Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เลขที่ 6 ใบงานที่ 3.1

เลขที่ 6 ใบงานที่ 3.1

Published by Naruemon _woon, 2022-08-21 14:08:30

Description: เลขที่ 6 ใบงานที่ 3.1

Search

Read the Text Version

แบบทดสอบก่อนเรียน คำช้แี จง จงเลือกคำตอบทถ่ี กู ต้อง 1.ภาษมี ูลคา่ เพมิ่ หมายถงึ อะไร ก. ภาษีทเี่ กบ็ จากการขายสนิ คา้ และบรกิ ารของผู้ผลิตสนิ คา้ ข. เงนิ ตราหรือทรพั ย์ทป่ี ระชาชนตอ้ งงนำไปสง่ ให้กับรฐั หรือสถาบนั ทมี่ หี นา้ ที่ เทียบเท่ากับรัฐทง้ั บคุ คลธรรมดาและนิตบิ ุคคล ค. ภาษีที่เก็บขอ้ มูลส่วนท่ีเพิ่มข้ึน จากคนทำธรุ กจิ ขายสนิ ค้าหรือใหบ้ รกิ ารประเภท ต่างๆ ง. ถกู ท้ังขอ้ ก. และ ค. จ. ถูกทุกข้อ 2.ใบกำกับภาษีมีกี่ประเภท ก. 1 ประเภท ข. 2 ประเภท ค. 3 ประเภท ง. 4 ประเภท จ. 5 ประเภท 3.การยกเว้นภาษมี ลู คา่ เพ่ิมตามมาตราใด ก.มาตรา 84 ข.มาตรา 83 ค.มาตรา 82 ง.มาตรา 81 จ.มาตรา 80 4.คำขอจดทะเบยี นภาษีมูลคาเพิ่มตามแบบ ภ.พ..01 ใช้กี่ฉบบั ก. 5 ฉบบั ข. 4 ฉบับ ค. 3 ฉบบั ง. 2 ฉบับ จ. 1 ฉบบั

5.ข้อใดไมใ่ ช่เอกสารทถ่ี ือเปน็ ใบกำกับภาษี ก. ใบแจ้งยอดหน้ี ข.ใบเพม่ิ หนี้ ค.ใบลดหน้ี ง.ใบเสร็จรบั เงินทส่ี ว่ นราชการออกให้ จ.ใบเสร็จรบั เงนิ จากรา้ นสะดวกซื้อ 6.การประกอบกจิ การขายสินคา้ หมายถึงข้อใด ก.การกระทำใดๆ อันอาจหาประโยชน์ ข.การนำเงินไปหาประโยชน์โดยการฝากธนาคาร ค.การใชบ้ ริการเพอื่ ประกอบกิจการ ง.การนำเงินทนุ มาประกอบกิจการ จ.การจำหน่าย จ่าย โอนสินคา้ 7.วธิ กี ารคำนวณขอ้ ใดถูกตอ้ ง ก.ภาษซี ้อื = ภาษขี าย - ภาษีทตี่ ้องชำระ ข.ภาษที ีต่ ้องชำระ = ภาษีขาย - ภาษีซอื้ ค.ภาษขี าย = ภาษีซ้ือ - ภาษีท่ตี อ้ งชำระ ง.ภาษีท่ีต้องชำระ = ภาษีขาย + ภาษีซื้อ จ.ภาษขี าย = ภาษซี ้ือ + ภาษที ตี่ ้องชำระ 8.ข้อใดไม่ใช่เเบบเเสดงรายการที่ใช้ ก.เเบบ ภ.พ.01 ข.เเบบ ภ.พ.02 ค.เเบบ ภ.พ 02.1 ง.เเบบ ภ.พ.03 จ.แบบ ภ.พ.04 9.ผูป้ ระกอบการต้องมรี ายรับไมเ่ กนิ กี่บาทตอ่ ปี ก.5.8 ลา้ นบาทตอ่ ปี ข.4.8 ล้านบาทตอ่ ปี ค.3.8 ลา้ นบาทตอ่ ปี ง.2.8 ลา้ นบาทตอ่ ปี จ.1.8 ล้านบาทต่อปี

10.VAT ยอ่ มาจากอะไร ก.Valoe Adred Tax ข.Value Added Tax ค.Velue Added Tex ง.Valtue Adided Tax จ.Vallue Adided Tex แสกนคิวอาร์โคด้ เพ่ือทำแบบทดสอบก่อนเรยี น

ภาษีมูลคา่ เพมิ่ 1. ความหมายของภาษมี ลู ค่าเพ่มิ ภาษีมูลค่าเพิ่ม (Value Added Tax หรือใช้ตัวย่อว่า VAT) คือภาษีที่รัฐบาลเรียก เก็บจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นตอนการผลิตสินค้าหรือบริการ และการจาหน่าย สินค้าหรือบริการชนิดต่าง ๆ โดยผู้ประกอบการเป็นผู้มีหน้าที่เก็บจากลูกค้า แล้วนา ภาษีมูลค่าเพิ่มไปชาระให้แก่รัฐบาล ผกาพรรณ พรหมสาขา ณ สกลนคร ให้ความหมาย ภาษีมูลค่าเพิ่มว่าภาษีมูลค่าเพิ่ม หมายถึง ภาษีที่เก็บจากการขายสินค้าและบริการของ ผู้ผลิตสินค้า หรือผู้บริการ ผู้นาเข้า โดยจัดเก็บเฉพาะมูลค่าที่เพิ่มขึ้น การจัดเก็บ ภาษมี ูลคา่ เพมิ่ มีขอบเขตกวา้ งขวาง และครอบคลุมทกุ ขัน้ ตอนในการผลติ การจาหน่ายและ ให้บริการ เบญจมาศ อภิสิทธิ์ภิญโญ และคณะ กล่าวถึงภาษีมูลค่าเพิ่มว่า ภาษีมูลค่าเพ่ิม เป็นการเก็บภาษีจากการขายสินค้าหรือการให้บริการในแต่ละขั้นตอน การผลิตและจา หน่ายสินค้าหรือบริการเหล่าน้ัน ทั้งที่ผลิตภายในประเทศและนาเข้าจากต่างประเทศ โดย ส่วนที่เก็บเพิ่มนั้นเรียกว่า “มูลค่าเพิ่ม” ภาษีมูลค่าเพิ่มจึงเป็นภาษีที่ผู้ประกอบการจด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มจะทาการเรียกเก็บจากผู้ซื้อสินค้าหรือรับบริการต่าง ๆ ที่เป็นคน สุดท้าย รวมถึงการเก็บภาษีทุกขั้นตอนของการผลิตหรือการขายสินค้าหรือการให้บริการ จากน้นั ผู้ประกอบการจะนาภาษที เ่ี กบ็ ไดส้ ง่ ให้กับสรรพากรทุกเดอื น ภาษีมูลค่าเพิ่ม (อังกฤษ: Value Added Tax หรือ VAT) หรือที่เรียกกันทั่วไปว่า แวต เป็นภาษีทางอ้อมประเภทหนึ่งที่เรียกเก็บจากบุคคลที่ซื้อสินค้าหรือรับบริการ โดย จัดเก็บเฉพาะจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้นในแต่ละขั้นผลิต การจำหน่ายหรือการให้บริการ ตวั อย่างเชน่ สมมตวิ า่ อตั ราภาษีมลู ค่าเพม่ิ เปน็ ร้อยละ 10 ซอ้ื วตั ถดุ บิ วสั ดุอุปกรณ์มา 100 บาท และมภี าษีซอื้ 10 บาท เมอื่ ผลิตเป็นสนิ คา้ ขายในราคา 150 บาท ตอนขายไปจะต้อง คิดภาษีขาย 15 บาท ดังนี้ ก็จะเสียภาษีมูลค่าเพิ่มเฉพาะผลต่างจำนวน 15-10 = 5 บาท เท่านั้น ถ้าการซื้อ และขายเกิดขึ้นภายในรอบการจ่ายภาษีเดียวกัน ในประเทศไทยได้ กำหนดอัตราภาษีมูลค่าเพ่ิมไว้ที่ 10% แตท่ ั้งนี้ ตงั้ แต่ พ.ศ. 2540 เป็นตน้ มา คณะรัฐมนตรี จะออกพระราชกฤษฎีกาลดภาษีมูลค่าเพิ่มเหลือ 7% เป็นประจำทุกปี โดยที่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม 1 ใน 9 ที่เก็บได้ จะถูกโอนให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และที่เหลือ อีก 8 ส่วนจะถูกโอนใหแ้ กร่ ฐั บาลกลาง ภาษมี ูลคา่ เพิ่ม หมายถึง ภาษีที่เกบ็ จากการขายสินค้าและบริการของผู้ผลิตสินค้า หรือผู้บริการ ผู้นำเข้า โดยจัดเก็บเฉพาะมูลค่าที่เพิ่มขึ้น การจัดเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มมี ขอบเขตกว้างขวาง และครอบคลมุ ทุกขน้ั ตอนในการผลติ การจำหนา่ ยและใหบ้ รกิ าร

ภาษีมูลค่าเพิ่ม คือ ภาษีที่เก็บจากมูลค่าส่วนที่เพิ่มขึ้น จากคนทำธุรกิจขายสินค้า หรอื ใหบ้ ริการประเภทตา่ งๆ โดยผู้ทม่ี หี นา้ ท่ีเสียภาษมี ลู ค่าเพ่ิมคอื ผู้ประกอบการ และผู้นำ เข้า ซึ่งรวมไปถึงผู้ผลิต ผู้ให้บริการผู้ขายส่ง ผู้ขายปลีก ส่งออก ผู้นำเข้า ซึ่งมีรายได้ต่อปี ตง้ั แต่ 1,800,000 บาทขึ้นไป ไม่ว่าจะเปน็ บคุ คลธรรมดาหรือนิติบุคคลก็ตาม ภาษีมูลค่าเพิ่ม เป็นภาษีที่เรียกเก็บจากผู้บริโภคท่ีเป็นผู้ซื้อสินค้าทั้งที่ผลิตใน ประเทศและตา่ งประเทศหรือเปน็ ผู้ได้รบั บริการคนสดุ ท้าย ผู้ประกอบการที่ไม่ใช่ผู้บริโภค คนสุดท้ายจะจ่ายภาษีซื้อ 7% ในตอนซื้อสินค้า และเรียกเก็บภาษีขาย 7% ในตอนขาย สินค้า เมื่อสิ้นเดือนจะนำภาษีซื้อและภาษีขายมาหักลบกัน ผลต่างหากภาษีซื้อมากกว่า ภาษีขายจะเป็น ลูกหนี้-สรรพากร หรือ ภาษีขายมากกว่าภาษีซื้อ จะเป็น เจ้าหนี้- สรรพากร การยื่นแบบแสดงรายการภาษีมลู คา่ เพ่มิ 1.ผู้มหี น้าทย่ี ่นื แบบ ผู้ประกอบการจดทะเบียนท่ีเสียภาษีมลู ค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 10 (ปัจจุบัน อัตรา ภาษีมูลค่าเพิ่มลดลงเหลืออัตราร้อยละ 7.0 ตามพระราชกฤษฎีกาฯ (ฉบับที่ 440) พ.ศ. 2548 มีผลใช้บังคับจนถึงวันที่ 30 กันยายน 2550) หรือผู้ประกอบการจดทะเบียน ภาษีมูลค่าเพ่ิมในอัตรารอ้ ยละ 0 โดยคำนวณภาษมี ูลค่าเพิม่ จากภาษขี ายหักด้วยภาษีซื้อใน แตล่ ะเดือนภาษี ท้ังน้ี ไม่วา่ ผู้ประกอบการดังกล่าวจะประกอบการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคล ห้างหุ้นส่วนสามัญ กองมรดก บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล องค์การของ รัฐบาล หรอื นติ ิบคุ คลในรูปแบบใดก็ตาม 2. แบบแสดงรายการท่ใี ช้ (1) แบบ ภ.พ.01 แบบคำขอจดทะเบียนภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (2) แบบ ภ.พ.02 แบบคำขอย่นื แบบแสดงรายการภาษีมูลคา่ เพิม่ รวมกนั (3) แบบ ภ.พ.02.1 แบบคำขอยกเลิกการยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพ่ิม รวมกัน (4) แบบ ภ.พ.04 แบบคำขอรบั ใบแทนใบทะเบียนภาษมี ูลคา่ เพม่ิ (5) แบบ ภ.พ.08 แบบคำขอถอนทะเบยี นภาษีมลู ค่าเพิม่ (6) แบบ ภ.พ.09 แบบคำขอแจง้ การเปลย่ี นแปลงทะเบียนภาษมี ลู คา่ เพม่ิ (7) แบบ ภ.พ. 30 ใช้สำหรับผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่ม โดย คำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มจากภาษีขายหกั ด้วยภาษีซื้อในแต่ละเดือนภาษี กรณีเดือนภาษีใดมี จำนวนภาษีซ้ือมากกวา่ ภาษขี าย ผปู้ ระกอบการจะไดร้ บั คนื ภาษี และสามารถใชแ้ บบ ภ.พ. 30 นีเ้ ป็นคำขอคืนภาษมี ูลค่าเพม่ิ

(8) แบบ ภ.พ.30.2 แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ในกรณีปรับปรุงภาษีซื้อท่ี เฉลยี่ ตามส่วน ของรายได้ (9) แบบ ภ.พ.30.3 แบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม ในกรณีปรับปรุงภาษีซื้อท่ี เฉลย่ี ตามสว่ น ของการใชพ้ ืน้ ที่อาคาร (10) แบบใบขนสินค้าขาเข้า ใช้สำหรับผู้มีหน้าที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มที่เป็นผู้นำเข้า ไม่ว่าจะเป็นผู้ประกอบการจดทะเบียนหรือไม่ก็ตาม ผู้นำเข้าต้องชำระภาษีพร้อมกับการ ชำระอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศุลกากร (11) แบบ ภ.พ.36 ใช้สำหรบั ผู้มีหนา้ ท่ีนำสง่ ภาษมี ูลคา่ เพิ่ม กรณีดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) ผูจ้ า่ ยเงินท่จี ่ายค่าซ้อื สนิ ค้าหรือค่าบริการให้แก่ – ผู้ประกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจักร ซึ่งได้เข้ามาประกอบกิจการขายสินค้า หรือให้บริการในราชอาณาจักรเป็นการชั่วคราว และไม่ได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเป็น การช่ัวคราว – ผู้ประกอบการที่ได้ให้บริการในต่างประเทศและได้มีการใช้บริการนั้นใน ราชอาณาจักร (ข) ผู้รับโอนสินค้าหรือผู้รับโอนสิทธิในบริการที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มไป แล้วในอัตราร้อยละ 0 ได้แก่ การรับโอนสินค้าหรือรับโอนสิทธิในบริการ ที่ได้มีการขาย หรือให้บริการกับองค์การสหประชาชาติ ทบวงการชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ สถาน เอกอัครราชทูต สถานทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล ทั้งนี้เฉพาะการขายสินคา้ หรือการ ให้บรกิ ารที่เปน็ ไปตามหลักเกณฑ์ วิธกี าร และเงอื่ นไขทีอ่ ธิบดีกำหนด (ค) ผู้ทอดตลาดซง่ึ ขายทรัพย์สินของผูป้ ระกอบการจดทะเบยี น กำหนดเวลา สถานท่ียนื่ แบบและการชำระภาษี กำหนดเวลายน่ื แบบ (1) ผู้ประกอบการจดทะเบียนต้องยื่นแบบ ภ.พ.30 พร้อมชำระภาษีมูลค่าเพ่ิม (ถ้ามี) เป็นรายเดือนทุกเดือนภาษี ไม่ว่าจะมีการขายสินค้าหรือให้บริการในเดือนภาษีนั้น หรอื ไม่กต็ าม โดยใหย้ ่นื แบบภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป ในกรณีผปู้ ระกอบการมีสถานประกอบการหลายแหง่ ให้แยกย่ืนแบบแสดงรายการ ภาษีและชำระภาษีเป็นรายสถานประกอบการ เว้นแต่ได้ยื่นคำร้องขออนุมัติยื่นแบบแสดง รายการภาษีและชำระภาษีรวมกัน (ภ.พ.02) เมื่อได้รับอนุมตั ิจากอธิบดีกรมสรรพากรแล้ว ก็สามารถย่นื แบบ ภ.พ.30 รวมกันไดต้ ้งั แต่เดือนภาษีทอี่ ธบิ ดีกำหนดเป็นต้นไป (2) การนำเข้าสินค้า ผู้ประกอบการจดทะเบียนหรือผู้นำเข้าต้องยื่นแบบใบขน สินค้าขาเข้าและชำระภาษีมูลค่าเพิ่มพร้อมกับการชำระอากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วย ศลุ กากร ณ ด่านศุลกากรทมี่ ีการนำเข้าสินค้า

(3) ผู้มีหน้าที่นำส่งภาษีมูลค่าเพิม่ กรณีผู้ประกอบการทีใ่ ห้บริการในต่างประเทศ และไดม้ ีการใช้บรกิ ารนัน้ ในราชอาณาจักร หรอื ผู้ทอดตลาดซึง่ ขายทอดตลาดทรพั ย์สินของ ผู้ประกอบการจดทะเบียน ต้องยื่นแบบนำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 7 วันนับแต่วันที่ จ่ายเงินหรือวันรับเงินจากการขายทอดตลาดแล้วแต่กรณี ปัจจุบันได้มีประกาศ กระทรวงการคลังขยายกำหนดเวลาการนำส่งเงินภาษีมูลค่าเพิ่มโดยให้นำส่งภายใน 7 วัน นับแต่วันสิ้นเดือนของเดอื นที่จ่ายเงินให้แก่ผู้ประกอบการจดทะเบียน หรือผู้ประกอบการ และย่ืนรายการ แล้วแตก่ รณี (4) กรณีผู้รับโอนสินค้า หรือผู้รับโอนสิทธิในบริการที่ได้เสียภาษีมูลค่าเพิ่มใน อัตราร้อยละ 0 ให้นำส่งภาษีมูลค่าเพิ่มภายใน 30 วันนับแต่วันความรับผิดในการเสีย ภาษีมูลค่าเพิ่มเกิดขึ้น ปัจจุบันได้มีประกาศกระทรวงการคลังขยายกำหนดเวลาการนำส่ง เงนิ ภาษีมูลคา่ เพิ่ม โดยใหน้ ำส่งและย่นื รายการภายใน 7 วนั นบั แต่วนั สิ้นเดือนของเดือนที่ ครบกำหนด 30 วนั ท่ีความรบั ผิดในการเสยี ภาษีมลู ค่าเพ่มิ เกิดข้ึน (5) กรณีที่ผู้ประกอบการจดทะเบียนยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่มไว้ไม่ ถูกต้องครบถ้วน ไม่ว่าการคลาดเคลื่อนนั้นจะเป็นเหตุให้จำนวนภาษีในเดือนภาษี เปลี่ยนแปลงไปหรือไม่ก็ตาม จะยื่นแบบแสดงรายการภาษีมูลค่าเพิ่ม เพิ่มเติมได้อีกพร้อม กับชำระภาษี (ถ้ามี) ให้ถูกต้องครบถ้วน ณ หน่วยงานที่ได้ยื่นแบบแสดงรายการ ภาษีมลู คา่ เพิ่มไวก้ ่อน สถานทยี่ ่ืนแบบ (1) กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงาน สรรพากรพนื้ ท่ีสาขา(เขต/อำเภอ) ในท้องที่ท่ีสถานประกอบการตัง้ อยู่ (2) กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงาน สรรพากรพื้นท่สี าขา(อำเภอ) ในท้องทท่ี ่สี ถานประกอบการต้งั อยู่ การชำระภาษี (1) ชำระเปน็ เงินสด (2) ชำระด้วยเช็คขีดครอ่ ม สงั่ จ่ายแก่กรมสรรพากร โดยขดี ฆ่าคำวา่ ผถู้ ือและหรอื ตามคำสง่ั หมายเหตุ การยื่นแบบแสดงรายการและชำระภาษี สามารถยื่นผ่านเว็บไซต์ของ กรมสรรพากรได้

การคำนวณภาษีมูลค่าเพมิ่ การคำนวณภาษมี ลู คา่ เพมิ่ มวี ิธกี ารคำนวณดังนี้ ผู้ประกอบการจดทะเบียนที่เสียภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7 ถือเป็น ผู้ประกอบการจดทะเบียนแบบเต็มรูป การคำนวณภาษีมูลค่าเพิ่มที่ต้องชำระแต่ละเดือน เป็นดังน้ี ภาษีท่ตี อ้ งชาระ = ภาษีขาย – ภาษีซือ้ อัตราภาษมี ลู ค่าเพมิ่ อัตราภาษมี ลู ค่าเพ่ิมมี 2 อัตรา คอื 1.ร้อยละ 7 เป็นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการขายสินค้าหรือบริการทกุ ประเภท รวมทั้งการนำเข้า ซึ่งไม่อยู่ในข่ายยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามประมวลรัษฏากร อัตรานี้ได้ รวมภาษีท้องถิ่นแล้ว(อัตราภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับประเทศไทยเดิมใช้อัตราร้อยละ 10 ปจั จบุ ันอัตราภาษีมลู ค่าเพม่ิ ลดลงเหลือรอ้ ยละ 7 เป็นการชวั่ คราว 2.ร้อยละ 0 เป็นอัตราภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการขายสินค้าหรือบริการสำหรับการ ประกอบการดังต่อไปน้ี 2.1 การสง่ ออกสินค้าตามมาตรา 81 (3) และตามคำสั่งกรมสรรพากรที่ ป. 33/2536 ลงวนั ที่ 24 มิถุยน 2536 2.2 การให้บรกิ ารขนสง่ ระหว่างประเทศโดยอากาศยานหรือเรอื เดินทะเลท่ี กระทำ โดยผปู้ ระกอบการที่เปน็ นติ ิบคุ คลทจ่ี ัดตั้งขนึ้ ตามกฎหมายไทย 2.3 การขายสินค้าหรือการให้บริการส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ ตาม โครงการเงินก้หู รือเงินช่วยเหลอื จากตา่ งประเทศ 2.4 การขายสินค้าหรือการให้บริการกับองค์การสหประชาชาติ ทบวงการ ชำนัญพิเศษของสหประชาชาติ สถานอัครราชทูต สถานกงสุลใหญ่ สถานกงสุล ตามท่ี อธบิ ดีกำหนด 2.5 การขายสินค้าหรือการให้บริการระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์บนด้วยกัน หรือระหว่างผู้ประกอบการที่ประกอบการอยู่ในเขตอุตสาหกรรมส่งออก รวมทั้งการขาย สินค้าหรือให้บริการระหว่างคลังสินค้าทัณฑ์กับผู้ประกอบกิจการอยู่ในเขตอุตสาหกรรม สง่ ออก ใบกำกบั ภาษี ใบกำกับภาษแี บง่ ออกเปน็ 2 ประเภท ดงั นี้ 1.ใบกำกับภาษีแบบเต็มรูป (Tax Invoice) คือเอกสารหลักฐานสำคัญท่ี ผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม ออกให้แก่ผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการ ใบกำกับ

ภาษีแบบนี้ต้องมีรายการครบถ้วนตามที่กรมสรรพากรกำหนด (มาตรา 86/4) และใช้เป็น หลักฐานในการชำระหรอื เรียกคืนภาษีมูลคา่ เพม่ิ 2.ใบกำกับภาษีอย่างย่อย (Abbreviation Tax Invoice) หรือเรียกย่อๆว่า ABB Tax Invoice คือใบกำกับภาษีที่ออกโดยผู้ประกอบการที่จำหน่ายสินค้าในลักษณะขาย ปลีกให้บริการรายย่อยแก่บุคคลจำนวนมาก ใบกำกับภาษีอย่างย่อยนี้อาจจะออกด้วยมือ หรอื ออกด้วยเคร่ืองบันทกึ เงนิ สด ใบกำกับภาษแี บบนีใ้ ชเ้ ป็นหลกั ฐานในการชำระหรือเรียก คืนภาษีมูลค่าเพิ่มไม่ได้ ดังนั้นผู้ซื้อสินค้าหรือผู้รับบริการต้องแจ้งความประสงค์ต้องการ ใบกำกับภาษีแบบเตม็ รปู เอกสารท่ถี อื เป็นใบกำกบั ภาษี 1.ใบเพ่ิมหนี้ 2.ใบลดหนี้ 3.ใบเสร็จรับเงินทสี่ ่วนราชการออกให้ในการขายทอดตลาด 4.ใบเสร็จรับเงนิ ของกรมสรรพากร กรมศลุ กากร หรอื กรมสรรพสามิต เฉพาะส่วน ทีเ่ ปน็ ภาษีมลู ค่าเพม่ิ การคำนวณภาษีมลู ค่าเพิม่ การคำนวณภาษมี ลู คา่ เพ่มิ แยกเปน็ 2 กรณี ดงั นี้ 1.กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 7 ให้ คำนวณภาษีซื้อและภาษีขายประจำเดือน โดยดูจากบัญชีภาษีซื้อและภาษีขายหรือจาก รายงานภาษซี อื้ และภาษีขายและหาผลต่าง 2.กรณีผู้ประกอบการจดทะเบียนภาษีมลู ค่าเพิ่มในอัตราร้อยละ 0 ให้คำนวณภาษี ขายในอัตรารอ้ ยละ 0 ซึ่งจะมีผลทำให้ภาษีขายเทา่ กบั 0 และคำนวณภาษีซือ้ ในอัตราร้อย ละ 7 ดังนน้ั ภาษีซอ้ื จะมียอดมากกว่าภาษขี าย ซง่ึ มีผลทำใหผ้ ูป้ ระกอบการได้รบั คืนภาษี 2. การประกอบกิจการทต่ี อ้ งเสียภาษมี ูลคา่ เพ่มิ การประกอบกจิ การที่ตอ้ งเสยี ภาษีมลู คา่ เพ่มิ แบ่งออกเปน็ 2 ประเภทคอื 1. การประกอบกจิ การขายสินค้า การขายสนิ ค้า หมายถึง การจำหนา่ ย จา่ ย โอน สนิ คา้ ไม่วา่ จะมปี ระโยชนห์ รือค่าตอบแทนหรือไม่ เชน่ การขายสินคา้ การแจกสินค้า การ แถม การให้สินค้าเป็นรางวัล การให้โดยเสน่หา เป็นต้น ถือเป็นการขายในระบบ ภาษมี ูลคา่ เพ่มิ ทัง้ ส้นิ การขายสินค้า ในระบบภาษมี ูลค่าเพมิ่ ยังรวมถงึ กิจกรรมดงั น้ดี ้วย 1.1 กิจการท่ีมีการใหเ้ ช่าซ้ือสินค้า 1.2 กจิ การทม่ี ีการส่งมอบสินค้าให้ตวั แทนเพื่อขาย

1.3 กิจการที่มีการนำสินค้าไปใช้ไม่ว่าเพื่อการใดๆ เช่น นำสินค้าของ กิจการไปบรจิ าค 1.4 กิจการท่ีมีสนิ คา้ ขาดจากรายการสนิ คา้ และวตั ถดุ บิ 1.5 กิจการที่มีมีสินค้าคงเหลือและหรือทรัพย์สินที่ผู้ประกอบการมีไว้ให้ ในการ ณ วนั เลิกประกอบการ 2. การประกอบกิจการให้บรกิ าร การใหบ้ รกิ าร หมายถึงการกระทำใดๆ อันอาจหา ประโยชน์ได้อันมีมูลค่าซึ่งมิใช่การขายสินค้า เช่น การรับจ้างทำของ การรับจ้างบริการ การรับซ่อมแซม นอกจากนี้การให้บริการดังต่อไปนี้ ได้รับยกเว้นไม่ต้องเสียมูลค่าเพิ่ ม ได้แก่ 2.1. การใช้บริการเพื่อประกอบกิจการของตนเองโดยตรง ทั้งนี้ ต้องเป็น การใช้ในกิจการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม ซึ่งบริการดังกล่าวต้องมิใช่การใช้ บรกิ ารดงั ตอ่ ไปน้ี เช่น บริการทน่ี ำไปใช้เพอ่ื การรับรอง หรือ บรกิ ารท่นี ำไปใช้กับรถยนต์นั่ง และรถโดยสารทม่ี ีท่นี ง่ั ไมเ่ กนิ 10 คน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยพกิ ัดอัตราภาษสี รรพสามติ 2.2 การนำเงินไปหาประโยชน์โดยการฝากธนาคาร หรือซื้อพนั ธบัตรหรอื หลกั ทรัพย์ 2.3 การการะทำอ่ืนตามท่ีอธิบดกี รมสรรพากรกำหนด 3. ผู้มีหน้าที่เสียภาษมี ูลคา่ เพ่มิ ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการในทางธุรกิจหรือวิชาชีพเป็นปกติธุระ ไม่ ว่าจะประกอบกิจการในรูปของบุคคลธรรมดา คณะบุคคลหรือห้างหุน้ สว่ นสามัญที่มิใชน่ ิติ บคุ คล หรือนติ ิบุคคลใด ๆ หากมรี ายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการเกินกว่า 1.2 ล้าน บาทต่อปี มีหน้าที่ต้องยื่นคำขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มเพื่อเป็นผู้ประกอบการจด ทะเบียน โดยคำนวณภาษที ีต่ ้องเสียจากภาษขี ายหักดว้ ยภาษซี ือ้ ผู้ประกอบการทไี่ มต่ ้องจดทะเบยี นภาษมี ลู คา่ เพ่ิม 1. ผู้ประกอบการที่มีรายรับจากการขายสินค้าหรือให้บริการไม่เกิน 1.2 ล้านบาท ต่อปี 2. ผู้ประกอบการที่ขายสินค้าหรือให้บริการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตาม กฎหมาย 3. ผู้ประกอบการที่ให้บริการจากต่างประเทศ และได้มีการใช้บริการนั้นใน ราชอาณาจกั ร 4. ผูป้ ระกอบการที่อยู่นอกราชอาณาจกั รและเข้ามาประกอบกิจการขายสินค้าหรือ ให้บริการในราชอาณาจักรเป็นครั้งคราว ทั้งนี้ ต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์ วิธีการและ

เงื่อนไข ที่กำหนดไว้ในประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับภาษีเงินได้ (ฉบับที่ 43)ฯ ลง วนั ท่ี 29 มกราคม พ.ศ. 2536 5. ผู้ประกอบการอ่ืนตามทอี่ ธบิ ดจี ะประกาศกำหนดเมอ่ื มีเหตุอันสมควร ผปู้ ระกอบการทไี่ ด้รบั การยกเวน้ ภาษมี ลู ค่าเพม่ิ ตามกฎหมาย แต่สามารถขอจดทะเบียน ภาษมี ลู ค่าเพม่ิ ได้ 1. ผู้ประกอบกิจการ ขายพืชผลทางการเกษตร สัตว์ ไม่ว่ามีชีวิตหรือไม่มีชีวิต ปุ๋ย ปลาป่น อาหารสัตว์ ยาหรือเคมีภัณฑท์ ี่ใช้สำหรบั พืชหรือสัตว์ หนังสือพิมพ์ นิตยสาร หรือ ตำราเรยี น ฯลฯ 2. ผู้ประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการซึ่งไม่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตาม กฎหมายและมีรายรบั ไม่เกิน 1.2 ล้านบาทตอ่ ปี 3. การใหบ้ ริการขนสง่ ในราชอาณาจักร โดยอากาศยาน 4. การส่งออกของผู้ประกอบการในเขตอุตสาหกรรมส่งออกตามกฎหมายว่าด้วย การนิคมอุตสาหกรรมแหง่ ประเทศไทย 5. การใหบ้ รกิ ารขนสง่ น้ำมนั เชอ้ื เพลงิ ทางทอ่ ในราชอาณาจกั ร 4. การยกเวน้ ภาษมี ูลคา่ เพิ่ม มาตรา 81 ใหย้ กเวน้ ภาษมี ลู ค่าเพิม่ สำหรับการประกอบกิจการประเภทตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. การขายสนิ คา้ ทม่ี ิใช่การสง่ ออก หรอื การให้บรกิ ารดงั ตอ่ ไปน้ี (ก) การขายพืชผลทางการเกษตร ไม่ว่าจะเป็นลำต้น กิ่ง ใบ เปลือก หน่อ รากเหง้า ดอก หัว ฝัก เมล็ด หรือส่วนอื่น ๆ ของพืช และวัตถุพลอยได้จากพืช ทั้งนี้ ที่อยู่ ในสภาพสดหรือรกั ษาสภาพไว้เพื่อมิให้เสยี เป็นการช่ัวคราวในระหว่างขนสง่ ด้วยการแช่เย็น แช่เย็นจนแข็ง หรือด้วยการจัดทำหรือปรุงแต่งโดยวิธีการอื่น หรือรักษาสภาพไว้เพื่อมิให้ เสียเพอ่ื การขายปลีกหรือขายสง่ ด้วยวิธกี ารแช่เยน็ แชเ่ ยน็ จนแขง็ ทำให้แห้ง บด ทำให้เป็น ชิ้น หรือด้วยวิธีอื่น ข้าวสารหรือผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสีข้าว แต่ไม่รวมถึงไม้ซุง ฟืน หรือ ผลิตภณั ฑ์ท่ไี ด้จากการเลื่อยไม้ หรอื ผลิตภัณฑอ์ าหารท่ีบรรจกุ ระปอ๋ ง ภาชนะ (ข) การขายสัตว์ไม่ว่าจะมีชีวติ หรือไม่มีชวี ิต และในกรณีสัตว์ไม่มีชีวิตไม่วา่ จะเป็นเนื้อ ส่วนต่าง ๆ ของสัตว์ ไข่ น้ำนม และวัตถุพลอยได้จากสัตว์ ทั้งนี้ ที่อยู่ในสภาพ สดหรือรักษาสภาพไว้เพื่อมิให้เสยี เปน็ การช่ัวคราวในระหว่างขนส่งด้วยการแช่เย็น แช่เย็น จนแข็ง หรือด้วยการจัดทำหรือปรุงแต่งโดยวิธีการอื่น หรือรักษาสภาพไว้เพื่อมิให้เสียเพื่อ การขายปลีกหรือขายส่งด้วยวิธีการแช่เย็น แช่เย็นจนแข็ง ทำให้แห้ง บด ทำให้เป็นชิ้น หรอื ด้วยวธิ ีอ่ืน แต่ไม่รวมถึงผลติ ภัณฑอ์ าหารท่ีบรรจุกระป๋อง ภาชนะ หรือหีบห่อที่ทำเป็น อตุ สาหกรรมตามลักษณะและเงอื่ นไขทีอ่ ธิบดีกำหนด

(ค) การขายปยุ๋ (ง) การขายปลาป่น อาหารสตั ว์ (จ) การขายยาหรอื เคมีภณั ฑ์ที่ใชส้ ำหรบั พชื หรือสตั ว์เพือ่ บำรุงรักษาป้องกัน ทำลายหรือกำจดั ศัตรหู รอื โรคของพชื และสัตว์ (ฉ) การขายหนังสอื พิมพ์ นติ ยสาร หรือตำราเรยี น (ช) การให้บริการการศึกษาของสถานศึกษาของทางราชการ สถานศึกษา ตามกฎหมายว่าด้วยสถาบันอุดมศึกษาเอกชน หรือโรงเรียนเอกชนตามกฎหมายว่าด้วย โรงเรยี นเอกชน (ซ) การให้บริการที่เปน็ งานทางศลิ ปะและวัฒนธรรมในสาขา และลักษณะ การประกอบกิจการทอ่ี ธบิ ดีกำหนดโดยอนุมัติรฐั มนตรี (ฌ) การให้บริการการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่าความ หรือ การประกอบวิชาชีพอิสระอื่นตามที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี ทั้งนี้ เฉพาะวิชาชีพ อสิ ระทม่ี ีกฎหมายควบคมุ การประกอบวชิ าชีพอิสระนัน้ (ญ) การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลตามกฎหมายว่าด้วย สถานพยาบาล (ฎ) การให้บริการวิจัย หรือการให้บริการทางวิชาการ ทั้งนี้ ในสาขาและ ลกั ษณะการประกอบกจิ การที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมตั ิรฐั มนตรี (ฏ) การให้บริการห้องสมดุ พิพธิ ภณั ฑ์ สวนสตั ว์ (ฐ) การให้บรกิ ารตามสญั ญาจ้างแรงงาน (ฑ) การใหบ้ ริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น (ฒ) การให้บริการของนกั แสดงสาธารณะ ทงั้ น้ี เฉพาะบรกิ ารในสาขาและ ลักษณะการประกอบกิจการตามที่อธิบดกี ำหนดโดยอนุมตั ริ ัฐมนตรี (ณ) การใหบ้ รกิ ารขนสง่ ในราชอาณาจกั ร (ด) การให้บริการขนส่งระหว่างประเทศซึ่งมิใช่เป็นการขนส่งโดยอากาศ ยานหรือเรอื เดนิ ทะเล (ต) การให้บริการเช่าอสังหาริมทรพั ย์ (ถ) การให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ ไม่รวมถึงบริการทีเ่ ป็นการ พาณิชย์ของราชการส่วนท้องถิ่น หรือเป็นการหารายได้หรือผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็น กิจการสาธารณูปโภคหรอื ไมก่ ต็ าม (ท) การขายสนิ ค้าหรือการใหบ้ รกิ ารของกระทรวง ทบวง กรม ซงึ่ ส่งรายรับ ทง้ั สน้ิ ให้แก่รัฐโดยไมห่ กั รายจ่าย

(ธ) การขายสินค้าหรือการให้บริการเพื่อประโยชน์แก่การศาสนา หรือการสาธารณกศุ ลภายในประเทศซึ่งไม่นำผลกำไรไปจ่ายในทางอ่ืน (น) การขายสินค้าหรือการให้บริการตามที่กำหนดโดยพระราช กฤษฎกี า 2. การนำเขา้ สินค้าดังต่อไปน้ี (ก) สินค้าตาม (1) (ก) ถึง (ฉ) (ข) สินค้าจากต่างประเทศที่นำเข้าไปในเขตปลอดอากร ทั้งนี้ เฉพาะสินค้าทไ่ี ด้รับยกเวน้ อากรขาเขา้ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการนน้ั (ค) สินค้าที่จำแนกประเภทไว้ในภาคว่าด้วยของที่ได้รับยกเว้น อากรตามกฎหมายว่าด้วยพกิ ัดอตั ราศุลกากร (ง) สินค้าซึ่งนำเข้าและอยู่ในอารักขาของศุลกากร แล้วได้ส่งกลับ ออกไปต่างประเทศ โดยได้คนื อากรขาเข้าตามกฎหมายว่าด้วยศลุ กากร (3) การส่งออกซึ่งสินค้าหรือบริการของผู้ประกอบการจดทะเบียนซึ่งต้อง เสียภาษมี ูลคา่ เพิม่ ตามมาตรา 82/16 การยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มสำหรับการประกอบกิจการตามมาตรานี้ อธิบดีจะ เสนอให้คณะกรรมการวินิจฉัยภาษีอากรพิจารณากำหนดลักษณะของกิจการและเงื่อนไข ในการประกอบกิจการที่ได้รับการยกเว้นตามมาตรานี้ก็ได้ และเมื่อคณะกรรมการวินิจฉัย ภาษีอากรได้วินิจฉัยแล้วให้ประกาศคำวินิจฉัยของคณะกรรมการดังกล่าวในราชกิจจา นุเบกษา และหากกิจการนั้นมิได้เป็นไปตามลักษณะและเงื่อนไขที่กำหนด กิจการนั้นจะ ไม่ได้รับยกเวน้ ภาษมี ูลค่าเพม่ิ ตามมาตราน้ี มาตรา 81/1 ผู้ประกอบการซ่ึงประกอบกิจการขายสนิ คา้ หรอื ใหบ้ ริการที่อยู่ ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม และกิจการดังกล่าวมีมูลค่าของฐานภาษีไม่เกินมูลค่าของ ฐานภาษีของกิจการขนาดย่อมตามที่กำหนดโดยพระราชกฤษฎีกา ให้ได้รับยกเว้นไม่ต้อง เสยี ภาษมี ลู ค่าเพม่ิ พระราชกฤษฎีกาตามวรรคหนึ่งจะกำหนดจำนวนมูลค่าของฐานภาษีของ กิจการขนาดย่อมให้แตกต่างกันในกิจการแต่ละประเภทไม่ได้ แต่จำนวนมูลค่าของฐาน ภาษีท่ีกำหนดจะตอ้ งไม่น้อยกวา่ 600,000 บาทต่อปี มาตรา 81/2 กิจการใดได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่มตามส่วนนี้หรือตาม กฎหมายอื่นให้ผู้ประกอบการได้รับยกเว้นการปฏิบัติตามหมวดนี้ แต่อธิบดีจะกำหนดให้ ผปู้ ระกอบการตอ้ งจัดทำรายงานตามส่วน 11 ก็ได้

มาตรา 81/3 ผู้ประกอบการซึ่งประกอบกิจการที่ได้รับยกเว้นภาษีมูลค่าเพิ่ม ดังต่อไปนี้ มีสิทธิแจ้งต่ออธิบดีตามแบบที่อธิบดีกำหนดเพื่อขอจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม และเสียภาษีมูลคา่ เพ่ิมตามหมวดน้ีไดโ้ ดยต้องคำนวณภาษีมลู ค่าเพ่มิ ตามมาตรา 82/3 (1) กจิ การขายสินคา้ ตามท่รี ะบไุ ว้ในมาตรา 81 (1) (ก) ถึง (ฉ) (2) กจิ การขนาดยอ่ มตามมาตรา 81/1 (3) กิจการอืน่ ตามท่ีกำหนดโดยพระราชกฤษฎกี า เมื่อผู้ประกอบการตามวรรคหนึ่งได้จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มตามมาตรา 85/1 (2) แล้ว ผู้ประกอบการดังกล่าวจะเลิกเสียภาษีมลู คา่ เพิ่มได้ต่อเมื่อไดใ้ ชส้ ิทธิขอถอน ทะเบยี นภาษีมลู คา่ เพมิ่ ตามมาตรา 85/10 (3) และอธบิ ดไี ดส้ ่ังถอนทะเบยี นภาษีมูลค่าเพ่ิม แลว้ 5. การจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพ่ิม วธิ ีการจดทะเบยี นภาษมี ูลค่าเพ่มิ 1. แบบคำขอจดทะเบยี นภาษมี ูลค่าเพิม่ แบบคำขอที่ใช้ในการขอจดทะเบยี นภาษีมูลค่าเพมิ่ ได้แก่ แบบ ภ.พ.01 ซึ่ง ในเขตกรุงเทพมหานครขอรับได้ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา(เขต/อำเภอ) หรือ สำนักงานสรรพากรพื้นที่ สำหรับในจังหวัดอื่นขอรับได้ที่สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา (อำเภอ) ทกุ แห่ง 2. เอกสารที่ตอ้ งใชใ้ นการจดทะเบยี นภาษีมูลคา่ เพมิ่ (1) คำขอจดทะเบียนภาษมี ูลคา่ เพ่มิ ตามแบบ ภ.พ.01 จำนวน 3 ฉบับ (2) สำเนาทะเบียนบ้านหรือหลักฐานแสดงการอยู่อาศัยจริง พร้อม ภาพถ่ายสำเนา (3) บัตรประจำตัวประชาชนและบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร พร้อม ภาพถ่ายบัตรดงั กล่าว (4) สัญญาเช่าอาคารอันเป็นที่ตั้งสถานประกอบการ (กรณีเช่า) หรือ หนังสือยินยอมให้ใช้สถานประกอบการ และหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์ เช่น เป็นเจ้าบ้าน, สัญญาซื้อขาย, คำขอหมายเลขบ้าน, ใบโอนกรรมสิทธิ์, สัญญาเช่าช่วง พร้อมสำเนา ทะเบียนบ้านอนั เป็นที่ตัง้ สถานประกอบการและภาพถ่ายเอกสารดังกล่าว (5) หนังสือจัดตั้งห้างหุ้นส่วน พร้อมภาพถ่ายหนังสือดังกล่าว (กรณีเป็น หา้ งหนุ้ ส่วนสามญั หรอื คณะบุคคล). (6) หนังสือรับรองของนายทะเบียนห้างหุ้นส่วน บริษัท พร้อม วัตถุประสงค์ หนังสือบริคณห์สนธิและข้อบังคับ และใบทะเบียนพาณิชย์พร้อมภาพถ่าย หนงั สือดงั กลา่ ว (กรณเี ปน็ นติ ิบคุ คล)

(7) บัตรประจำตัวประชาชนของกรรมการผูจ้ ัดการ หรือหุ้นส่วนผ้จู ัดการ และสำเนาทะเบียนบา้ น พร้อมภาพถ่ายเอกสารดังกลา่ ว (8) แผนที่ซึ่งแสดงที่ตั้งของสถานประกอบการโดยสังเขป และภาพถ่าย สถานประกอบการจำนวน 2 ชุด (9) กรณีมอบอำนาจให้ผู้อื่นทำการแทน ต้องมีหนังสือมอบอำนาจปิด อากรแสตมป์ 10 บาท บัตรประจำตัวประชาชนของผู้มอบอำนาจและผู้รับมอบอำนาจ พรอ้ มภาพถา่ ยบตั รดังกลา่ ว โดยผูร้ ับมอบอำนาจต้องมีอายุ 20 ปีขน้ึ ไป กำหนดเวลาจดทะเบียน 1. ผปู้ ระกอบการต้องยน่ื คำขอจดทะเบยี นภาษีมูลคา่ เพิ่มเมื่อเร่มิ ประกอบกิจการ ขายสินค้าหรือให้บริการ เว้นแต่กรณีที่ผู้ประกอบการมีแผนงานที่สามารถพิสูจน์ได้ว่าได้ เตรียมการเพื่อประกอบกิจการขายสินค้าหรือให้บริการที่อยู่ในบังคับต้องเสีย ภาษีมูลค่าเพิ่มและมีการดำเนินการเพือ่ เตรียมประกอบกิจการอนั เป็นเหตุให้ต้องมกี ารซ้อื สินค้าหรือรับบริการที่อยู่ในบังคับต้องเสียภาษีมูลค่าเพิ่ม เช่น การก่อสร้างโรงงาน การ สร้างอาคารสำนักงานหรือการติดตั้งเครื่องจักร ให้ผู้ประกอบการมีสิทธิยื่นคำขอจด ทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มได้ภายในกำหนด 6 เดือนก่อนวันเริ่มประกอบกิจการขายสินค้า หรอื ใหบ้ รกิ าร 2. ผู้ประกอบการที่มีรายรับเกนิ กว่า 1.8 ล้านบาทต่อปี ต้องย่นื คำขอจดทะเบียน ภาษี-มูลค่าเพิ่มภายใน 30 วันนับแต่วันที่มีมูลค่าของฐานภาษี (รายรับ) เกินกว่า 1.8 ล้าน บาทตอ่ ปี สถานที่จดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่มของผู้ประกอบการให้ ยื่นคำขอจดทะเบยี นภาษีมลู คา่ เพ่มิ ตามแบบ ภ.พ.01 ณ สถานที่ดังตอ่ ไปน้ี 1. กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงาน สรรพากรพื้นที่ หรือ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขาในเขตท้องที่ที่ สถานประกอบการ ตั้งอยู่ 2. กรณีสถานประกอบการตั้งอยู่นอกเขตกรุงเทพมหานคร ให้ยื่น ณ สำนักงาน สรรพากรพื้นที่สาขา(อำเภอ) ในเขตท้องที่ที่สถานประกอบการตั้งอยู่ และกรณีสถาน ประกอบการตั้งในท้องที่อำเภอหรือกิ่งอำเภอตั้งใหม่ที่กรมสรรพากรมิได้จัดอัตรากำลังไว้ ให้ยื่น ณ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา(อำเภอ) ที่เคยควบคุมพื้นท่ีเดมิ ของอำเภอหรอื กง่ิ อำเภอต้ังใหม่นัน้

กรณีสถานประกอบการหลายแหง่ ใหย้ ื่นคำขอจดทะเบยี นได้ท่ี สำนักงานสรรพากร พื้นที่ หรือ สำนักงานสรรพากรพื้นที่สาขา ในท้องที่ที่สถานประกอบการอันเป็นที่ตั้งของ สำนกั งานใหญ่เพยี งแหง่ เดียว 3. กรณีสถานประกอบการที่อยู่ในความดูแลของสำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาด ใหญ่ให้ยื่น ณ สำนักบริหารภาษีธุรกิจขนาดใหญ่ หรือจะยื่นผ่านสำนักงานสรรพากรพื้นที่ หรอื สำนกั งานสรรพากรพ้ืนท่ีสาขาที่สถานประกอบการตั้งอยกู่ ็ได้ หนา้ ท่ีของผ้ปู ระกอบการจดทะเบียนภาษมี ลู ค่าเพ่มิ 1. เรียกเก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจากผู้ซื้อสินค้าหรือผรู้ ับบริการ และออกใบกำกับภาษี เพอ่ื เป็นหลักฐานในการเรียกเกบ็ ภาษมี ลู คา่ เพม่ิ 2. จัดทำรายงานตามทีก่ ฎหมายกำหนด ซ่งึ ไดแ้ ก่ (1) รายงานภาษีซอื้ (2) รายงานภาษขี าย (3) รายงานสินค้าและวตั ถุดิบ 3.ยืน่ แบบแสดงรายการเพ่ือเสยี ภาษตี ามแบบ ภ.พ.30

แบบทดสอบหลงั เรียน คำชแ้ี จง จงเลือกคำตอบท่ถี ูกตอ้ ง 1. ภาษีมลู คา่ เพ่มิ หมายถึงอะไร ก. ภาษที ี่เก็บจากการขายสินค้าและบริการของผู้ผลิตสนิ คา้ ข. เงินตราหรือทรพั ย์ทปี่ ระชาชนตอ้ งนำส่งใหก้ ับรัฐหรอื สถาบนั ทีม่ ีหนา้ ทเี่ ทยี บเท่า กบั รัฐทัง้ บคุ คลธรรมดาและนิตบิ ุคคล ค. ภาษที เ่ี กบ็ จากมูลคา่ ส่วนท่เี พ่ิมขึน้ จากคนทำธรุ กิจขายสินค้าหรือใหบ้ ริการ ประเภทตา่ ง ๆ ง. ถกู ทัง้ ข้อ ก. และ ค. จ.ถกู ทกุ ข้อ 2. คำขอจดทะเบียนภาษีมูลคา่ เพิม่ ใชแ้ บบภ.พ.ตามขอ้ ใด ก. แบบ ภ.พ. 05 ข.แบบ ภ.พ. 04 ค.แบบ ภ.พ. 03 ง.แบบ ภ.พ. 02 จ.แบบ ภ.พ. 01 3. การนำเข้าสนิ ค้า ผูป้ ระกอบการจดทะเบยี นหรอื ผู้นำเขา้ ตอ้ งยน่ื แบบอะไร ก.แบบใบขนสนิ ค้า ข.แบบแสดงรายการภาษี ค.แบบใบขนสนิ คา้ และชำระภาษีมูลค่าเพิ่ม ง.แบบใบทะเบยี นภาษีมูลคา่ เพ่ิม จ.แบบใบอนญุ ญาตขนสนิ ค้า 4.การยกเวน้ ภาษมี ลู ค่าเพ่ิมตามมาตราใด ก.มาตรา 80 ข.มาตรา 81 ค.มาตรา 82 ง.มาตรา 83 จ.มาตรา 84

5.คำขอจดทะเบยี นภาษมี ลู ค่าเพ่มิ ตามแบบ ภ.พ.01ใชก้ ี่ฉบบั ก. 5 ฉบบั ข. 4 ฉบับ ค. 3 ฉบบั ง. 2 ฉบบั จ. 1 ฉบบั 6.ผูป้ ระกอบการตอ้ งมรี ายรบั ไม่เกิน กบี่ าทตอ่ ปี ก. 5.8 ลา้ นบาทตอ่ ปี ข. 4.8 ล้านบาทตอ่ ปี ค. 3.8 ล้านบาทต่อปี ง. 2.8 ล้านบาทตอ่ ปี จ. 1.8 ล้านบาทตอ่ ปี 7.การจดั ทำรายงานตามที่กฎหมายกำหนด มกี ีร่ ายงาน ก. 3 ข. 4 ค. 2 ง. 1 จ. 5 8.VAT ย่อมาจากอะไร ก. Valoe Adred Tax ข. Value Added Tax ค. Velue Added Tex ง. Valtue Adided Tax จ. Vallue Adided Tex 9.อตั ราภาษีมลู คา่ เพ่มิ ลดลงเหลืออตั รารอ้ ยละ 7.0 ตามพระราชกฤษฎกี าฯ ฉบับท่เี ทา่ ใด ก. ฉบบั ท่ี 390 ข. ฉบบั ท่ี 400 ค. ฉบบั ที่ 440 ง. ฉบับที่ 480 จ. ฉบับที่ 420

10.อตั ราภาษีมลู ค่าเพิ่มมีกี่อตั รา ก.1 ข.2 ค.3 ง.4 จ.5 แสกนควิ อารโ์ คด้ เพ่อื ทำแบบทดสอบหลงั เรยี น


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook