดัับ โดยจัดั ตั้้ง� ITE (Institute for Technical Education) เป็็นสถาบัันการศึึกษาหลัังระดัับมััธยม รัับคนที่่�เรีียนจบ เกรด 10 หรืือผู้�้ใหญ่่ที่�่ต้้องการเปลี่่�ยนงานเข้้าเรีียน เป็็นกลไกสำำ�คััญให้้ คนสิิงคโปร์์เห็็นคุุณค่่าของการศึึกษาสายอาชีีวะมาจนปััจจุุบััน โดยที่� รััฐบาลสิงิ คโปร์ม์ ีีการรณรงค์์ให้ผ้ ู้้�คนเห็น็ คุุณค่า่ ของอาชีีวศึกึ ษาด้้วย คำำ�ว่่า Hands-on, Minds-on, Hearts-on คืือย้ำ�ำ�ให้้เห็น็ ว่า่ อาชีวี ศึึกษา สิิงคโปร์์ไม่่ใช่่แค่่การฝึึกทัักษะทางมืือเท่่านั้�้น ยัังเป็็นการฝึึกทัักษะ ทางจิิตใจ และหััวใจด้ว้ ย ITE ได้้รัับการพััฒนาต่่อเนื่�่อง โดยดำำ�เนิินการร่่วมกัับบริิษััทไฮเทค ที่่�เข้้าไปดำำ�เนิินการในประเทศสิิงคโปร์์ ทำำ�ให้้ผู้้�จบการศึึกษาสายอาชีีวะมีี ความรู้แ้� ละทักั ษะดีี เป็น็ ที่ต่� ้้องการของตลาดแรงงาน และมีงี านทำำ�อย่า่ งดีี รายได้้ดีี เยาวชนสิงิ คโปร์ม์ องการศึกึ ษาสายอาชีวี ะว่า่ เป็น็ การปููพื้้น� การศึกึ ษา สู่�อนาคตที่�่มั่่�นคง ต่่างจากประเทศอื่�่น ๆ ในโลกที่่�ผู้้�จบอาชีีวศึึกษามัักถููก มองว่า่ ได้้รับั การศึึกษาชั้น� ต่ำ��ำ และ ITE เป็็นที่่ย� กย่่องในวงการอาชีวี ศึกึ ษา ของโลก ยคุ ท่ี 3 เกดิ จากรฐั บาลสงิ คโปรเ์ หน็ วา่ แม้การศกึ ษาและการพฒั นา ประเทศโดยเน้นประสิทธิภาพจะประสบความสำ�เร็จ แต่โลกกำ�ลังก้าวสู่ ยุคค้นพบและประยุกต์ความรู้ใหม่ สิงคโปร์จึงปรับการศึกษาให้เน้น นวัตกรรม การสร้างสรรค์ และการวิจัย โดยรัฐบาลจัดสรรทุนวิจัย และ ทุนดึงดูดนักวิทยาศาสตร์ และนักวิจัยช้ันยอดเข้าไปเป็นอาจารย์ใน มหาวิทยาลัยสิงคโปร์ รวมทั้งดึงดูดบริษัทท่ีเน้นพัฒนานวัตกรรมเข้าไป

การศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก 33 ตั้งอยู่ในประเทศสิงคโปร์ เขาบอกว่าในแต่ละช่วงเวลา มีคนต่างประเทศ เข้าไปท�ำ งานในสงิ คโปร์ประมาณ 1 ลา้ นคน ในยคุ นี้ ค�ำ ขวัญดา้ นการศกึ ษาคอื “Thinking Schools, Learning Nation” โดยมีเป้าหมายให้คนสิงคโปร์มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และมีทักษะและฉันทะในการเรยี นรู้ต่อเน่ืองตลอดชวี ิต ความแตกตา่ งระหวา่ งระบบการศกึ ษาสงิ คโปรก์ บั ระบบการศกึ ษา ของไทยอยทู่ คี่ วามส�ำ เรจ็ ในการประยกุ ตน์ โยบาย(PolicyImplementation) ประเทศสิงคโปร์มีการยกระดบั คุณภาพและฐานะของครู ผา่ น NIE (National Institute of Education) รวมทั้งเปลี่ยนรูปแบบการจัดการ โรงเรียน จากระบบรวมศูนย์สั่งการจากเบื้องบน เป็นให้โรงเรียนรวมตัว กันเป็นกลุ่ม มีอิสระในการจัดการและดำ�เนินการ รวมทั้งส่งเสริมยกย่อง ผู้นำ�โรงเรยี นท่ี มีผลงานดี ในส่วนของรัฐบาลมีการประกาศใช้นโยบาย “Teach Less, Learn More” ส่งเสริมการใช้ไอทีในการเรียน ส่งเสริมการเรียนด้านศิลปะและ ดนตรีมากขึ้น ในชั้นเด็กเล็กเน้นการเรียนโดยการเล่น และการกระตุ้น ความอยากรู้อยากเหน็ ของเดก็

34 การศึกษาคณุ ภาพสูงระดบั โลก ในหนังสือเล่มน้ีได้ยกตัวอย่าง Victoria School2 ในฐานะ “A Thinking School in A Thinking Nation” โดยเป็นโรงเรียนเก่าแก่ กอ่ ตงั้ ปี ค.ศ. 1876 ปจั จบุ นั ไดพ้ ฒั นารูปแบบการเรยี นรู้ท่ี ทนั สมยั ตามแนว Project Zero ของ Howard Gardner3 เขาบรรยายสภาพหอ้ งเรียนของ นักเรียนช้ัน ม.ต้น ช้ันเรียนศิลปะและช้ันเรียนภูมิศาสตร์ที่ใช้ไอทีทำ�งาน สร้างสรรค์ศิลปะ และทำ�โจทย์พัฒนาการด้านสังคมและเศรษฐกิจของ 4 ประเทศในภูมิภาค โดยทำ�งานเป็นทีม ศึกษาอัตราการรู้หนังสือของ ประชากรผู้ใหญ่, จีดีพี, โครงสร้างการจ้างงาน, Urbanization4, อัตราตาย ของทารก โดยนกั เรียนได้รบั มอบหมายใหต้ คี วามดชั นีตา่ ง ๆ ข้างต้น และ เสนอแนะแนวทางพฒั นาประเทศให้แตล่ ะประเทศ ครเู ดินไปรอบ ๆ หอ้ ง คอยตงั้ ค�ำ ถามตอ่ ข้อสรปุ หรอื ข้อเสนอแนะของนกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ในแตล่ ะ ช่วง ในที่สุดนักเรียนแต่ละกลุ่มนำ�เสนอผลงานต่อเพ่ือนในชั้น โดยใช้ Google Slides เพื่อนร่วมช้ันเรียนให้คะแนนต่อข้อมูล และข้อคิดเห็น (ข้อโตแ้ ยง้ ) ในการนำ�เสนอโดยใช้ Rubric5หนังสือเลม่ นตี้ พี มิ พ์ในปี 2012 แสดงว่าผู้เขียนไปเยือนและสังเกตการณ์ห้องเรียนแบบใหม่ท่ี Victoria School ในปี 2010 หรอื 2011 เขาบอกวา่ รฐั บาลสงิ คโปรส์ ง่ เสรมิ ใหโ้ รงเรยี น คิดแนวทางจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ท่ี “Touch the Heart and Engage the Mind” ของผู้เรยี น เนน้ การคน้ พบความรู้ผ่านประสบการณ์ ตรงของตนเอง ครอู อกแบบการเรยี นรู้ที่แตกต่าง เนน้ ฝึกทักษะการเรยี นรู้ ตลอดชีวิต และสร้างลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ผ่านการเรียนรู้จาก การลงมือปฏิบัติ 2 3 4 ความเป็็นสัังคมเมืือง 5 เครื่�องมืือและเกณฑ์์การประเมิินผล การเรีียนรู้�้

การศึกษาคุณภาพสูงระดบั โลก 35 “สิิงคโปร์์มีวี ิสิ ััยทัศั น์์และภาวะผู้้�นำำ� ที่่ม� องเห็น็ ความจำ�ำ เป็น็ ที่่จ� ะต้้อง จัดั การศึกึ ษาคุณุ ภาพสูงู ให้แ้ ก่่พลเมือื ง เพราะทรัพั ยากรหลักั สำ�ำ หรับั ความอยู่่�รอดและอยู่่ด� ีขี องประเทศ สิิงคโปร์์คืือ ทรัพั ยากรมนุษุ ย์์”

36 การศกึ ษาคุณภาพสงู ระดบั โลก ปัจั จัยั หลักั ที่ส�่ ่่งผลต่่อความสำ�ำ เร็จ็ ของสิงิ คโปร์์ 1 วิสิ ััยทัศั น์แ์ ละภาวะผู้น้� ำ�ำ สิิงคโปร์์มีีวิิสััยทััศน์์และภาวะผู้�น้ ำ�ำ ที่�ม่ องเห็็นความจำ�ำ เป็็นที่�จ่ ะต้้อง จััดการศึึกษาคุุณภาพสููงให้้แก่่พลเมืือง เพราะทรััพยากรหลัักสำ�ำ หรัับ ความอยู่�รอดและอยู่่�ดีีของสิิงคโปร์์คืือ ทรััพยากรมนุุษย์์ ปััจจััยต่่อมาคืือ ความต่อ่ เนื่�องของนโยบาย และการเปลี่�ยนนโยบายการศึึกษาตาม ยุุทธศาสตร์์การพััฒนาเศรษฐกิิจของประเทศ ที่�่ทำ�ำ อย่่างสอดคล้้อง กลมกลืืนกััน เน้้นความเข้้มแข็็งด้้านวิิชาวิิทยาศาสตร์์และคณิิตศาสตร์์ และด้้านอาชีวี ศึกึ ษาคุุณภาพสููง จนเป็น็ ที่�ย่ กย่อ่ งไปทั่่ว� โลก 2 วัฒั นธรรมให้ค้ ุณุ ค่า่ ความสามารถและผลงาน (Meritocracy) สร้้างวััฒนธรรมให้้คุุณค่่าความสามารถและผลงาน ขึ้้�นมาใหม่่ แทนที่ว�่ ััฒนธรรมเดิมิ ที่่เ� น้้นผลประโยชน์ข์ องชนชั้�นสููง 3 ตั้ง้� มาตรฐานไว้้สููง เน้้นความเข้้มแข็ง็ ของวิชิ าคณิติ ศาสตร์์ วิทิ ยาศาสตร์์ และสองภาษา คืือภาษาแม่ก่ ัับภาษาอัังกฤษ 4 ระบบหลัักสููตร การเรียี นการสอน และการประเมินิ เมื่่�อตั้้�งมาตรฐานไว้้สููง สถาบัันพััฒนาหลัักสููตร (Curriculum Development Institute) ก็็รัับมาพััฒนาหลัักสููตรด้้านวิิทยาศาสตร์์

การศกึ ษาคณุ ภาพสูงระดบั โลก 37 คณิิตศาสตร์์ ภาษา และอาชีีวศึึกษา และจััดฝึึกอบรมครููให้้จััดการเรีียน การสอนตามแนวทางดัังกล่่าวเป็็น ซึ่�่งผมขอตั้้�งข้้อสัังเกตว่่า สถาบััน พััฒนาหลัักสููตรต้้องมีีท่่าทีีการทำ�ำ หน้้าที่�ในลัักษณะ Empowerment แก่่ครูู ไม่่ใช้ท้ ่่าทีี Top-down, Command and Control 5 ครููและครููใหญ่ม่ ีคี ุณุ ภาพสููง เริ่�มตั้้�งแต่่การคััดเลืือกนัักเรีียนที่�่มีีความสามารถและรัักอาชีีพครูู เข้้าเรียี นครูู การเรียี นการฝึกึ งานคุณุ ภาพสููงการส่ง่ เสริมิ สนับั สนุนุ ต่อ่ เนื่อ่� ง เมื่�่อจบออกไปเป็็นครูู รวมทั้้�งระบบจััดการทรััพยากรมนุุษย์์ของประเทศที่่� จัดั ว่า่ เป็็นที่�ห่ นึ่่ง� ในโลก 6 ความเชื่�อ่ มโยง (Alignment and Coherence) นโยบายและการปฏิบิ ัตั ิเิ ป็น็ เนื้้อ� เดียี วกันั หรืือเชื่อ�่ มโยงไปในทิศิ ทาง เดีียวกััน ซึ่่�งผมมีีความเห็็นว่่าเป็็นเรื่�่องที่่�ระบบการบริิหารการศึึกษาไทย ต้้องเรียี นรู้แ้� ละปรับั ปรุุง 7 ความรัับผิิดรัับชอบ (Accountability) ใช้้ Performance Management เชื่อ่� มโยงกับั Career Development 8 เน้้นโลกและอนาคต ระบบการศึึกษามุ่�งสร้้างกระบวนทััศน์์แก่่ทุุกคนว่่า สิิงคโปร์์เป็็น ส่่วนหนึ่่�งของโลก และต้้องปรับั ตัวั สู่่�การเปลี่่�ยนแปลงในอนาคต

38 การศึกษาคณุ ภาพสูงระดับโลก ความท้้าทาย ที่ผ่านมาข้อท้าทายต่อระบบการศึกษาสิงคโปร์คือ การเอาชนะ หลักสูตรแบบเดิม ๆ ท่ีเน้นเน้ือหา เน้นการสอนแบบถ่ายทอดความรู ้ มงุ่ สนองการสอบตดั สนิ อนาคตของเดก็ ทพ่ี อ่ แมม่ งุ่ ใหล้ ูกสอบไดค้ ะแนนสงู โดยใหล้ ูกเข้าโรงเรยี นตวิ กวดวชิ า และถงึ กบั มพี อ่ หรอื แมจ่ �ำ นวนหนง่ึ ลางาน 1 ปีเพือ่ ช่วยกวดวชิ าใหล้ ูกที่กำ�ลังเรยี น ป.66การเอาชนะความเคยชนิ ของ ครูที่คุ้นกับการสอนแบบครูเป็นศูนย์กลาง จากโรงเรียนผลิตครูแบบเก่า และการเผชญิ แนวโน้มโลกทช่ี อ่ งวา่ งความเปน็ ธรรมทางสงั คมถา่ งกว้างขน้ึ โดยที่ในช่วง 40 - 50 ปีที่ผ่านมา ระบบการศึกษาสิงคโปร์ได้ปดิ ชอ่ งวา่ ง ดงั กลา่ วทางการศกึ ษาลงไปมาก ท�ำ ใหโ้ อกาสเรยี นตามศกั ยภาพของเด็ก แตล่ ะคนเท่าเทยี มกนั ระหวา่ งลูกคนรวยและลูกคนจน แต่มาตรการสรา้ ง ความเสมอภาคทางการศึกษาที่เคยประสบความสำ�เร็จในสิงคโปร์จะถูก ท้าทายโดยกระแสโลก 6

การศกึ ษาคุณภาพสูงระดบั โลก 39 ข้้อเรียี นรู้้�สำำ�หรับั วงการศึึกษาไทย ท่ีจริงหัวข้อในหนังสือคือ ข้อเรียนรู้สำ�หรับวงการศึกษาอเมริกัน แต่ผมนำ�มาตีความต่อ ให้เป็นประโยชน์โดยตรงต่อวงการศึกษาไทย โดยผมมีความเห็นว่า ทีมแกนนำ�ขับเคลื่อนเขตการศึกษาพิเศษ จังหวัด ศรสี ะเกษ สตลู เชยี งใหม ่ กาญจนบรุ ี และสามจงั หวดั ชายแดนใต้ นา่ จะได้ มโี อกาสไปดงู านระบบการศึกษาของสิงคโปร์ โดยใช้ KM7 เปน็ เครื่องมือ เรียนรู้ร่วมกัน เหมือนอย่างท่ี ทีมจังหวัดระยองได้ไปเรียนรู้เมื่อเดือน เมษายน 2561 จัดโดยสถาบันอาศรมศิลป์8 ข้อเรียนรู้จากหนังสือคือ หลักการ Alignment หรือการเชื่อมต่อเป็นเน้ือเดียวกันระหว่างนโยบาย และการปฏิบัติ ซ่ึงหมายความว่า ในระดับเขตพื้นที่พิเศษทางการศึกษา การด�ำ เนนิ การพฒั นาระบบตอ้ งมกี ารปรกึ ษาหารอื กบั ผู้อ�ำ นวยการโรงเรยี น และครูอย่างกว้างขวาง และต้องหาทางร่วมมือกับสถาบันผลิตครู และ พฒั นาครใู นพน้ื ท่ี เพอ่ื Align การพฒั นาทกั ษะครเู ข้ากบั เปา้ หมายการศกึ ษา ในพนื้ ท่ี รวมทงั้ ตอ้ งสอื่ สารสงั คมในจงั หวดั ให้ประชาชนเข้าใจความหมาย ของระบบการศกึ ษาคณุ ภาพสงู ส�ำ หรบั อนาคตของลูกหลาน และของพน้ื ท่ี 7 Knowledge Management (KM) 8 การจััดการความรู้้�

40 การศึกษาคณุ ภาพสงู ระดบั โลก ลัักษณะเด่่นของระบบการศึึกษา ของประเทศสิิงคโปร์์ มงุ่ เรยี นเปน็ วิสัยทัศน์และ พลโลกและ ภาวะผนู้ ํา เพ่ื ออนาคต กาํ หนด แรงจงู ใจ มาตรฐานสูง ของนักเรียน หรอื ท้าทาย แนวทาง มงุ่ สรา้ ง การจัดการและ ความเท่าเทยี ม ระบบรบั ผดิ รบั ชอบ ท่ีสะทอ้ นผลลพั ธ์ ครแู ละผู้นํา การศึกษา ทีผ่ ู้เรียน คุณภาพสูง มีเป้าหมายไปใน ทิศทางเดยี วกันและ สัมพันธ์เชอ่ื มโยงกนั ทั้งในระดับนโยบาย ถงึ ปฏิบัติการ

การศึกษาคุณภาพสูงระดับโลก 41 ชวนคิิด คุณุ มีีความคิดิ เห็น็ อย่่างไร เรื่่อ� งการแบ่่งสายในระดับั มัธั ยมศึกึ ษาตอนปลาย? คุณุ คิดิ ว่่าอะไรคืือสิ่่�งที่ส�่ ามารถนำ�ำ มาปรับั ใช้้กับั การพัั ฒนาการศึึกษาไทยได้้ง่่ายที่่�สุุด? อะไรคืือสิ่่ง� ที่เ�่ หมือื นกันั ระหว่่างประเทศไทยและสิงิ คโปร์์?

42 การศกึ ษาคณุ ภาพสูงระดับโลก ชวนคิดิ อะไรคืือสิ่่ง� ที่่�แตกต่่างกัันระหว่่างประเทศไทยและสิิงคโปร์์? คุุณคิิดว่่าจะสามารถนำ�ำ แนวทางการพัั ฒนาการศึึกษาของ ประเทศสิิงคโปร์ม์ าปรับั ใช้้กัับประเทศไทยได้้อย่่างไร?

การศกึ ษาคณุ ภาพสงู ระดับโลก 43



การศกึ ษาคุณภาพสูงระดบั โลก 45 2 เรยี นรู้จาก แคนาดา ยกระดัับผลลััพธ์์การเรีียนรู้้� ของโรงเรีียนในเมืือง และชนบท

46 การศึกษาคณุ ภาพสูงระดับโลก ? การยกระดับั การเรียี นรู้้�ของโรงเรีียน ในเมือื งและชนบทแตกต่่างกัันอย่่างไร และเราจะพัั ฒนาไปพร้้อมกัันได้้อย่่างไร?

การศกึ ษาคณุ ภาพสูงระดบั โลก 47 ในบันทึกนี้จะเล่าเร่ืองการศึกษาของแคนาดา โดยตีความจาก หนงั สอื A World-Class Education: Learning from International Models of Excellence and Innovation (2012) ประเทศแคนาดามี10รฐั (เรยี กวา่ Province)และ3พน้ื ท่ี (Territories) การศกึ ษาจดั การโดยรฐั ไม่ใชโ่ ดยรัฐบาลกลาง รัฐท่ีคณุ ภาพการศกึ ษาสงู และยกมาเปน็ ตวั อยา่ งคือ Alberta และ Ontario ในภาพรวม ระบบการศึกษาของแคนาดาคล้ายของสหรฐั อเมริกา แตผ่ ลการจดั อนั ดบั คณุ ภาพการศกึ ษาของแคนาดาสงู กวา่ ของอเมรกิ ามาก คืออยใู่ น 10 อนั ดบั แรกของโลก (อนั ดบั ที่ 6 ใน PISA1 2018) ในขณะท ่ี อเมรกิ าอยู่อันดบั ท่ี 31 ใน PISA 2018 สะท้อนวา่ แคนาดาบรหิ ารจดั การ ระบบการศกึ ษาไดด้ กี วา่ รัฐั Alberta รัฐอัลเบอร์ตามีภูมิศาสตร์เป็นทุ่งหญ้ากว้างใหญ่ มีพลเมืองเพียง 3. 5 ลา้ นคน มนี กั เรยี นเกือบ 6 แสนคน ลกั ษณะพเิ ศษของระบบการศกึ ษา ท่ี ท�ำ ให้มีคณุ ภาพสงู มี 5 ประการ 1. หลกั สูตรคณุ ภาพสูง พัฒนาโดยครเู อง และใหอ้ สิ ระในการ ประยุกตใ์ ช้ มีหลักสตู รระดบั อนุบาลถงึ เกรด 12 ท่รี ะบรุ ายละเอยี ดในทุก รายวิชา เพ่ือใหน้ กั เรียนทกุ คนได้รบั การศกึ ษาคณุ ภาพสงู เขายกตวั อยา่ ง 1 โปรแกรมประเมิินสมรรถนะนัักเรียี นมาตรฐานสากล (Programme for International Student Assessment หรืือ PISA)

48 การศกึ ษาคณุ ภาพสูงระดบั โลก หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรส์ �ำ หรบั เกรด 7, 8, 9 มคี วามยาวถงึ 73 หนา้ ในขณะท่ี หลกั สตู รวชิ าและระดบั เดยี วกนั ของรฐั ไอโอวา สหรฐั อเมรกิ า (ซง่ึ มลี กั ษณะ ภูมสิ งั คมคลา้ ยกัน) มีเพียง 3 หน้า เคล็ดลับส�ำ คญั คือ ครูมสี ว่ นสำ�คญั ในการพัฒนาหลักสูตรดังกล่าว และครูมีอิสระในการประยุกต์ใช้ หลักสูตร เขายกตัวอย่างหลักสูตรด้านสังคมศึกษา มีสาระครอบคลุม ทั้งสภาพสังคมในพื้นท่ีและในโลก โดยให้นักเรียนนำ�เร่ืองราวในปัจจุบัน มาเรียนรู้ เชอื่ มโยงกบั เหตุการณ์ในประวตั ิศาสตร์ ท�ำ ความเข้าใจเชิงลกึ 2. ครููคุุณภาพสููง เนื่่�องจากเงิินเดืือนสููง จึึงดึึงดููดคนมีีความ สามารถสููงมาเป็็นครูู เขาให้้ตััวเลขเปรีียบเทีียบกัับเงิินเดืือนครููในรััฐ ไอโอวา ว่า่ ครููในรัฐั อัลั เบอร์ต์ าเงินิ เดืือนสููงกว่า่ เกืือบเท่า่ ตัวั โดยที่ค่� ่า่ ใช้้จ่า่ ย ทางการศึกึ ษาต่่อหัวั นักั เรีียนของอัลั เบอร์ต์ าต่ำ��ำ กว่า่ สะท้้อนประสิิทธิภิ าพ ในการบริหิ ารระบบการศึกึ ษาของรัฐั อัลั เบอร์ต์ าที่ส�่ ููงกว่า่ มาก เรื่อ� งนี้้ว� งการ การศึกึ ษาไทยน่า่ จะได้้ศึกึ ษารายละเอียี ด เพื่อ่� เอามาปรับั ปรุงุ ประสิทิ ธิภิ าพ ของระบบการศึึกษาไทย นอกจากนั้น ครูทุกคนต้องเสนอแผนพัฒนาตนเองประจำ�ปี โดยแผนนน้ั จะต้องสอดคล้องกับหลกั สูตรของโรงเรยี น และของรัฐ โดยทค่ี รเู ปน็ ผู้เสนอวธิ กี ารบรรลุแผนพัฒนาตนเอง 3. โปรแกรมการวิจัยชั้นเรียน ในทางปฏิบัติเรียกว่า Alberta Initiative for School Improvement2 ส่งเสริมการวิจยั และพัฒนาเพ่ือให้ ครูในโรงเรียนรวมตัวกันสร้างนวัตกรรมในการเรียนการสอน การผูกพัน 2


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook