Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เรียนรู้เข้าใจวรรณคดีไทยของชาติ

เรียนรู้เข้าใจวรรณคดีไทยของชาติ

Description: เรียนรู้เข้าใจวรรณคดีไทยของชาติ

Search

Read the Text Version

เรียนรู้เข้าใจ วรรณคดไี ทยของชาติ ธตรฐ ตุลาพงษ์พพิ ฒั น์



พระบาทสมเด็จพระมงกฎุ เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงพระราชนพิ นธ์ ในปี พ.ศ. ๒๔๖๖ พระองคท์ รงกลา่ วถงึ ทมี่ าของชอ่ื มทั นาวา่ “กอ่ นไดท้ ราบวา่ ดอกกหุ ลาบเรยี กอยา่ งไรในภาษาสนั สกฤตนนั้ ขา้ พเจา้ ไดน้ กึ ไวว้ า่ จะใหช้ อื่ นางเอกตามนามแหง่ ดอกไม้ แตเ่ มอ่ื ไดท้ ราบแลว้ วา่ ดอกกหุ ลาบ คอื “กพุ ชกา” เลยตอ้ งเปลยี่ นความคดิ เพราะถา้ แมว้ า่ จะใหช้ อื่ นางวา่ “กพุ ชกา” ก็จะกลายเป็ นนางคอ่ มไป ขา้ พเจา้ จงึ คน้ หาดศู พั ทต์ า่ งๆ ทพ่ี อจะใชเ้ ป็ นนามสตรี ตกลงเลอื กเอา “มทั นา” จากศพั ท์ “มทน” ซง่ึ แปลวา่ ความลมุ่ หลงหรอื ความรกั เผอญิ ในขณะทคี่ น้ นน้ั เองก็ไดพ้ บศพั ท์ “มทนพาธา” ซงึ่ โมเนยี ร์ วลิ เลยี มส์ แปลไวว้ า่ “the pain or disquietude of love” “ความเจ็บปวดหรอื เดอื ดรอ้ นแหง่ ความรกั ” ขา้ พเจา้ ไดฉ้ วยเอาทนั ทเี พราะเหมาะกบั ลกั ษณะแหง่ เรอ่ื งทเ่ี ดยี ว เรอ่ื งนจี้ งึ ไดน้ ามวา่ “มทั นะพาธาหรอื ตานานแหง่ ดอกกหุ ลาบ” ดว้ ยประการฉะน.ี้ ...”

ปากเป็ นเอกเลขเป็ นโทโบราณว่า หนังสือตรีมีปัญญาไมเ่ สียหลาย ถงึ ร้มู ากไม่มีปากลาบากกาย มีอบุ ายพดู ไมเ่ ป็นเหน็ ป่ วยการ

ความสมั พนั ธข์ องกระบวนการ สร้างสรรคแ์ ละการอ่านวรรณคดี ศาสตราจารย์เกยี รตคิ ุณ ดร. กุสุมา รักษมณี ดดั แปลงจากแผนภมู ใิ นบทความเร่ือง “ความคิดเร่ืองความเป็ นอืน่ ในการศกึ ษาวรรณคด”ี ของ เจตนา นาควัชระ เพอื่ ความอยู่ รอดของมนุษยศาสตร:์ รวมบทความทางวิชาการ

ความเช่ือ, ค่านิยม สิ่งแวดล้อมของผู้แตง่ ประสบการณข์ องผู้แตง่ การอา่ น การฟัง การคดิ การสอ่ื สาร กระบวนการสร้างสรรค์ ความสามารถในการประพนั ธ์ วรรณคดี การสอื่ สารมคี ุณค่าในฐานะงานศลิ ป์ กระบวนการอ่าน ความสามารถในการอา่ น ประสบการณข์ องผู้อ่าน การอ่าน การฟัง การคดิ การวจิ ารณ์ สง่ิ แวดล้อมของผู้อ่าน ความเชอ่ื , ค่านิยม

วรรณคดี วรรณกรรม วรรณศิลป์

ทมี่ าของคาว่าวรรณคดี ปรากฏครั้งแรกในพระราชกฤษฎกี าตัง้ วรรณคดสี โมสร ลงวันที่ ๒๓ กรกฎาคม ๒๔๕๗ ในรัชสมยั พระบาทสมเดจ็ พระมงกุฎเกล้าเจา้ อยู่หวั

ทม่ี าของคาว่าวรรณคดี วรรณคดเี ป็ นศัพทบ์ ญั ญัตขิ องคาวา่ Literature

Literature เป็ นคาภาษาองั กฤษ มาจากภาษาละตนิ แปลว่า การศกึ ษา ระเบยี บของภาษา ในภาษาอังกฤษจะมคี วามหมายหลายอยา่ ง ดงั นี้ ๑. อาชพี การประพนั ธ์ ๒. งานเขยี นในสมัยใดสมยั หน่ึง ๓. งานประพนั ธท์ ไ่ี ดร้ ับการยกยอ่ งจากนักวจิ ารณ์ และผู้อา่ นท่วั ไป

ทมี่ าของคาว่าวรรณคดี วรรณ + คดี วรรณ แปลว่า หนังสือ คดี แปลว่า ทาง , เร่ือง วรรณคดี แนวทางของหนังสือ

ความหมายของวรรณคดี หนังสือทไ่ี ดร้ ับการยกยอ่ งวา่ แตง่ ดี มคี ุณคา่ เชงิ วรรณศลิ ป์ ถงึ ขนาด เชน่ พระราชพธิ สี ิบสองเดอื น มทั นะพาธา สามกก๊ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน

พระราชกฤษฎกี าวรรณคดสี โมสร มาตรา ๘ กาหนดไว้ดงั นี้ ๑. วรรณคดเี ป็ นหนังสือดี ๒. วรรณคดเี ป็ นหนังสอื แต่งดี

พระราชกฤษฎกี าวรรณคดสี โมสร มาตรา ๘ กาหนดไว้ดงั นี้ ๑. วรรณคดเี ป็ นหนังสอื ดี เป็ นเรอ่ื งทสี่ มควรซงึ่ สาธารณชนจะอา่ นไดโ้ ดยไม่เสยี ประโยชน์ ๑. ไม่เป็ นเรื่องทภุ าษติ ๒. ไม่เป็ นเร่ืองทช่ี กั จงู ความคดิ ผอู้ า่ นไปในทางอนั ไม่เป็ นแก่นสาร ๓. ไม่เป็ นเรอ่ื งชวนใหค้ ดิ วุ่นวายทางการเมอื ง อันจะเป็ นเคร่ืองราคาญแก่รัฐบาล ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั

พระราชกฤษฎกี าวรรณคดีสโมสร มาตรา ๘ กาหนดไว้ดงั นี้ ๒. วรรณคดเี ป็ นหนังสอื แตง่ ดี ใช้วธิ ีเรียบเรียงอยา่ งใดๆกต็ าม แต่ตอ้ งใหเ้ ป็ นภาษาไทยอนั ดี ถูกตอ้ งตามเยยี่ งทใี่ ช้ในโบราณกาลหรือในปรัตยุบนั กาลกไ็ ด้ ไมใ่ ช้ภาษาซง่ึ เลยี นภาษาตา่ งประเทศ ไมใ่ ช้วธิ ีผูกประโยคประธานตามภาษาตา่ งประเทศ

พระราชกฤษฎกี าวรรณคดสี โมสร มาตรา ๗ แบง่ วรรณคดอี อกเป็ น ๕ ประเภท คอื ๑ กวนี ิพนธ์ คอื บทร้อยกรอง เช่น โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ๒ บทละครไทยคอื เร่อื งทแ่ี ตง่ เป็ นกลอนแปดมีกาหนดหน้าพาทย์ ๓ นิทาน คอื เรอื่ งราวอนั ผูกขนึ้ และเป็ นร้อยแก้ว ๔ บทละครพดู คอื เร่อื งราวทเี่ ขยี นขนึ้ สาหรับใชแ้ สดงบนเวที ๕ คาอธิบาย คอื แสดงดว้ ยศลิ ปวทิ ยา หรือกจิ การอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง มพี งศาวดาร เป็ นตน้

วรรณคดเี ป็ นงานประพนั ธท์ ม่ี คี ุณค่า และวรรณศลิ ป์ หรือศลิ ปะทางการประพนั ธอ์ ยา่ งสูง เป็ นศลิ ปกรรมทางภาษา ซง่ึ ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึกนึกคดิ และจนิ ตนาการของมนุษย์ และยงั บนั ทกึ เร่ืองราวของชวี ติ และสังคม ในแต่ละยุคสมยั ไวด้ ว้ ย แต่ตอ้ งใหเ้ ป็ นภาษาไทยอันดี

วรรณคดจี งึ เป็ นทงั้ ศาสตรแ์ ละศลิ ป์ ใหป้ ระโยชนใ์ นแงค่ วามจรรโลงใจและความรู้ มคี ุณค่าทงั้ ทางอารมณแ์ ละปัญญา

วรรณคดใี นบริบทของไทย หมายถงึ หนังสือชัน้ ยอดทแี่ ต่งดี มคี ุณคา่ ประณีต งดงาม เป็ นมรดกทางวรรณศลิ ป์ และภมู ปิ ัญญา ทไ่ี ดร้ ับการยกยอ่ งผ่านกาลเวลามาเน่ินนาน

วรรณกรรม

ความหมายของวรรณกรรม งานหนังสอื งานประพนั ธ์ บทประพนั ธท์ กุ ชนิด ทเี่ ป็ นร้อยแกว้ และร้อยกรอง เชน่ วรรณกรรมสมัยรัตนโกสนิ ทร์ วรรณกรรมของเสถยี รโกเศศ วรรณกรรมฝร่ังเศส วรรณกรรมประเภทสือ่ สารมวลชน

ความหมายของวรรณกรรม ข้อเขยี นท่วั ไป โดยไม่ไดพ้ จิ ารณา ประเมนิ คุณคา่ ว่า เป็ นหนังสือดี และแตง่ ดหี รือไม่

ทมี่ าของวรรณกรรม วรรณกรรม เป็ นศัพทบ์ ญั ญัตขิ องคาว่า Literature Works หรือ General Literature ปรากฏครั้งแรก ในพระราชบญั ญัตคิ ุ้มครองศิลปะและวรรณกรรม พ.ศ. ๒๔๗๕

วรรณกรรม วรรณคดี ใช้ในความหมายแคบ ใช้ในความหมายกว้าง หนังสือทมี่ คี ุณลักษณะพเิ ศษ ใช้กับงานเขยี นร่วมสมัย ใชก้ ับงานเขยี นแนวประเพณี ทงั้ ร้อยแกว้ และร้อยกรอง คอื งานนิพนธท์ ที่ าขนึ้ ทุกชนิด และหมายรวมถงึ บทเพลง บทภาพยนตร์ บทละครโทรทศั น์ สิง่ พมิ พ์ ปาฐกถา เทศนา คาปราศรัย สุนทรพจน์ และโปรแกรมคอมพวิ เตอร์

ทม่ี าของวรรณศลิ ป์ ปรากฏครั้งแรก ในพระราชบญั ญัตริ าชบณั ฑติ ยสถาน พุทธศักราช ๒๔๖๕ แปลว่า หนังสอื ทมี่ ศี ลิ ป์ หรือศลิ ปะในวรรณคดี หรือวรรณกรรม

ทม่ี าของวรรณศลิ ป์ ตรงกบั คาในภาษาอังกฤษ The Art of Literature

ความหมายของวรรณศลิ ป์ ๑. ศิลปะในการประพนั ธห์ นังสอื เชน่ ลลิ ติ พระลอเป็ นวรรณคดี ทม่ี ีวรรณศิลป์ สงู ส่ง ๒. ศิลปะทางวรรณกรรม เช่น นักวรรณศิลป์ ; ๓. วรรณกรรมทถ่ี งึ ข้ันเป็ นวรรณคด,ี ๔. หนังสอื ทไ่ี ดร้ ับการยกยอ่ งวา่ แตง่ ดี

งานประพนั ธท์ ม่ี คี ุณสมบัตทิ างวรรณศลิ ป์ ยอ่ มได้รับการยกย่องว่าเป็ นวรรณคดี หลกั วรรณศิลป์ จงึ เป็ นหลัก ทใี่ ช้ในการประเมนิ คุณค่าวรรณคดี

สรุปเรื่องของวรรณคดี ๑. ลกั ษณะของวรรณกรรมหรืองานเขียน ทยี่ กยอ่ งกันว่าดี ตดอ้ ้างมนี ต้องมดคี ้าุณนคา่ สารเะนคือ้ วหามารู้ ทางรวูปรรแณบศบิลป์

สรุปเรื่องของวรรณคดี ๒. วรรณคดเี ป็ นคา ทเ่ี กดิ ขนึ้ ในพระราชกฤษฎกี า ตงั้ วรรณคดสี โมสร ในสมยั รัชกาลที่ ๖ เพอื่ ประเมนิ ค่าวรรณกรรม

สรุปเรื่องของวรรณคดี ๓. คุณสมบตั ขิ องงานเขียนทยี่ กย่องว่าเป็ น “ วรรณคดี ” ๑. เขยี นดี ๔. ใชภ้ าษาไพเราะ ๒. อ่านแล้วเกดิ อารมณส์ ะเทอื นใจ ๕. เหมาะใหป้ ระชาชนไดร้ ับรู้ ๓. มคี วามคดิ เป็ นแบบแผน ๖. ยกระดบั จติ ใจใหส้ ูงขนึ้ รู้ว่าควรหรอื ไม่ควร

กรรม เหตุการณ์ สอน เลา่ ความ เร่ืองราว ปรุง วรรณกรรม ตกแตง่ วรรณศิลป์ สรร วรรณคดี เสพ อรรถ-รส

สาระการเรียนรทู้ ี่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม มาตรฐาน ท ๕.๑ เขา้ ใจและแสดงความคิดเหน็ วิจารณ์วรรณคดีและวรรณกรรมไทย อยา่ งเหน็ คณุ ค่า และนามาประยกุ ตใ์ ช้ในชีวิตจริง

การวิจกั ษ์วรรณคดี การเกดิ ความเข้าใจ จนตระหนักในคุณคา่ ของวรรณคดี วา่ เป็ นงานศลิ ปะ ทาใหเ้ กิดความหวงแหน อยากจะรักษาไว้ ใหด้ ารงเป็ นสมบตั ขิ องชาตติ ่อไป

การวิจารณ์วรรณคดี การแสดงความคดิ เหน็ เกยี่ วกบั วรรณคดี ในระดบั ตน้ ๆเป็ นการบอกกล่าวความคดิ เหน็ ส่วนตัวว่า ชอบหรือไม่ชอบเร่ืองทไ่ี ด้อ่านนั้นอยา่ งไร อาจจะตชิ มไปด้วยวา่ ดหี รือไม่ดี ทช่ี อบหรือไมช่ อบและทวี่ ่าดหี รือไมด่ นี ั้น เพราะเหตุใด

ความสาคญั ของวรรณคดี  งานศิลปะ (กล่อมเกลาจติ ใจ, บง่ บอกรสนิยมสุนทรีย์ ฯลฯ)  วัฒนธรรม (บง่ บอกวธิ ีคดิ , ความเชอื่ , ความเป็ นอยู่ ฯลฯ)  สมบตั ชิ าติ (สร้างความภมู ใิ จในอจั ฉริยภาพของบรรพบุรุษ)  คุณธรรม (ปลูกฝังความคดิ ทด่ี งี าม, ความเขา้ ใจความ แตกตา่ ง, มคี วามเป็ นมนุษย)์

ภาพวรรณคดีนี้มีเรือ่ งควรรู้ ธตรฐ ตุลาพงษพ์ พิ ัฒน์

พิจารณาภาพต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ๑.บอกช่ือวรรณคดี ๒.บอกช่ือตวั ละคร ๓.บอกชือ่ เหตุการณ์

พิจารณาภาพต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ช่ือ ที่ วรรณคด๑ี .บอตกวั ลชะคื่อรวรรณเหตคกุ ดารีณ์ ๑ ๒ ๒.บอกช่อื ตวั ละคร ๓ ๓.บอกชือ่ เหตุการณ์ - ๑๐



















๑๐

พิจารณาภาพต่อไปนี้แล้วตอบคาถาม ๑.บอกช่ือวรรณคดี ๒.บอกช่ือตวั ละคร ๓.บอกชือ่ เหตุการณ์