Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑

การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑

Description: การสร้างการเรียนรู้สู่ศตวรรษที่ ๒๑

Search

Read the Text Version

การสรา งการเรียนรูสูศตวรรษที่ ๒๑ ศาสตราจารย นายแพทยวจิ ารณ พานชิ

คํ า นิ ย ม ถาโลกนไี้ มม โี รงเรียน คนเราจะไดเรียนรูเพอ่ื พัฒนาชวี ิตใหอ ยรู อด อยูดหี รอื ไม คําตอบคือ ได ต้ังแตเกิดจนเติบโต เราเรียนรูจากการสัมผัสและสัมพันธ กับพอแมพี่นอง เรียนรูจากธรรมชาติ ส่ิงแวดลอม จากการใชชีวิต แตละวันเปนบทเรียน ถาทาํ อะไร ทําเม่อื ใด ทาํ อยางไร กบั ใครแลวมี ความสุข กท็ ําตอไป ถาลมเหลวมีความทุกขก็ไมทาํ อีก ถา เชน นนั้ เหตใุ ด ทาํ ไม เพราะอะไร พอ แมจ งึ ตอ งเหนด็ เหนอื่ ย หาเงินเปนทนุ สง ลกู ไปโรงเรียน คําตอบธรรมดาๆ คือ เราสงลูกไปโรงเรียนเพราะความเช่ือ และความเชอ่ื มน่ั วา ทโ่ี รงเรยี นลกู รกั จะไดร บั การศกึ ษาเพอื่ พฒั นาชวี ติ อยา งมหี ลกั การ มรี ะบบการจดั การเรยี นรู มกี ารจดั สง่ิ แวดลอ ม มเี พอื่ น และทสี่ าํ คญั คอื มคี รทู สี่ ามารถจดั กระบวนการเรยี นการสอนใหเ ตบิ โต ขึ้นสมวยั และมคี ุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงค ยง่ิ กวา นน้ั ยงั มกี ฎหมายบงั คบั ใหต อ งสง ลกู ไปโรงเรยี นอยา งนอ ย ๙ ป ดวยเหตุน้ี ลกู จงึ ใชช ีวติ แตละวนั นานแสนนานในโรงเรียน ๐2 การสรา งการเรยี นรสู ศู ตวรรษท่ี ๒๑

คํ า นิ ย ม ๐3 ยังมีคําถาม - คําตอบอีกมากเก่ียวกับโรงเรียน ภารกิจของ โรงเรยี น บทบาทของครู และการจดั การศกึ ษาจนกลายเปน การวพิ ากษ วิจารณกันวาปญหาเศรษฐกิจ การเมือง สังคมความเปนอยูของคน ในสังคมไทยปจจุบันนี้ ตนเหตุใหญเปนเพราะความลมเหลวของการ จัดการศกึ ษาท้ังสิ้น ประหน่งึ วา การศึกษาคอื ยาสารพดั ประโยชน ผูที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษาจึงตองตั้งหลัก ตั้งสติ ต้ังใจ คนหาวิธีการและลงมือทําเพ่ือสรางกระบวนการเรียนรูที่พัฒนาชีวิต ของผูเ รียนใหมคี ุณภาพ หนงั สอื “การสรา งการเรยี นรสู ศู ตวรรษที่๒๑”นเ้ี ปน คาํ ตอบหนงึ่ ทมี่ ใิ ชค าํ ตอบเดยี วในการสรา งคณุ ภาพของกระบวนการเรยี นการสอน ผูเขียนเปนแพทย เปนครูแพทย นักวิจัย นักอานและนักเลาเร่ือง จากการที่ทานเปนนักจัดการความรู ทานจึงสามารถเก็บสาระท่ีมี ความสาํ คัญทางการศึกษา เขยี นบนั ทึกลงสอ่ื เผยแพรและแลกเปล่ียน เรยี นรกู บั ครอู าจารยท วั่ ประเทศมาอยา งตอ เนอ่ื ง หนงั สอื เลม นอ้ี ธบิ าย วาทักษะที่จําเปนสําหรับคนไทยในศตวรรษท่ี ๒๑ น้ันคืออะไรบาง ครตู อ งจดั การเรยี นการสอนอยา งไรศษิ ยจ งึ จะเรยี นรเู ตม็ ตามศกั ยภาพ การสรางเสริมแรงบันดาลใจใฝรูใฝเรียน นอกจากนี้ผูเขียนยังไดเปด โลกกวางของการจัดกระบวนการเรียนรู โดยยกตัวอยาง “ครูสอนดี และการสอนดี” ในตางประเทศนําเสนออยางงายๆ นาสนใจ เขียน

ดวยขอความส้ันๆ กระชับไดสาระชัดเจน จัดไดวาหนังสือเลมนี้ เปนอารัมภกถาที่เกริ่นนําเขาสูเลมท่ี ๒ ชื่อวา “การเรียนรูเกิดข้ึน อยางไร” การอานหนังสือเลมนี้จะมีประโยชนมากถาผูอานไดมากกวา การทองคาถา ทักษะ 3Rs + 8Cs + 2Ls และ Learning by doing ถาผูอานเกิดแรงบันดาลใจวาตัวฉันสามารถเปล่ียน “แนวคิดติดยึด (mindset)” ทเ่ี คยฝง แนน อยู แลว ลงมอื ทดลองทาํ ในสถานการณจ รงิ ของตน มคี ําหลายคาํ ใน ๘ บทของหนงั สอื เลมน้ี ทีค่ รสู ามารถเลอื ก หยบิ มาออกแบบกระบวนการการเรยี นการสอนใหเ หมาะสม ตวั อยา ง เชน ทกั ษะชวี ติ และการทาํ งาน การรเู ทา ทนั สอ่ื การฝก วนิ ยั ในตนเอง การตั้งคําถามและการคนหาคําตอบ กลับทางหองเรียน (เรียนวิชา ที่บาน - ทําการบานท่ีโรงเรียน) สอนนอยเรียนมาก การพัฒนาดาน นอกตนและในตน ฯลฯ เมอื่ ครูลงมอื ปฏิบตั ิจะพบอปุ สรรค เมือ่ พบ อปุ สรรคยอ มหาทางแกไข และหากัลยาณมิตร คิด ทํา แลกเปล่ียน เรียนรูจ นกวา งานจะสาํ เรจ็ ไดเหน็ ผลสมั ฤทธิท์ ่ีเกิดขน้ึ กบั ลูกศิษยข อง เรา งานครูจึงไมใชงานท่ีซ้ําซากจําเจ มีความใหมและสดอยูเสมอ น่คี ือรสชาติของชวี ติ ไมใ ชเ หรอ ๐4 การสรา งการเรียนรสู ศู ตวรรษที่ ๒๑

คํ า นิ ย ม ๐5 ดิฉันโชคดีมากท่ีไดมีโอกาสรวมทํางานกับศาสตราจารย นายแพทยว จิ ารณ พานชิ มานาน ไดเ รยี นรวู ธิ คี ดิ การบกุ เบกิ งานใหม ทใ่ี หญแ ละยาก และการนาํ เสนอสาระทางวชิ าการทชี่ ดั เจน งานเขยี น ท่ีเก่ียวของกับการศึกษานั้นมีหลายเลม ที่ไดรับความนิยมมากคือ “ครเู พอ่ื ศษิ ย” และอกี ๒ เลม ทจ่ี ะเผยแพรใ นครง้ั นก้ี ย็ อ มเปน ทอี่ า งองิ ถึงเชนกัน ดิฉันหวังวาคุณหมอวิจารณจะมีเร่ืองดีๆ ทางการศึกษา มาเลา สูก ันฟงอกี หลายเร่ือง เพอื่ การเรียนรรู ว มกันในโอกาสตอไป ขอบคุณคุณปยาภรณ มัณฑะจิตร ที่ชวยใหดิฉันมีความสุข กับการอานรวดเดียวจบและเขียนคํานิยมหนังสือเลมน้ี ดิฉันคิดวา ผอู านคงอานอยางสบายใจเชน กัน คนเราถา ไดเ รยี นรูอยางรืน่ เรงิ ชีวิตก็นาจะราบรน่ื จรงิ หรือไม ศาสตราจารยก ิตติคณุ สมุ น อมรววิ ฒั น

คํ า นํ า หนงั สือ “การสรา งการเรยี นรูสศู ตวรรษที่ ๒๑” นี้ เรียบเรยี ง และปรับปรุงจากการถอดความบรรยายพิเศษ โดยศาสตราจารย นายแพทยวิจารณ พานิช ในงานประชุมเชิงปฏิบัติการขับเคลื่อน ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสสู ถานศกึ ษาภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื เมื่อวันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๕๖ ทีม่ หาวทิ ยาลยั มหาสารคาม มลู นธิ สิ ยามกมั มาจลเหน็ วา การบรรยายครง้ั นจ้ี ะเปน ประโยชน สําหรับครู ไมเฉพาะครูในโครงการเสริมศักยภาพการขับเคลื่อน เศรษฐกิจพอเพียงสูสถานศึกษาเทานั้น แตจะเปนประโยชนตอครู ทุกทานที่มีหัวใจ “เพ่ือศิษย” เพราะทานศาสตราจารย นายแพทย วิจารณ พานิช ช้ีใหเห็นวาเด็กตองมีทักษะอยางไรเพ่ือปรับตัวสู ศตวรรษท่ี ๒๑ ซ่ึงเปน ชว งเวลาที่มีการเปลีย่ นแปลงมากมาย ทําให คนรุนใหมตองปรับตัว ตองมีทักษะท่ีตางจากคนรุนกอน การจัด การศึกษาจึงตองปรับตัว และส่ิงสําคัญท่ีสุด คือ ครูเปนผูมีบทบาท ในการเปล่ียนแปลงนี้อยางมาก นอกจากน้ี ทานไดใหแนวทางวา การเปลี่ยนการเรียนการสอนในหองเรียนจะตองปรับเปล่ียนอยางไร ท้ังวิธีการจัดกระบวนการเรียนรูและระบบความสัมพันธระหวาง ครูกับศิษย ครูกับครู ทั้งน้ี ผูท่ีจะสามารถเปล่ียนการเรียนการสอน ไดตองมุงสูหัวใจการเรียนรู คือ เรียนรูจากการลงมือปฏิบัติ ท้ังครู และศิษย ๐6 การสรางการเรียนรสู ูศ ตวรรษที่ ๒๑

คํ า นํ า ๐7 การอานหนังสือเลมน้ีใหเขาใจไดงาย ครูควรจะอานหนังสือ ประกอบ ดังน้ี หนังสือ “ทักษะแหงอนาคตใหม การศึกษาเพื่อ ศตวรรษที่ ๒๑” ซึ่งแปลมาจาก “21st Century Skills” หนังสือ “ครูเพ่ือศิษย สรางหองเรียนกลับทาง” หนังสือ “ครูนอกกรอบกับ หอ งเรยี นนอกแบบ” แปลจากหนงั สอื “Teach Like Your Hair’s on Fire” ของครูเรฟ เอสควิธ และหนังสือ “การเรียนรูเกิดขึ้นอยา งไร” ท่ีทานศาสตราจารย นายแพทยวิจารณ พานิช เขียนและแสดง ขอคิดเห็นจากการอานหนังสือ “How Learning Works” ของ Herbert A. Simon มูลนิธิสยามกัมมาจลหวังเปนอยางย่ิงวา หนังสือเลมน้ีจะ เปนสวนหนึ่งในการสนับสนุนใหครูไดพัฒนางานของตนเองใหบรรลุ เปาหมายของการศึกษาคือ ศิษยเปนคนดี คนเกง สามารถต้งั รบั กบั การเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑ และสามารถพฒั นางานของตนได อยางตอเนื่อง อยางที่ทานศาสตราจารย นายแพทยวิจารณ พานิช ไดกลาวไววา ส่ิงท่ีทานพูดเปนทฤษฎี ครูตองเปนผูไปสรางความรู จากการปฏบิ ตั เิ อง และนาํ ไปแลกเปลยี่ นเรยี นรกู บั เพอื่ นครเู ปน ชมุ ชน เรียนรูค รูเพื่อศษิ ย (PLC : Professional Learning Community) เพื่อสรา งการเรยี นรรู ว มกนั มลู นธิ สิ ยามกมั มาจล



ส า ร บั ญ คํานิยม ๐๒ ๐๖ คํานํา ๑๑ บทที่ ๑ ๒๗ การเรียนรูสูศ ตวรรษท่ี ๒๑ ๓๕ บทท่ี ๒ ๔๑ เรื่องทีค่ รูตองเขาใจ ๔๕ บทท่ี ๓ ๕๑ การทาํ โครงงาน....ฝกผูเ รียนใหเอาความรูมาใช ๕๙ บทที่ ๔ ๖๕ ๕ คาํ ถามหลักในการออกแบบการเรียนรู บทท่ี ๕ ครใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ตอ ง “กลับทางหอ งเรียน” บทท่ี ๖ “ครฝู ก ” บทบาทใหมของครู บทท่ี ๗ เปล่ยี นวธิ ีคดิ ...ปรบั วิธีสอน บทที่ ๘ ทักษะของครใู นศตวรรษท่ี ๒๑

“ เรียนใหไดทักษะเพื่อนาํ ไปใช โดยเฉพาะทกั ษะในการสรา งแรงบันดาลใจ และทักษะในการเรียนรู อานออกเขยี นได ไมพอ ตองกลอ มเกลาฝกฝนสาํ นึกความเปนคนดี เปน มนุษยท่ีแท ” 10 การสรา งการเรียนรูสศู ตวรรษที่ ๒๑

การเรยี นรสู ศู ตวรรษท่ี ๒๑ 11 บทที่ ๑ การเรียนรูส ศู ตวรรษที่ ๒๑ ผ มมานงั่ ฟง ในทา ยๆ ของชว งทแ่ี ลว ดว ยความชน่ื ใจทไ่ี ดเ หน็ ความเอาจรงิ เอาจงั ของทา นผบู รหิ ารและครู และเกดิ ครู แกนนําท่ีลงมือทําจริงๆ และมีประสบการณตรงมาแลกเปล่ียน เรียนรใู นเวทนี ้ี สิ่งท่ีสําคัญที่พวกเราคงทราบกันทุกคนแลววาการ ศึกษาไทยจะดํารงสภาพเหมือนอยางท่ีเปนอยูปจจุบันนี้ไมได ลูกหลานเราจะไมทันโลก จะมีชีวิตที่ดีไมได เพราะฉะน้ัน การศกึ ษาจะตอ งเปลย่ี น และทา นทอ่ี ยใู นนคี้ อื แกนนาํ คอื ผทู จ่ี ะ มาชว ยกันลงมือทาํ จะนําทฤษฎีวธิ คี ดิ ท้ังหลายมาลงมือทาํ และ ดูวาไดผลอยางไร แลวมาแลกเปล่ียนเรียนรูกัน นี่คือวิธีการท่ีดี ทีส่ ดุ ที่จะสรา งคุณประโยชน สรา งการเปลย่ี นแปลงใหแกระบบ การศกึ ษาของบา นเมอื งเรา ผมขอแสดงความชน่ื ชมทา นทง้ั หลาย ไว ณ ทน่ี ้ี

เรื่องที่ขอใหผมมาพูดก็คือ “บทบาทครูกับการเรียนรูแบบใหม” คือการเรียนรูในศตวรรษท่ี ๒๑ ซึ่งผมไดเรียนแนวความคิดไปแลววามัน จะเหมือนอยางท่ีเราคุนเคยไมได มันจะเหมือนอยางที่เราเคยเรียนมาไม ได นี่คือหลัก มันจะตองเปล่ียนไปเพื่อใหเหมาะสมกับสภาพของสังคม ของโลก ท่ีเปลี่ยนแปลงไป และท่ีสําคัญท่ีสุด เหมาะสมกับลูกศิษยของ เราซ่งึ ไมเ หมือนสมัยเราเปนเดก็ เขามีทั้งจุดท่ดี กี วา สมัยเราเดก็ ๆ และก็มี ขอที่เขาดอยกวา เรา นคี่ อื ความเปนจริง ส่ิงท่เี รียกวา การเรยี นรูในศตวรรษที่ ๒๑ คอื อะไร ผมเปน นักอา น หนังสือแลวไดรับเชิญไปพูดท่ีน่ันที่นี่ โดยไมรูจริง เพราะหลักการเรียนรู บอกวา “รูจริงตองมาจากการลงมือทํา ลงมือปฏิบัติ” ทานทั้งหลาย เปนผูปฏบิ ตั ิจึงควรจะรูจ รงิ ผมไมไ ดป ฏิบตั ิ จงึ ไมร จู รงิ โลกกเ็ ปนอยา งน้ี คนรจู รงิ ไมไดพูด คนไมรูจ ริงพูดจากทฤษฎี เพราะฉะนั้นฟงหไู วห ูนะครบั อยา เพิ่งเชอ่ื ผมตีความวาการเรียนรูสมัยใหมตองปรับจากเดิม เดิมเราจะเนน การเรียนความรูจากชุดความรูที่ชัดเจนพิสูจนไดเปนหลัก ปจจุบันน้ี จะไมใช การเรียนรูจะตองเลยจากความรูชุดน้ันไปสูอีกชุดหนึ่ง ก็คือ ความรูท่ีไมชัดเจน อาจจะไมคอยแมนยําและมีความคลุมเครือเยอะ ตองไปตรงน้ันใหได การศึกษาไมวาประเทศใดตองกาวจากที่เรียกวาส่ิง ท่ีเปนทฤษฎีไปสูการปฏิบัติ ความรูท่ีอยูในการปฏิบัติน้ันเปนความรู ท่ีไมชัดเจนแตปฏิบัติได ทําแลวไดผลหรือบางทีไมไดผล แตเกิดการ เรยี นรู ตรงนคี้ อื จดุ ทส่ี าํ คญั ทส่ี ดุ เพราะฉะนน้ั การเรยี นสมยั ใหมต อ งไมใ ช แคเพ่ือใหไดความรูแตตองไดทักษะหรือ Skills เปน 21st Century Skills เปน ทกั ษะทซ่ี บั ซอ นมาก เพราะฉะนนั้ การเรยี นสมยั ใหม มเี ปา หมาย ท่ีเด็ก ไดทักษะที่ซับซอนชุดหน่ึง เนนคําวา “ซับซอน” ชุดหนึ่ง เพื่อ 12 การสรา งการเรียนรูสศู ตวรรษที่ ๒๑

การเรยี นรสู ศู ตวรรษที่ ๒๑ 13 ใหเขาไปมีชีวิตอยูในโลกท่ีตอไปจะเปลี่ยนไปอยางไรไมรู เราไมมีวันรู เลยวาโลกตอไปขางหนาจะเปล่ียน อยางผมไมเคยนึกเลยวาในท่ีสุดแลว หอ งประชุมจะเปนอยา งนี้ การนําเสนอเร่ืองตางๆ จะเปนอยางน้ี เราจะ มี Power Point มี Multimedia ก็ไมเ คยคิด เราไมเคยคิดวาหองทํางาน จะเปน อยา งทเ่ี ราเหน็ นี่คอื โลกทไี่ มช ัดเจน ไมแนนอน ตอไปขางหนาเรา กเ็ ดาไมอ อก แตล กู ศษิ ยเ ราจะตอ งไปมชี วี ติ ทเี่ ปลย่ี นแปลง และไมแ นน อน เชนนี้ได นี่คือหัวใจ เพราะฉะนั้นเขาตองมีทักษะที่ซับซอนชุดหน่ึง และ ถา ถามผมวา ทกั ษะในชวี ติ อะไรสาํ คญั ทส่ี ดุ คาํ ตอบของผมซง่ึ อาจจะผดิ คอื แรงบันดาลใจทจี่ ะเรียนรู ทีจ่ ะสรางเนอ้ื สรา งตัว ท่ีจะทาํ คุณประโยชน นี่คือหัวใจสําคัญท่ีสุดของการเรียนรู นั่นคือทักษะอยางหน่ึง ทักษะของ การมีแรงบันดาลใจในตนเอง และถาจะใหดี ก็คือกระตุนแรงบันดาลใจ คนอ่นื ท่อี ยโู ดยรอบ กจ็ ะทําใหเกดิ การเปลี่ยนแปลง “การอานออกเขียนได” ท่ีเรียกวา Literacy แหงศตวรรษ ที่ ๒๑ หมายความวา คําวา “อานออกเขียนได” หรือที่ภาษาอังกฤษ เรียกวา Literacy ท่ีเราคุนเคยนไี้ มพอ ตองเลยไปกวาน้นั คือตองมีทกั ษะ แหงศตวรรษที่ ๒๑ ทีอ่ ยากจะเนน ย้าํ คอื ทกั ษะแรงบันดาลใจ ทกั ษะ การเรียนรู (Learning Skills) และคุณสมบัติความเปนมนุษย ซ่ึง เวทีกอนหนานี้ทานก็พูดวาความเปนคนดี มีนํ้าใจ สําคัญกวาสาระวิชา พดู อยางนี้ไมไ ดแ ปลวา สาระวชิ าไมส ําคญั แตเ ราตอ งเรยี นใหไ ดส าระวชิ า และได ๓ ตวั น้ี ความเปน มนษุ ย ทกั ษะการเรยี นรู และทกั ษะแรงบนั ดาลใจ ใหได เราตองชวยลูกศิษยเราใหไดส่ิงเหลานี้ ปจจุบันนี้จุดออนของการ ศึกษาก็คือไมคอยไดทักษะที่สําคัญตอชีวิต ไดแควิชา เพื่อเอาไปตอบ ขอ สอบ ผลเพียงแคน ้นั ไมพอ ถา เรายังดํารงสภาพอยางนน้ั อยู บานเมอื ง เราจะลําบากมาก

ทักษะ ีช ิวตและการ ํท ทกั ษะการเรยี นรูและนวัตกรรมทกั ษะอื่ดแา ลนะสเทาครสโนนโเลทยศี ิวชาแกน แ างาน สรรษที่ ๒๑ ละแนวคดิ สาํ คัญในศตว มาตรฐานและการประเมินผล หลกั สตู รและการสอน การพฒั นาครู สภาพแวดลอมการเรียนรู กรอบความคิดเพื่อการเรียนรู ในศตวรรษที่ ๒๑ โดยภาคเี พอื่ ทกั ษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ ท่ีบอกวาตองไดทักษะศตวรรษท่ี ๒๑ หมายความวา การเรียนรู เพื่อใหไดวิชาแกนและแนวคิดสําคัญในศตวรรษท่ี ๒๑ (สีเขียวในรูป) ไมเพยี งพอ คือตองใหไดท ้งั สาระวชิ า และไดท ักษะ ๓ กลมุ คอื ทักษะ ชีวิตและการทํางาน ทักษะการเรียนรูและนวัตกรรม และทักษะดาน สารสนเทศ สื่อและเทคโนโลยี ที่บอกวาตองเรียนใหไดทักษะแปลวา อะไร แปลวาการเรียนตองเปนการฝก การฝกแปลวาอะไร คือลงมือทํา สัจธรรมของการเรียนรูสมัยใหมก็คือวาคนเราจะเรียนไดตองลงมือทํา 14 การสรางการเรียนรสู ูศ ตวรรษท่ี ๒๑

การเรยี นรูสศู ตวรรษท่ี ๒๑ 15 ดวยตนเองเทาน้ัน เพราะฉะน้ันในการเรียนสาระวิชานี้แหละเปนการ ฝก ลงมอื ทาํ Learning by Doing and Thinking ดวย เพอื่ ที่จะใหเ กดิ ทักษะ ๓ ดาน คือทักษะชีวิตและการทํางาน ทักษะการเรียนรูและ นวัตกรรม และทักษะดานสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี ลูกศิษยของทานพอเร่ิมเขา ป.๖ ม.๑ ม.๒ เร่ิมโตเปนวัยรุน เร่ิม มีความเปนตัวของตัวเองมากขึ้น เขาเสียคนไปตอหนาตอตาเรา น่ันละ แสดงใหเห็นวาทักษะชีวิตเขาไมดี เขาไมไดรับการฝกทักษะชีวิต ให เอาชนะชีวิตตอนวัยรุนได พวกเราเคยเปนวัยรุนทุกคน เรารูวาชีวิตตอน เปนวัยรุนยากลําบากในเรื่องไหน อยางไร แตวงการศึกษาเอาใจใสนอย นค่ี อื ตัวอยา งความสาํ คัญของทกั ษะชวี ติ การเรียนรูสมัยใหมตั้งแตอนุบาลหรือกอนอนุบาลไปจนถึงจบ ปริญญาเอก จนแก ตองเรียนใหไดที่เรียกวา Transformative Learning แปลวาตองเรียนใหไดองคประกอบสวนที่เปนผูนําการ เปลี่ยนแปลง มีทักษะผูนํา ภาวะผูนํา และหมายถึงวาเปนผูท่ีจะเขาไป รวมกันสรางการเปลี่ยนแปลง (โดยตองเปลี่ยนตัวเองกอน) เพราะโลก สมัยใหมทุกอยา งเปล่ยี นตลอดเวลา เดก็ ตอ งมีชวี ติ อีก ๕๐ - ๖๐ - ๗๐ ป โลกมันจะเปล่ียนไปอยางนึกไมถึงเลยวาจะเปล่ียนไปอยางไร เขาตอง เปนสวนหน่ึงของการเปลี่ยนแปลง เขาตองเปนผูหน่ึงที่มีสวนรวมสราง การเปล่ยี นแปลง หากเขาไมท าํ อยา งนน้ั เขาจะถกู เปลี่ยนแปลง ชีวติ เขา จะยากลําบากมาก เพราะเขาจะเปนผูถูกกระทํา น่ีคือหัวใจของทักษะ การเรยี นรแู ละการสรางนวัตกรรม สว นทกั ษะทางดา นสารสนเทศ สอื่ และเทคโนโลยี ตอนนจี้ ะเหน็ วา ICT สําคัญและทักษะทางดานส่ือ เราตองรูวาส่ือในปจจุบันนี้ท่ีดีมีเยอะ ท่ีหลอกลวงก็เยอะ ก่ึงดีกึ่งช่ัวก็มีเยอะ เปนมายา ในสังคมน้ีเต็มไปดวย มายา เด็กตองมที ักษะความเขาใจขอจาํ กดั ของส่ือได

ทักษะแหงศตวรรษท่ี ๒๑ ตามรูปสามารถแจกแจงออกไดเปน 3Rs + 8Cs และผมเพมิ่ + 2Ls ดว ย คือ Learning กบั Leadership 3Rs + 8Cs + 2Ls • Reading, ‘Riting, ‘Rithmetics + 21st Century Themes • Critical Thinking & Problem Solving (ทกั ษะดานการคดิ อยา งมวี จิ ารณญาณและทกั ษะในการแกป ญ หา) • Creativity & Innovation (ทกั ษะดา นการสรา งสรรค และนวตั กรรม) • Collaboration, Teamwork & Leadership (ทกั ษะดานความรวมมือ การทาํ งานเปนทมี และภาวะผนู ํา) • Cross-cultural Understanding (ทักษะดา นความเขา ใจตา งวฒั นธรรม ตางกระบวนทัศน) • Communication, Information & Media Literacy (2-3 ภาษา) (ทักษะดานการสื่อสารสนเทศ และรเู ทาทนั สื่อ) • Computing & Media Literacy (ทกั ษะดา นคอมพิวเตอร และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสอ่ื สาร) • Career & Learning Self-reliance (ทกั ษะอาชีพ และทักษะการเรยี นร)ู • Change (ทักษะการเปลย่ี นแปลง) Learning Skills (ทกั ษะการเรยี นร)ู Leadership (ภาวะผนู ํา) 16 การสรา งการเรยี นรสู ศู ตวรรษที่ ๒๑

การเรียนรูส ูศ ตวรรษท่ี ๒๑ 17 Learning Skills ตอ งมี ๓ องคประกอบ (๑) Learning คือเรียนสิง่ ใหม (๒) Delearning หรือ Unlearning กค็ อื เลิกเชอ่ื ของเกา เพราะ มนั ผิดไปแลว และ (๓) Relearning คือเรียนส่ิงใหม คือตองเปล่ียนชุดความรูเปน โลกสมัยใหมเพราะความรูมันเกิดขึ้นใหมมากมาย และหลายสวนมันผิด หรอื มนั ไมดแี ลว มีของใหมทดี่ กี วา เพราะฉะนั้น Learning Skills ตองประกอบดวย ๓ สวนน้ี ในสไลดดา นซา ยมือ มี 3Rs + 8Cs + 2Ls ผมไดก ลา วถึง 2Ls ไป แลว สําหรบั 3Rs คือ Reading, (W) Riting, (A) Rithmetics ซง่ึ ก็คือ อานออก เขยี นได คิดเลขเปน ตามทีพ่ ดู กนั ท่ัวไป แตก ารเรียนรูส มยั ใหม ตอ งตีความใหม อานออกเทา นนั้ ไมเพียงพอ ตองใหเ กดิ นิสยั รกั การอาน อานแลว เกดิ สนุ ทรยี ะ เกดิ ความสขุ จบั ใจความเปน มที กั ษะในการอา นหลายๆแบบ เขยี นไดก ไ็ มพ อ ตอ งเขยี นสอ่ื ความได ยอ ความเปน รวู ธิ เี ขยี นหลายๆ แบบ ตามวัตถุประสงคที่แตกตา งกัน สวนคดิ เลขเปน หรอื วชิ าคณิตศาสตรน ัน้ ไมใชแ คคดิ เลข แตต อ งเรียนใหไดท ักษะการคดิ แบบนามธรรม (abstract thinking) 8Cs เปนกลุมทักษะที่สําคัญ/จําเปน ที่แจกแจงมาจากทักษะ ๓ กลุม (ในรปู หนา ๑๔) แตละ C เปนทักษะเชงิ ซอน และสมั พนั ธหรอื ซอนทบั กบั C ตัวอืน่ ดว ย ดงั น้ัน จงึ อาจแจกแจงใหม เปน 5C/4C กไ็ ด จุดทีส่ าํ คญั คือ อยา จดั รายวชิ าเพ่อื สอนทกั ษะเหลาน้แี ตล ะทักษะ ตองใหนักเรียน/นักศึกษา เรียนและฝกทักษะเหลานี้ผานการเรียน โดยการลงมือปฏิบัติ (Learning by Doing) และคดิ ทบทวน หรือเรียน แบบ Active Learning โดยครู/อาจารย ทําหนาที่ออกแบบกิจกรรม

21st Century Themes • ภาษาและสนุ ทรยี ะทางภาษา • ภาษาโลก เรียนปฏบิ ตั ิ • ศลิ ปะ ใหเ กดิ ทักษะ • เศรษฐศาสตร บรู ณาการ • วทิ ยาศาสตร • ภมู ศิ าสตร • ประวัตศิ าสตร • ความเปน พลเมอื ง และรฐั การอยรู วมกนั กบั ผอู ่ืน 18 การสรา งการเรียนรูส ศู ตวรรษท่ี ๒๑

การเรยี นรสู ูศตวรรษที่ ๒๑ 19 การเรียนรูเพื่อใหไดฝกและเรียนรูซึมซับทักษะเหลาน้ันหลายๆ ตัวใน กิจกรรมเดยี วกนั ในทาํ นองเดยี วกนั “วชิ าแกนและแนวคดิ สาํ คญั ในศตวรรษท่ี ๒๑” เปน ตัวเนือ้ วชิ าทีจ่ ะตองเรยี น โดยภาพรวมๆ ก็เปน อยา งนี้ (ตามในสไลด 21st Century Themes) แตว า สิ่งทเ่ี ราตองระวังกค็ ือ อยา คดิ วา อยากให ลกู ศษิ ยเ รยี นรอู ะไรกเ็ ปด วชิ านนั้ อนั นผี้ ดิ เพราะมนั ตอ งเปด เรอื่ ยไป มนั จะ แจงยอ ยเรอื่ ยไปจนกระทงั่ วชิ าเยอะมาก แตล กู ศษิ ยไ มค อ ยไดเ รยี นเพราะ วาพอแจงวิชาออกมามากๆ และครูอาจารยพยายามเนนใหล ูกศษิ ยร ูวิชา ใหได กต็ อ งสอนใหครบ เดก็ ก็ไมไ ดเ รียน เพราะหลักการเรยี นรูส มยั ใหม คือ Teach Less, Learn More สอนใหนอ ยแตใหลกู ศษิ ยเ รียนไดเ ยอะ นี่คอื หัวใจของการศกึ ษาสมยั ใหม แตที่เราทําในปจจุบันหลายคร้ัง กระทรวงก็เจตนาดี โรงเรียนก็ เจตนาดี ผูบรหิ ารก็เจตนาดี ครกู ็เจตนาดี เปดรายวิชาใหญเลย เดก็ ไมได เรียนนะครบั เมอื่ เรว็ ๆ นี้ คณุ หมอกฤษดา เรอื งอารรี ชั ต ผจู ดั การ สสส. (สาํ นกั งาน กองทนุ สนบั สนนุ การสรา งเสรมิ สขุ ภาพ) เลา ใหฟ ง เรอื่ งลกู ชายเขาอยู ม.๕ ไดทุนแลกเปล่ียนไปเรียนท่ีแคนาดา ลกู สงอเี มลมาบอกวา “พอ ทน่ี เี่ รียน อาทิตยหน่ึง ๔ วิชาเอง ผมอยูเมืองไทย ๑๗ วิชา” เขาบอก “๔ วิชา ผมไดเรียนเยอะจริงๆ” ผมก็บอก “ไมใชแคลูกคุณหรอก ผมเองเมื่อป ๒๕๑๐ - ๒๕๑๑ เมือ่ จบแพทย ผมไปเรยี นตอ ทอี่ เมรกิ า เรยี นอาทติ ยล ะ ๑๓ ชัว่ โมง แตกอ นผมเรียนที่ศริ ริ าชอาทติ ยหน่ึง ๓๙ ชว่ั โมง ๓ เทาพอดี แต ๑๓ ช่วั โมงเรยี นรูมากกวา ” การเรียนรูกับการสอนเปน คนละส่งิ นี่คือ หลักการทางการศึกษาที่เปนท่ีรูกันทั่วไปในปจจุบัน เพราะฉะน้ันวิชาที่ ตองการใหรูเร่ืองเหลาน้ีไมจําเปนจะตองเปนวิชาสอนแยกๆ กัน แตควร จะเปนการเรียนรบู รู ณาการเพอ่ื ใหเกดิ ทักษะ ทเี่ ปน ทกั ษะเชงิ ซอ น

ทักษะทตี่ องการ ไดแ ก • Learning Skills • Critical Thinking, Leadership Skills • Complex Problem-Solving, Innovation • Collaboration & Competition, Sharing Skills • Personal Mastery • Empathy • Communication (รวม Listening) • Life Skills, Intercultural Skills • Business Skills, Etc. สไลดดานบนเปนการทบทวนตัวทักษะท่ีตองการใหเด็กไดฝกฝน เรียนรู ทข่ี อยา้ํ คือทักษะ Personal Mastery มีวินยั ในตน ตัวนแ้ี หละ เด็กทพ่ี อเขา วัยรุน เขาไมม ี เขาถงึ เสียคน ไปตดิ ยา ไปเกเร มั่วสมุ ทางเพศ เพราะไมม วี นิ ยั ในตน อกี อนั หนงึ่ คอื ทกั ษะ Empathy เขา ใจคนอนื่ ทกั ษะ พวกนี้สอนไมได แตเด็กเรียนได เด็กเรียนไดโดยตองมีการลงมือทําอะไร บางอยา งแลว ทาํ ใหเ ขาเขา ใจคนอนื่ การเตรยี มตวั เขา สู AEC ตอ งเรยี นอนั นี้ (Empathy) ดว ย พวกเราอยูอสี านใกลลาว เราเขา ใจคนลาวหรือเปลา ไทยกบั ลาวมปี ระวตั ศิ าสตรส มยั ตน รตั นโกสนิ ทรร ว มกนั หลายเรอ่ื ง แตห าก เราไปถามคนลาววาประวัติศาสตรของเขาเขียนเรื่องเจาอนุวงศอยางไร เราจะพบวาหลายสวนแตกตางจากประวัติศาสตรไทยแบบตรงกันขาม 20 การสรางการเรียนรูสูศตวรรษท่ี ๒๑

การเรยี นรูส ูศตวรรษที่ ๒๑ 21 เพราะเปน ธรรมดาทปี่ ระวตั ศิ าสตรข องเรากเ็ ขยี นเขา ขา งเรา ประวตั ศิ าสตร ของเขากเ็ ขยี นเขา ขา งเขา จะมาเถยี งกนั วา ใครถกู ใครผดิ อยา งนไ้ี มม วี นั ที่ จะเปน มติ รประเทศกันได หรือใน ๓ จังหวัดภาคใตก ท็ ํานองเดียวกนั อา นออกเขยี นได หรอื ทเ่ี ราพดู กนั ตดิ ปากวา “รหู นงั สอื ” (Literacy) สามารถตีความวาตองรูเร่ืองอะไรบาง ตามสไลดดานลาง คือในยุค ปจจบุ นั ตองมที กั ษะมากกวา 3Rs อยางมากมาย ไดแ ก Media Literacy แปลวา รูเทาทนั สือ่ รูวา ขอ ความในส่อื เช่ือไดแคไ หน รวู าขอความในสอ่ื ซอ นอะไรไวเ บอื้ งหลัง Communication Literacy หมายถึงมที ักษะใน การสื่อสารหลากหลายแบบ ไดแก การพูด การฟง การเขียน การอาน และการส่ือสารผานทางเทคโนโลยีสารสนเทศ และในสมัยน้ีตองส่ือสาร “อา นออกเขียนได” (Literacy) ตีความใหม • Media Literacy • Communication Literacy • Team Literacy, Social Literacy • Networking Literacy • Environment / Earth Literacy • STEM Literacy • Aesthetics Literacy • Civic Literacy • Etc. รู ใชในชวี ติ ประจําวัน รูเทาทนั

ผานทางโซเชียลมีเดียเปนดวย สื่อสารแลวไดผลดีตามประสงค เกิด ความสัมพันธที่ดี รวมทง้ั รเู ทาทนั ไมถกู หลอก Team Literacy หมายถงึ มีทักษะในการทํางานเปน ทมี รจู ักตอรองประนีประนอม ทาํ งานรว มกับ คนที่มคี วามเหน็ หรือความเชือ่ แตกตา งกนั ได Social Literacy หมายถึง มีทักษะทางสังคม เขากับผูอ่ืนท่ีมีปฏิสัมพันธกับตนได ทักษะทางสังคม หมายรวมถงึ ทักษะในการสอ่ื สาร ในการวางตวั วางทา ที และการแสดง ความยอมรบั นบั ถอื สมั มาคารวะ ออ นนอ มถอ มตน Networking Literacy หมายถึงทักษะในการสรางเครือขายเช่ือมโยงรวมมือ ในลักษณะของ ความสมั พันธแ นวราบ Environment / Earth Literacy หมายถงึ ความ เขา ใจและทกั ษะในการปฏบิ ตั ติ อ สง่ิ แวดลอ มและตอ โลก เพอื่ รกั ษาสมดลุ ของสภาพแวดลอม ชวยกันหลีกเลี่ยงการกอมลภาวะ STEM Literacy หมายถึงทักษะดานวิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร และ คณติ ศาสตร โดยทก่ี ารศกึ ษาสมยั ใหม จดั ใหเ รยี น ๔ วชิ านค้ี วบไปดว ยกนั เปน ชดุ Aesthetic Literacy หมายถงึ ทักษะในการชืน่ ชมความงามหรอื ศลิ ปะ ทัง้ ท่มี ีอยูใ นธรรมชาติ และท่มี นุษยส รางสรรคขนึ้ Civic Literacy หมายถงึ ทักษะในการเปนพลเมอื ง รักถนิ่ รกั ชุมชน รกั และจงรักภกั ดตี อ ประเทศ ทกั ษะเหลา นี้ เด็กตองไดรับการปลกู ฝง ตองไมใ ชแคร ู แตต อง รจู กั ใชใ นชวี ติ ประจาํ วนั และตอ งรเู ทา ทนั ดว ย เพราะในบางกรณจี ะมกี าร แอบแฝงผลประโยชนหรอื เปน มายา ซอนพษิ อยภู ายใน การกลอมเกลาฝกฝนความเปนคนดี เปนเรื่องที่ตองคํานึงถึง แนวคดิ หน่งึ คือเรื่องระดบั ความตองการของมนุษย ทเี่ สนอโดย มาสโลว (Maslow’s Heirarchy of Needs) ระดับของความตอ งการของมนุษย เร่ิมจากความตองการระดับลางท่ีสุด คือเพ่ือการมีชีวิตอยู ที่ตองการ 22 การสรางการเรยี นรสู ูศตวรรษท่ี ๒๑

การเรียนรูสูศตวรรษท่ี ๒๑ 23 นับถือตนเอง ตอ งการยอมรับ ยกยอ งนบั ถือ ตอ งการความรักเอาใจใส ตองการความมนั่ คงปลอดภยั ในชวี ิตและทรพั ยสนิ ตองการพื้นฐานทางกายภาพ เพ่อื ความอยูรอดของชีวิต ระดับความตองการของมนษุ ย (Maslow’s Heirarchy of Needs)

บนั ได ๖ ขัน้ ของการพฒั นาคุณธรรม • ข้นั ที่ ๑ ปฏิบตั ิเพราะความกลัว ไมอ ยากเดอื ดรอน • ขน้ั ที่ ๒ ปฏิบัติเพราะอยากไดร างวัล • ขัน้ ท่ี ๓ ปฏิบตั เิ พราะอยากเอาใจคนบางคน • ข้ันท่ี ๔ ปฏิบตั ิเพราะตองปฏิบัตติ ามกฎ • ข้นั ท่ี ๕ ปฏบิ ตั เิ พราะตอ งการใหต นดดู ี ใหไ ด ชอื่ วา เปน คนดี เปนคนมนี า้ํ ใจ • ข้นั ที่ ๖ ปฏบิ ัตติ ามหลักการ หรืออุดมการณของตนเอง ไมต อ งการใหมีคนยกยอ งชมเชยหรือใหร างวลั Lawrence Kohlberg’s stages of moral development อาหาร อากาศหายใจ นํ้าด่ืมนํ้าใช ที่นอน ขับถาย และความสัมพันธ ทางเพศ ระดับสูงขน้ึ ไปเปนความตองการความปลอดภยั ท้ังทางรา งกาย การมีงานทํา มีครอบครัว ปลอดภัยในทรัพยสิน ขั้นสูงขึ้นไปอีก เปน ความตองการความรัก ความเปนสวนหน่ึงของครอบครัวหรือของสังคม ข้ันสูงข้ึนไปอีก ตองการเปนท่ี ๑ ไดรับการยกยองนับถือ ในหลายครั้ง เราจะหยุดอยูแคเพื่อที่จะไดเปนท่ี ๑ เพ่ือท่ีจะไดรับการชื่นชมยินดี แต จริงๆ แลวเรารูกันวา โดยทฤษฎีเราควรพัฒนาข้ึนไปสูระดับสูงสุดใหได 24 การสรางการเรียนรูสูศตวรรษที่ ๒๑

การเรยี นรสู ูศ ตวรรษที่ ๒๑ 25 คือ ทําดีโดยไมตองการคําชมเพราะมันเปนความดีในตัวของมันเอง ที่ เรยี กวา Self-actualization หรอื มองจากมมุ ของ Lawrence Kohlberg วา ระดับของพัฒนาการทางดานศีลธรรมมี ๖ ระดับ ตามสไลดดานซายมือ ทําอยางไรที่จะเปนมนุษยระดับ ๖ มีระบุ วิธปี ฏิบตั ิไวใ นหนังสือของครเู รฟ เอสควิธ ช่อื Teach Like Your Hair’s on Fire ท่ีแปลเปนไทยในช่ือ “ครูนอกกรอบกับหองเรียนนอกแบบ” ของ สสค. (สาํ นกั งานสงเสริมสงั คมแหงการเรยี นรแู ละคณุ ภาพเยาวชน) โรงเรียนไหนไมมีหนังสือเลมน้ี รีบไปขอจาก สสค. มาไวที่หองสมุด อยางนอย 1 เลม และขอ VDO มาดูดว ย จะมีเรอ่ื งนี้อยู เดก็ ป.๕ อายุ ๑๐ ขวบ สามารถเรียนรูเรื่องพวกน้ีไดเองโดยครูเรฟเปนครูที่ทําหนาท่ี กระตนุ ใหเกดิ การเรยี นรู

“การเรยี นรเู ปน ผลของการกระทํา และความคดิ ของนกั เรยี น อัตราการเรยี นรูจากการฟง เพยี ง ๕% ”ครูตองเขา ใจหลกั ๗ ประการของการสอนท่ดี ี 26 การสรา งการเรียนรสู ูศตวรรษท่ี ๒๑

เรอ่ื งทคี่ รตู อ งเขา ใจ 27 บทท่ี ๒ เรอื่ งทค่ี รตู อ งเขา ใจ ท ฤษฎีดานการเรียนรูสมัยใหมที่มาจากหนังสือ How Learning Works หนังสือเลมนี้จะข้ึนตนดวยคําพูด ของ Herbert A. Simon ซึ่งเปนผูไดรับรางวัลโนเบล สาขา เศรษฐศาสตร นอกจากทานเปนนักเศรษฐศาสตรแลวทานเปน นกั จติ วิทยาการเรยี นรูดว ย ทา นบอกวา (และทีท่ านบอกตอนนี้ เปนที่เชื่อของท่ัวโลก) “การเรียนรูเปนผลของการกระทําคือ การลงมือทําและการคิดของผูท่ีจะเรียนเทาน้ัน ครูชวยไดแต เพียงชวยทําใหเขาทําและก็คิดเพื่อที่จะเรียน ครูไมสามารถ ทําใหเขาเรียนได” พูดแรงๆ ก็คือวาการถายทอดความรูน้ัน เกอื บจะไมเ กิด ใชคาํ วา เกือบจะ... เพราะฉะนนั้ การสอน มานั่ง บอกปาวๆ อยา งทผ่ี มทาํ อยนู ้ี ทา นไดป ระโยชนน อ ย เปน วธิ ที ผ่ี ดิ หลักการ หากจะใหไดเ รยี นรูจรงิ ผูเรยี นตองเปน ผลู งมอื ทาํ และ คดิ โดยการเรียนรเู กดิ จากภายใน

Learning Pyramid แสดงใหเหน็ วา การเรยี นรูแบบ Passive คือ ฟง Lecture หรอื สอนแบบพูด อัตราการเรยี นรู (Retention Rate) ก็ คือ ๕% ในทางตรงกนั ขาม การสอนคนอื่นหรือลงมอื ทํา เอาความรูมาใช หรือลงมือทันที อัตราการเรียนรู คือ ๙๐% การเรียนโดยวิธีเสพหรือ รับถา ยทอดความรู ไดผลนอย เกดิ การเรยี นรูน อย การเรยี นรูแ บบสราง ความรูดวยตนเองผานการลงมือทําและคิด จะทําใหเกิดการเรียนรู อยางแทจริง ไดเต็มเม็ดเต็มหนวยกวาอยางมากมาย หรือเรียกวา Active Learning หรอื ทางวชิ าการเรยี กวา Constructionism นค่ี อื หลกั เพราะฉะน้ันถาทานตองการใหลูกศิษยของทานเรียนรูอยางแทจริง ตองใหเขาไดลงมอื ทาํ และไตรตรอง Learning Pyramid Lecture AvReerRateagnteet5i%on Reading OInudtusicdteiv-ienlleeaarrnniningg Audio-visual 10% Demonstration Traditional Passive  20% เสพ 30% สรา ง TAeacmtivien g Discussion Group DInesdiduec-toivuet lleeaarrnniinngg 50% 75% Practice by Doing Constructionism Teach Others/Immediate Use 90% National Training Laboratories, Bethel, Maine 1-800-777-5227 Dale, Edgar, Audio-Visual Methods in Teaching, third edition, Holt Rinehart, Winston, 1969. 28 การสรา งการเรียนรูส ูศตวรรษท่ี ๒๑

เรือ่ งทีค่ รูตอ งเขาใจ 29 หลกั ๗ ประการของการสอนทด่ี ี • ความรูเ ดิม (Prior Knowledge) • การจัดระบบความรู (Knowledge Organization) • แรงจูงใจ (Motivation) • รูจริง (Develop Mastery) • ปฏบิ ตั ิ - ปอ นกลับ (Practice & Feedback) • พัฒนาการของนักเรยี น & บรรยากาศ (Student Development & Climate) • ผูก ํากับการเรยี นรขู องตนเอง (Self -directed Learner) หนงั สอื How Learning Works เขาบอกวา เขาสรปุ มาจากผลงาน วิจยั หลายพนั เรอื่ งและกไ็ ดห ลัก ๗ ประการของการสอนทด่ี ี ประการที่ ๑ ตองเขาใจเรื่องความรูเดิมของนักเรียน วาโลก สมยั นนี้ กั เรียนแตล ะช้นั ความรเู ดิมจะแตกตา งกนั มาก เด็ก ป.๖ บางคน ในวิชา ก. พอลองทดสอบดูพ้ืนความรูอาจจะเทากับเด็ก ป.๔ และเด็ก บางคน ป.๖ นี่วิชาเดียวกันทดสอบแลวอาจจะเทาเด็ก ม.๒ พื้นความรู จะหางกันมาก นี่คือความเปนจริงเพราะวาเขาไปหาความรูเองได คนที่ ฉลาดและเอาการเอางาน เขาไปหาเรียนรูเอง โลกสมัยนี้เปนอยางนั้น ความรูไมไดหายาก ความรูหางาย อยูที่วาใครจะไขวควา แตที่สําคัญ

ยงิ่ กวา นน้ั ในเรอื่ งความรเู ดมิ กค็ อื เดก็ จาํ นวนหนงึ่ ซงึ่ จรงิ ๆ แลว เกอื บทกุ คน มคี วามรูเดิมทผ่ี ดิ ๆ ตดิ ตวั ครูตองเขาใจตรงนตี้ องหาวิธตี รวจสอบใหพ บ และกห็ าทางแก ไมอ ยา งนนั้ เดก็ จะผดิ ไปเรอื่ ยๆ และพอเรยี นชนั้ ตอ ๆ ไป เขากจ็ ะเรยี นไมร เู รอ่ื งและจะเบอ่ื เรยี น นค่ี อื หวั ใจสาํ คญั รายละเอยี ดมมี าก โปรดดูในหนังสือ “การเรียนรูเ กดิ ข้นึ อยางไร” ประการท่ี ๒ คือ การจัดระบบความรู ที่เรียกวา Knowledge Organization มีความสําคัญตอการเรียนรู คนท่ีเรียนหนังสือเกง คนท่ี เราเรียกวาฉลาด เรียนหนังสือดี คือคนที่สามารถจัดระเบียบความรูใน สมองไดดี ทจ่ี ริงความรไู มไ ดอยูในสมองเทา นั้น อยูทั้งตวั แตอยใู นสมอง เปนสว นใหญ ตองจัดระบบความรู ความรไู มไดอยูแบบลมเพลมพดั มัน จะมรี ะบบ คนไหนจัดระบบดีคนนน้ั ก็จะเอาความรูม าใชไ ดท ันทว งทีและ ถูกกาลเทศะ คนไหนที่ไมรูจักวิธีจัดระบบความรู คนนั้นก็จะใชความรู ไดไมดี เรียนหนังสอื ไดไมด ี มวี ธิ กี ารทีค่ รจู ะชว ย ประการที่ ๓ คอื แรงจูงใจ ผมพูดไปแลว Motivation แตทแ่ี รง กวา ลกึ กวา Motivation คอื แรงบนั ดาลใจ (Inspiration) ครจู ะตอ งมี วธิ ี และเอาใจใสทจ่ี ะสรา งแรงจูงใจหรือแรงบันดาลใจใหล กู ศิษย หนังสือ “ครนู อกกรอบกบั หอ งเรียนนอกแบบ” ทผี่ มพดู ถงึ ครูเรฟ เอสควธิ ครทู ี่ สอนเดก็ ดอยโอกาสในอเมรกิ า มีวธิ ีการ ทานควรจะอา น ประการท่ี ๔ คอื การเรยี นทถี่ กู ตอ ง ผเู รยี นตอ งเรยี นจนรจู รงิ ภาษา องั กฤษ เรียกวา Mastery Learning ผมอานแลว ผมสรุปกบั ตวั เอง ถูกผิด ผมไมท ราบวา สภาพทเ่ี ปน อยใู นปจ จบุ นั น้ี เดก็ ไทยเรยี นแลว ได Mastery Learning อยา งมากทสี่ ดุ แค ๒๐% หมายความวา มากกวา ๘๐% ไมบ รรลุ Mastery Learning และเดก็ พวกทไี่ มบ รรลอุ ยา งรนุ แรง พอโตขน้ึ มาหนอ ย เขาจะเริ่มเบื่อเพราะการเรียนจะนาเบ่ือ เปนความทุกขยาก ภาษาฝรั่ง เรยี กวา เปน Punishment เหมอื นถกู ลงโทษ ขมข่นื หองเรียนเปน ชวี ติ 30 การสรา งการเรียนรสู ศู ตวรรษท่ี ๒๑

เรอื่ งทคี่ รตู องเขา ใจ 31 บัดซบ เขาตอ งไปหาความสขุ อยางอน่ื เพราะมนษุ ยเ ราตอ งการความสขุ ความสุขของเขาก็อาจจะเปนความสุขช่ัวแลน และชีวิตเขาก็ถูกทําลาย ไปเรื่อยๆ อนาคตกห็ มด ทั้งหมดนี้เปนผมตคี วาม ไมทราบวาถกู หรอื ผดิ ประการที่ ๕ คอื การสอนโดยการปฏบิ ัติ และปอ นกลับ จากการ พูดคุยของครูกอ นชวงเวลาทีผ่ มมาบรรยาย เหน็ ชดั เจนวา ครูที่ดีท้งั หลาย จะรวมตวั รว มกนั ออกแบบการเรยี น ดวู า ตอ งการใหเ รยี นรอู ะไร ออกแบบ อยางไร ใหเด็กทําอะไร และเพื่อใหไดอะไร และวัดไดอยางไรวาจะได เพ่อื จะใหเดก็ ลงมือปฏิบัติ แตว า ปฏิบัติเฉยๆ ไมพอ ครูตอ ง Feedback นักเรียน ศิลปะของการ Feedback สําคัญที่สุดทําใหการเรียนของเด็ก สนุก เปนการ Rewarding เรียนแลวเกิดความสุข เกิดความม่ันใจใน ตวั เอง รวู าตรงไหนตัวทําไดด ี รูวา ตรงไหนตวั จะตอ งปรบั ปรงุ ศิลปะการ ปอ นกลบั ทเ่ี รยี กวา feedback นสี้ ําคญั อยางยง่ิ ประการที่ ๖ คือ พัฒนาการของนักเรียนและบรรยากาศของ การเรียน การเรยี นสมัยใหมเ ด็กตอ งเรียนเปนทมี เพราะโลกสมยั ใหมนนั้ Collaboration สาํ คญั กวา Competition ทจี่ รงิ แลว มนั ตอ งมที ง้ั ๒ อยา ง 2Cs : Collaboration Skills และ Competition Skills ทักษะของความ รว มมอื กบั คนอื่น วธิ สี อนทําอยางไร ตองเรียนแบบฝก และเรยี นเอง กค็ ือ เรียนเปนทมี เรียกวา Team Learning นี่คือหลกั การเรยี นท่ีสาํ คญั ท่สี ุด ตอ งเรียนรว มกนั เปนกลมุ หลายคน ทนี ้พี อเดก็ ตองเรยี นเปน ทมี ตัวอยา ง เชน ในทมี มี ๔ คน มเี ด็กอยคู นหนึ่งจะเปน นาย ก. เขาทมี ไหนบอ นแตก ทน่ี น่ั เพราะเดก็ คนนพ้ี ฒั นาการไมด ี พฒั นาการทไี่ มด ที ที่ าํ ใหบ อ นแตกคอื อะไร คอื พัฒนาการเชงิ อารมณและเชงิ สังคม ทา นเปนครทู า นตองการให เดก็ ไดเ รยี นรกู ด่ี า น เกดิ พฒั นาการกดี่ า น ปจ จบุ นั นเ้ี ราตอ งการพฒั นาการ ทางดา น Intellectual คอื เรยี นรวู ชิ าเปน ตวั หลกั ใหญ ซง่ึ อนั นค้ี อื ตวั ปญ หา เพราะจรงิ ๆ แลว เราตอ งการอกี ๓-๔ ดา น คอื พฒั นาการทางดา นอารมณ

ตําราเขียนหมด พ.ร.บ. เขียน แตเวลาปฏิบัติเราไมทําเพราะเราไมสอบ เพราะฉะน้ันเราก็สอนผูเรียนเนนเฉพาะในสวนท่ีสอบ แตจริงๆ แลว สวนท่ีสําคัญย่ิงกวาวิชา คือพัฒนาการทางอารมณ (Emotional Development) พัฒนาการทางสังคม (Social Development) พัฒนาการทางดานจิตวิญญาณ (Spiritual Development) และ พัฒนาการทางดานรางกาย (Physical Development) อาจจะเตมิ พัฒนาการทางดานสุนทรียะของจิตใจ เห็นความงามของศิลปะ ของ ธรรมชาติ อันนี้เปนทักษะท่ีสําคัญอยางย่ิง หาความสุขงายโดยราคา ไมแ พง น่คี ือการเรยี นท่เี รยี กวาครบทุกดา นสาํ หรบั พฒั นาการของผเู รียน บรรยากาศของการเรียน เมอื่ ไรกต็ ามครไู มเ ปดกวา งทางความคดิ คอยเนนอันน้ีถูกอันนี้ผิด อันน้ีเธอดีอันน้ีเธอช่ัว บรรยากาศเสียหมด บรรยากาศของการเรียนที่สําคัญคือไมมีถูกมีผิด แนนอนวาการกระทํา บางอยางมันก็ยอมไมได เพราะวาทําใหคนอื่นเขาเดือดรอน แตวา บรรยากาศของความคิดท่ีหลากหลาย ฟงซึ่งกันและกัน ในที่สุดแลว เดก็ กจ็ ะไดเ ขา ใจวา เรอ่ื งแบบนเ้ี พอื่ นคดิ อยา งนี้ คดิ ไดห ลายแบบ เพราะ ฉะน้ัน ผมเองมีความเช่ือวา เมื่อไรก็ตามบรรยากาศในโรงเรียนและใน ชั้นเรยี นอบอวลไปดวยวิชา สาระวชิ าท่ีเนน วา อนั น้ถี กู อันน้ผี ิด การเรียนรู ทด่ี ไี มเ กดิ เพราะเดก็ จะไมส ามารถเรยี นอยทู า มกลางสภาพความไมช ดั เจน ไมแ นนอน ที่ผมพดู ใหฟ งตอนตน อนั นคี้ ือความเชือ่ ของผม ประการที่ ๗ คนท่ีจะเรยี นรูไดด ีจะตอ งเปนผทู ่สี ามารถกํากับการ เรียนรูของตนเองได (Self - directed Learner) ครตู อ งฝกอนั นี้ใหเด็ก ซ่ึงจริงๆ ครสู อนไมไ ด แตในกระบวนการครูจะตองสามารถทาํ ใหเ ดก็ เกิด ความสามารถหรือทกั ษะในการกาํ กบั การเรยี นรใู หก ับตวั เอง ท่ีสําคัญคอื ใหเ ดก็ รวู า ตวั เองมวี ธิ กี ารเรยี นอยา งไรและปรบั ปรงุ วธิ กี ารเรยี นของตวั เอง ได มีตัวอยาง เด็กท่ีกํากับการเรียนรูของตัวไมเปน ไมเขาใจการเรียนรู 32 การสรา งการเรยี นรสู ศู ตวรรษท่ี ๒๑

เร่ืองทค่ี รูตอ งเขา ใจ 33 ของตัว ตัวอยางเด็กจริง มีนักเรียนมาหาอาจารยและบอกวา “อาจารย ครับ ผมขยันแคไหน หนังสือนี่นะ ตํารานี่นะผมอานหมดแลว ๓ จบ นีข่ ดี เสนแดงกเ็ ยอะ เอาสเี หลืองปายกเ็ ยอะ เต็มไปหมดเลย แตสอบทีไร ผมได C ทกุ ที เกือบตกทกุ ที อาจารยสอนอยางไร ออกขอสอบอยางไร ตรวจขอสอบอยางไร ผมรูหมดเลยนะ หนังสือเลมนี้” ในที่สุดครูก็ถึง บางออ “ออ ครรู แู ลว ไอน มี่ นั เรยี นโดยทอ งจาํ ” มนั กท็ อ งไดห มดและเวลา ออกขอสอบ ครูที่ดีเขาไมออกแบบทองจํา เขาออกขอสอบคิด นักเรียน ไมไดฝกคิดเพราะมันมัวแตทองจํา อยางน้ีนักเรียนไมไดฝกความเปน Self - directed Learner สมัยน้ีไมตอ งทอ งจํา ความจําไมจ าํ เปน เพราะ วา เราหาจาก internet ได ตวั เนอื้ ความรหู าไดง า ย เพยี งแตว า หามาไดแ ลว รูหรือเปลาวาอันไหนจริงอันไหนเท็จ ที่คนหาออกมา ไดเท็จก็เยอะ ผิดก็มาก นี่คือหัวใจของการสอนท่ีดีหรือวาการเรียนรูท่ีดี ๗ อยาง อาน เพม่ิ เตมิ ไดจ าก blog (http://www.gotoknow.org/blogs/posts/ tag/Ambrose) ซงึ่ มูลนิธิสยามกมั มาจลพมิ พเปนหนังสอื “การเรยี นรู เกิดข้ึนอยางไร” แลว

“การเรียนสมยั ใหม. ..ตองเรยี นเอาความรมู าใช ไมใชเ รียน “ตวั เนื้อความร”ู ... ตอ งใหเ กดิ ทักษะการใชความรู เรยี นโดยใชโ ครงงานใหไ ดผ ล ตอ งทาํ ใหค รบ ๔ องคป ระกอบ หนา ทีส่ าํ คญั ของครคู ือ ”ตง้ั คําถามใหเด็กชว ยกนั ตอบ 34 การสรางการเรียนรูสศู ตวรรษที่ ๒๑

การทําโครงงาน...ฝก ผเู รยี นใหเ อาความรูมาใช 35 บทที่ ๓ การทําโครงงาน... ฝก ผเู รยี นใหเ อาความรมู าใช ก ารเรียนตองเรียนโดยลงมือปฏิบัติ Learning by Doing การเรียนโดยปฏิบัติวิธีหน่ึงท่ีเปน Active Learning ก็คือเรียนโดยทําโครงงาน Project Based Learning (PBL) โดยเรยี นเปนทมี มกี ารฝกคน หาความรู และเวลาคนจะพบความรูหลายชุด จะเอาอันไหนดีและ เอามาใชงานอยางไร ตองเรียนโดยฝกเอาความรูมาใช การเรียนสมัยใหมศตวรรษท่ี ๒๑ ตองเรียนเอาความรู มาใชไมใชเรียนตัวเน้ือความรูเทาน้ัน ตองเลยจากเน้ือ ความรูและเอามาใชใหมันเกิดทักษะในการใชความรู เมอ่ื ทาํ โครงงานแลว โครงงานสาํ เรจ็ เกดิ ผลลพั ธเ ปน อะไร กไ็ ด เปนผลงานออกมา ไมไ ดแปลวาเดก็ จะเรยี นรดู ี

เรียนอยางไร • โดยการลงมือปฏบิ ัติ (Learning by Doing) • ทาํ โครงงาน PBL (Project-Based Learning) • ทาํ เปนทีม (Team Learning) • ฝกฝนหาความรู วิธกี าร เอามาทดลองใชง าน • แลวเขียนรายงานเปนรายคน • นาํ เสนอ (ตอ หนา ช้ันเรยี น ตอชุมชน) เปนทีม • ครชู วนนกั เรียนทาํ AAR (After Action Review)/ Reflection วาไดเรยี นรอู ะไร ความรทู ี่ไดม คี ณุ คา ตอ ชวี ติ อนาคตอยางไร อยากเรยี นอะไรตอ บทบรรณาธิการในวารสาร Science ซ่ึงเปนวารสารที่มีช่ือเสียง มากของอเมริกา ลงบทบรรณาธิการเมื่อประมาณ ๒ ปมาแลว บอกวา ทัว่ โลกทีใ่ หน ักเรียนเรยี นโดยทําโครงงาน เขา ใจผดิ กนั หมดเลยหรืออยา ง นอ ยๆ ๙๐% เขา ใจผดิ คดิ วา โครงงานสาํ เรจ็ แลว เดก็ ทที่ าํ ไดค วามรคู รบถว น ไมจริง อยาเขาใจผิด ผมเคยไปดูโรงเรียนทางอีสาน เด็กทําโครงงาน ผลออกมาดีมาก ไดตัวช้ินผลงานออกมาเปนสิ่งประดิษฐนาช่ืนชมมาก แตพ อถามคาํ ถามวา ทาํ ไมเครอื่ งมนั ทาํ งานได เดก็ ตกมา ตาย เดก็ ไมเ ขา ใจ วา ทาํ ไมส่งิ ประดษิ ฐทําอยา งนนั้ ได คอื เขาตอบคาํ ถาม Why ไมได แตท ํา 36 การสรางการเรยี นรสู ศู ตวรรษที่ ๒๑

การทําโครงงาน...ฝกผเู รียนใหเ อาความรมู าใช 37 เรยี นใหไดท ักษะ : ปฏบิ ตั ินาํ • Learning by Doing / Active Learning : PBL (Project - Based Learning) • ครูเปลยี่ นจากครูสอนเปนครูฝก (Coach) หรอื Learning Facilitator • นําเสนอเปน Report และ Presentation อาจเสนอเปน ละคร • ครูชวนนกั เรยี นทํา AAR/Reflection วาไดเ รยี นรอู ะไร อยากเรยี นอะไรตอ เพ่อื อะไร ชวนคิดดา นคุณคาจรยิ ธรรม what ทาํ อะไรได แต Why ทาํ ไมมนั เกดิ อยา งน้ี ทาํ ไมทาํ ออกมาอยา งนไี้ ด เด็กตอบไมไ ด แสดงวาไมรจู รงิ เพราะฉะนนั้ การทาํ โครงงานตอ งตามมาดว ยอกี ๓ อยา ง โครงงาน นอกจากทาํ ช้นิ งานแลวตอ งมอี ีก ๓ อยาง เด็กจึงจะเรยี นไดดี ๑. เดก็ แตล ะคนตอ งเขยี นรายงานการเรยี นรขู องตนเองระหวา ง ทําโครงงาน เขยี นนะไมใ ชพ ิมพ ใหเขาเขยี น diary วา ทําอยา งไร ลอง อยางไร คิดอยางไร คน อะไร ท้งั หลาย เพอื่ เปนการทบทวน ที่เรยี กวา Self Reflection

๒. การนําเสนอ (Presentation) เปนทีม อันนี้ทําเปนทีม การเขียนบันทึก การเรียนรูขอแรกทําคนเดียว แตขอ ๒ นี้ทําเปนทีม Presentation นเ้ี ปน การสรปุ ภาพรวม สงั เคราะหภ าพของการเรยี นรู ของตน ซึ่งอาจจะนําเสนอเปนแบบท่ีผมกําลังพูดอยูน้ี แตตองเปนทีม มี ๔ คนกต็ อ งนาํ เสนอทงั้ ๔ คน มบี ทบาททง้ั ๔ คน บางคนอาจจะไมเ สนอ แตมีสวนในการชวยกันทํา อาจจะนําเสนอ Presentation แบบ Power Point อาจจะมี VDO ประกอบ อาจจะทาํ หนงั ส้ัน อาจจะนําเสนอเปน ละคร เปนละครน่ีเปนศิลปะสุดยอดเลย หนังส้ันก็เปนศิลปะ เทากับวา เขานําเสนอเปน Synthesis สงั เคราะหการเรยี นรขู องเขา ๓. ทํา Reflection หรือ AAR (After Action Review) คอื ชวนเด็กทบทวนวาท่ีเราทําโครงงานน้ีเราไดเรียนรูอะไร ทฤษฎีนี้ ท่ี ครูต้ังใจใหเธอทําโครงงานน้ีตองการใหเธอเรียนรูทฤษฎี ก. ข. นี่ จาก ประสบการณที่เธอทําโครงงานน้ี เธอตีความทฤษฎี ก. ข. วาอยางไร อยางน้ีมันทําใหเกิดการเรียนท่ีลึกขึ้น ไดเรียนทฤษฎีโดยการผานการ สมั ผัสของจรงิ กระบวนการน้เี รียกวา Reflection หรือ AAR จะทาํ ให เกดิ การเรียนรูลกึ สรปุ แลว การเรยี นแบบ PBL หรอื โดยทาํ โครงงาน มี ๔ องคป ระกอบ คอื ทาํ แลว ไดช น้ิ งาน เขยี น Diary ทาํ Presentation และ Reflection เด็กจึงจะเรียนรูไดลึก ในกระบวนการท้ังหมด หนาท่ีของครูที่สําคัญ โดยเฉพาะส่ิงสุดทายคือตั้งคําถามเพื่อใหเด็กชวยกันตอบ และสราง บรรยากาศที่จะใหเด็กตอบไมคอยเหมือนกัน เด็กม่ันใจท่ีจะตอบจาก ความคดิ ความรสู กึ ของตน และจะคอ ยๆ เหน็ เองวา ความคดิ มตี า งๆ นานา 38 การสรา งการเรยี นรสู ูศ ตวรรษท่ี ๒๑

การทาํ โครงงาน...ฝก ผูเรียนใหเ อาความรูมาใช 39 และไดเรียนรูวาความรูที่เช่ือมโยงกับชีวิตจริงเปนอยางไร คือไดเห็นวา มันไมชัดเจน ชีวิตจริงมันไมชัดเจน ไดเขาใจจากการลงมือทํา นี่คือ การเรียนโดยลงมือทํา ทําโครงงาน ปฏิบัติจริงเพื่อใหเกิดการเรียนรู ไดท้ังทักษะและไดความรูทฤษฎี ความรูทฤษฎีไมใชไมสําคัญ สําคัญ อยางยงิ่ แตเราตอ งเลยไปสคู วามรปู ฏบิ ตั ิ สรุปวาเรียนใหไดทักษะตองปฏิบัติ ปฏิบัติเปนตัวนําและเรียน เปนทีม และครูไมส อนแตเปน coach และให feedback เปนการทาํ หนาท่คี รฝู ก หรอื facilitator

“สิง่ ท่ีตองทาํ สําหรบั ครู ก็คอื ตองตง้ั ๕ คําถาม (กับตนเอง) ”เพือ่ หนจี ากปญ หาทีเ่ ราไปสอนมากเกนิ 40 การสรา งการเรียนรสู ศู ตวรรษท่ี ๒๑

๕ คําถามหลกั ในการออกแบบการเรียนรู 41 บทที่ ๔ ๕ คาํ ถามหลกั ในการออกแบบการเรียนรู ห นังสือ “ทักษะแหงอนาคตใหม การศึกษาเพ่ือ ศตวรรษท่ี ๒๑” เลม น้ี แปลมาจาก 21st Century Skills เขาบอกวานักเรียนในโลกน้ีมันเรียนแลวไมคอย ไดผล เรียนแลวไมคอยรูจริง ตัวปญหาที่ทําใหเด็ก เรียนไมรูจริง สวนใหญแลวเกิดจากครูสอนมากไป ครู สอนมากเกินในหลายกรณี สว นใหญจ ะมาจากเจตนาดี เพราะวาหลักสูตรบอกวาเด็กตองเรียนรูส่ิงตอไปน้ี ครู ก็แปลความวาครูตองสอนสิ่งตอไปนี้ เขาบอกวาเม่ือ เปนอยางนี้นักเรียนตายลูกเดียวก็คือจะเรียนไมรูจริง ไมบ รรลกุ ารเรยี นรทู ค่ี วร เขาบอกวา สงิ่ ทต่ี อ งทาํ สาํ หรบั ครูก็คือตองตั้ง ๕ คําถาม เพื่อหนีจากปญหาที่เราไป สอนมากเกิน

5 คาํ ถามหลกั ในการออกแบบการเรียนรู • ตองการใหนักเรยี น ไดทักษะและความรทู ่ีจาํ เปนอะไรบาง (อาจตรวจสอบเอกสารหลักสูตร และหนังสอื ทักษะแหง อนาคตใหม ฯลฯ) • จดั การเรียนรูอยา งไรใหไดทกั ษะเหลาน้นั • รูไ ดอยา งไรวาได • ทําอยางไรกับนกั เรียนบางคนท่ีทําไมไ ด • ทาํ อยางไรกับนักเรยี นบางคนทเ่ี รียนเกงกา วหนา ไปแลว ปญหาสว นใหญ เกดิ จากสอนมากเกินไป 42 การสรางการเรยี นรูสศู ตวรรษท่ี ๒๑

๕ คาํ ถามหลักในการออกแบบการเรยี นรู 43 คาํ ถามท่ี ๑ เปนหัวใจสําคัญ คือจริงๆ แลว เราอยากใหลกู ศิษย ของเราไดทักษะและความรูท่ีจําเปนอะไรบาง เนนคําวา “ท่ีจําเปน” ถามคําถามอยางน้ี เพราะเรามีความเชื่อวาถาไดทักษะและความรู ท่ีจําเปน สวนที่เหลือใหเด็กเรียนรูเองได เพราะเด็กฉลาด มนุษยเรา ฉลาด ถึงแมเด็กบางคนหัวทื่อแตก็เรียนรูเองได นี่คือหลัก เพราะฉะน้ัน เราไมจําเปนตองสอนทุกเร่ืองแตตองสอนสวนท่ีจําเปนท่ีสุด ซึ่งครูตอง มารวมตัวกันแลวมาชวยกันคิด คิดคนเดียวบางทีก็ไมดีเทาที่ควร ตอง ปรกึ ษากนั คําถามท่ี ๒ คอื วาทาํ อยา งไร จะใหเขาเรียนรอู ยางไรเพ่อื ทีจ่ ะให ไดทักษะท่ีจําเปน เหลาน้ัน ซ่ึงไมม ีสูตรตายตวั ครูตองมาชว ยกันคิด วา จะทาํ อยางไร โรงเรียนไมเ หมือนกนั โรงเรยี นใหญ โรงเรยี นเล็ก โรงเรยี น ในเมือง โรงเรยี นบา นนอก ครูตอ งมาชวยกนั คดิ คําถามท่ี ๓ รูไดอยางไรวาลูกศิษยไดทักษะและความรูท่ีจําเปน เหลานั้น นีค่ อื assessment การประเมิน ครตู องประเมนิ แบบ assess- ment ประเมินเพ่ือชวยเหลือเด็ก คําถามท่ี ๔ เดก็ บางคนไมไ ด เรยี นชา ไมเอาใจใส เกเร และกม็ ี เรื่องอืน่ ท่ีเขาสนกุ กวา เราจะทาํ อยา งไร คาํ ถามที่ ๕ สดุ ทา ย ตรงกนั ขา ม เดก็ บางคนยงั ไมจ ดั การเรยี นรเู ลย เขารูหมดแลว ท่ีวาเม่ือกี้ เด็กอยู ป.๖ มีความรูวิชาน้ีเทาเด็ก ม.๒ จะ ทาํ อยา งไรกบั เขา เพราะเด็กท่เี รยี นเลยไปแลวถาเราไมดแู ลเขาใหดี เขา จะเกเร เพราะเขาจะเบื่อ ตกลงการเบ่อื เปนไดทงั้ เพราะรูแลว และยงั ไมรู ถามวา จะทําอยา งไร นี่แหละ ๕ คําถามหลกั ซ่ึงทา นตอ งชว ยกนั ตอบ ในหนงั สอื กจ็ ะมี คําแนะนาํ มากมาย

“ครูใช ICT ในการกลบั ทางหองเรยี น ”เปล่ียนความสัมพนั ธใ นชน้ั เรยี น 44 การสรา งการเรียนรูส ูศ ตวรรษที่ ๒๑

ครูในศตวรรษที่ ๒๑ ตอง “กลบั ทางหอ งเรยี น” 45 บทที่ ๕ ครใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ตอ ง “กลับทางหองเรียน” วิ ธกี ารปฏริ ปู การเรยี นรทู งี่ า ย และขอแนะนาํ ใหเ อามา ใชในการทําหนาที่ครู คือวิธีกลับทางหองเรียน ซึ่ง มาจากหนังสือ Flip Your Classroom นี่คือวิธีการท่ี งายที่สุดที่เปนรูปธรรมของการท่ีจะใหเกิดการเรียนรูแหง ศตวรรษที่ ๒๑ และการทําหนาท่ีเปนครูท่ีมีคุณคาสูงสง ยง่ิ แหง ศตวรรษที่ ๒๑ ครใู นยุคปจ จุบัน ทส่ี อนโดยวิธแี บบ ท่ีทานท้ังหลายเคยไดรับการสอน และแบบท่ีผมก็เคยได รับมา ไมไ ดทาํ หนา ทค่ี รแู หงศตวรรษที่ ๒๑ อยา งมีคุณคา ครสู มยั ใหมส ามารถทาํ ตวั ใหม คี ณุ คา มากกวา ครสู มยั เกา ท่ี จัดการเรียนรูวิธีการเดิมๆ มาก เพราะเทคโนโลยีมันเปด ชอง เพราะองคความรูสมัยใหมเปดชอง และวิธีการหนึ่ง ที่จะทําใหทานทําหนาที่อันประเสริฐนี้ คือการกลับทาง

กลับทางหอ งเรยี น เรียนวชิ าทบ่ี า น ทําการบา นท่โี รงเรยี น เวลาของครู เพ่อื รูจริง www.classstart.org ดร. จนั ทวรรณ ปย ะวัฒน คณะวทิ ยาการจัดการ มอ.หาดใหญ หองเรียน ซ่ึงก็คือเรียนตัววิชาท่ีเรียกวา Acquire Knowledge ท่ีบาน แลว มาทําการบาน หรือประยุกตความรูท เ่ี รยี ก Apply Knowledge ที่ โรงเรียน เพราะการเรียนสมัยใหมน่ีตองเรียนประยุกตใชความรูเพ่ือให ไดทักษะ เรียนวิชาท่ีบานโดยดู VDO ที่ครูจัดทําหรือจัดหาให ความ ยาวตอนหน่ึง ๑๕ นาที ครูทําส่ือเองก็ไดหรือไปหาท่ีไหนมาใหก็ได เอา ไปแขวนไวบ น internet ใหเด็กเขาไปดเู อง แตถา เด็กไมมี internet ท่ี บานหรือไมมีชองทางที่จะเขาไดก็ทําใสแผน VCD ใหไปดูกันท่ีบาน หา มเกนิ ๑๕ นาที เพอ่ื จะบอกตวั สาระสาํ คญั ๆ อนั นค้ี รกู ต็ อ งฝก นดิ หนอ ย แตไมยาก 46 การสรางการเรยี นรูสูศตวรรษท่ี ๒๑

ครใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ตอ ง “กลบั ทางหองเรยี น” 47 คนทีเ่ ขียนหนงั สือ Flip Your Classroom เลม น้เี ปน ครูบานนอก ในอเมริกา สอนเด็กช้ัน ม.๒ ทานไปดูใน youtube ได ที่ http:// www.youtube.com/watch?v=gM95HHI4gLk และ http://www. Cbsnews.com/video/ watch/?id=7401696n ท่ีสําคัญก็คือเวลาท่ี โรงเรยี นนนั้ เปน เวลาทมี่ คี า มากกวา การมาฟง ครสู อน กค็ อื เปน เวลาปฏบิ ตั ิ และเรียนรวมกบั เพอื่ น ใครอยากไดหนังสอื “ครูเพือ่ ศิษยสรา งหองเรยี นกลับทาง” โปรด เขา ไปทเ่ี วบ็ ไซตข องมลู นธิ สิ ยามกมั มาจล (http://www.scbfoundation. com/news_publish_detail.php?cat_id=6&nid=850) แลว download ไดฟ รี การเรยี นรูยคุ ICT : กลบั ทางการเรยี น • เรียนทฤษฎีทบ่ี าน ทําการบานทโี่ รงเรียน • http://www.youtube.com/watch?v=gM95HHI4gLk • http://www.cbsnews.com/video/watch/?id=7401696n • เพ่อื เรียนการประยกุ ตใชค วามรใู หเกดิ ทักษะทีโ่ รงเรยี น มคี รูเปน ผจู ุดประกาย ยยุ ง สงเสริม และชว ยเหลือเมื่อมปี ญ หา • เรียนรวมกบั เพ่อื น สอนเพ่ือน

สรางหอ งเรียนกลับทาง • เรม่ิ ดวยการฝก นกั เรยี น ใหรวู ิธีดวู ดี ทิ ัศนใ หม ีสมาธิ ใหไ ดสาระ • แนะให “หยดุ ” หรือ “กรอกลับ” ครู มาดใู หม • ฝกวธิ จี ดบันทกึ แบบ Cornell Note • กําหนดใหต ง้ั คําถาม ที่นาสนใจ ๑ คําถาม หลกั ก็คือวา ครูทีอ่ เมริกาผเู ขียนหนังสอื Flip Your Classroom บอกวาท่ีใหเด็กไปดู VDO ที่บาน อยาคิดวาเด็กจะดูเปน เด็กดูไมเปน ครูตองฝกใหนักเรียนรูวิธีดู ในหนังสือน้ีจะบอกเลยวาเวลาดู VDO ให ปด สิ่งท่ีมารบกวนสมาธิ พวกโทรศพั ทมอื ถือ ทีวี วทิ ยุ ระหวา งดกู ใ็ หจด วา สว นสาํ คญั คอื อะไร และเราไมเ ขา ใจตรงไหนและครกู ต็ อ งแนะ วธิ เี รยี น โดยดู VDO นักเรียนสามารถหยุดครูได แตถาครูสอนในชั้น บอกใหครู หยดุ ไมไ ด เรยี นจาก VDO หยดุ และกรอกลบั ไดด ว ย กรอครกู ลบั ได และ ถา ดูรอบหน่ึงไมคอ ยรเู รอ่ื งและอยากดรู อบที่ ๒ ก็ดูไดดวย มาใหค รสู อน รอบ ๒ ครตู อบวาไมไหว นี่คอื ขอ ดี ประเดน็ ก็คือวาเด็กทเี่ รยี นเรว็ กับเด็ก ท่ีเรียนชาก็สามารถใชเวลาตางกัน แลวก็ดูบางจุดที่ตางกัน ในชีวิตจริง บางคร้ังพอแมจะมาดูดวย ก็เลยคุยกับลูกเร่ืองพวกนี้ ก็เลยย่ิงดีหนักข้ึน ไปอีก ทําใหชีวิตท่ีบานเกิดการพูดคุย และเขาบอกวาใหสอนเด็กใหฝก 48 การสรางการเรียนรูสศู ตวรรษที่ ๒๑

ครใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ตอ ง “กลบั ทางหอ งเรียน” 49 วิธีบันทึก วิธีจด จากการดู VDO โดยจดแบบ Cornell Note ใคร อยากรวู า Cornell Note เปน อยา งไร คน ดว ย Google ได นั่นหมายความวาเด็กที่จะเรียนไดรูเร่ือง ตองรูจักจดบันทึก มีวิธี จดท่ีดี และทผี่ มประทับใจ คอื ครู ๒ คนน้ที เี่ ขียนหนงั สือ เขาบอกวาตอง มีขอตกลงกบั เด็กวา ดเู สร็จตองมีการจด note ดว ยตวั เอง เทา น้นั ไมพ อ นักเรียนแตละคนตองคิดคําถามที่นาสนใจมา ๑ เร่ือง สําหรับเอามา แลกเปลย่ี นกบั เพอ่ื นวนั รงุ ขนึ้ ทเ่ี รยี กวา เอามาแลกเปลย่ี นกบั เพอื่ น ทาํ ให การเรยี นรูนาสนุก วธิ บี ันทึกแบบ Cornell Note แบงหนา กระดาษออกเปน ๓ สว น สว นท่ี ๒ สว นท่ี ๑ สวนท่ี ๒ เปน พนื้ ทีท่ ใ่ี หญท ี่สุด เรยี กวา เรียกวา Cue Column Note-taking Area สาํ หรับบนั ทกึ ประเดน็ สาํ คัญ สาํ หรับจดทกุ อยา งเทา ที่จะจดได จากสว นท่ี ๑ โดยเปน ในชว งทนี่ ั่งเรียนหรือสัมมนาอยู คาํ สาํ คญั (Keywords) หรอื ประเดน็ คําถามกไ็ ด ทง้ั นเี้ พือ่ ประโยชน ๒ ประการ หน่ึงคืองา ยสําหรบั การทบทวน โดยไมต องอา นท้งั หมด และสองเพ่ือใหเ ห็นโครงรา ง ทง้ั หมดของบทเรยี นหรือ สมั มนา สว นที่ ๓ เรียกวา Summary Area สําหรบั ในอนาคต ทม่ี า : ที่เกดิ นกึ ถงึ คาํ ถามใหมๆ มเี นือ้ หาอื่นทีเ่ ก่ียวของหรอื ไปเจอ http://setthasat.com/ ความรใู หมๆ กน็ าํ มาเขยี นทนี่ ่ี รวมท้งั อาจใชเ ปนพ้นื ท่ีในการ 2012/03/01/cornell-note- สรุปเนือ้ หาก็ได โดยสวนนี้จะถกู อนญุ าตใหเขียนเมอ่ื เวลา taking/ ผานไปนานกวา ๒๔ ชว่ั โมง หรอื ๗ วนั แลว